Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2561สำนักศิลปะและวัฒนธรรม

รายงานประจำปี 2561สำนักศิลปะและวัฒนธรรม

Published by supharat phujaroen, 2019-08-17 23:02:46

Description: art

Keywords: รายงานประจำปี

Search

Read the Text Version

ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจบคุ ลากร นกั ศกึ ษา และผใู้ ช้บริการ ต่อการดำ� เนนิ งานด้านศิลปวัฒนธรรมปี ๒๕๖๑ AArrttss aanndd CCuullttuurree CCeenntteerr,, NNaakkhhoonn RRaattcchhaassiimmaa RRaajjaabbhhaatt UUnniivveerrssiittyy AAnnnnuuaall RReeppoorrtt 22001188 99

ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจบุคลากร นกั ศึกษา และผใู้ ช้บรกิ าร ต่อการดำ� เนนิ งานด้านศลิ ปวัฒนธรรมปี ๒๕๖๑ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ได้ประเมินความคิดเห็นและความพึงพอใจบุคลากร นักศึกษา และผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยฯ ต่อการด�ำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมปี ๒๕๖๑ จ�ำนวน ๑,๐๖๐ คน โดยเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากแบบประเมินความพึงพอใจ แล้วน�ำมาวเิ คราะห์และสรปุ ได้ดงั น้ี ๑. ขอ้ มูลสว่ นบุคคลของผตู้ อบแบบประเมนิ อายุ เพศ ๔๑-๕๐ ปี ๔.๗% ชาย ๓๑-๔๐ ปี ไม่เกนิ ๒๐ ปี ๔๕.๙% ๑๖.๐% ๓๑.๗% ๒๖-๓๐ ปี ชาย ๑๒.๕% ๕๔.๑% ๒๑-๒๕ ปี ๓๕.๐% แผนภมู ทิ ี่ ๑ และ ๒ แสดงใหเ้ หน็ ว่าผตู้ อบแบบประเมนิ สว่ นใหญเ่ ป็นเพศหญงิ รอ้ ยละ ๕๔.๑ และอายรุ ะหวา่ ง ๒๑-๒๕ ปมี ากทส่ี ดุ 100 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๑ ส�ำนกั ศิลปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า

การศกึ ษา สถานภาพ ปรญิ ญาเอก มธั ยมตน้ ประชาชนทวั่ ไป ๑.๔% ๖.๕% ๘.๖% ปรญิ ญาโท มัธยมปลาย ๑๒.๓% ๑๔.๒% ครู/อาจารย์ นักเรยี น/นกั ศึกษา ๑๘.๒% ๕๔.๐% เจ้าหน้าที่/บุคลากร ปริญญาตรี ๑๙.๒% ๖๕.๖% จากแผนภูมิท่ี ๓ และ ๔ พบว่าผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่มีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ร้อยละ ๖๕.๖ และมีสถานภาพเป็น นักเรียน/นักศกึ ษา รอ้ ยละ ๕๔.๐ แผนภมู ิที่ ๕ แสดงรอ้ ยละของผูต้ อบแบบประเมนิ จำ� แนกตามสงั กดั หนว่ ยงาน ตรวจสอบภายใน ๐.๑% หน่วยงาน สถาบันวิจยั ไม้กสลถายาบเปัน็นภหานิษฯา ๐๑..๑๓%% ภาครัฐ จากแผนภมู ิท่ี ๕ พบว่า สถาบนั วิจัยและพฒั นา ๐.๓% ๒๐.๕% ผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่ สำ� นกั คอมฯ ๐.๖% สังกัดหน่วยงานภาครัฐ ร้อยละ เอกชน ๒๐.๕ รองลงมาสงั กดั หนว่ ยงาน ส�ำนกั ส่งเสริมวิชาการ ๐.๕% ๑๗.๓% ภาคเอกชน รอ้ ยละ ๑๗.๓ และ สำ� นักศิลปะฯ ๐.๒% สั ง กั ด ค ณ ะ วิ ท ย า ก า ร จั ด ก า ร คณะครศุ าสตร์ ร้อยละ ๑๕.๔ ตามลำ� ดบั ส�ำนักวิทยบรกิ ารฯ ๐.๙% ส�ำนักงานอธกิ ารบดี ๕.๓% บณั ฑิตวิทยาลัย ๐.๒% คณะสาธารณสขุ ฯ ๒.๗% คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ๖.๗% คณะวทิ ยาการจดั การ ๘.๙% ๑๕.๔% คณะมนุษยศาสตร์ คณะ ๑๓.๒% วทิ ยาศาสตร์ ๙.๘% Arts and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2018 101

๒. ความคดิ เหน็ ที่มีตอ่ การดำ� เนินงานด้านศลิ ปวฒั นธรรม แผนภูมิที่ ๖ แสดงจ�ำนวนและรอ้ ยละข้อมูลเกี่ยวกับการเขา้ รว่ มกจิ กรรมดา้ นศิลปวฒั นธรรมจำ� แนกตามลักษณะกจิ กรรม แผนภมู ทิ ่ี ๗ แสดงจ�ำนวนและร้อยละข้อมูลเกย่ี วกบั การได้รับขา่ วสารเกย่ี วกบั กจิ กรรมดา้ นศลิ ปวัฒนธรรมจ�ำแนกตามสอื่ จากแผนภมู ทิ ่ี ๖ และ ๗ พบวา่ ผตู้ อบแบบประเมนิ สว่ นใหญเ่ คยเขา้ รว่ มกจิ กรรมดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณศี าสนา คณุ ธรรมจรยิ ธรรม รอ้ ยละ ๓๗.๘ และไดร้ บั ขอ้ มลู ขา่ วเกย่ี วกบั กจิ กรรมทำ� นบุ ำ� รงุ ศลิ ปวฒั นธรรมทางสอื่ ปา้ ยประชาสัมพนั ธม์ ากทส่ี ดุ รอ้ ยละ ๒๖.๔ 102 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๑ สำ� นกั ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า

แผนภูมิที่ ๘ แสดงจำ� นวนและร้อยละขอ้ มูลเกยี่ วกบั ความคดิ เหน็ ในการดำ� เนนิ งานดา้ นศิลปวัฒนธรรม จากแผนภูมิที่ ๘ พบว่าผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่คิดเห็นว่าการด�ำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรม มีประโยชน์ในเร่ืองท�ำให้เกิด จิตส�ำนึก เปน็ สว่ นหน่งึ ในการสง่ เสรมิ สบื สาน และทำ� นุบำ� รุงศิลปวฒั นธรรม รอ้ ยละ ๔๘.๘ ๓. ความพึงพอใจต่อการด�ำเนนิ งานดา้ นศิลปวฒั นธรรมทง้ั ๖ ดา้ น มดี งั น้ี ความพงึ พอใจตอ่ การดำ� เนนิ งานดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม ทง้ั ๖ ดา้ น โดยภาพรวมมคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก (มคี า่ เฉลยี่ รวมอยรู่ ะหวา่ ง ๔.๑๕ ถึง ๔.๔๕) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ศาสนา และท�ำนุบ�ำรุงสถาบันพระมหากษัตริย์ มคี า่ เฉลย่ี ความพงึ พอใจสงู มากทสี่ ดุ (มคี า่ เฉลย่ี รวม = ๔.๔๕) รองลงมาเปน็ ดา้ นบคุ ลากรสำ� นกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม (มคี า่ เฉลยี่ รวม = ๔.๔๒) ดา้ นการพฒั นาสนุ ทรยี ภาพในมติ ทิ างศลิ ปวฒั นธรรม (มคี า่ เฉลยี่ รวม = ๔.๔๑) ดา้ นกจิ กรรมเผยแพรศ่ ลิ ปวฒั นธรรม (มคี า่ เฉลยี่ รวม = ๔.๓๑) ดา้ นแหลง่ เรยี นรทู้ างศลิ ปวฒั นธรรม พพิ ธิ ภณั ฑเ์ มอื งนครราชสมี า (มคี า่ เฉลยี่ รวม = ๔.๓๐) และดา้ นทม่ี คี า่ เฉลย่ี รวมความพงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ดุ คือ ดา้ นวิจยั และงานวิชาการศลิ ปวฒั นธรรม (มีคา่ เฉล่ียรวม = ๔.๑๕) Arts and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2018 103

คา่ เฉลยี่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และการแปลผลระดบั ความพงึ พอใจของผตู้ อบแบบประเมนิ ทมี่ ตี อ่ ดำ� เนนิ งานดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม ทัง้ ๖ ดา้ น เปน็ ดงั นี้ ดา้ นและหัวข้อการประเมนิ คา่ เฉลย่ี S.D. ระพดงึ ับพคอวใาจม ๑. ด้านงานสง่ เสริมคณุ ธรรม จริยธรรม ศาสนา และทำ� นุบ�ำรงุ สถาบันพระมหากษัตริย์ ๑.๑ กจิ กรรมชว่ ยสง่ เสรมิ การอยรู่ ว่ มกนั ของคนในสงั คมวฒั นธรรม ยกระดบั ๔.๔๘ ๐.๗๓ มาก คุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ค่าทางจติ ใจใหส้ ูงขน้ึ ๐.๕๕ มาก ๑.๒ รูปแบบการจัดกิจกรรมมีความหลากหลาย และเน้นการมีส่วนร่วม ๐.๕๙ มาก ของทุกภาคสว่ น ๔.๔๘ ๐.๔๒ มาก ๑.๓ ความต่อเน่ืองเหมาะสมในการจัดกิจกรรมสืบสานประเพณีท้องถิ่น ๔.๔๑ และการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม คา่ เฉล่ยี รวม ๔.๔๕ ๒. ด้านกจิ กรรมเผยแพรศ่ ิลปวฒั นธรรม ๒.๑ ความหลากหลายในการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมท้ังในระดับชาติและ นานาชาติ (เช่น เทศกาลโคราชศิลปะและวัฒนธรรมนานาชาติ โครงการประกวด ๔.๑๔ ๐.๗๕ มาก หมอเพลงโคราช และการเผยแพรก่ ารแสดงวงดนตรีโปงลาง) ๐.๕๕ มาก ๒.๒ สรา้ งให้เกดิ ความรกั หวงแหน และภาคภมู ิใจในศลิ ปวฒั นธรรม ๔.๒๖ ๐.๖๔ มากทสี่ ุด ๒.๓ สร้างช่ือเสียงและภาพลักษณ์ที่ดีแก่มหาวิทยาลัยฯ ในการส่งเสริม ๔.๕๕ สืบสานและอนรุ ักษ์ศิลปวัฒนธรรม ๐.๔๓ มาก คา่ เฉล่ียรวม ๔.๓๑ ๐.๖๑ มากทส่ี ดุ ๐.๖๔ มากที่สดุ ๓. ด้านการพัฒนาสนุ ทรยี ภาพในมิตทิ างศิลปวฒั นธรรม ๐.๕๓ มาก ๓.๑ ศกั ยภาพของแหลง่ เรยี นรหู้ รอื หนว่ ยงาน สามารถสง่ เสรมิ การดำ� เนนิ งาน ๐.๔๕ มาก ด้านศิลปวัฒนธรรมได้อย่างชัดเจน (เช่น ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม พิพิธภัณฑ์ ๔.๕๓ เมอื งนครราชสมี า และเรอื นโคราช) ๓.๒ อาคารสถานที่และภูมิทัศน์ สะอาดเรียบร้อย บ่งบอกถึงเอกลักษณ ์ ทางศลิ ปวัฒนธรรม (เชน่ พนื้ ท่ศี กึ ษาลานวถิ ชี ีวิตเรือนโคราช) ๔.๕๑ ๓.๓ ความสะดวกต่อการใช้พ้ืนท่ีในการจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม ๔.๒๒ (เช่น ลานธรรม และเรือนโคราช) ค่าเฉลยี่ รวม ๔.๔๑ 104 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๑ สำ� นักศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า

ด้านและหัวข้อการประเมนิ คา่ เฉลยี่ S.D. ระดบั ความ พึงพอใจ ๔. ด้านวิจยั และงานวิชาการศลิ ปวฒั นธรรม ๔.๑๓ ๐.๖๙ มาก ๔.๑ ผลงานวจิ ยั ตอบสนองและเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ๔.๒๔ ๑.๖๙ มาก (เชน่ งานวจิ ยั บา้ นโนนวดั งานวจิ ยั มาตรฐานทา่ รำ� เพลงโคราชและงานวจิ ยั เพลงรำ� บวงสรวง) ๔.๐๙ ๐.๗๙ มาก ๔.๒ ผลงานวิชาการเป็นแหล่งข้อมูลอ้างอิงในการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ และเปน็ ประโยชนใ์ นเชงิ วชิ าการ (เชน่ หนงั สอื ของดโี คราช เพลงโคราช และผา้ โคราช) ๔.๑๕ ๐.๗๑ มาก ๔.๓ การใหบ้ รกิ ารวชิ าการและการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม (เช่น การขอข้อมูลงานวิจัย และการสบื คน้ ห้องสมุดสารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรม) ค่าเฉล่ียรวม ๕. ดา้ นบุคลากร ๕.๑ ความสามารถในการใหบ้ ริการด้านศลิ ปวัฒนธรรม ๔.๔๗ ๐.๗๑ มาก ๔.๔๘ ๐.๗๒ มาก ๕.๒ ความกระตอื รอื รน้ และเอาใจใสด่ ูแลในการใหบ้ ริการ ๔.๓๒ ๐.๖๗ มาก ๕.๓ ความชดั เจน รวดเรว็ ของระบบในการให้บริการ ๐.๔๗ มาก ค่าเฉลย่ี รวม ๔.๔๒ ๖. ดา้ นแหล่งเรียนรทู้ างศลิ ปวัฒนธรรม พพิ ธิ ภัณฑ์เมอื งนครราชสีมา และเรือนโคราช ๖.๑ ขอ้ มลู ที่น�ำเสนอละเอียด และชดั เจนในการใหค้ วามรู้ ๔.๓๒ ๐.๖๔ มาก ๖.๒ ความนา่ สนใจของรปู แบบการแสดงขอ้ มลู และกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ๔.๒๒ ๐.๗๒ มาก ๖.๓ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณค่าก่อให้เกิดองค์ความรู้และประสบการณ ์ ๔.๓๘ ๐.๖๔ มาก ในการส่งเสรมิ การท่องเทย่ี วเชิงวฒั นธรรม ๔.๓๐ ๐.๔๗ มาก คา่ เฉลี่ยรวม Arts and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2018 105

๔. ความพงึ พอใจดา้ นผลสมั ฤทธก์ิ ารดำ� เนินงานดา้ นศิลปวัฒนธรรม ความพงึ พอใจดา้ นผลสมั ฤทธต์ิ อ่ การดำ� เนนิ งานดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม พบวา่ มคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก (มคี า่ เฉลยี่ รวมอยรู่ ะหวา่ ง ๔.๒๐ ถงึ ๔.๖๕) โดยมคี า่ เฉลยี่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และการแปลผลระดบั ความพงึ พอใจ ของผตู้ อบแบบประเมนิ ทมี่ ตี อ่ การดำ� เนนิ งาน เก่ยี วกบั ผลสมั ฤทธิ์การดำ� เนนิ งานด้านศิลปวฒั นธรรม เปน็ ดังน้ ี ดา้ นและหัวข้อการประเมนิ ค่าเฉล่ยี S.D. ระพดงึ ับพคอวใาจม ๑. ดา้ นผลสมั ฤทธ์กิ ารดำ� เนินดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม ๔.๓๔ ๐.๕๘ มาก ๑.๑ ความพงึ พอใจตอ่ การจดั กจิ กรรมสบื สานประเพณที อ้ งถนิ่ เพอื่ การอนรุ กั ษ์ ๔.๖๕ ๐.๕๖ มาก สบื สาน ทำ� นุบำ� รงุ ศลิ ปวัฒนธรรมในมติ ิตา่ งๆ โดยภาพรวม (ตวั ชว้ี ดั ระดับกลยุทธ/์ ๔.๒๖ ๐.๖๐ มาก โครงการ ที่ ๒.๓ และ แผนทำ� นุบำ� รงุ ฯ ข้อท ่ี ๒) ๔.๒๐ ๐.๔๖ มาก ๑.๒ ความพงึ พอใจต่อสุนทรียทางศลิ ปวฒั นธรรม (ตวั ชีว้ ัดระดับยทุ ธศาสตร์ ขอ้ ท่ี ๑ และตัวชี้วัดระดบั กลยุทธ์/โครงการ ขอ้ ท่ี ๒.๒) ๐.๓๕ มาก ๑.๓ ความพึงพอใจต่อวัฒนธรรมองค์กรในการส่งเสริมค่านิยมและจิตส�ำนึก ใ นวิถีไทยใหก้ ับนักศึกษาและบคุ ลากร (ตวั ชี้วดั ระดบั กลยทุ ธ์/โครงการ ขอ้ ท่ี ๒.๑) ๑.๔ การตระหนักรู้ถึงคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมในมิติต่างๆ โดยภาพรวม (แผนท�ำนบุ ำ� รุงฯ ข้อที่ ๒) คา่ เฉล่ยี รวม ๔.๓๖ ๕. ความพึงพอใจของชุมชนและผใู้ ชบ้ ริการจากภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผลการประเมินความพึงพอใจของชุมชนและผู้ใช้บริการทางศิลปวัฒนธรรมจากภายนอกมหาวิทยาลัยฯ พบว่ามีความพึงพอใจ ในระดับมาก (มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ๔.๒๐ ถึง ๔.๓๑) โดยมีค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการแปลผลระดับความพึงพอใจ ของผ้ตู อบแบบประเมนิ เป็นดังนี้ 106 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๑ สำ� นักศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า

ด้านและหัวข้อการประเมิน ค่าเฉลี่ย S.D. ระดบั ความ พึงพอใจ ๑. ความพึงพอใจของชุมชนและผูใ้ ชบ้ รกิ ารจากภายนอกมหาวทิ ยาลัยฯ ๔.๓๑ ๐.๖๕ มาก ๑.๑ ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการทางศิลปวัฒนธรรมต่อการด�ำเนินงาน ๔.๒๐ ๐.๕๘ มาก ดา้ นการทำ� นบุ ำ� รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม (ตวั ชวี้ ดั ระดบั ยทุ ธศาสตร์ ขอ้ ท่ี ๔) ๑.๒ ความพงึ พอใจของชมุ ชนตอ่ การดำ� เนนิ งานดา้ นการอนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟู สง่ เสรมิ ๔.๒๕ ๐.๕๕ มาก และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทยของมหาวิทยาลัยฯ (ตัวช้ีวัดระดับ ยทุ ธศาสตร์ ขอ้ ท่ี ๕) ค่าเฉลย่ี รวม ๖. ขอ้ เสนอแนะและความคดิ เห็นเพิม่ เติม โดยภาพรวมสรุปขอ้ เสนอแนะและความคิดเห็นเพม่ิ เตมิ มีดงั นี้ ๑. ผู้ประเมินภายนอกต้องการให้พัฒนาการติดต่อสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในการด�ำเนินกิจกรรมของ สำ� นักศิลปะและวัฒนธรรม ใหก้ ระจายสทู่ ้องถ่นิ และเครอื ขา่ ยเพื่อการเข้ามามสี ่วนรว่ มมากข้นึ ๒. ผู้ประเมินต้องการให้มีการพัฒนาด้านวิชาการและงานวิจัยท่ีสามารถต่อยอดงานศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และส่งเสริม ความเปน็ อย่ทู างด้านเศรษฐกิจชุมชนให้ดีขนึ้ ๓. ผู้ประเมินต้องการให้การด�ำเนินงานด้านท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมมีรูปแบบที่หลากหลายในทุกมุมมอง และมิติทางด้าน ศลิ ปวัฒนธรรมควรมีการกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การสร้างจิตส�ำนึกในการอนรุ ักษ์ศิลปวฒั นธรรมอย่างตอ่ เนอื่ ง ๔. ผู้ประเมินต้องการให้มีการจัดท�ำเอกสารให้ความรู้เก่ียวกับศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินแจกควบคู่ไปกับการให้บริการแหล่งเรียนรู้ และตอ้ งการให้พฒั นาแหล่งเรียนทมี่ คี วามทนั สมยั ท้ังในดา้ นกายภาพ รวมทงั้ การน�ำเสนอทีท่ ุกคนจะสามารถเขา้ ถงึ ข้อมูลไดโ้ ดยง่าย Arts and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2018 107

110088 รราายยงงาานนปปรระะจจำ�ำ� ปปีี ๒๒๕๕๖๖๑๑ สสำ��ำนนักักศศลิิลปปะะแแลละะววฒัฒั นนธธรรรรมม มมหหาาววิทิทยยาาลลยััยรราาชชภภฏัฏั นนคครรรราาชชสสีมีมาา

รางวัลและการยอมรบั ด้านศลิ ปวฒั นธรรม และการบรหิ ารจดั การองค์กร AArrttss aanndd CCuullttuurree CCeenntteerr,, NNaakkhhoonn RRaattcchhaassiimmaa RRaajjaabbhhaatt UUnniivveerrssiittyy AAnnnnuuaall RReeppoorrtt 22001188 110099

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐกิตต์ิ อินทร์สวรรค์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ได้รับการประกาศเกียรติคุณใหเ้ ปน็ ศษิ ยเ์ กา่ ดเี ดน่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ประจำ� ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ดา้ นศาสนา ศลิ ปะ ศลิ ปะการแสดง กฬี า หรอื วฒั นธรรม นายศภุ รตั น ์ ภเู่ จรญิ หวั หนา้ งานสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และพระพทุ ธศาสนา ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ได้รับการคัดเลือกให้รับรางวัล “เพชรแห่งสยาม” สาขาบคุ คลตน้ แบบผทู้ ำ� คณุ ประโยชนต์ อ่ ศาสนาดเี ดน่ มอบโดยชมรมสอื่ สารสรรคไ์ ทย โดยไดเ้ ขา้ รบั โลเ่ กยี รตยิ ศจากหมอ่ มราชวงศว์ รปภาจกั รพนั ธ์เมอื่ วนั ที่๑๘พฤศจกิ ายน๒๕๖๑ ณ หอ้ งเบญจรัศมี สถานวี ทิ ยโุ ทรทศั น์กองทัพบก (ช่อง ๕) กรงุ เทพมหานคร 110 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๑ สำ� นักศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

อาจารย์สุชาติ พิมพ์พันธ์ รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายท�ำนุบ�ำรุง ศลิ ปวฒั นธรรม ไดร้ บั การยกยอ่ งใหเ้ ปน็ บคุ คลดเี ดน่ ในการพฒั นาคณุ ธรรม และจริยธรรมให้กับนิสิตนักศึกษา ประเภทอาจารย์ระดับอุดมศึกษา ผทู้ รงคณุ ธรรม โดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชา ทนิ ดั ดามาตุ องคป์ ระธานกติ ตมิ ศกั ด์ิ มลู นธิ อิ นสุ รณ์ หมอ่ มงามจติ ต์ บรุ ฉตั ร ทรงพระกรณุ าโปรดใหท้ า่ นผหู้ ญงิ วราพรปราโมช ณ อยธุ ยา เปน็ ผแู้ ทนพระองค์ ไปมอบโลเ่ กยี รตยิ ศพรอ้ มเขม็ เชดิ ชเู กยี รตทิ องคำ� เนอื่ งในงาน“วนั หมอ่ มงามจติ ต์ บรุ ฉตั ร บคุ คลสำ� คญั ของโลก” งานสรา้ งเสรมิ คนดมี คี ณุ ธรรม ประจำ� ปี ๒๕๕๙ เมอ่ื วนั องั คารที่ ๑๘ ตลุ าคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมแกรนด์ เมอรเ์ คยี ว บางกอก ฟอรจ์ นู กรงุ เทพมหานคร นายพิษณุรักษ์ ปานสันเทียะ สมาชิกวงโปงลางสายแนนล�ำตะคอง ไดร้ บั การคดั เลอื กจากสำ� นกั งานวฒั นธรรม จงั หวดั นครราชสมี า ใหเ้ ปน็ เยาวชน ต้นแบบดีเด่นระดับอุดมศึกษาด้านดนตรีไทยระดับจังหวัดนครราชสีมา และน�ำเสนอต่อในระดับชาติ ซง่ึ ปรากฏวา่ ได้รบั การพิจารณาคดั เลอื กใหเ้ ปน็ เยาวชนต้นแบบด้านดนตรีไทยระดับชมเชยในระดับชาติ โดยเข้ารับมอบ เกียรติบัตรจาก นางพิมพ์รวี วัฒนวรางกูร อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เมือ่ วันที่ ๖ กันยายน ๒๕๖๑ ณ ศูนย์วฒั นธรรมแห่งประเทศไทย Arts and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2018 111

วงโปงลางสายแนนลำ� ตะคอง ส�ำนักศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ไดร้ บั รางวัล \"ชนะเลศิ \" การประกวด วงโปงลางชิงแชมป์ประเทศไทย ประจ�ำปี ๒๕๖๑ “ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลท่ี ๙” รุ่นอายไุ มเ่ กิน ๒๕ ปี พร้อมเงนิ รางวัล ๑๐๐,๐๐๐ บาท เม่ือวนั ที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ ศาลาดนตรีสุรยิ เทพ มหาวทิ ยาลัยรังสิต และสามารถคว้าถ้วยรางวลั พเิ ศษประเภทรางวัลเด่ยี วอกี ๕ รางวลั ประกอบด้วย ๑. ชุดการแสดงเทิดพระเกยี รตยิ อดเยย่ี ม ๒. การบรรเลงพิณยอดเยยี่ ม ๓. กับ๊ แกบ๊ ยอดเยีย่ ม ๔. ชุดการแสดงเปิดวงยอดเย่ยี ม ๕. เพลงลูกทุง่ ยอดเยีย่ ม สำ� นกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ได้รับคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นหน่วยงานที่มีผลงาน ดีเด่นระดับประเทศ ด้านการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม รับรางวลั เชิดชเู กยี รติ “MOE AWARDS” ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๙ ประกาศ ณ วันท่ี ๒๔ กันยายน ๒๕๖๑ 112 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๑ สำ� นักศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า

“เรือนพ่อคง เรือนโคราช” มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ซึ่งจัดสร้างโดยคณะศิษย์เก่าโรงเรียนฝึกหัดครู วิทยาลัยคร ู สถาบนั ราชภฏั และมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ไดร้ บั รางวลั อนรุ กั ษศ์ ลิ ปสถาปตั ยกรรมดเี ดน่ ประจำ� ปี ๒๕๖๑ ประเภทอาคารสถาบนั และอาคารสาธารณะ จากสมาคมสถาปนกิ สยาม ในพระบรมราชูปถมั ป์ สำ� นกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ไดด้ ำ� เนนิ การดา้ นการจดั การความรู้ (Knowledge Management) และเข้าร่วมประกวดแนวปฏิบัติที่ดีในมหกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ NRRU Show & Share จัดโดยคณะกรรมการจัดการความรู ้ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า ซ่ึงสามารถคว้ารางวลั ชนะเลศิ ๔ ปตี ่อเนอื่ ง ดงั น้ี พ.ศ. ๒๕๕๘ รางวัลชนะเลิศ แนวปฏิบัติท่ีดีด้านการบริหารจัดการท่ัวไป ในหัวข้อ “กระบวนการให้บริการแก่ผู้มาเย่ียมชม พพิ ธิ ภัณฑเ์ มืองนครราชสีมา” พ.ศ. ๒๕๕๙ รางวลั ชนะเลศิ แนวปฏบิ ัตทิ ี่ดีด้านการบรหิ ารจัดการ ในหัวข้อ “การบรหิ ารจัดการคลงั วัตถพุ พิ ิธภณั ฑ์” พ.ศ. ๒๕๖๐ รางวลั ชนะเลศิ แนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ดี า้ นศลิ ปวฒั นธรรม และรางวลั ความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นการจดั แสดงนทิ รรศการ ในหวั ขอ้ “องคค์ วามรู้ที่ซอ่ นอยใู่ นเรือนโคราช มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า” พ.ศ. ๒๕๖๑ รางวัลชนะเลิศ แนวปฏบิ ัติทีด่ ีดา้ นการจดั การความรูส้ ายสนบั สนุน ในหัวข้อ “การพฒั นาทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ของนกั สือ่ ความหมายในพิพธิ ภณั ฑ”์ Arts and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2018 113

คณะผู้จัดท�ำ ทีป่ รึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดศิ ร เนาวนนท์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา ผ้ชู ่วยศาสตราจารยท์ วี วชั ระเกยี รติศักดิ์ รองอธกิ ารบดฝี ่ายยุทธศาสตร์และการวิจยั คณะผู้จัดทำ� ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐกิตต์ิ อนิ ทรส์ วรรค์ ผูอ้ ำ�นวยการสำ�นกั ศิลปะและวัฒนธรรม อาจารย์สุชาติ พิมพ์พนั ธ์ รองผอู้ �ำ นวยการฝา่ ยท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐนิ ี ทองดี รองผอู้ �ำ นวยการฝา่ ยพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ทางศลิ ปวัฒนธรรม ดร.รชานนท์ ง่วนใจรกั รองผู้อ�ำ นวยการฝ่ายบรหิ ารและวางแผน ผู้ชว่ ยศาสตราจารยพ์ ิทักษช์ ยั จัตุชยั รองผอู้ �ำ นวยการฝา่ ยวิจยั และวิชาการศิลปวฒั นธรรม นายธนชั แววฉิมพลสี กุล รักษาราชการแทนหัวหนา้ ส�ำ นักงานผอู้ �ำ นวยการ นางวราภรณ์ พลิ าบตุ ร เจา้ หนา้ ที่บรหิ ารงานท่ัวไป นายชตุ ินันท์ ทองคำ� นกั วิชาการศึกษา นางสาวสมฤทยั ปิยะรัตน ์ นักวชิ าการศึกษา นางขวัญเรอื น ทองตาม เจา้ หนา้ ท่ีบรหิ ารงานทั่วไป นายพรมงคล นาคดี นักวชิ าการคอมพิวเตอร์ นายสุรชยั เดชชัยพทิ ักษ์ นกั วิชาการศึกษา นายศภุ รตั น์ ภเู่ จริญ นกั วิชาการศกึ ษา นายอัครพล อินทกลู นกั ประชาสมั พันธ์ 114 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๑ ส�ำนกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ขอขอบคณุ ภาพประกอบ จาก งานประชาสมั พนั ธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา อาคาร ๑๐ ส�ำ นักศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า ๓๔๐ ถนนสุรนารายณ์ ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมืองนครราชสมี า จงั หวดั นครราชสีมา โทรศพั ท์ ๐-๔๔๐๐-๙๐๐๙ ตอ่ ๑๐๑๐- ๑๐๑๓ และ ๑๐๒๐ โทรสาร ๐-๔๔๒๕-๓๐๙๗ www.koratculture.com และ www.koratmuseum.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook