Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พลเมืองดิจิทัล

พลเมืองดิจิทัล

Published by Papatsorn Rittidet, 2020-11-17 23:03:32

Description: พลเมืองดิจิทัล

Keywords: พลเมืองดิจิทัล

Search

Read the Text Version

เรือง พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล จดั ทําโดย นางสาว ปภัสสร ฤทธิเดช ชนั มธั ยมศึกษาปที 6/4 เลขที 20 เสนอ คณุ ครู วชิ ยั สิงห์น้อย โรงเรียนสันกําแพง จงั หวดั เชยี งใหม่ เขตพนื ทีการศึกษา เขต 34

สารบญั ความฉลาดทางดิจิทลั หน า 1-2 ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี หน า 3-6 ดิจทิ ลั 8ขอ หน า 7 พลเมอื งดจิ ิทลั คณุ ลักษณะทด่ี ขี องพลเมืองดจิ ทิ ลั 6ขอ หน า 8-13 แหลงทีม่ า หน า 14

ความฉลาดทางดจิ ิทลั (Digital intelligence) ความเปนพลเมอื งดิจิทัล (Digital Citizenship) เปนพลเมอื งทีมคี วาม สามารถในการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตในการบรหิ ารจัดการ ควบคมุ กํากับตน รูผ้ ดิ รูถ้ ูก และรูเ้ ท่าทัน เปนบรรทัดฐานในการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัลอยา่ ง เหมาะสม มคี วามรบั ผดิ ชอบ เรยี นรูท้ ีจะใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งชาญฉลาด และปลอดภัย พลเมอื งดิจิทัลจึงต้องตระหนักถึงโอกาสและความเสียงใน โลกดิจิทัล เข้าใจถึงสิทธแิ ละความรบั ผดิ ชอบในโลกออนไลน์ ความเปน พลเมอื งดิจิทัล นับเปนมาตรฐานหนึงด้านทางเทคโนโลยกี ารศึกษาที เสนอโดยสมาคมเทคโนโลยกี ารศึกษานานาชาติ (ISTE : International Society for Technology in Education) เพอื ให้ผูเ้ รยี นสามารถแสดง ความเข้าใจประเด็นทางสังคม วฒั นธรรม และความเปนมนุษย์ ที เกียวข้องกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ และปฏิบตั ิตนอยา่ งมจี รยิ ธรรมและ ตามครรลองกฎหมายให้ใชข้ ้อมูลข่าวสารได้อยา่ งปลอดภัย ถูกกฎหมาย ซงึ มคี วามสําคัญในทักษะแห่งการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที 21 1

ความฉลาดทางดิจทิ ัล เปนผลจากศึกษาและพฒั นาของ DQ institute หน่วยงานทีเกิดจากความรว่ มมอื กันของภาค รฐั และเอกชนทัวโลกประสานงานรว่ มกับ เวลิ ด์อีโคโนมกิ ฟ อรมั (World Economic Forum) ทีมุง่ มนั ให้เด็ก ๆ ทุก ประเทศได้รบั การศึกษาด้านทักษะพลเมอื งดิจิทัลทีมี คณุ ภาพและใชช้ วี ติ บนโลกออนไลน์อยา่ งปลอดภัยด้วยความ ก้าวหน้าของเทคโนโลยสี มยั ใหม่ ความฉลาดทางดิจิทัล เปนก รอบแนวคิดทีครอบคลมุ ของความสามารถทางเทคนิคความรู้ ความเข้าใจและความคิดทางสังคมทีมพี นื ฐานอยูใ่ นค่านิยม ทางศีลธรรมทีชว่ ยให้บุคคลทีจะเผชญิ กับความท้าทายทาง ดิจิทัล ความฉลาดทางดิจิทัล มสี ามระดับ 8 ด้าน และ 24 สมรรถนะทีประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติและค่านิยม โดยบทความนีจะกล่าวถึงทักษะ 8 ด้านของความฉลาดดิจิทัล ในระดับพลเมอื งดิจิทัล ซงึ เปนความสามารถในการใช้ เทคโนโลยดี ิจิทัลและสือในรูปแบบทีปลอดภัยรบั ผดิ ชอบ และ มจี รยิ ธรรม ดังนี 2

1.เอกลักษณ์พลเมอื งดิจทิ ัล (Digital Citizen Identity) เอกลักษณ์พลเมอื งดิจทิ ัล เปนความสามารถสรา้ งและบรหิ าร จัดการอัตลักษณ์ทีดีของตนเองไวไ้ ด้อยา่ งดีทังในโลกออนไลน์ และโลกความจรงิ อัตลักษณ์ทีดีคือ การทีผูใ้ ชส้ ือดิจิทัลสรา้ งภาพ ลักษณ์ในโลกออนไลน์ของตนเองในแง่บวก ทังความคิดความ รูส้ ึก และการกระทํา โดยมวี จิ ารณญาณในการรบั ส่งข่าวสารและ แสดงความคิดเห็น มคี วามเห็นอกเห็นใจผูร้ ว่ มใชง้ านในสังคม ออนไลน์ และรูจ้ ักรบั ผดิ ชอบต่อการกระทํา ไมก่ ระทําการทีผดิ กฎหมายและจรยิ ธรรมในโลกออนไลน์ เชน่ การละเมดิ ลิขสิทธิ การกลันแกล้งหรอื การใชว้ าจาทีสรา้ งความเกลียดชงั ผูอ้ ืนทางสือ ออนไลน์ 2.การบริหารจดั การเวลาบนโลกดิจทิ ัล (Screen Time Management) การบริหารจดั การเวลาบนโลกดิจทิ ัล เปนความสามารถควบคมุ ตนเอง ความสามารถในการ จัดสรรเวลาในการ ใชง้ านอุปกรณ์ดิจิทัลและอุปกรณ์ เทคโนโลยไี ด้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รวมถึงการใชง้ านสือ สังคม (Social Media) และเกม ออนไลน์ (Online Games) ด้วยความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง สามารถบรหิ ารเวลาทีใช้ อุปกรณ์ยุคดิจิทัล รวมไปถึงการควบคมุ เพอื ให้เกิดสมดลุ ระหวา่ งโลกออนไลน์ และโลกความเปนจรงิ อีกทังตระหนัก ถึงอันตราย และสุขภาพจากการใชเ้ วลาหน้าจอนานเกินไป และผลเสียของการเสพติดสือดิจิทัลการจัดการการกลัน แกล้งบนไซเบอร์ (Cyberbullying Management) 3

3.การจดั การการกลันแกล้งบนไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การจดั การการกลันแกล้งบนไซเบอร์ เปนความสามารถใน การปองกันตนเอง การมภี มู คิ ้มุ กันในการรบั มอื และจัดการกับ สถานการณ์การกลันแกล้งบนอินเทอรเ์ น็ตได้อยา่ งชาญฉลาด การใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตเปนเครอื งมอื หรอื ชอ่ งทางเพอื ก่อให้เกิดการ คกุ คามล่อลวงและการกลันแกล้งบนโลกอินเทอรเ์ น็ตและสือ สังคมออนไลน์ โดยกล่มุ เปาหมายมกั จะเปนกล่มุ เด็กจนถึง เด็ก วยั รุน่ การกลันแกล้งบนโลกไซเบอรค์ ล้ายกันกับการกลันแกล้ง ในรูปแบบอืน หากแต่การกลันแกล้งประเภทนีจะกระทําผา่ นสือ ออนไลน์หรอื สือดิจิทัล เชน่ การส่งข้อความทางโทรศัพท์ 4.การจดั การความปลอดภัยบนระบบเครือขา่ ย (Cybersecurity Management) การจดั การความปลอดภัยบนระบบเครือขา่ ย เปนความสามารถในการสํารวจ ตรวจสอบ การปองกัน และ การรกั ษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบเครอื ข่าย ปองกันข้อมูลด้วยการสรา้ งระบบความปลอดภัยที เข้มแข็ง และปองกันการโจรกรรมข้อมูลหรอื การถูกโจมตี ออนไลน์ได้ มที ักษะในการรกั ษาความปลอดภัยของ ตนเองในโลกออนไลน์การรกั ษาความปลอดภัยของ ตนเองในโลกไซเบอร์ คือการปกปองอุปกรณ์ดิจิทัลข้อมูล ทีจัดเก็บและข้อมูลส่วนตัวไมใ่ ห้เสียหาย สูญหาย หรอื ถูก โจรกรรมจากผูไ้ มห่ วงั ดีในโลกไซเบอร์ 4

5.การจดั การความเปนส่วนตัว (Privacy Management) การจดั การความเปนส่วนตัว เปนความสามารถในการจัดการกับ ความเปนส่วนตัวของตนเองและของผูอ้ ืน การใชข้ ้อมูลออนไลน์ รว่ มกัน การแบง่ ปนผา่ นสือดิจิทัล ซงึ รวมถึงการบรหิ ารจัดการ รูจ้ ักปองกันข้อมูลส่วนบุคคลของตนเอง เชน่ การแชรข์ ้อมูลต่าง ๆ ด้วยเครอื งมอื ดิจิทัล การขโมยข้อมูลอัตลักษณ์ เปนต้น โดยต้องมี ความสามารถในการฝกฝนใชเ้ ครอื งมอื หรอื วธิ กี ารในการปองกัน ข้อมูลตนเองได้เปนอยา่ งดี รวมไปถึงปกปดการสืบค้นข้อมูลต่างๆ ในเวบ็ ไซต์ เพอื รกั ษาความเปนส่วนตัวความเปนส่วนตัวในโลก ออนไลน์ คือสิทธกิ ารปกปองข้อมูลความส่วนตัวในโลกออนไลน์ ของผูใ้ ชง้ านทีบุคคลหรอื การบรหิ ารจัดการข้อมูลส่วนตัว รวมถึง การใชด้ ลุ ยพนิ ิจปกปอง ข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลทีเปนความลับ ของผูอ้ ืน 6.การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ (Critical Thinking) การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ หมายถึง ความสามารถในการ ตัดสินของบุคคลวา่ ควรเชอื ไมค่ วรเชอื ควรทํา หรอื ไมค่ วรทํา บนความคิดเชงิ เหตแุ ละผล มคี วามสามารถในการวเิ คราะห์ แยกแยะระหวา่ งข้อมูลทีถูกต้องและข้อมูลทีผดิ ข้อมูลทีมี เนือหาเปนประโยชน์และข้อมูลทีเข้าข่ายอันตราย ข้อมูลติดต่อ ทางออนไลน์ทีน่าตังข้อสงสัยและน่าเชอื ถือได้ เมอื ใช้ อินเทอรเ์ น็ต ทราบวา่ เนือหาใดมปี ระโยชน์ รูเ้ ท่าทันสือและ สารสนเทศ สามารถวเิ คราะห์และประเมนิ ข้อมูลจากแหล่ง ข้อมูลทีหลากหลายได้ เข้าใจรูปแบบการหลอกลวงต่าง ๆ ในสือ ดิจิทัล เชน่ ข่าวปลอม เวบ็ ไซต์ปลอม ภาพตัดต่อ ข้อมูลอันที เท็จ เปนต้น 5

7.ร่องรอยทางดิจทิ ัล (Digital Footprints) รอ่ งรอยทางดิจิทัล เปนความสามารถในการเข้าใจธรรมชาติของ การใชช้ วี ติ ในโลกดิจิทัลวา่ จะหลงเหลือรอ่ งรอยข้อมูลทิงไวเ้ สมอ รอ่ ง รอยทางดิจิทัล อาจจะส่งผลกระทบในชวี ติ จรงิ ทีเกิดจากรอ่ งรอย ทางดิจิทัลเข้าใจผลลัพธท์ ีอาจเกิดขึน เพอื นํามาใชใ้ นการจัดการกับ ชวี ติ บทโลกดิจิทัลด้วยความรบั ผดิ ชอบ ข้อมูลรอ่ งรอยทางดิจิทัล เชน่ การลงทะเบยี น อีเมล การโพสต์ข้อความหรอื รูปภาพ ไฟล์งานต่าง ๆ เมอื ถูกส่งเข้าโลกอินเทอรเ์ น็ตแล้ว จะทิงรอ่ งรอยข้อมูลส่วนตัวของผู้ ใชง้ านไว้ ให้ผูอ้ ืนสามารถติดตามได้ และจะเปนข้อมูลทีระบุตัวบุคคล ได้อยา่ งง่ายดาย 8.ความเห็นอกเห็นใจและสร้างสัมพนั ธภาพทีดีกับผูอ้ ืนทางดิจทิ ัล (Digital Empathy) ความเห็นอกเห็นใจและสร้างสัมพนั ธภาพทีดีกับผูอ้ ืนทาง ดิจทิ ัล เปนความสามารถในการเข้าใจผูอ้ ืน การตอบสนอง ความต้องการของผูอ้ ืน การแสดง ความเห็นใจและการแสดง นาใจต่อผูอ้ ืนบนโลกดิจิทัลได้อยา่ งเหมาะสม มปี ฏิสัมพนั ธ์ อันดีต่อคนรอบข้าง ไมว่ า่ พอ่ แม่ ครู เพอื นทังในโลกออนไลน์ และในชวี ติ จรงิ ไมด่ ่วนตัดสินผูอ้ ืนจากข้อมูลออนไลน์แต่ เพยี งอยา่ งเดียว และจะเปนกระบอกเสียงให้ผูท้ ีต้องการ ความชว่ ยเหลือในโลกออนไลน์ 6

Digital Citizens : พลเมอื งดิจทิ ัล พลเมอื งดิจทิ ัล หรือ Digital Citizens เปนกระแสทีแพรห่ ลายไปทัวโลกนับตังแต่ อินเตอรเ์ น็ตและเทคโนโลยสี ารสนเทศได้เข้ามามี บทบาทในการดําเนินกิจกรรมด้านต่างๆ ในชวี ติ ประจําวนั ประเทศไทยให้ความสําคัญกับเรอื งดัง กล่าวอยา่ งจรงิ จังหลังจากทีรฐั บาลผลักดัน นโยบายเศรษฐกิจดิจทิ ัล (Digital Economy) เพอื เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งให้กับระบบเศรษฐกิจและ เตรยี มความพรอ้ มเข้าสู่ประชาคมอาเซยี นใน อนาคตยุคปจจุบนั เทคโนโลยสี ารสนเทศมคี วาม เกียวข้องกับการใชช้ วี ติ ประจําวนั อยา่ งหลีกเลียงไม่ ได้จึงมคี วามจําเปนอยา่ งยงิ ทีทุกคนควร เสรมิ สรา้ ง ศักยภาพการใชเ้ ทคโนโลยดี ังกล่าวอยา่ งชาญฉลาด และก้าวเข้าสู่ความเปนพลเมอื งในยุคดิจิตอลได้ อยา่ งภาคภมู ิ 7

คณุ ลักษณะทีดีของพลเมอื งดิจิทัล(Good Digital Citizens) มอี งค์ประกอบหลายประการ ดังนี 1.การตระหนักถึงความสามารถในการเขา้ ถึง เทคโนโลยสี ารสนเทศของผูอ้ ืน ผใู ชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศทกุ คนควรตระหนักวา บุคคล มีโอกาสในการเขา ถงึ และมีศกั ยภาพใชเ ทคโนโลยี สารสนเทศท่แี ตกตา งกนั พลเมืองดจิ ติ อลทด่ี ีจึงไมควร เลอื กปฏบิ ัติและดหู มนิ่ บคุ คลผูขาดทกั ษะการใช เทคโนโลยฯี หากแตจ ะตองชว ยกันแสวงหามาตรการ ตา งๆเพ่อื เสรมิ สรางความเสมอภาคในการเขา ถึง เทคโนโลยฯี อนั จะทําใหสงั คมและประเทศนัน้ ๆ กา วเขา สูยคุ ดจิ ิตอลไดอ ยา งภาคภมู ิ 8

2.การเปนผูป้ ระกอบการและผูบ้ ริโภคทีมจี ริยธรรม เป็นทท่ี ราบกันโดยทัว่ ไปวาเทคโนโลยีสารสนเทศได เปลย่ี นแปลงระบบตลาดแบบดัง้ เดิม (Traditional Marketplace) ไปสตู ลาดในระบบอเิ ลคทรอนิกส (Electronic-Marketplace) และไดรับความนิยมอยา ง แพรห ลายดังจะเห็นไดจ ากความหลายหลายของประเภท สินคา ท่สี ามารถซ้อื หาไดในระบบออนไลน ตลอดจน บรกิ ารประเภทตา งๆ ท่ผี บู ริโภคสามารถทาํ ธรุ กรรมได อยางสะดวก พลเมอื งยคุ ดิจิตอลจะตองมีความซ่ือสตั ย และมีศีลธรรมในการทาํ นิติกรรมและธุรกรรมทุกประเภท บนโลกออนไลน เชน ไมซ้อื ขายและทําธุรกรรมทผี่ ิด กฎหมาย เชน การดาวนโหลดสิ่งทข่ี ัดตอ กฎหมาย ตลอด จนการใชป ระโยชนจากเทคโนโลยเี พ่อื หลอกลวงผูอ่ืนให ซ้อื สินคา และบรกิ ารทีไ่ มมคี ณุ ภาพ เป็นตน 9

3.การเปนผูส้ ่งสารและรับสารทีมมี รรยาท รูปแบบการส่ือสารไดม ีการพฒั นาและเปลีย่ นแปลง ไปอยางมากในชว งศตวรรษท่ี 21 ดังจะเห็นไดจ าก รปู แบบการส่ือสารผา นอินเตอรเ น็ตทส่ี ะดวก รวดเรว็ และมีความเช่อื มโยงทวั่ โลก เชน อเี มลล และโซเชียลมีเดยี หลากหลายประเภท ปัจจุบนั มีผู ใชขอไดเปรียบของชอ งทางการส่อื สารดังกลาว อยางไมเ หมาะสม เชน การสง สารท่ี มีเจตนาหมิน่ ประมาทผอู ่นื และการสงสารทีม่ ีเจตนาใหสงั คมเกิด ความแตกแยก ทงั้ ทก่ี ระทําไปโดยเจตนาหรอื รูเ ทา ไมถ ึงการณ ดังนัน้ พลเมอื งดจิ ติ อลท่ีดจี ะตองมี มรรยาทและความรับผดิ ชอบตอการกระทาํ ของตน ในโลกออนไลน หรือ ทีเ่ รารจู กั กันดใี นนามของ (Digital Etiquette) ทีจ่ ะเป็นเคร่อื งมอื ในการย้าํ เตอื นสตติ ลอดจนการกระทาํ ที่เหมาะสมในการ ส่อื สารทกุ ประเภทในยคุ ดจิ ิตอล 10

4.การเคารพต่อกฎหมายและกฎระเบยี บ ปัจจบุ ันการทาํ ธรุ กรรมและนิตกิ รรมทางอเิ ลคทรอนิกส อยภู ายใตบงั คับของกฎหมายและกฎระเบียบวาดวยการ ทําธุรกรรมทางอิเลคทรอนิกสซ ่งึ มวี ัตถุประสงคห ลักใน การป องกันและปราบปรามการละเมิด ในรูปแบบตางๆ ที่ มลี กั ษณะเป็นอาชญกรรมทางอีเลคทรอนิกส เชน การลัก ขโมยและการจารกรรมขอมลู ประเภทตา งๆ เชน ขอมลู ทางธุรกจิ และขอมูลสว นบุคคล ตลอดจนมาตรการ คมุ ครองเกยี่ วกบั ทรัพยสนิ ทางปัญญาในรูปแบบตา งๆ ดัง นัน้ พลเมืองยคุ ตจิ ติ อลที่ดจี ะตอ งตระหนักและรับทราบ ถึงกฎหมายและกฎระเบียบดังกลาว ตลอดจนมคี วาม ยบั ยัง้ ชา งใจตอการกระทาํ ของตนทอ่ี าจเป็นการละเมิด สทิ ธิของบคุ คลอ่ืน 11

5.การใชเ้ ทคโนโลยใี ห้มคี วามเหมาะสมและไมส่ ่งผล เสี ยต่อสุขภาพ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีขาดความเหมาะสมอาจ สงผลเสยี ตอ สขุ ภาพโดยรวม เชน ความเครยี ดตอ สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ตลอดจนการกอ ใหเ กิดการ สญู เสียสมั พันธภาพในสงั คมได พลเมืองยุคดจิ ิตอลจะ ตองควบคมุ การใชอปุ กรณอิเลคทรอนิกสใ หมคี วาม เหมาะสมเพ่อื ป องกนั มใิ หเ กิดอาการเสพตดิ ตอ สิ่งดัง กลา วจนเกดิ ผลเสียตอสขุ ภาพโดยรวมได นอกจากนี้ การลดปริมาณการส่ ือสารแบบออนไลนมาเป็ นรูปแบบ การส่อื สารแบบดงั้ เดมิ ในบางโอกาสจะกอ ใหเ กิดผลดี ตอสมั พนั ธภาพของบุคคลใกลช ิดอกี ดวย 12

6.เรียนรู้วธิ ีการเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้ เทคโนโลยี พลเมอื งดจิ ติ อลนอกจากจะตองเป็นผูท ม่ี ีทกั ษะในการ ใชเทคโนโลยอี ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพแลว จะตองใฝรูแ ละให ความสาํ คญั กบั มาตรการเพ่อื ความปลอดภยั และการ คุม ครองขอ มูลสวนบุคคลดว ย (Digital Security) เน่ืองจากในยุคดจิ ิตอลนัน้ ผมู เี จตนากระทําผดิ และหลอก ลวงสามารถใชเทคโนโลยีท่ีมคี วามทันสมัยเพ่ือหลอกลวง ผอู ่ืนไดง ายกวา กระบวนการส่อื สารแบบดงั้ เดมิ วธิ กี าร เสริมสรา งความปลอดภัยในการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ท่ีสามารถกระทําไดโดยงา ยมหี ลากหลายวิธี เชน การตดิ ตงั้ ระบบป องกนั การจารกรรมและการทาํ ลายขอมูลใหก บั อปุ กรณการส่อื สารทุกประเภท ตลอดจนรเู ทา ทันตอรปู แบบและกลอบุ ายของอาชญากรอิเลคทรอนิกสทีม่ กั มกี าร พัฒนารูปแบบของการกระทาํ ผดิ อยูเสมอ 13

แหล่งทีมา สถาบนั สือเด็กและเยาวชน. (2561). การจัดทํา Fact Sheet‘ความฉลาดทางดิจิทัล’ (Digital Intelligence : DQ) และการศึกษาการรงั แก กันบนโลกไซเบอรข์ องวยั รุน่ . กรุงเทพมหานคร : สถาบนั สือเด็กและ เยาวชน https://www.stou.ac.th/study/sumrit/1- 59(500)/page2-1-59(500).html 14


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook