Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์

โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์

Published by nokyoong_biibi, 2022-07-29 03:33:25

Description: เครื่องกลั่นไอน้ำ

Search

Read the Text Version

โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทส่งิ ประดิษฐ เรือง หมอกล่นั ไอนํ้า กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนบา้ นชมุ ภทู อง สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาบงึ กาฬ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

รายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร. ประเภทส่งิ ประดษิ ฐ. เรอ่ื ง หม<อกลนั่ ไอน้ำ โดย 1. เดก็ ชายกณั ฑ/เอนก ทองสุข 2. เด็กชายคุณากร วรารมั ย/ 3. เดก็ หญงิ พรนภา งอกงาม ครูทปี่ รกึ ษา 1. เด็กหญิงปวรรญา ฤทธิสิงห/ 2. นางสาวปJยะพร ปะเสนาเว โรงเรียนบาM นกุดรัง สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 3

รายงานฉบับนเี้ ปUนสวV นหน่งึ ของโครงงานวิทยาศาสตร/ ประเภทส่ิงประดิษฐ/ ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปทX ่ี 4-6 เน่ืองในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครงั้ ท่ี 68 วันท่ี 12 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2561 เรอ่ื ง หม<อกลนั่ ไอนำ้ โดย 1. เดก็ ชายกณั ฑเ/ อนก ทองสุข 2. เดก็ ชายคณุ ากร วรารัมย/ 3. เด็กหญงิ พรนภา งอกงาม ครูทีป่ รกึ ษา 1.นางสาวปวรรญา ฤทธิสิงห/ 2.นางสาวปJยะพร ปะเสนาเว

สารบัญ เรอื่ ง หน/า บทคัดยอ' ………………………………………………………………………………………………………………………….… ก กติ ติกรรมประกาศ ……………………………………………………………………………………………………………….. ข สารบัญ ………………………………………………………………………………………………………………………………... ค สารบัญตาราง ………………………………………………………………………………………………………………………. ง สารบัญภาพ …………………………………………………………………………………………………………………………. จ บทท่ี 1 บทนำ ………………………………………………………………………………………………………………………. 1 บทท่ี 2 เอกสารท่เี ก่ียวขBอง …………………………………………………………………………………………………….. 3 บทที่ 3 อุปกรณFและวิธดี ำเนนิ การ …………………………………………………………….…………………….……… 8 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ การ ……………………………………...………………………………………………………………. 10 บทท่ี 5 สรปุ ผลการดำเนนิ การ/อภปิ รายผลการดำเนินการ ……………………………………………………..…. 12 บรรณานุกรม ………………………………………………………………………………………………………………….…… 13 ภาคผนวก …………………………………………………………………………………..………………………………………. 14

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา/ ตารางท่ี 1 ผลการทดสอบประสิทธภิ าพของหมอB กลั่นไอนำ้ ……………………………..…………………….. 11

สารบัญภาพ ภาพท่ี หน/า ภาพท่ี 1 หมอB กลั่นไอน้ำ ………………………………………………………………………………………………….. 10 ภาพท่ี 2 การทดสอบประสิทธภิ าพของสารสกัดโดยการดมกล่นิ .................................................. 10

กติ ตกิ รรมประกาศ รายงานวจิ ยั ฉบบั น-ีสาํ เร็จได ้ ดว้ ยความกรุณาและช่วยเหลืออยา่ งดียงิB จากคุณครูปวรรญา ฤทธิสิงห์ คุณครูประจาํ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ทีBใหค้ าํ ปรึกษา แนะนาํ และแกไ้ ขขอ้ บกพร่อง อนั เป็นประโยชนต์ ่อ โครงงานขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูง ขอขอบพระคุณ คุณครูปิ ยะพร ปะเสนาเว คุณครูในรายวชิ าภาษาไทย ทBีกรุณาตรวจสอบ และให้ ขอ้ เสนอแนะ อนั เป็นประโยชนใ์ นการทาํ โครงงานคร-ังน-ี ขอขอบพระคุณคุณครูทุกท่านโรงเรียนบา้ นกดุ รังทุกท่าน ทีBใหค้ วามอนุเคราะห์ในการทดลอง และ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในการทดลอง ในการทาํ โครงงานคร-ังน-ี ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และขอบคุณครอบครัวทีBช่วยดา้ นทุนในการทาํ โครงงาน และให้ กาํ ลงั ใจ และใหค้ วามห่วงใย จนทาํ ใหโ้ ครงงานฉบบั น-ีเสร็จสมบูรณ์ คุณค่าและประโยชนจ์ ากโครงงานฉบบั น-ี ขอมอบบูชาคุณบิดา มารดา บูรพาจารย ์ และผมู้ ีพระคุณทุกท่าน ทีBไดอ้ บรมสงBั สอนจนผทู้ าํ โครงงาน ประสบความสาํ เร็จในการศึกษา คณะผู้จดั ทาํ

ชอื่ เรอื่ ง หมBอกลน่ั ไอนำ้ ผูจ2 ัดทำ เดก็ ชายกัณฑเF อนก ทองสขุ เดก็ ชายคณุ ากร วรารมั ยF ครทู ี่ปรึกษา เด็กหญงิ พรนภา งอกงาม นางสาวปวรรญา ฤทธสิ งิ หF นางสาวปยY ะพร ปะเสนาเว บทคัดย>อ โครงงานนีม้ ีวตั ถปุ ระสงคFเพอื่ ประดษิ ฐFหมอB กล่นั ไอน้ำจากวัสดใุ นทBองถนิ่ เพ่ือศกึ ษาประสทิ ธิภาพการ ทำงานของหมBอกล่ันไอน้ำ และเพอ่ื นำหมBอกล่ันไอนำ้ ท่ปี ระดษิ ฐFขน้ึ มาใชBในการสกดั สารสมุนไพร โดยทำการ ทดสอบหมBอกลั่นไอน้ำโดยการดมกลน่ั สารสกัดท่ีไดBจากการกลน่ั ดวB ยหมBอกลั่นไอนำ้ และปรมิ าณสารสกัดทไ่ี ดB โดยใชBอตั ราส`วนระหวา` งน้ำกับสมนุ ไพรคือนำ้ 1 ลติ รต`อสมนุ ไพร 200 กรมั โดยใชสB มุนไพรในทอB งถิ่นมาเปaน ตัวอย`าง คือ ตะไครB มะกรูด และกุหลาบ ผลปรากฏว`าหมอB กลั่นไอนำ้ สามารถทำงานไดB และเมื่อนำ ปรมิ าณสารสกดั จากสมุนไพรแต`ละชนดิ มาเปรยี บเทียบ พบว`าสารสกัดจากผิวมะกรดู มีปริมาณสารสกดั มาก ท่ีสดุ รองลงมาคือตะไครBและอันดับสุดทาB ยคือกลบี กุหลาบ โดยมปี รมิ าณเฉลย่ี คอื 138, 125 และ 110 มิลลลิ ิตรตามลำดบั

1 บทที่ 1 บทนำ 1.1ท่มี าและความสำคญั สภาวะการเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกิจสงั คมและการเมอื งนัน้ ย>อมก>อกำเนิดขึ้นไดDตลอดเวลาตาม ลกั ษณะแหง> ปจH จัยในแตล> ะดDาน สำหรับการเปลย่ี นแปลงทางดาD นเศรษฐกจิ นับไดDวา> มคี วามสำคัญ ใหญ> หลวง จะมีผลกระทบเช>นไรตอ> การดำรงชีพของประชาชนโดยสว> นรวมในแต>ละช>วงเวลา ตลอดจนจะตDอง พิจารณาความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ ของประเทศดDวยวา> มีแนวโนมD ดำเนนิ ไปอย>างไร ประสานสอดคลDอง กบั ปจH จัยตา> งๆ ในขณะนัน้ หรือไมเ> พยี งใด สมควรที่จะไดปD รบั ปรุงและแกDไขขDอบกพร>องดDานใดบDาง ทง้ั นกี้ ็ เพือ่ ทจี่ ะก>อใหDเกิดประโยชนSสงู สุดตอ> สังคมสว> นรวมโดยแทจD รงิ ปญH หาเศรษฐกจิ ท่ีเกดิ ข้ึนในขณะนี้ มีสาเหตุ มาจากการดำเนนิ นโยบายทางเศรษฐกจิ ท่ีมงุ> จะรักษาอตั ราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ ในอัตราสงู จึงทำ ใหมD ีการพ่งึ พาปจH จัยภายนอกประเทศเกนิ สมควร จากการตดิ ตามสถานการณทS างเศรษฐกจิ ปHญหาตา> งๆ เหลา> นีจ้ ะคงอย>ตู >อไปและจะทวีความรนุ แรงมากขึน้ หากไมม> ีการปรบั ปรงุ โครงสราD งการผลิต การนำเขาD และการสง> ออกตลอดจนการแกไD ขนโยบายเศรษฐกิจหลายๆ ดาD นอยา> งมรี ะเบยี บแบบแผน ปญH หาเหล>าน้กี ็ จะย่งิ สะสมเพมิ่ พนู ข้ึนจนยากท่จี ะแกไD ข ท้ังนดี้ วD ยโรงเรยี นบDานกดุ รังต้งั อย>ูในเขตชนบททีม่ รี ะยะทางจากหมบู> Dานถงึ เขตจังหวัดเปนV ระยะทาง ประมาณ 43 กโิ ลเมตร ซง่ึ ในการเดนิ ทางหรือดDานการขนสง> มคี วามลำบากเปนV ยากมาก ทำใหDเกิดปญH หา ขาดแคลนวสั ดแุ ละอปุ กรณทS ี่ตอD งส่ังซื้อจากในเมืองและเกดิ ความล>าชาD ในการขนสง> เปนV อยา> งมาก แต>ดวD ย บริเวณชุมชนท่ตี ้งั ของรงเรียนบDานกุดรังมีปZาไมDท่คี >อนขDางหนาแน>นและมที รัพยากรดDานธรรมชาติมากมาย หลากหลายชนิดซง่ึ หาไดDงา> ยไดตD ามครัวเรอื นและในทดี่ นิ ของชาวบาD น คณะผDจู ัดทำจึงมีความสนใจทจี่ ะสราD งเครือ่ งกล่ันน้ำมนั หอมระเหยจากพชื สมุนไพรที่มอี ยใ>ู นชมุ ชน ข้ึนมาใชโD ดยใชDหลักการการสกัดสารโดยการกลั่นดวD ยไอน้ำ โดยใชวD ัสดุท่เี หลือใชใD นทDองถน่ิ มาประดิษฐSเปVน หมDอกลัน่ ไอนำ้ เพ่อื ใชใD นการสกดั นำ้ มนั หอมระเหย ตามหลักการนำกลับมาใชDอีก (Recycling) อันวธิ กี าร แกปD Hญหาแบบพ่ึงตนเองท่ปี ระหยัดและสอดคลอD งกับหลักการอนรุ กั ษธS รรมชาตแิ ละส่งิ แวดลDอมทางหนง่ึ 1.2แนวคิดในการทำงาน คณะผDูจดั ทำมีความเหน็ ว>าสารสกดั น้ำมันหอมระเหยจากสมุนไพรน>าจะสกดั ไดโD ดยวธิ กี ารควบแนน> เช>นเดยี วกับการน่ึงขDาวเหนียวเพราะความรDอนจากการน่งึ ขาD วเหนียวจะไดกD ลิน่ ขาD วหอมลอยออกมาดวD ย เช>นกัน ดงั น้นั หากนำหลกั การของการน่ึงขDาวพ้นื บDานมาออกแบบ ปรับสราD งเปVนเครื่องกลั่นนำ้ มันหอม

2 ระเหยโดยใชDวัสดุเหลอื ใชDในทDองถนิ่ โดยอาศัยแนวคิดการกล่นั จากการควบแนน> และอาศยั พ้นื ฐานความรDูที่ เรียนวิชาวิทยาศาสตรS มาใชDภายใตDการดูแลและใหDคำปรึกษาจากผDรู ูใD นทDองถิน่ เอกสารตำราต>างๆ ตลอดจนรบั คำปรกึ ษาจากครูทป่ี รกึ ษา จะสามารถสราD งหมDอกลนั่ ไอนำ้ ไวใD ชปD ระโยชนใS นโรงเรยี น 1.3จดุ มงุ= หมายของโครงงาน 1. เพอื่ ประดษิ ฐSหมDอกลนั่ ไอนำ้ จากวัสดุในทDองถนิ่ 2. เพอื่ ศึกษาประสทิ ธภิ าพการทำงานของหมDอกล่ันไอนำ้ 3. เพ่อื นำหมDอกลน่ั ไอน้ำไปใชสD กดั สารสมุนไพร 1.4สมมตฐิ าน หมอD กลั่นไอนำ้ ท่ีประดิษฐSจากวัสดุในทDองถน่ิ สามารถกลน่ั สารสกัดน้ำมนั หอมระเหยจากพชื สมนุ ไพรไดD 1.5ตัวแปรทศี่ กึ ษา ไดDแก> หมอD กลนั่ ไอนำ้ จากวสั ดใุ นทอD งถ่นิ ไดDแก> สารสกดั น้ำมนั หอมระเหยจากสมุนไพร ตวั แปรตDน ไดแD ก> จำนวนพชื สมนุ ไพร ปริมาณนำ้ ในหมDอกล่นั ไอนำ้ เวลาท่ีใชDกลนั่ ตัวแปรตาม ตวั แปรควบคุม และระดับความรอD นของไฟทใ่ี ชตD Dมนำ้ 1.6ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาหาความสามารถในการทำงานของหมอD กลน่ั ไอนำ้ ทสี่ รDางจากวัสดุในทDองถิน่ แลDวนำมา ศึกษาทดลองการทำงานของหมอD กลนั่ โดยนำสารสกัดสมนุ ไพรทไี่ ดไD ปตวงหาปริมาณ พสิ จู นSกล่ิน 1.7ประโยชนทP ่คี าดว=าจะไดRรบั 1.ไดหD มDอกลนั่ ไอน้ำจากวัสดุในทอD งถน่ิ 2.นำหมDอกล่ันไอน้ำไปใชDในการสกดั สารสมุนไพร 3.เปนV แนวทางการศึกษาและพัฒนาสง่ิ ประดษิ ฐเS พื่อใชDในการแกปD Hญหาอ่ืนต>อไป

3 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ0 ง 2.1หลักการนำกลับมาใชใ0 หม1 (Rycycling) Recycling อ#านกวา# รไี ซคลิง แปลว#า การนำกลับมาใชใ8 หม# ในความหมายน้คี ือการนำวัตถุ ส่ิงของทใ่ี ชแ8 ล8วมาใชป8 ระโยชนใF หม#อีกครั้งหนึง่ โดยนำเอาวัตถุสง่ิ ของเหล#านีม่ าปรบั แต#งหรือแปรสภาพดว8 ย วิธีการ เทคโนโลยตี #างๆกลายเปนN วัสดุ ผลิตภัณฑชF นดิ ใหมห# รือชนดิ เดิมท่ีสามารถท่ีจะนำมาใชป8 ระโยชนFได8 การรีไซคลงิ มีความจำเปนN ตอ8 งนำไปใชเ8 พราะโลกอาจจะขาดแคลนทรพั ยากรธรรมชาตทิ จี่ ะนำมา ผลิตเปนN สง่ิ ของตา# งๆ หรอื นำมาใชป8 ระโยชนโF ดยตรง เพ่ือสนองความต8องการของมนษุ ยFอย#างมากท้ังนี้ ทรพั ยากรแตล# ะชนดิ ว#าท่ีจะก#อตัวหรืออย#ใู นสภาพทีจ่ ะนำมาใชป8 ระโยชนไF ดน8 น้ั ต8องใชเ8 วลาหลายปU แต#เราใช8 ประโยชนจF ากผลติ ภณั ฑFส่งิ ของเหล#านนั้ เพียงระยะเวลาไม#นานกท็ ง้ิ กลายเปนN ขยะเสียแล8ว จนเดีย๋ วนห้ี ากเรา จะพดู วา# “มนุษยFอยูท# ไ่ี หน มีขยะอย#ูทนี่ ่นั ” กไ็ มใ# ช#คำพูดเทจ็ คลาดเคล่อื นจากความเปNนจริงมากนกั สิง่ ของ บางอยา# งเราใช8ประโยชนFได8เพียงไม#นานเรากท็ ิ้งไปนบั ว#าเปNนการใช8ทรัพยากรท่ไี มค# ุม8 คา# เลย การนำกลับมาใชใ: หม< ( Recycling ) โดยการนำเอาวัสดทุ ีเ่ ปนN ส#วนประกอบของวัสดเุ หลือใชท8 ่ยี ังมี สภาพที่ใช8การไดบ8 างสว# น มาคดิ และประกอบเข8าด8วยกันตามแปลน แผนภาพ หรอื แผนผงั การใช8งานที่ ออกแบบข้นึ ตามหลักการทีเ่ หมาะสม จะทำให8เกดิ ส่ิงประดิษฐFทางวทิ ยาศาสตรขF ึ้นมาใหมต# ามหลักการ การ นำกลบั มาใชใ8 หม# ( Recycling ) ทเ่ี ปนN แนวทางในการอนุรกั ษFสง่ิ แวดลอ8 มและรักษาทรพั ยากรธรรมชาตใิ ห8มี ใชไ8 ดน8 านตราบเท#านาน 2.2การควบแนน1 การควบแน#น หมายถงึ การที่ไอน้ำไดร8 ับความเยน็ จดั ก็จะรวมตวั เปนN หยดน้ำ ซ่งึ เราเรยี กการรวมตวั ของการกลัน่ ตัวของไอนำ้ เม่อื กระทบกับความเยน็ วา# “การควบแน#น” 2.3เทคนิคการกล่ัน การกลั่นเปนN กระบวนการเปลย่ี นของเหลวให8เปNนไอโดยใช8ความร8อนแล8ว ทำให8ไอควบแน#นกลับเปNน ของเหลวอีก การกล่นั ใช8ในการทำใหข8 องเหลวบรสิ ทุ ธิ์ หรอื ใช8แยกของเหลวชนิดหนึ่งออกจากของเหลวอ่นื ๆ ได8ซึ่งของเหลวเหล#านัน้ จะต8องมคี ุณสมบตั ิทางกายภาพเรียกวา# การระเหยแตกต#างกัน โดยทั่วไปแล8วสารท่ี ระเหยงา# ยจะมคี วามดันไอสงู ทอี่ ุณหภูมิหอ8 ง สว# นสารท่ีไม#ระเหยจุมีความดันไอตำ่ นัน่ คือสารทีร่ ะเหยง#ายจะมี ความดนั ไอสูงทอี่ ุณหภูมหิ อ8 ง สว# นสารทไี่ มร# ะเหยจะมีความดันไอต่ำน่นั คอื สารทรี่ ะเหยง#ายจะมีความดนั ไอสูง

4 แตจ# ดุ เดือดตำ่ กว#าสารทไ่ี มร# ะเหย เราทราบกันแล8วว#าของแขง็ และของเหลวทั้งหลายมแี นวโนม8 ทจี่ ะระเหย กลายเปNนไอได8ทกุ อณุ หภมู ิทีเ่ ปล่ียนแปลง ซึง่ การระเหยกลายเปNนไอจะมากหรอื น8อยขึ้นอยก#ู ับอุณหภมู แิ ละ ความดันภายนอก เช#น เมือ่ บรรจขุ องเหลวชนิดหน่ึงในภาชนะปดg ของเหลวนั้นจะกลายเปNนไอจกระทงั่ มี ความดันไอคงท่ี ซึง่ เปNนความดนั ไอของของเหลวนนั้ ออกไปซงึ่ เปNนการลดความดันไอเหนือของเหลวนัน่ เอง การกล่ันสามารถนำมาใชท8 ดสอบความบริสุทธขิ์ องของเหลวได8 ซึง่ ของเหลวที่บริสทุ ธ์ิจะมลี ักษณะ ดงั นี้ 1.สว# นประกอบของสารที่กลั่นได8 จะมีลกั ษณะเหมอื นกับส#วนประกอบของของเหลว 2.สว# นประกอบจะไม#มีการเปลย่ี นแปลง 3.อณุ หภมู ขิ องจุดเดือดในขณะกลัน่ จะคงท่ตี ลอดเวลา 4.การกล่ันจะทำใหเ8 ราทราบจดุ เดอื ดของของเหลวบรสิ ุทธ์ิได8 2.4พืชสมุนไพบางชนดิ ทน่ี ำมากลน่ั นำ้ มันหอมระเหย 2.4.1ตะไคร: ชอื่ วทิ ยาศาสตรF : Cymbopogon citratus ช่อื สามัญ : Lemon grass ช่ือทอ8 งถน่ิ : คาหอม, ไคร, จะไคร ชื่อวงศF : Gramineae ลกั ษณะพืช พืชใบเลยี้ งเดยี่ ว เจรญิ รวมกนั เปนN กอ สูงประมาณ 1 เมตร รากเปนN ระบบรากฝอย ใบเปนN ใบ เดย่ี วยาวเรยี ว ลักษณะแวดล:อมทเี่ หมาะสม ปลกู ไดใ8 นดนิ ทกุ ชนิด ยกเวน8 ดินเหนยี ว

5 การปลูกและการดูแลรกั ษา ควรปลกู ในพืน้ ดินท่ีอ#อนแอและรว# นซุย โดยนำกอตะไครม8 าแยกต8นและตดั ให8เหลือความยาว ประมาณ 15-20 เซนตเิ มตร นำไปปก{ ชำลงในดินลกึ ประมาณ 5 เซนตเิ มตร แล8วรดนำ้ ให8ช#ุม การเกบ็ เก่ยี ว ใชจ8 อบขุดหรอื มดี ตัดทีโ่ คนตน8 เสมอระดบั ผิวดนิ ตัดใบ ราก ลา8 งให8สะอาด มัดจำหน#ายตลาดใน ประเทศ หากต8องการนำสง# ตา# งประเทศนำตน8 ตะไครม8 าเหน็ เปNนแวน# บางๆตากให8แห8งสง# ตลาดตา# งประเทศ โรคและแมลงศตั รูพืชที่พบ ไมพ# บโรคและแมลงที่ทำลายจนถงึ ขนั้ เสียหายทางเศรษฐกิจ สาระสำคัญ นำ้ มนั หอมระเหย มีอยปู# ระมาณ 0.16% ประกอบด8วยสารตา# งๆ เชน# citral, linalool, geraniol มี คณุ สมบตั ิเปNนยาขบั ลม แกจ8 ุกเสยี ด สามารถฆ#าเชือ้ ราและแบคทีเรยี บางชนดิ ไดด8 ว8 ย 2.4.2กุหลาบ ชอื่ วทิ ยาศาสตรF : Rase spp. ชือ่ สามัญ : rose ชื่อท8องถน่ิ : กุหลาบ ชอ่ื วงศF : Rosaceae ลักษณะพชื กหุ ลาบนนั้ มที งั้ ไม8พุ#มและไม8เลื้อย ลำตน8 และกงิ่ จะมหี นาม ส#วนดอกของกุหลาบจะมีทง้ั ดอกเด่ียวและ เปNนช#อ กลีบดอกมลี กั ษณะใหญ# มีไมต# ำ่ กวา# 5 กลีบ กุหลาบนน้ั มกี ล่นิ หอมชวนดม และมหี ลายสี เชน# แดง ขาว เหลือง ชมพู ฯลฯ อกี ท้งั ยงั มหี ลายชนดิ ดว8 ย ลักษณะแวดล:อมทเ่ี หมาะสม

6 พื้นทีป่ ลกู ควรปลูกในทที่ ่ีระบายนำ้ ได8ดี มีความเปNนกรดเล็กน8อย พเี อช็ ประมาณ 6-6.5 และได8แสง อยา# งน8อย 6 ชัว่ โมง อุณหภมู ิ อุณหภมู ทิ ีเ่ หมาะสมในการเจริญของกหุ ลาบคือ กลางคนื 15-18 องศาเซลเซียส และกลางวนั 20-25 องศาเซลเซียส ซึ่งเปNนชว# งอุณหภูมทิ ีจ่ ะทำใหไ8 ด8ดอกที่มคี ุณภาพดี และให8ผลผลติ สูง การปลกู และการดูแลรักษา ใหน8 ำ้ ระบบนำ้ หยด หรือใช8หัวพน# นำ้ ระหวา# งแถวปลกู ปริมาณ และสดั สว# นของธาตุอาหาร การให8ปยÉุ ระหว#างปลูกพชื เนื่องจากธาตอุ าหารสว# นใหญ#จะมอี ยูใ# นดนิ แล8วเม่อื ปลูกพชื จงึ ยงั คงเหลือธาตุ ไนโตรเจน และ โพแทสเซยี ม ซงึ่ จะถูกชะลา8 งได8ง#าย ดังนัน้ จงึ ตอ8 งใหป8 ยÉุ ทงั้ สองในระหวา# งทพี่ ืชเจริญเติบโต ซึ่งการใหป8 ยÉุ อาจทำ ได8โดยการใหพ8 ร8อมกับการใหน8 ำ้ (fertigation) การใหป8 Éุยพรอ8 มกับน้ำสำหรบั กุหลาบ หากให8ทุกวนั จะใหใ8 น อตั ราความเข8มข8นของไนโตรเจน 160 มก./ลิตร (ppm) และหากใหป8 ุÉยทกุ สปั ดาหFควรใหใ8 นอตั ราความเขม8 ข8น ของไนโตรเจน 480 มก./ลติ ร การเกบ็ เก่ียว ระยะทเี่ หมาะสมในการเก็บเกี่ยวกหุ ลาบ คอื ตดั เมื่อดอกตมู อย#หู รือเห็นกลีบดอกเริ่มแยม8 (ยกเว8นบาง สายพันธ)ุF หากตัดดอกอ#อนเกนิ ไปดอกจะไม#บาน ในฤดรู อ8 นควรตดั ในระยะท่ยี ังตมู มากกวา# การตัดในฤดูหนาว เพราะดอกจะบานเรว็ กวา# และการตดั ดอกกหุ ลาบน้ันตัดได8ทง้ั ในช#วงเช8าและชว# งเย็นทัง้ น้ีข้ึนอยกู# บั สายพันธFขุ อง กุหลาบแต#ละชนดิ การตดั กุหลาบนัน้ เกษตรกรไมค# วรตัดกหุ ลาบชดิ ดอกมากจนเกนิ ไป และควรใหม8 ีก่ิงเหลอื อยู# อยา# งนอ8 ย 2 ก่ิง หลงั จากท่ีตัดดอกกหุ ลาบเรียบรอ8 ยแลว8 ใหร8 บี นำกุหลาบท่ีตดั ไดไ8 ปแชน# ำ้ ทันทีโดยน้ำก8านลงไป แชเ# พ่ือปอá งกนั การสญู เสียนำ้ และปáองกนั การเหีย่ วเฉาของดอกกหุ ลาบระยะท่ีเหมาะสมและตัดเมื่อดอกตูมอย#ู หรือเหน็ กลบี ดอกเร่ิมแยม8 (ยกเว8นบางสายพนั ธFุ) หากตดั ดอกออ# นเกนิ ไปดอกจะไมบ# าน ในฤดูร8อนควรตดั ใน ระยะทยี่ งั ตูมมากกวา# การตัดในฤดหู นาวเพราะดอกจะบานเรว็ กว#า โรคและแมลงศัตรูพืชที่พบ กุหลาบเปNนไมต8 ัดดอกชนดิ หนึง่ ท่ีมีศตั รูมากพืชหนง่ึ ดงั นน้ั การปáองกนั และกำจดั ศัตรกู หุ ลาบใหม8 ี ประสทิ ธิภาพ ผป8ู ลูกควรทราบลักษณะสภาพแวดลอ8 มที่เหมาะสม และวงจรชีวติ ของศัตรูนั้น ๆ รวมทั้งการ ปáองกนั กำจัด และการใชส8 ารเคมใี ห8มปี ระสทิ ธิภาพเพอ่ื ไม#ให8เปนN อนั ตรายแกต# วั เองและผ8ูอน่ื และควรฝกâ เจา8 หนา8 ทีใ่ ห8หมั่นตรวจแปลง และสงั เกตตน8 กหุ ลาบทกุ วนั จะชว# ยให8พบโรคหรอื แมลงในระยะเร่ิมแรก ทำให8 สามารถกำจัดไดง8 า# ย ในการฉีดพ#นสารเคมคี วรใช8สารเคมีชนิดเดียวกันตดิ ต#อกนั อยา# งนอ8 ย 2-3 คร้งั เพอ่ื ใหส8 าร นนั้ ๆ แสดงประสิทธิภาพอยา# งเต็มท่ี จากนนั้ นน้ั ควรสับเปล่ยี นกลุม# ของสารเคมเี พอ่ื ลดการดอ้ื ยา สาระสำคัญ กลิน่ หอมของดอกกุหลาบถกู ผลติ จากต#อมกลน่ิ (scent gland) ซึ่งอยบู# ริเวณผวิ ด8านนอกของกลบี ดอก กลบี เลย้ี งและฝก{ ออ# น ตอ# มกล่ินมขี นาดเลก็ มองไมเ# ห็นดว8 ยตาเปล#า มองดคู ลา8 ยกำมะหยี่ มีหน8าทใี่ นการผลิต สารหอมเพื่อใชใ8 นการลอ# แมลง

7 2.4.3มะกรูด ชอ่ื วทิ ยาศาสตรF : Citrus hystrix DC. ชือ่ สามญั : Kaffir lime, Leech lime, Mauritius papeda ชอ่ื ทอ8 งถน่ิ : มะขู, มะขนุ , มะขดู , สม8 กรดู , สม8 มว่ั ผี ชือ่ วงศF : Rutaceae ลกั ษณะพืช ไมย8 นื ตน8 ขนาดเลก็ ลำต8นและตามกิง่ มีหนามยาวเลก็ นอ8 ย ใบเปNนใบประกอบชนดิ ลดรปู มใี บยอ# ย 1 ใบ เรยี งสลับ รูปไข# คอดกว่ิ ท่ีกลางใบ ใบสีเขยี วแก# พนื้ ผวิ ใบเรยี บเกลีย้ ง เปนN มัน คอ# นข8างหนา มกี ล่ินหอมมาก เพราะมีต#อมน้ำมันอยู# ลักษณะแวดลอ: มที่เหมาะสม สภาพพน้ื ทป่ี ลกู ตน8 มะกรูดตอ8 งมกี ารระบายนำ้ ทีด่ ี น้ำไม#ทว# มขัง มีระดบั pH 5.5-7.0 ดนิ มอี นิ ทรยี วัตถุ สูง เนื่องจากระยะปลกู มะกรูดมีความสัมพันธกF ับการเตรยี มแปลงและจำนวนตน8 ปลกู การปลกู และการดูแลรกั ษา ความกวา8 งของแปลงปลูก 1 เมตร ยกระดบั ความสูงของแปลงประมาณ 20-25 เซนตเิ มตร ความห#าง ระหว#างจุดก่งึ กลางของแปลง 1.5 เมตร ระยะปลกู หา# งระหวา# งต8น 50 เซนติเมตร ปลูกแบบสลับฟน{ ปลา การให8น้ำ ในระยะทป่ี ลูกมะกรูดใหม# ๆ ต8องหมั่นรดนำ้ ให8ความชุม# ชน้ื แก#พืช จะทำใหพ8 ชื ตั้งตัวได8เร็ว แตกใบ อ#อนกิ่งอ#อนดี การใสป# ยÉุ ควรใส#ปÉยุ เพม่ิ ธาตอุ าหารให8พืชเปนN คร้ังคราว ซ่งึ อาจเปNนปยÉุ อนิ ทรียหF รือปÉุย วิทยาศาสตรF และปยÉุ ชีวภาพก็ได8 ปกตจิ ะรบั ประทานใบมะกรูดเปนN อาหารจึงมกั ใชป8 ยÉุ ที่มไี นโตรเจนสูง สาระสำคญั

8 สารเคมที ส่ี ำคัญทพ่ี บได8ในผลมะกรูดกค็ ือนำ้ มนั หอมระเหย ซ่ึงมที งั้ ในสว# นของเปลือกผลหรือผิว มะกรดู และในส#วนของใบ โดยเปลอื กผลจะมนี ้ำมนั หอมระเหยประมาณ 4% และในส#วนของใบนน้ั จะมีนำ้ มนั หอมระเหยอยูป# ระมาณ 0.08% และยังสกัดยากกว#าน้ำมนั ในเปลือกผลอีกดว8 ย แตก# ย็ ังมีจดุ เด#นตรงทน่ี ้ำมัน จากใบจะมกี ลน่ิ มากกว#าน่นั เอง จึงนิยมใชท8 ้ังน้ำมนั มะกรูดท้ังจากใบและเปลือกผล ซึง่ นำ้ มันหอมระเหยนี้ก็ สามารถนำมาใช8ประโยชนFไดห8 ลายอยา# งและยงั มีสรรพคณุ เปนN ยาอีกดว8 ย

8 บทท่ี 3 อุปกรณ-และวธิ ีการดำเนนิ การ 3.1 อุปกรณ+ท่ีใช1ในการศกึ ษา 1. หมอ& 2. หวด 3. ท-อพีวีซี 4. พลาสติกใส 5. ยางรัดแกง 6. กาวตดิ ท-อ 7. เลื่อยตดั ท-อ 8. ขวดรูปชมพ-ู 9. กระบอกตวง 10. เขยี ง 11. มดี 12. กระดง& 13. กรรไกร 14. Hot plate 3.2 วธิ ดี ำเนนิ การศึกษา 3.2.1 การสรา* งหม*อกลนั่ ไอน้ำ 1.นำหวดมาเจาะรูขนาดเสน& ผ-าศูนยกZ ลางประมาณ 1 นว้ิ 2. นำทอ- ตรงตดั ความยาวประมาณ 1 ฟุต นำมาต-อกบั ท-อต-อแบบโคง& 3. นำข&อต-อตรงมาตอ- เขา& กบั ทอ- แบบสามหาง เพือ่ ท่ีจะนำมาต-อเข&ากบั ทอ- ยาวท่เี ตรียมไว& 4. ตดั พลาสติกใสขนาด 1X1 ฟตุ เพื่อทจ่ี ะใชค& รอบดา& นบนของหวด 3.2.2 ขัน้ ตอนการทดลอง 3.2.2.1. การทดลองความสามรถในการทำงานของหม&อกลัน่ ไอน้ำ นำสมนุ ไพรตะไคร& ผวิ มะกรดู ขมนิ้ มาสบั แล&วนำไปผ่ึงแดดให&แห&งแล&วนำมากล่นั ดว& ย หม&อกลน่ั ไอน้ำทสี่ รา& งขึ้น นำสารสกดั ทไี่ ดม& าพิสจู นZกล่ินโดยการโบกพัดมอื ผ-านเหนอื ปากขวดบรรจสุ ารสกัด ใหก& ล่นิ โชยผ-านจมกู เพ่ือรบั กลน่ิ สารสกดั น้ำมันหอมระเหยแล&วบนั ทึกผล

9 3.2.2.2. การทดลองหาประสิทธภิ าพของหม&อกล่นั ไอนำ้ 1.ตวงนำ้ สะอาดปริมาณ 1 ลิตร สบั พชื สมุนไพรแลว& นำไปผึ่งแดดให&แห&งจำนวน 3 ชนิด ชนิดละ 200 กรมั ใส-ลงไปในส-วนทใ่ี ชน& งึ่ แลว& ใหค& วามรอ& นประมาณ 15 นาที พอน้ำเรมิ่ เดอื ดนำ พลาสตกิ ใสทีเ่ ตรียมไว&มาครอบปfดท่ีปากหวด นำวตั ถุที่ค-อยขา& งหนกั เลก็ น&อยมาวางทับบนพลาสตกิ ใส บรเิ วณก่งึ กลางและวางน้ำแขง็ รอบๆโดยใหม& คี วามสมดุล ตงั้ เวลา 15 นาทีในการกลนั่ แล&วนำสารสกดั ที่ ได&บรรจลุ งในขวดรูปชมพ-ู นำไปตวงด&วยกระบอกตัวเพอ่ื หาปริมาณของสารสกดั ทไี่ ด&แล&วบนั ทกึ ผล

10 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ การ 4.1หม&อกลั่นไอน้ำ จากการทดลองใช-งานสง่ิ ประดษิ ฐ6 โดยการนำวสั ดุในทอ- งถนิ่ มาทดลองโดยใช-อุปกรณใ6 นการนงึ่ ขา- ว เหนยี วมาดัดแปลงโดยการเจาะรูและตอH ทอH พวี ีซี ภาพที่ 1 หมอ- กลั่นไอน้ำ 4.2ผลการทดลอง 4.2.1ผลการทดลองความสามารถในการทำงานของหม-อกล่นั ไอน้ำ นำสมนุ ไพรตะไคร- ผวิ มะกรดู กลบี ดอกกหุ ลาบ มาสบั แล-วนำกลัน่ ด-วยหมอ- กลั่นไอน้ำท่ีสร-างขน้ึ นำนำ้ สารสกดั ทีไ่ ดม- าพสิ ูจน6กล่ินโดยวธิ กี ารโบกมอื ผาH นเหนือปากขวดบรรจสุ ารสกดั ใหก- ลิ่นโชยผาH นจมูกเพือ่ รับกลิ่นสารสกัดนำ้ มันหอมระเหย แล-วบนั ทึกผล

11 ภาพที่ 2 การทดสอบประสิทธภิ าพของสารสกดั โดยการดมกลนิ่ จากการทดลองโบกมือเหนือขวดบรรจสุ ารสกดั นำ้ มันหอมระเหย ใหอ- ากาศบรเิ วณเหนอื ขวด ผาH นจมูกจะได-กลิ่นพืชสมุนไพรท่ใี ชส- กดั สรุปได-วHา เครือ่ งกลั่นน้ำมันหอมระเหยทสี่ ร-างขน้ึ สามารถทำงาน ได- ตัวอย1างพืช สารสกัดจากการกลั่นน้ำมนั หอมระเหย ค1าเฉลย่ี ปรมิ าณ สมุนไพร สารสกัด ครั้งท่ี 1 คร้ังที่ 2 ครงั้ ที่ 3 (มิลลลิ ิตร) (มลิ ลิลิตร) (มลิ ลลิ ติ ร) (มิลลิลติ ร) 1.ตะไคร- 123 124 129 125 2.ผิวมะกรูด 137 136 140 138 3.กลีบกหุ ลาบ 110 108 112 110 4.2.2ผลการทดลองหาประสิทธภิ าพของหมอ- กล่นั ไอนำ้ จากการทดลองโดยการตวงนำ้ 1 ลติ ร สบั พชื สมุนไพรจำนวน 3 ชนดิ ๆละ 200 กรมั โดยทำการ ทดลองทลี ะชนิด โดยทำการกลัน่ เปน[ เวลา 15 นาที ผลปรากฏดังตาราง ตารางที่ 1 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของหม-อกลัน่ ไอน้ำ จากตารางที่ 1 ผลการสกดั สารพืชสมุนไพรโดยใชห- ม-อกลนั่ ไอน้ำสรปุ ไดว- าH ในเวลา 15 นาที หมอ- กลนั่ ไอนำ้ มปี ระสิทธภิ าพในการกลน่ั สารสกัดน้ำมนั หอมระเหยจากพชื สมุนไพรท่ีนำมาเป[นตวั อยHางปริมาณ 200 กรมั ตHอน้ำสะอาดในหม-อ 1 ลิตร คือตะไคร- ผวิ มะกรดู กลีบดอกกหุ ลาบ ไดป- รมิ าตรสารสกัดเฉลย่ี 125, 138, 110 มิลลลิ ิตรตามลำดับ

บทที่ 5 สรุปผลการดำเนนิ การ/อภปิ รายผลการดำเนินการ 5.1 สรุปผลการดำเนนิ การ จากการทดลองการทำงานของหม/อกล่ันไอน้ำที่สร/างตามแบบ พบว<าหม/อกลัน่ ไอนำ้ สามารถ ทำงานได/ โดยมปี ระสทิ ธภิ าพใหส/ ารสกดั น้ำมันหอมระเหยจากสมุนไพรได/ ซ่ึงไดจ/ ากการนำสมนุ ไพรมาก ล่ันด/วยหม/อกล่ันไอนำ้ ในอัตราส<วนนำ้ 1 ลติ รต<อพชื สมุนไพร 200 กรัม เปOนเวลา 15 นาที พบว<าสารสกดั ทีม่ ปี ริมาณมากที่สดุ คอื ผิวมะกรดู รองลงมาคอื ตะไคร/ และ กลบี กุหลาบ โดยมปี รมิ าณเฉลย่ี คือ 138, 125 และ 110 มิลลิลติ รตามลำดบั 5.2 อภิปรายผลการดำเนินการ จากการสร/างหม/อกลน่ั ไอน้ำจากวัตถุในทอ/ งถิน่ พบว<าหม/อกล่นั ไอน้ำมปี ระสิทธิภาพสามารถใชใ/ น การสกัดสมนุ ไพรได/ และเมอ่ื นำปริมาณสารสกดั จากสมนุ ไพรทั้ง 3 ชนิดมาเปรยี บเทียบคา< ปรมิ าณของสาร สกดั พบว<าผิวมะกรดู มปี ริมาณค<าเฉลีย่ สงู สดุ รองลงมาคอื ตะไคร/ และกลีบกหุ ลาบ คอื 138, 125 และ 110 มิลลิลติ รตามลำดับ ซ่งึ สอดคล/องกับการศึกษาของพงษ[ศักดิ์ และคณะ พบว<าการกล่นั นำ้ มันหอม ระเหยจากเครอ่ื งกล่ันตามชมุ ชนมคี วามสามารถในการสกดั พชื ได/บางชนดิ เท<านัน้ 5.3 ขอ= เสนอแนะ 1. มกี ารศกึ ษาสกัดสมุนไพรชนดิ อน่ื เพ่ิมเตมิ 2. ศึกษาอัตราสว< นในการสกัดในระดบั อ่นื ๆเพมิ่ เติม

13 บรรณานุกรม ณกญั ภทั ร จินดา.( 2550). เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยนี ้ำมันหอมระเหย. คณะอตุ สาหกรรม เกษตร, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรC นาD ชาติ ประชาชาต.ิ (2561).รู<ไปโมด< : มะกรดู :สรรพคุณ.(28 กนั ยายน 2561).https://www.khaosod.co.th /lifestyle/news_1524657 พัชรี สวุ รรณศรี และคณะ.(2543). เศรษฐกจิ โลก. มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย, เชียงราย สวุ ฒั นา ดนั น.C (2558).การสกดั สารโดยการกลั่นด<วยไอนำ้ . โรงเรียนลาดปลาเคาD พทิ ยาคม ,กรงุ เทพมหานคร

14 ภาคผนวก

15

16 ภาพ ก วสั ดอุ ุปกรณ,ท่ีใช2ในการทดลอง ภาพ ข การเตรยี มตัวอย;างสมุนไพรทใ่ี ชใ2 นการทดลอง

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนบา้ นชุมภูทอง สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook