แบบทดสอบกอ่ นเรยี น วิชา นิเทศศาสตรใ์ นพระไตรปัฎก มหาวทิ ยาสยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์ วนั เสารท์ ่ี ๘ เดอื น กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๖ พระพลวตั พลวโร รหสั ๖๔๐๙๐๑๐๒๑ ชนั้ ปี ท๓ี่ ๑.ตอบ ในสภาวะปัจจบุ นั การด าเนินชวี ติ ของพระสงฆไ์ ดม้ กี ารเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเป็นอนั มากเน่อื งจาก เกดิ ปัญหาการแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั โควิด-19 พระสงฆก์ จ็ าเป็นตอ้ งมปี รบั ตวั และการป้องกนั ตนเองไมใ่ ห้ แพรเ่ ชือ้ ใหผ้ อู้ ่ืน ไมว่ า่ ทางตรงหรือทางออ้ ม ดงั นนั้ คนไทยทกุ คนตอ้ งปรบั พฤตกิ รรมการใชช้ ีวิต คือ ไม่ออก จากบา้ น ส่งั อาหารผ่านเดลิเวอร่ี จบั จา่ ยอยา่ งระมดั ระวงั ท างานอยทู่ ่บี า้ นใชส้ ่ือออนไลนใ์ นการสอ่ื สารระหวา่ ง กนั ท าใหก้ ารงาน การเรยี น และธรุ กิจ วถิ ีชีวติ แบบเดิมตอ้ งปรบั เปลยี่ นสง่ ผลกระทบตอ่ การปฏิบตั ศิ าสนกจิ วิถี ใหมใ่ หป้ ลอดภยั จากโควดิ เพ่อื สรา้ งความเขา้ ใจในการปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ ในยคุ New Normal ซง่ึ เป็นความปกติ ใหม่ คือ การปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมของผคู้ นในการใชช้ วี ติ ประจ าวนั และการขบั เคลื่อนทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะออนไลนจ์ ากเหตกุ ารณ์ โควิด-19 ท าใหพ้ ฤตกิ รรมของคนเปลีย่ นไป รวมถึงกิจกรรมทางศาสนาทงั้ ของพระสงฆแ์ ละพทุ ธศาสนกิ ชนท่วั ไปในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมทางศาสนา เพราะก าหนดใหเ้ ป็นกิจกรรมท่ีเส่ยี ง ตอ่ การระบาดของโรค ท าใหพ้ ระสงฆไ์ ม่สามารถออกบิณฑบาต หรือแมแ้ ต่การท่ญี าติโยมเขา้ มาท าบญุ ตกั บาตรได้ การสรา้ งความม่นั คงทางหาร จึงเป็นส่ิงจ าเป็นท่พี ระสงฆจ์ ะสามารถเขา้ ถึงแหล่งอาหารท่มี อี ยา่ ง เพียงพอส าหรบั การบรโิ ภค อีกทง้ั วดั ยงั เป็นสถานท่พี ง่ึ ใหแ้ กป่ ระชาชนผไู้ ดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น ในการใช้ ประโยชนจ์ ากบรเิ วณ “วดั ” เป็นทค่ี ดั กรองผปู้ ่วย พกั อาศยั ส่งตอ่ และเม่ือเสียชวี ติ ก็ท าประกอบพิธใี หร้ วมถงึ การฟื้นฟสู ภาพจิตใจวดั กเ็ ป็นท่พี ึ่งทางจิตใจ ตอ้ งมี “สต”ิ ในการด ารงชวี ิต เพ่อื ฝ่าฝันวิกฤตการณโ์ ควิด-19 ท าใหเ้ กิดการปรบั เปลี่ยนรูปแบบวิถีชวี ติ แบบใหม่ไปพรอ้ ม ๆ กนั
จะเห็นไดว้ า่ พระสงฆม์ ิไดท้ าเฉพาะหนา้ ท่ใี นการสืบทอดอายพุ ระพทุ ธศาสนาเท่านน้ั แตย่ งั ไดท้ า หนา้ ท่ใี นการชว่ ยเหลือสงเคราะหส์ งั คมในดา้ นต่าง ๆ หลายดา้ นดว้ ยกนั ทงั้ นเี้ พราะพระสงฆเ์ ป็นผมู้ ี ความสามารถ และทรงคณุ ค่าในการพฒั นาชมุ ชนเป็นท่ไี วว้ างใจ ในการท างาน นอกจากนพี้ ระสงฆย์ งั มสี ว่ น รว่ มในการพฒั นาดา้ นการศกึ ษาการอบรมใหค้ วามรูแ้ กป่ ระชาชน รวมถงึ การปลกู ฝัง ความรูท้ าง พระพทุ ธศาสนาใหแ้ กเ่ ดก็ และเยาวชนในชมุ ชน กล่าวไดว้ า่ การเสรมิ สรา้ งชมุ ชนใหค้ วามเขม้ แขง็ ไดน้ นั้ พระสงฆม์ ีส่วนส าคญั ในการขบั เคลือ่ น โดยอาศยั หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาผา่ นวฒั นธรรมประเพณีอนั ดี งามของทอ้ งถ่ินเผยแผ่ปลกู ฝังศลี ธรรม4 ในการเป็นก าลงั ส าคญั ในการชว่ ยเหลือเยียวยาในยามท่ชี มุ ชนสงั คม ตกอยใู่ นภาวะวิกฤตจิ ากภยั พิบตั โิ ควดิ - 19 ในการพฒั นาส่งเสรมิ ในการเผยแพรห่ ลกั ธรรมทางศาสนาเพ่อื ให้ ชมุ ชนทอ้ งถ่ินอย่รู ว่ มกนั อยา่ งสงบและสนั ตแิ ละภายใตส้ ถานการณว์ ิกฤติโรคระบาดท่ที าใหเ้ ราตอ้ งปรบั เปล่ียน ชีวิตวิถใี หม่ (New Normal) เป็นแนวทางท่หี ลาย ๆ คนจะตอ้ งปรบั เปลี่ยนชดุ พฤตกิ รรม ในช่วงไวรสั ตวั นี้ ออกมาระบาดแลว้ เปลี่ยนชวี ติ เราไปอกี นาน ท าใหเ้ ราตอ้ งปรบั เปลย่ี นรูปแบบวถิ ีชวี ิตไปพรอ้ มกนั ๒ ตอบ ไทยแลนด์ 4.0 เป็นวิสยั ทศั นเ์ ชิงนโยบายของรฐั บาลในการพฒั นาเศรษฐกจิ แนวใหมภ่ ายใต้ แนวคดิ เพ่อื ความม่นั คง ม่งั ค่งั และย่งั ยนื โดยมีภารกิจส าคญั ในการสรา้ งแนวทางพฒั นาประเทศไปสู่ การขบั เคล่ือนดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมเพ่อื วางรากฐานการพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื ในระยะยาว แตป่ ัญหาส าคญั ของการพฒั นาสงั คมไทย ไดแ้ กก่ ารพฒั นาคนใหม้ ศี กั ยภาพ จะเห็นว่าจากแผนพฒั นา เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 8 เป็นตน้ มาไดใ้ หค้ วามส าคญั กบั การพฒั นาแบบบรู ณาการ ม่งุ เนน้ ใหค้ นเป็นศนู ยก์ ลางการพฒั นา การศกึ ษาจงึ เป็นรากฐานส าคญั ส าหรบั การพฒั นาคณุ ภาพของ ประชากรในสงั คม รวมทง้ั การปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมค าสอน พทุ ธศาสนายงั เปรยี บเสมอื นเครอื่ งมอื ในการพฒั นาคนใหม้ คี ณุ ภาพ พระสงฆจ์ งึ เป็นผทู้ ่มี บี ทบาท
ส าคญั ในการน าหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาไปเผยแผ่ เสนอแนะ ใหป้ ระชาชนน าหลกั พระพทุ ธศาสนาไปบรู ณาการในการด าเนนิ ชวี ิตใหอ้ ย่ใู นสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ บทความเร่ือง “การเผยแผ่พทุ ธศาสนา ในยคุ ไทยแลนด์ 4.0” เขียนขนึ้ โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื น าเสนอรูปแบบการ สอนและเผยแผ่หลกั ธรรมค าสอนดว้ ยวิธีการท่ที นั สมยั การสอนทไ่ี ม่จ ากดั อย่แู ตใ่ นหอ้ งเรยี น แต่จะ เช่ือมโยงผสู้ อนจากผทู้ าหนา้ ท่ถี า่ ยทอดมาเป็นผใู้ หค้ าแนะน าทกั ษะการเรยี นรูแ้ ละนวตั กรรม ทกั ษะ สารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เพ่อื ไมใ่ หผ้ เู้ รยี นหรือผศู้ กึ ษาหลกั ธรรมค าสอนเกดิ ความเบอื่ หน่าย และ เพ่อื เป็นการสนบั สนนุ การใชเ้ ทคโนโลยีท่ที นั สมยั เป็นเครอื่ งมือชว่ ยในการเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนา อาทิ จดั ท าคลิป หรอื ภาพยนตเ์ รอื่ งสนั้ ท่แี ฝงแง่คดิ มมุ มอง สะทอ้ นสิง่ ท่ตี อ้ งการน าเสนอใหผ้ รู้ บั สารแต่ ละกลมุ่ เป้าหมายเขา้ ใจไดง้ ่าย และการเทศนห์ ลกั ธรรมค าสอน ดว้ ยส านวนภาษาท่สี นกุ และเขา้ ใจง่าย เช่น การยกเร่อื งราวท่กี าลงั อย่ใู นกระแสมาประยกุ ตใ์ หเ้ ขา้ กบั หลกั ธรรมค าสอน ดว้ ยภาษางา่ ย ๆ เป็นตน้
Search
Read the Text Version
- 1 - 3
Pages: