Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore suanmok

suanmok

Published by wi.kuntarn, 2020-08-16 05:53:38

Description: suanmok

Search

Read the Text Version

๒๒. ตังขณกิ ปจ จเวกขณปาฐะ (คาํ พิจารณาปจ จยั ๔ ในขณะทใี่ ชส อย) (หนั ทะ มะยงั ตังขะณกิ ะปจ จะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชญิ เถดิ เราทั้งหลาย จงกลาวคาํ พจิ ารณาปจจยั ๔ ในขณะนเี้ ถิด.) (พจิ ารณาจวี ร) ปะฏสิ งั ขา โยนโิ ส จวี ะรงั ปะฏเิ สวาม,ิ เรายอ มพจิ ารณาโดยแยบคายแลว นุงหม จวี ร; ยาวะเทวะ สตี สั สะ ปะฏฆิ าตายะ, เพยี งเพอ่ื บําบัดความหนาว; อุณ๎หสั สะ ปะฏฆิ าตายะ, เพอื่ บําบดั ความรอ น; ฑงั สะมะกะสะวาตาตะปะสริ งิ สะปะสมั ผสั สานัง ปะฏฆิ าตายะ, เพอ่ื บําบดั สมั ผัสอนั เกดิ จากเหลอื บ ยงุ ลม แดด และสตั วเล้ือยคลานท้ังหลาย; ยาวะเทวะ หริ โิ กปน ะปะฏจิ ฉาทะนตั ถงั . และเพียงเพ่ือปกปด อวัยวะ อนั ใหเกดิ ความละอาย.

(พิจารณาอาหาร) ปะฏสิ งั ขา โยนโิ ส ปณ ฑะปาตงั ปะฏเิ สวาม,ิ เรายอมพิจารณาโดยแยบคายแลว ฉันบิณฑบาต; เนวะ ทว๎ ายะ, ไมใหเ ปน ไปเพ่อื ความเพลดิ เพลิน สนกุ สนาน; นะ มะทายะ, ไมใ หเ ปน ไปเพื่อความเมามนั เกดิ กาํ ลังพลงั ทางกาย; นะ มณั ฑะนายะ, ไมใ หเปน ไปเพ่ือประดบั ; นะ วภิ สู ะนายะ, ไมใหเ ปน ไปเพือ่ ตกแตง ; ยาวะเทวะ อมิ สั สะ กายสั สะ ฐติ ิยา, แตใ หเปน ไปเพยี งเพอื่ ความต้ังอยไู ดแหงกายน้ี; ยาปะนายะ, เพือ่ ความเปน ไปไดข องอัตภาพ; วหิ งิ สปุ ะระติยา, เพื่อความสน้ิ ไปแหงความลาํ บาก ทางกาย; พร๎ ัหม๎ ะจะรยิ านคุ คะหายะ, เพอ่ื อนเุ คราะหแกก ารประพฤติ พรหมจรรย; อติ ิ ปรุ านญั จะ เวทะนงั ปะฏิหงั ขาม,ิ ดว ยการทําอยา งนี,้ เรายอ มระงับเสียได ซึ่งทุกขเวทนาเกา คือความหิว;

นะวญั จะ เวทะนงั นะ อปุ ปาเทสสาม,ิ และไมท าํ ทกุ ขเวทนาใหมใหเ กิดข้นึ ; ยาตร๎ า จะ เม ภะวสิ สะติ อะนะวชั ชะตา จะ ผาสวุ หิ าโร จาต.ิ อน่งึ ความเปน ไปโดยสะดวกแหงอัตภาพนดี้ วย, ความเปน ผูหาโทษมิไดด ว ย, และความเปน อยูโดยผาสกุ ดว ย, จักมีแกเ รา, ดังน้ี. (พจิ ารณาทอ่ี ยอู าศยั ) ปะฏสิ งั ขา โยนโิ ส เสนาสะนงั ปะฏเิ สวาม,ิ เรายอ มพจิ ารณาโดยแยบคายแลว ใชสอยเสนาสนะ; ยาวะเทวะ สีตสั สะ ปะฏฆิ าตายะ, เพียงเพอ่ื บาํ บดั ความหนาว; อณุ ห๎ สั สะ ปะฏฆิ าตายะ, เพ่อื บาํ บดั ความรอ น; ฑงั สะมะกะสะวาตาตะปะสริ งิ สะปะสมั ผสั สานงั ปะฏฆิ าตายะ, เพอ่ื บําบดั สมั ผัสอนั เกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสตั วเ ลอื้ ยคลานท้ังหลาย; ยาวะเทวะ อตุ ปุ ะรสิ สะยะวโิ นทะนงั ปะฏสิ ลั ลานารามตั ถงั . เพยี งเพ่อื บรรเทาอนั ตรายอนั จะพงึ มจี ากดินฟา อากาศ, และเพ่ือความเปน ผูย ินดอี ยไู ดใ นทห่ี ลีกเรน สาํ หรบั ภาวนา.

(พจิ ารณายารกั ษาโรค) ปะฏสิ งั ขา โยนโิ ส คลิ านะปจจะยะเภสชั ชะปะรกิ ขารงั ปะฏเิ สวาม,ิ เรายอ มพิจารณาโดยแยบคายแลว บรโิ ภคเภสัชบรขิ าร อนั เกอื้ กูลแกค นไข; ยาวะเทวะ อปุ ปน นานงั เวยยาพาธกิ านัง เวทะนานัง ปะฏฆิ าตายะ, เพยี งเพื่อบาํ บดั ทุกขเวทนาอันบงั เกดิ ข้นึ แลว มอี าพาธตางๆ เปน มลู ; อพั ย๎ าปชฌะปะระมะตายาต.ิ เพื่อความเปน ผูไมมีโรคเบยี ดเบยี น เปน อยางยิง่ , ดงั น้.ี

๒๓. ปจจเวกขณอุโบสถศีล (คาํ พิจารณาอโุ บสถศลี ) (หนั ทะ มะยงั อโุ ปสะถฏั ฐงั คะปจ จะเวกขะณะปาฐงั ภะณามะ เส.) (เชิญเถดิ เราท้ังหลาย จงกลาวคําพิจารณาอุโบสถศีลเถดิ .) (องคอ โุ บสถท่ี ๑) ยาวะชีวงั อะระหนั โต, จาํ เดมิ แตตน จนตลอดชีวติ , พระอรหนั ตท ้งั หลาย; ปาณาตปิ าตงั ปะหายะ, ทา นละการฆา สัตวม ชี วี ิตแลว ; ปาณาตปิ าตา ปะฏวิ ริ ะตา, เวนขาดจากการฆา สตั วม ชี วี ติ แลว ; นิหติ ะทณั ฑา นหิ ติ ะสตั ถา, ทิง้ เครื่องทุบตแี ลว, ทงิ้ เครอ่ื งศัสตราแลว ; ลชั ชี ทะยาปน นา, มคี วามละอายแกบ าป, ถงึ พรอ มแลวดว ยความขวนขวาย เพราะกรณุ า; สพั พะปาณะภตู ะหติ านกุ มั ปโ น, วหิ ะรนั ต,ิ เปนผูเฉยไมไ ดใ นการเก้อื กลู แกสัตวม ชี ีวิตทั้งปวง;

อะหมั ปช ชะ อมิ ญั จะ รตั ตงิ อมิ ญั จะ ทวิ ะสงั , แมเ ราในวนั น้,ี ตลอดคืน ๑ วนั ๑ น;้ี ปาณาตปิ าตงั ปะหายะ, กล็ ะการฆา สัตวม ชี วี ิตแลว; ปาณาตปิ าตา ปะฏวิ ริ ะโต (หญิงวา ระตา), เวน ขาดจากการฆาสตั วม ชี วี ิตแลว; นหิ ติ ะทณั โฑ (หญงิ วา ทณั ฑา) นหิ ิตะสตั โถ (หญงิ วา สตั ถา), ทง้ิ เครื่องทบุ ตแี ลว, ทิ้งเครอ่ื งศัสตราแลว; ลัชชี (หญงิ วา ลชั ชนิ )ี ทะยาปน โน (หญงิ วา ปน นา), มคี วามละอายแกบ าป, ถงึ พรอมแลว ดวยความขวนขวาย เพราะกรณุ า; สพั พะปาณะภตู ะหติ านกุ มั ปโ น (หญงิ วา กมั ปน )ี วหิ ะราม,ิ เปนผูเฉยไมไ ดใ นการเกื้อกลู แกสตั วม ชี ีวติ ทั้งปวง; อิมนิ าป อังเคนะ อะระหะตงั อะนกุ ะโรม,ิ เราทําตามพระอรหนั ตท้ังหลาย, ดวยองคแ หง อโุ บสถแมน ;ี้ อุโปสะโถ จะ เม อปุ ะวตุ โถ ภะวสิ สะต.ิ และอุโบสถจกั เปน อันเราเขาอยูแ ลว .

(องคอ ุโบสถท่ี ๒) ยาวะชีวงัจําอเดะมิระแหตนัต โนตจ,นตลอดชวี ติ , พระอรหนั ตท ง้ั หลาย; อะทนิทานนาลทะากนางั รถปอื ะเหอาายสะง่ิ ,ของทเ่ี ขาไมใหแ ลว ; อะทนิเวนนาขทาาดนจาากปกะาฏรถวิ ือริ ะเอตาาส,่งิ ของทีเ่ ขาไมใ หแ ลว ; ทนิ นถาอื ทเาอยาีแทตนิสิ่งนขะอปงาทฏีเ่ กิขงัาขใ,ี ห, มคี วามมงุ หวงั แตสิง่ ของทเี่ ขาให; อะเถมเนตี นนเะปนสคจุ นภิ ไเู ตมนขะโมอยตั ,ตะมนีตานเปวนหิ ะครนนั สตะ,ิอาดเปน อยู; อะหมั ปช แชมะเ รอามิใญันจวะันนร,ี้ัตตตงิ ลออดมิ คญั นื จะ๑ทววิ นัะสงั๑, น;ี้ อะทนิกล็นะากทาารนถงัอื เอปาะสห่งิาขยอะง,ทเี่ ขาไมใ หแลว ; อะทนิเวนน าขทาาดนจาากปกาะฏรถวิ ือริ ะเอโาตสง่ิ (ขหญองิ วงาทรีเ่ ขะาตไาม),ใหแลว ; ทนิ นถาือทเาอยาีแ(ตหสญิงง่ิ วขา อทงาทย่เี ขนิ า)ี ใทหนิ , นมะีคปวาาฏมกิ มงั ขุง หี ว(หังญแิงวตา ส กง่ิ งัขขอนิ ง)ีท,เ่ี ขาให; อะเถมเนีตนนเะปนสคจุ นภิ ไูเตมนขะโมอยัต,ตะมนีตานเปวนหิ ะครนาสมะ,ิ อาดเปน อย;ู อิมนิ าป เอราังทเคํานตะามอพะรระะอหระหตันงั ตทอั้งะหนลุกาะยโ,รมด,ิ ว ยองคแหง อุโบสถแมน;ี้ อโุ ปสะโแถละจอะโุ บเมสถอจปุกั เะปวนตุ อโนัถเรภาะเขวาสิ อสยะูแตล.ิ ว.

(องคอ โุ บสถท่ี ๓) ยาวะชีวงั อะระหนั โต, จําเดิมแตตนจนตลอดชวี ติ , พระอรหันตทั้งหลาย; อะพร๎ หั ม๎ ะจะรยิ งั ปะหายะ, ทา นละความประพฤติอันมใิ ชพรหมจรรยเสียแลว; พร๎ หั ม๎ ะจารี อาราจาร,ี เปนผปู ระพฤตพิ รหมจรรย, ประพฤตหิ างไกลจากกามคณุ ; วริ ะตา เมถุนา คามะธมั มา, เวน จากการประพฤตขิ องคนท่ีอยกู ันเปน คู, อันเปนของสําหรบั ชาวบาน; อะหมั ปช ชะ อมิ ญั จะ รตั ตงิ อมิ ญั จะ ทวิ ะสงั , แมเ ราในวันน้ี, ตลอดคืน ๑ วนั ๑ น;้ี อะพร๎ หั ม๎ ะจะริยงั ปะหายะ, ก็ละความประพฤตอิ นั มิใชพ รหมจรรยเสยี แลว ; พร๎ ัหม๎ ะจารี (หญิงวา จารนิ )ี อาราจารี (หญิงวา จาริน)ี , เปนผูป ระพฤตพิ รหมจรรย, ประพฤตหิ า งไกลจากกามคุณ; วริ ะโต (หญิงวา ระตา) เมถนุ า คามะธมั มา, เวนจากการประพฤตขิ องคนทีอ่ ยกู ันเปน ค,ู อันเปน ของสาํ หรบั ชาวบา นเสีย; อมิ นิ าป อังเคนะ อะระหะตงั อะนุกะโรม,ิ เราทาํ ตามพระอรหนั ตท ้งั หลาย, ดวยองคแหง อุโบสถแมน;้ี อโุ ปสะโถ จะ เม อปุ ะวตุ โถ ภะวสิ สะต.ิ และอุโบสถจักเปน อันเราเขา อยูแลว .

(องคอ ุโบสถท่ี ๔) ยาวะชวี งั อะระหนั โต, จําเดิมแตตน จนตลอดชวี ิต, พระอรหนั ตทั้งหลาย; มสุ าวาทงั ปะหายะ, ทานละการพดู เทจ็ แลว ; มสุ าวาทา ปะฏวิ ริ ะตา, เวนขาดจากการพดู เท็จแลว; สจั จะวาทโิ น สจั จะสนั ธา, เปนผูพดู แตค ําจรงิ , ธาํ รงไวซงึ่ ความจรงิ ; เฐตา ปจ จะยกิ า, เปน ผูมคี าํ พดู เชอื่ ถือได, เปน ผพู ูดมเี หตผุ ล; อะวสิ งั วาทะกา โลกสั สะ, ไมเปน คนลวงโลก; อะหมั ปช ชะ อมิ ญั จะ รตั ตงิ อมิ ญั จะ ทวิ ะสงั , แมเราในวันน,ี้ ตลอดคนื ๑ วนั ๑ น;้ี มสุ าวาทงั ปะหายะ, ก็ละการพูดเท็จแลว; มสุ าวาทา ปะฏวิ ริ ะโต (หญิงวา ระตา), เวนขาดจากการพดู เทจ็ แลว;

สจั จะวาที (หญิงวา วาทนิ )ี สจั จะสนั โธ (หญงิ วา สนั ธา), เปนผพู ูดแตค ําจรงิ , ธาํ รงไวซง่ึ ความจรงิ ; เฐโต (หญิงวา เฐตา) ปจจะยโิ ก (หญงิ วา ยกิ า), เปน ผมู ีคาํ พดู เชือ่ ถือได, เปน ผพู ดู มเี หตผุ ล; อะวสิ งั วาทะโก (หญงิ วา วาทกิ า) โลกสั สะ, ไมเ ปนคนลวงโลก; อมิ นิ าป อังเคนะ อะระหะตงั อะนกุ ะโรม,ิ เราทําตามพระอรหนั ตท ้ังหลาย, ดวยองคแ หงอุโบสถแมน ;ี้ อโุ ปสะโถ จะ เม อปุ ะวตุ โถ ภะวสิ สะต.ิ และอุโบสถจักเปน อนั เราเขา อยแู ลว.

(องคอ โุ บสถท่ี ๕) ยาวะชวี งั อะระหันโต, จําเดิมแตต นจนตลอดชีวติ , พระอรหนั ตท ้งั หลาย; สรุ าเมระยะมชั ชะปะมาทฏั ฐานา ปะหายะ, ทา นละการดม่ื สรุ าและเมรยั , อันเปน ทต่ี ั้งของความประมาทแลว ; สรุ าเมระยะมชั ชะปะมาทฏั ฐานา ปะฏวิ ริ ะตา, เวนขาดจากการด่ืมสุราและเมรยั , อนั เปน ทต่ี ้ังของความประมาทแลว ; อะหมั ปช ชะ อมิ ญั จะ รัตตงิ อมิ ญั จะ ทวิ ะสงั , แมเราในวนั นี้, ตลอดคืน ๑ วนั ๑ น;ี้ สรุ าเมระยะมชั ชะปะมาทัฏฐานา ปะหายะ, ก็ละการดื่มสรุ าและเมรัย, อนั เปนทต่ี ้งั ของความประมาทแลว ; สรุ าเมระยะมชั ชะปะมาทฏั ฐานา ปะฏวิ ริ ะโต (หญงิ วา ระตา), เวน ขาดจากการดม่ื สรุ าและเมรัย, อนั เปนทตี่ ้ังของความประมาทแลว ; อิมนิ าป องั เคนะ อะระหะตงั อะนกุ ะโรม,ิ เราทาํ ตามพระอรหนั ตทัง้ หลาย, ดวยองคแหง อุโบสถแมน ;้ี อโุ ปสะโถ จะ เม อปุ ะวตุ โถ ภะวสิ สะต.ิ และอโุ บสถจกั เปน อนั เราเขา อยูแลว .

(องคอ โุ บสถที่ ๖) ยาวะชีวงั อะระหนั โต, จําเดิมแตตนจนตลอดชวี ิต, พระอรหันตท้งั หลาย; เอกะภตั ตกิ า, ทา นมีอาหารวัน ๑ เพยี งหนเดยี ว; รตั ตปู ะระตา, งดการบรโิ ภคในราตร;ี วริ ะตา วิกาละโภชะนา, เวนจากการบรโิ ภคอาหารในเวลาวกิ าล; อะหมั ปช ชะ อมิ ญั จะ รตั ตงิ อมิ ญั จะ ทวิ ะสงั , แมเราในวันน,ี้ ตลอดคนื ๑ วนั ๑ น;ี้ เอกะภตั ติโก (หญงิ วา ตกิ า), กเ็ ปนผมู อี าหารวนั ๑ เพยี งหนเดยี ว; รตั ตปู ะระโต (หญงิ วา ระตา), งดการบรโิ ภคในราตร;ี วริ ะโต (หญงิ วา ระตา) วกิ าละโภชะนา, เวน จากการบรโิ ภคอาหารในเวลาวิกาล; อมิ นิ าป อังเคนะ อะระหะตงั อะนุกะโรม,ิ เราทําตามพระอรหันตท ง้ั หลาย, ดวยองคแ หง อโุ บสถแมน ;้ี อโุ ปสะโถ จะ เม อปุ ะวตุ โถ ภะวสิ สะต.ิ และอุโบสถจักเปน อนั เราเขาอยูแลว.

(องคอ ุโบสถท่ี ๗) ยาวะชีวงั อะระหันโต, จาํ เดมิ แตตนจนตลอดชวี ิต, พระอรหนั ตทงั้ หลาย; นัจจะคตี ะวาทติ ะวสิ กู ะทสั สะนะ มาลาคนั ธะวเิ ลปะนะธาระณะ มณั ฑะนะวภิ สู ะนฏั ฐานา ปะฏวิ ริ ะตา, ทา นเปน ผูเวน ขาดแลว , จากการฟอนรํา, การขบั เพลง, การดนตรี, การดูการเลนชนิดเปนขาศกึ ตอ กศุ ล, การทดั ทรงสวมใส, การประดบั , การตกแตง ตน, ดว ยพวงมาลา, ดว ยเครื่องกลนิ่ และเครอื่ งผดั ทา; อะหมั ปช ชะ อมิ ญั จะ รตั ตงิ อมิ ญั จะ ทวิ ะสงั , แมเราในวนั น,ี้ ตลอดคืน ๑ วนั ๑ น;ี้ นจั จะคตี ะวาทติ ะวสิ ูกะทสั สะนะ มาลาคนั ธะวิเลปะนะธาระณะ มณั ฑะนะวภิ สู ะนฏั ฐานา ปะฏวิ ริ ะโต (หญงิ วา ระตา), ก็เปนผเู วน ขาดแลว, จากการฟอ นราํ , การขบั เพลง, การดนตร,ี การดูการเลนชนดิ เปนขา ศึกตอ กุศล, การทัดทรงสวมใส, การประดบั , การตกแตงตน, ดวยพวงมาลา, ดวยเคร่อื งกลิน่ และเครอื่ งผดั ทา; อมิ นิ าป องั เคนะ อะระหะตงั อะนุกะโรม,ิ เราทาํ ตามพระอรหนั ตทง้ั หลาย, ดว ยองคแหงอุโบสถแมน ;ี้ อโุ ปสะโถ จะ เม อปุ ะวตุ โถ ภะวสิ สะต.ิ และอโุ บสถจักเปน อันเราเขา อยแู ลว .

(องคอ โุ บสถท่ี ๘) ยาวะชีวงั อะระหนั โต, จําเดมิ แตตน จนตลอดชีวติ , พระอรหนั ตท ง้ั หลาย; อจุ จาสะยะนะมะหาสะยะนัง ปะหายะ, ทานละการนอนบนท่นี อนสงู และทนี่ อนใหญแ ลว; อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา ปะฏวิ ริ ะตา, เวน ขาดจากการนอนบนที่นอนสงู และทน่ี อนใหญแ ลว; นีจะเสยยัง กปั เปม,ิ มญั จะเก วา ตณิ ะสนั ถะระเก วา, ยอมสําเรจ็ การนอนบนทีน่ อนอนั ต่าํ , บนเตียงนอ ย, หรอื บนเคร่ืองลาดอนั ทาํ ดวยหญา ; อะหมั ปช ชะ อมิ ญั จะ รตั ตงิ อมิ ญั จะ ทวิ ะสงั , แมเ ราในวนั น,ี้ ตลอดคนื ๑ วนั ๑ น;ี้ อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนัง ปะหายะ, กล็ ะการนอนบนท่นี อนสูง และที่นอนใหญแ ลว; อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา ปะฏวิ ริ ะโต (หญงิ วา ระตา), เวนขาดจากการนอนบนทน่ี อนสงู และทีน่ อนใหญแลว ; นีจะเสยยงั กปั เปม,ิ มญั จะเก วา ตณิ ะสนั ถะระเก วา, ยอ มสาํ เรจ็ การนอนบนท่นี อนอนั ตา่ํ , บนเตียงนอย, หรอื บนเครื่องลาดอนั ทําดวยหญา; อิมนิ าป องั เคนะ อะระหะตงั อะนกุ ะโรม,ิ เราทาํ ตามพระอรหันตทั้งหลาย, ดวยองคแหงอุโบสถแมน;้ี อุโปสะโถ จะ เม อปุ ะวตุ โถ ภะวสิ สะต.ิ และอโุ บสถจักเปน อนั เราเขา อยูแลว.

เอวงั อปุ ะวตุ โถ โข ภกิ ขะเว, อัฏฐังคะสะมนั นาคะโต อโุ ปสะโถ, ดกู อนภกิ ษทุ ง้ั หลาย, อโุ บสถอนั ประกอบดว ยองค ๘, ที่อรยิ สาวกเขา อยูแลว , ดว ยอาการอยา งน้ี; มะหปั ผะโล โหติ มะหานสิ งั โส, ยอ มมีผลใหญ, มอี านิสงสใ หญ; มะหาชตุ โิ ก มะหาวปิ ผาโร, มคี วามรงุ เรืองใหญ, มคี วามแผไ พศาลใหญ; อิติ. ดว ยประการฉะนแ้ี ล.







๒๔. บทแผเ มตตา สพั เพ สัตตา, สัตวทัง้ หลาย, ท่เี ปนเพ่อื นทุกข, เกดิ แก เจ็บ ตาย, ดว ยกนั ทัง้ หมดทง้ั สิ้น; อะเวรา, จงเปน สุขๆ เถิด, อยาไดม ีเวรแกกันและกนั เลย; อัพ๎ยาปช ฌา, จงเปนสุขๆ เถดิ , อยา ไดเบยี ดเบียนซงึ่ กนั และกนั เลย; อะนีฆา, จงเปนสุขๆ เถิด, อยา ไดมคี วามทุกขกายทกุ ขใ จเลย; สขุ ี อตั ตานงั ปะริหะรนั ต.ุ จงมคี วามสุขกายสุขใจ, รกั ษาตนใหพ น จากทุกขภัย, ดว ยกันทัง้ หมดทัง้ สิ้นเทอญ.

กะตงั ปญุ ญะ พะลงั มยั ห๎ งั สพั เพ ภาคี ภะวนั ตุ เต. ขอปวงสตั วท ้งั สิน้ น้นั , จงเปนผูมสี วนไดเ สวยผลบญุ , ที่ขาพเจาท้ังหลาย, ไดก ระทาํ แลว นีเ้ ทอญ. สาธุ สาธุ สาธุ อนโุ มทามิ.

































Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบ่งปันเป็ นธรรมทาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook