Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore suanmok

suanmok

Published by wi.kuntarn, 2020-08-16 05:53:38

Description: suanmok

Search

Read the Text Version

๓. ท๎วตั ตงิ สาการปาฐะ (คาํ แสดงอาการ ๓๒ ในรา งกาย) (หนั ทะ มะยงั ทว๎ ตั ตงิ สาการะปาฐงั ภะณามะ เส.) (เชญิ เถิด เราท้ังหลาย จงกลาวคาํ แสดงอาการ ๓๒ ในรา งกายเถดิ .) อตั ถิ อมิ สั ม๎ งิ กาเย, ในรางกายน้ีม:ี – เกสา, ผมทงั้ หลาย; โลมา, ขนทง้ั หลาย; นะขา, เลบ็ ท้งั หลาย; ทนั ตา, ฟน ทง้ั หลาย; ตะโจ, หนัง; มงั สงั , เนอื้ ; นะหาร,ู เอน็ ทง้ั หลาย; อัฏฐ,ี กระดกู ทงั้ หลาย; อัฏฐมิ ญิ ชงั , เย่ือในกระดูก; วักกงั , ไต; หะทะยงั , หวั ใจ; ยะกะนงั , ตับ; กโิ ลมะกงั , พงั ผืด; ปหะกงั , มาม; ปป ผาสงั , ปอด; อันตัง, ลาํ ไส; อันตะคุณงั , ลาํ ไสสดุ ; อทุ ะรยิ งั , อาหารในกระเพาะ; กะรสี ัง, อุจจาระ; ปต ตงั , น้าํ ด;ี เสมหงั , เสลด; ปพุ โพ, หนอง; โลหติ งั , โลหติ ; เสโท, เหง่อื ; เมโท, มัน; อสั ส,ุ น้ําตา; วะสา, นํา้ เหลือง; เขโฬ, นา้ํ ลาย; สงิ ฆาณกิ า, นํ้าเมอื ก; ละสกิ า, น้าํ ล่ืนหลอขอ; มตุ ตงั , นาํ้ มตู ร; เยอื่ มันสมอง ในกระโหลกศรี ษะ; มตั ถะเก มตั ถะลงุ คงั , อิต.ิ ดังน้ีแล.

๔. เขมาเขมสรณทปี กคาถา (คาถาแสดงสรณะอนั เกษมและไมเ กษม) (หนั ทะ มะยงั เขมาเขมะสะระณะทปี ก ะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชญิ เถิด เราทง้ั หลาย จงกลาวคาถาแสดงสรณะอนั เกษมและไมเกษมเถิด.) พะหงุ เว สะระณงั ยนั ติ ปพ พะตานิ วะนานิ จะ, อารามะรกุ ขะเจตย๎ านิ มะนสุ สา ภะยะตชั ชิตา, มนุษยเ ปน อนั มาก เม่อื เกิดมภี ัยคุกคามแลว, ก็ถือเอาภเู ขาบา ง ปาไมบ าง, อารามและรกุ ขเจดียบา ง เปนสรณะ; เนตัง โข สะระณัง เขมงั เนตัง สะระณะมตุ ตะมงั , เนตงั สะระณะมาคมั มะ สพั พะทกุ ขา ปะมจุ จะต,ิ น่นั มใิ ชส รณะอนั เกษมเลย, นั่น มิใชสรณะอนั สูงสดุ , เขาอาศัยสรณะนนั่ แลว ยอ มไมพน จากทุกขทงั้ ปวงได; โย จะ พทุ ธญั จะ ธมั มญั จะ สงั ฆญั จะ สะระณงั คะโต, จตั ตาริ อะรยิ ะสจั จานิ สมั มปั ปญ ญายะ ปส สะต,ิ สว นผใู ดถือเอาพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะแลว , เห็นอรยิ สัจจ คือความจรงิ อันประเสริฐ ๔ ดว ยปญ ญาอันชอบ; ทกุ ขงั ทกุ ขะสะมปุ ปาทัง ทกุ ขสั สะ จะ อะติกกะมงั , อะรยิ ญั จฏั ฐงั คกิ งั มคั คงั ทกุ ขปู ะสะมะคามนิ ัง, คือเห็นความทกุ ข, เหตใุ หเกดิ ทกุ ข, ความกา วลวงทุกขเ สยี ได, และหนทางมอี งค ๘ อันประเสรฐิ เครือ่ งถงึ ความระงบั ทุกข;

เอตงั โข สะระณงั เขมงั เอตงั สะระณะมตุ ตะมงั , เอตงั สะระณะมาคมั มะ สพั พะทกุ ขา ปะมจุ จะต.ิ น่นั แหละ เปน สรณะอนั เกษม, นัน่ เปนสรณะอันสงู สุด, เขาอาศัยสรณะนนั่ แลว ยอ มพน จากทุกขท ้ังปวงได. ๕. อรยิ ธนคาถา (คาถาสรรเสรญิ พระอรยิ เจา ) (หนั ทะ มะยงั อะรยิ ะธะนะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถดิ เราท้ังหลาย จงกลา วคาถาสรรเสรญิ พระอริยเจา เถดิ .) ยสั สะ สทั ธา ตะถาคะเต อะจะลา สปุ ะตฏิ ฐติ า, ศรทั ธา ในพระตถาคตของผใู ด ตง้ั มนั่ อยา งดี ไมหว่นั ไหว; สีลญั จะ ยัสสะ กลั ย๎ าณงั อะรยิ ะกนั ตงั ปะสงั สติ งั , และศีลของผใู ดงดงาม เปนท่ีสรรเสริญทีพ่ อใจ ของพระอริยเจา ; สงั เฆ ปะสาโท ยสั สตั ถิ อชุ ภุ ตู ญั จะ ทสั สะนงั , ความเลอ่ื มใสของผใู ดมใี นพระสงฆ, และความเหน็ ของผใู ดตรง; อะทะฬทิ โทติ ตงั อาหุ อะโมฆนั ตัสสะ ชวี ิตงั , บัณฑิตกลา วเรยี กเขาผูน นั้ วา คนไมจ น, ชวี ิตของเขาไมเปน หมนั ; ตัสม๎ า สทั ธัญจะ สีลญั จะ ปะสาทงั ธมั มะทสั สะนงั , อะนยุ ญุ เชถะ เมธาวี สะรงั พทุ ธานะสาสะนงั . เพราะฉะนั้น เมือ่ ระลึกได ถึงคําสงั่ สอนของพระพทุ ธเจาอยู, ผมู ปี ญ ญาควรกอ สรางศรทั ธา ศลี ความเลอื่ มใส และความเห็นธรรมใหเ นอื งๆ.

๖. ตลิ กั ขณาทคิ าถา (คาถาแสดงพระไตรลกั ษณ) (หนั ทะ มะยงั ตลิ กั ขะณาทคิ าถาโย ภะณามะ เส.) (เชญิ เถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงพระไตรลกั ษณเปน เบ้ืองตนเถดิ .) สพั เพ สงั ขารา อะนจิ จาติ ยะทา ปญ ญายะ ปส สะต,ิ เม่ือใด บคุ คลเห็นดวยปญ ญาวา สงั ขารทัง้ ปวงไมเ ที่ยง; อะถะ นพิ พนิ ทะติ ทกุ เข เอสะ มคั โค วสิ ทุ ธิยา, เมอื่ น้นั ยอมเหนอ่ื ยหนา ยในสง่ิ ท่ีเปน ทุกข ทตี่ นหลง, นั่นแหละ เปนทางแหงพระนพิ พาน อันเปน ธรรมหมดจด; สพั เพ สงั ขารา ทกุ ขาติ ยะทา ปญ ญายะ ปส สะต,ิ เมือ่ ใด บุคคลเหน็ ดว ยปญญาวา สงั ขารท้งั ปวงเปน ทุกข; อะถะ นพิ พนิ ทะติ ทกุ เข เอสะ มคั โค วสิ ทุ ธยิ า, เม่อื นน้ั ยอ มเหนอ่ื ยหนา ยในส่งิ ทเี่ ปน ทกุ ข ท่ตี นหลง, นน้ั แหละ เปนทางแหงพระนิพพาน อันเปน ธรรมหมดจด; สพั เพ ธมั มา อะนตั ตาติ ยะทา ปญ ญายะ ปส สะต,ิ เมื่อใด บคุ คลเหน็ ดวยปญ ญาวา ธรรมท้ังปวงเปน อนตั ตา; อะถะ นพิ พนิ ทะติ ทกุ เข เอสะ มคั โค วสิ ทุ ธยิ า, เม่ือน้นั ยอ มเหนื่อยหนายในสง่ิ ที่เปนทกุ ข ทตี่ นหลง, นั่นแหละ เปน ทางแหงพระนพิ พาน อนั เปน ธรรมหมดจด; อัปปะกา เต มะนสุ เสสุ เย ชะนา ปาระคามโิ น, ในหมมู นุษยท ้ังหลาย, ผูท่ีถงึ ฝงแหงพระนพิ พานมนี อ ยนัก;

อะถายงั อติ ะรา ปะชา ตรี ะเมวานธุ าวะต,ิ หมมู นษุ ยน อกน้ัน ยอมวง่ิ เลาะอยตู ามฝงในนเี้ อง; เย จะ โข สมั มะทกั ขาเต ธมั เม ธมั มานุวตั ตโิ น, กช็ นเหลาใด ประพฤติสมควรแกธ รรม ในธรรมท่ตี รัสไวช อบแลว ; เต ชะนา ปาระเมสสนั ติ มจั จเุ ธยยงั สทุ ตุ ตะรงั , ชนเหลาน้นั จักถงึ ฝงแหงพระนพิ พาน, ขา มพน บว งแหง มจั จุ ที่ขา มไดย ากนัก; กณั ห๎ ัง ธมั มงั วปิ ปะหายะ สกุ กงั ภาเวถะปณ ฑโิ ต, จงเปนบณั ฑติ ละธรรมดําเสยี แลวเจรญิ ธรรมขาว; โอกา อะโนกะมาคมั มะ วเิ วเก ยตั ถะ ทรู ะมงั , ตตั ร๎ าภริ ะตมิ จิ เฉยยะ หิตว๎ า กาเม อะกิญจะโน. จงมาถึงทีไ่ มมนี ํ้า จากทีม่ นี าํ้ , จงละกามเสยี , เปน ผูไมมคี วามกังวล, จงยนิ ดีเฉพาะตอพระนพิ พาน อนั เปน ทส่ี งัด ซ่ึงสตั วยนิ ดีไดโ ดยยาก.

๗. ภารสตุ ตคาถา (คาถาแสดงภารสตู ร) (หนั ทะ มะยงั ภาระสตุ ตะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชญิ เถดิ เราทั้งหลาย จงกลา วคาถาแสดงภารสตู รเถิด.) ภารา หะเว ปญ จกั ขนั ธา, ขันธท ้ัง ๕ เปน ของหนกั เนอ; ภาระหาโร จะ ปคุ คะโล, บุคคลแหละ เปน ผูแบกของหนักพาไป; ภาราทานงั ทกุ ขงั โลเก, การแบกถือของหนกั เปน ความทกุ ข ในโลก; ภาระนกิ เขปะนงั สุขงั , การสลดั ของหนกั ท้งิ ลงเสยี เปนความสขุ ; นิกขปิ ตว๎ า คะรงุ ภารงั , พระอริยเจา สลัดทง้ิ ของหนกั ลงเสียแลว ; อัญญงั ภารัง อะนาทยิ ะ, ทัง้ ไมหยบิ ฉวยเอาของหนักอันอื่น ขนึ้ มาอกี ; สะมลู ัง ตณั ห๎ งั อพั พยุ ๎หะ, กเ็ ปน ผูถอนตณั หาข้ึนได กระทง่ั ราก; นจิ ฉาโต ปะรนิ พิ พโุ ต. เปนผหู มดสง่ิ ปรารถนา ดับสนทิ ไมม สี ว นเหลือ.

๘. ภัทเทกรตั ตคาถา (คาถาแสดงผมู รี าตรเี ดยี วเจรญิ ) (หนั ทะ มะยงั ภทั เทกะรตั ตะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราท้งั หลาย จงกลา วคาถาแสดงผมู รี าตรีเดียวเจริญเถดิ .) อะตีตงั นานว๎ าคะเมยยะ นปั ปะฏกิ งั เข อะนาคะตงั , บคุ คลไมควรตามคิดถึงสิ่งท่ลี ว งไปแลว ดว ยอาลัย, และไมพ งึ พะวงถงึ สง่ิ ที่ยังไมมาถึง; ยะทะตตี มั ปะหนี นั ตัง อปั ปต ตญั จะ อะนาคะตงั , สิ่งเปน อดีตก็ละไปแลว, สิง่ เปน อนาคตกย็ ังไมม า; ปจ จปุ ปน นัญจะ โย ธมั มงั ตัตถะ ตตั ถะ วปิ ส สะต,ิ อะสงั หริ งั อะสงั กปุ ปง ตงั วทิ ธา มะนพุ ร๎ หู ะเย, ผูใ ดเหน็ ธรรมอนั เกดิ ขนึ้ เฉพาะหนา ในท่นี ่ันๆ อยา งแจมแจง, ไมงอ นแงนคลอนแคลน, เขาควรพอกพนู อาการเชนนน้ั ไว; อชั เชวะ กิจจะมาตปั ปง โก ชญั ญา มะระณัง สเุ ว, ความเพยี รเปน กจิ ทีต่ อ งทาํ วันน,้ี ใครจะรคู วามตาย แมพ รงุ นี้; นะ หิ โน สังคะรนั เตนะ มะหาเสเนนะ มจั จนุ า, เพราะการผดั เพ้ยี นตอมจั จรุ าชซ่ึงมเี สนามาก ยอ มไมมสี าํ หรบั เรา; เอวังวหิ ารมิ าตาปง อะโหรตั ตะมะตนั ทติ งั , ตัง เว ภทั เทกะรตั โตติ สนั โต อาจกิ ขะเต มนุ .ิ มนุ ีผสู งบ ยอ มกลา วเรยี ก ผมู คี วามเพยี รอยเู ชนน้ัน, ไมเ กยี จครานทั้งกลางวันกลางคนื วา, “ผูเ ปน อยูแมเ พยี งราตรเี ดียว ก็นา ชม”.

๙. ธัมมคารวาทคิ าถา (คาถาแสดงความเคารพพระธรรม) (หนั ทะ มะยงั ธมั มะคาระวาทคิ าถาโย ภะณามะ เส.) (เชญิ เถิด เราท้งั หลาย จงกลาวคาถาแสดงความเคารพพระธรรมเถดิ .) เย จะ อะตตี า สมั พทุ ธา เย จะ พทุ ธา อะนาคะตา, โย เจตะระหิ สมั พทุ โธ พะหนุ นงั โสกะนาสะโน, พระพทุ ธเจาบรรดาทีล่ ว งไปแลว ดว ย, ท่ียงั ไมมาตรสั รดู ว ย, และพระพุทธเจา ผขู จดั โศกของมหาชนในกาลบัดนด้ี ว ย; สพั เพ สทั ธมั มะคะรโุ น วหิ ะรงิ สุ วิหาติ จะ, อะถาป วหิ ะรสิ สนั ติ เอสา พทุ ธานะธมั มะตา, พระพทุ ธเจา ท้ังปวงนน้ั ทกุ พระองค เคารพพระธรรม, ไดเ ปนมาแลว ดวย, กําลงั เปนอยดู ว ย, และจักเปน ดวย, เพราะธรรมดาของพระพทุ ธเจาทง้ั หลาย เปน เชนนน้ั เอง; ตัสม๎ า หิ อตั ตะกาเมนะ มะหตั ตะมะภกิ งั ขะตา, สทั ธมั โม คะรกุ าตพั โพ สะรงั พทุ ธานะสาสะนงั , เพราะฉะนน้ั บุคคลผูร กั ตน หวังอยเู ฉพาะคณุ เบอ้ื งสงู , เม่อื ระลกึ ไดถึงคําสั่งสอนของพระพทุ ธเจา อย,ู จงทาํ ความเคารพพระธรรม; นะ หิ ธมั โม อะธมั โม จะ อโุ ภ สะมะวปิ ากโิ น, ธรรมและอธรรม จะมผี ลเหมือนกนั ทงั้ สองอยาง หามไิ ด; อะธมั โม นริ ะยงั เนติ ธมั โม ปาเปติ สุคะติง, อธรรม ยอ มนําไปนรก, ธรรม ยอ มนาํ ใหถ ึงสุคต;ิ

ธมั โม หะเว รกั ขะติ ธมั มะจารงิ , ธรรมแหละ ยอมรักษาผปู ระพฤติธรรมเปน นจิ ; ธมั โม สจุ ิณโณ สขุ ะมาวะหาต,ิ ธรรมทป่ี ระพฤตดิ แี ลว ยอมนําสุขมาใหต น; เอสานสิ งั โส ธมั เม สุจณิ เณ. นเี่ ปนอานสิ งส ในธรรมทตี่ นประพฤติดีแลว .

๑๐. โอวาทปาฏิโมกขคาถา (คาถาแสดงพระโอวาทปาตโิ มกข) (หนั ทะ มะยงั โอวาทะปาตโิ มกขะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชญิ เถดิ เราทงั้ หลาย จงกลาวคาถาแสดงพระโอวาทปาตโิ มกขเ ถิด.) สพั พะปาปส สะ อะกะระณงั , การไมท าํ บาปทงั้ ปวง; กสุ ะลสั สปู ะสมั ปะทา, การทํากศุ ลใหถ งึ พรอ ม; สะจติ ตะปะรโิ ยทะปะนงั , การชําระจิตของตนใหขาวรอบ; เอตงั พทุ ธานะสาสะนงั . ธรรม ๓ อยา งน้ี เปน คําสั่งสอนของพระพทุ ธเจาทงั้ หลาย. ขนั ตี ปะระมงั ตะโป ตตี กิ ขา, ขันติ คอื ความอดกลั้น เปน ธรรมเครือ่ งเผากเิ ลสอยางยงิ่ ; นพิ พานงั ปะระมงั วะทันติ พทุ ธา, ผรู ทู ้งั หลาย กลา วพระนิพพานวาเปนธรรมอันยิ่ง; นะ หิ ปพ พะชโิ ต ปะรปู ะฆาต,ี ผกู าํ จัดสตั วอ่นื อยู ไมช ือ่ วา เปนบรรพชิตเลย; สะมะโณ โหติ ปะรงั วเิ หฐะยนั โต. ผูท ําสัตวอ นื่ ใหล าํ บากอยู ไมชอื่ วาเปน สมณะเลย.

อะนปู ะวาโท อะนปู ะฆาโต, การไมพ ดู ราย, การไมท าํ รา ย; ปาตโิ มกเข จะ สงั วะโร, การสาํ รวมในปาตโิ มกข; มตั ตญั ตุ า จะ ภตั ตสั ม๎ งิ , ความเปน ผูรูประมาณในการบรโิ ภค; ปน ตญั จะ สะยะนาสะนงั , การนอน การนงั่ ในที่อนั สงัด; อะธจิ ติ เต จะ อาโยโค, ความหมนั่ ประกอบในการทําจิต ใหยง่ิ ; เอตงั พทุ ธานะสาสะนงั . ธรรม ๖ อยางน้ี เปนคําส่ังสอนของพระพทุ ธเจา ทงั้ หลาย.

๑๑. ปฐมพทุ ธภาสติ คาถา (คาถาพทุ ธภาษติ ครง้ั แรกของพระพทุ ธเจา ) (หนั ทะ มะยงั ปะฐะมะพทุ ธะภาสติ ะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราท้งั หลาย จงกลาวคาถาพุทธภาษติ ครง้ั แรกของพระพุทธเจา เถดิ .) อะเนกะชาตสิ งั สารงั สนั ธาวิสสงั อะนพิ พสิ งั , เม่ือเรายงั ไมพบญาณ, ไดแลนทองเที่ยวไปในสงสารเปนอเนกชาต;ิ คะหะการงั คะเวสนั โต ทกุ ขา ชาติ ปนุ ปั ปนุ งั , แสวงหาอยูซ ึง่ นายชา งปลกู เรือน, คือตณั หาผูสรางภพ, การเกิดทกุ คราว เปน ทกุ ขราํ่ ไป; คะหะการะกะ ทฏิ โฐสิ ปนุ ะ เคหัง นะ กาหะส,ิ น่แี นะ นายชางปลูกเรอื น, เรารูจักเจาเสียแลว , เจา จะทาํ เรอื นใหเ ราไมไ ดอกี ตอ ไป; สพั พา เต ผาสุกา ภคั คา คะหะกฏู งั วิสงั ขะตงั , โครงเรือนทั้งหมดของเจาเราหักเสยี แลว, ยอดเรือนเราก็ร้อื เสยี แลว ; วสิ งั ขาระคะตัง จติ ตัง ตัณหานงั ขะยะมชั ฌะคา. จิตของเราถึงแลวซ่งึ สภาพท่อี ะไรปรงุ แตงไมไดอ กี ตอ ไป, มันไดถงึ แลว ซึ่งความส้นิ ไปแหง ตัณหา, คอื ถงึ นิพพาน.

๑๒. ธาตุปจจเวกขณปาฐะ (คาํ พจิ ารณาปจ จัย ๔ ใหเ หน็ เปน ของไมง าม) (หนั ทะ มะยงั ธาตปุ จ จะเวกขะณะปาฐงั ภะณามะ เส.) (เชญิ เถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําพิจารณาปจจยั ๔ ใหเหน็ เปนของไมง ามเถิด.) (พิจารณาจวี ร) ยะถาปจ จะยงั ปะวัตตะมานงั ธาตมุ ตั ตะเมเวตงั , สิง่ เหลานี้ นเี่ ปน สักวา ธาตตุ ามธรรมชาติเทานั้น, กําลงั เปน ไปตามเหตุตามปจจัยอยเู นอื งนจิ ; ยะททิ งั จีวะรงั , ตะทปุ ะภญุ ชะโก จะ ปุคคะโล, สิ่งเหลาน้ี คอื จวี ร, และคนผใู ชส อยจีวรนนั้ ; ธาตมุ ตั ตะโก, เปนสกั วา ธาตุตามธรรมชาติ; นสิ สตั โต, มไิ ดเปนสัตวะอันยงั่ ยืน; นชิ ชโี ว, มไิ ดเ ปน ชีวะอันเปน บรุ ษุ บคุ คล; สญุ โญ, วา งเปลา จากความหมายแหง ความเปน ตวั ตน; สพั พานิ ปะนะ อมิ านิ จวี ะรานิ อะชิคจุ ฉะนยี าน,ิ กจ็ วี รทง้ั หมดนี,้ ไมเ ปนของนาเกลยี ดมาแตเดมิ ; อิมงั ปตู กิ ายงั ปต ๎วา, ครั้นมาถกู เขา กับกายอนั เนา อยูเปน นิจนี้แลว ; อะตวิ ยิ ะ ชิคจุ ฉะนียานิ ชายนั ต.ิ ยอมกลายเปนของนา เกลียดอยา งยิง่ ไปดวยกนั .

(พิจารณาอาหาร) ยะถาปจ จะยงั ปะวตั ตะมานงั ธาตมุ ัตตะเมเวตงั , ส่ิงเหลานี้ น่ีเปน สกั วา ธาตตุ ามธรรมชาตเิ ทา นั้น, กําลงั เปน ไปตามเหตตุ ามปจ จัยอยเู นืองนิจ; ยะททิ งั ปณ ฑะปาโต, ตะทปุ ะภญุ ชะโก จะ ปุคคะโล, ส่ิงเหลาน้ี คอื บณิ ฑบาต, และคนผูบรโิ ภคบณิ ฑบาตนน้ั ; ธาตมุ ตั ตะโก, เปน สกั วา ธาตตุ ามธรรมชาต;ิ นสิ สตั โต, มิไดเ ปนสัตวะอันยง่ั ยืน; นชิ ชโี ว, มไิ ดเ ปน ชวี ะอันเปน บรุ ุษบคุ คล; สญุ โญ, วา งเปลาจากความหมายแหงความเปนตัวตน; สพั โพ ปะนายงั ปณ ฑะปาโต อะชิคจุ ฉะนโี ย, กบ็ ณิ ฑบาตทั้งหมดนี,้ ไมเปน ของนาเกลียดมาแตเ ดิม; อิมงั ปตู กิ ายงั ปต ๎วา, ครั้นมาถกู เขา กับกายอนั เนา อยูเ ปน นจิ นแ้ี ลว ; อะตวิ ยิ ะ ชคิ จุ ฉะนโี ย ชายะต.ิ ยอมกลายเปนของนาเกลียดอยางย่ิงไปดวยกนั .

(พิจารณาทอี่ ยอู าศยั ) ยะถาปจ จะยงั ปะวตั ตะมานงั ธาตมุ ัตตะเมเวตงั , สิ่งเหลา นี้ นีเ่ ปน สกั วาธาตตุ ามธรรมชาตเิ ทานั้น, กําลังเปน ไปตามเหตุตามปจ จยั อยเู นืองนิจ; ยะททิ งั เสนาสะนงั , ตะทปุ ะภญุ ชะโก จะ ปุคคะโล, ส่งิ เหลา น้ี คือ เสนาสนะ, และคนผใู ชสอยเสนาสนะน้นั ; ธาตมุ ตั ตะโก, เปนสักวา ธาตตุ ามธรรมชาติ; นสิ สตั โต, มไิ ดเปนสัตวะอันย่ังยืน; นชิ ชโี ว, มไิ ดเปนชวี ะอันเปน บรุ ษุ บคุ คล; สญุ โญ, วา งเปลาจากความหมายแหงความเปนตวั ตน; สพั พานิ ปะนะ อมิ านิ เสนาสะนานิ อะชิคจุ ฉะนยี าน,ิ กเ็ สนาสนะทั้งหมดนี,้ ไมเ ปน ของนา เกลยี ดมาแตเ ดิม; อมิ งั ปตู กิ ายงั ปต ว๎ า, ครน้ั มาถกู เขากบั กายอนั เนาอยูเ ปน นิจนแี้ ลว ; อะติวยิ ะ ชคิ จุ ฉะนียานิ ชายนั ต.ิ ยอ มกลายเปน ของนา เกลยี ดอยา งย่งิ ไปดวยกัน.

(พจิ ารณายารกั ษาโรค) ยะถาปจ จะยงั ปะวัตตะมานงั ธาตมุ ตั ตะเมเวตงั , ส่ิงเหลา นี้ นี่เปน สักวาธาตุตามธรรมชาติเทา นนั้ , กําลงั เปน ไปตามเหตตุ ามปจจัยอยเู นืองนิจ; ยะททิ งั คลิ านะปจ จะยะเภสชั ชะปะรกิ ขาโร, ตะทปุ ะภญุ ชะโก จะ ปคุ คะโล, สงิ่ เหลาน้ี คอื เภสัชบริขารอันเกอื้ กลู แกคนไข, และคนผูบ ริโภคเภสชั บริขารนั้น; ธาตมุ ตั ตะโก, เปนสักวา ธาตุตามธรรมชาต;ิ นสิ สตั โต, มิไดเปน สตั วะอันยงั่ ยนื ; นชิ ชโี ว, มไิ ดเปนชวี ะอนั เปน บรุ ุษบคุ คล; สญุ โญ, วางเปลา จากความหมายแหงความเปนตวั ตน; สพั โพ ปะนายงั คลิ านะปจ จะยะเภสชั ชะปะรกิ ขาโร อะชคิ จุ ฉะนโี ย, ก็คิลานเภสัชบริขารทง้ั หมดน,้ี ไมเ ปน ของนาเกลยี ดมาแตเดมิ ; อมิ งั ปตู กิ ายงั ปต ว๎ า, ครั้นมาถกู เขากับกายอันเนา อยูเปน นิจนีแ้ ลว ; อะติวยิ ะ ชิคจุ ฉะนีโย ชายะต.ิ ยอ มกลายเปนของนา เกลยี ดอยา งยิง่ ไปดวยกัน.

๑๓. ปจ ฉิมพุทโธวาทปาฐะ (คาํ แสดงพระโอวาทคร้งั สดุ ทา ยของพระพทุ ธเจา ) (หนั ทะ มะยงั ปจ ฉิมะพทุ โธวาทะปาฐงั ภะณามะ เส.) (เชญิ เถิด เราทง้ั หลาย จงกลา วคําแสดงพระโอวาทครงั้ สดุ ทา ยของพระพุทธเจา เถิด.) หันทะทานิ ภกิ ขะเว อามนั ตะยามิ โว, ดกู อ นภิกษุท้ังหลาย, บัดน,ี้ เราขอเตอื นทานทงั้ หลายวา; วะยะธมั มา สงั ขารา, สังขารทง้ั หลาย มีความเสอื่ มไปเปนธรรมดา; อัปปะมาเทนะ สมั ปาเทถะ, ทานทงั้ หลาย, จงทาํ ความไมประมาทใหถ งึ พรอมเถดิ ; อะยงั ตะถาคะตสั สะ ปจ ฉมิ า วาจา. น้ีเปน พระวาจามใี นครั้งสดุ ทา ย ของพระตถาคตเจา .

๑๔. บทพจิ ารณาสังขาร (คาถาพจิ ารณาธรรมสงั เวช) (หนั ทะ มะยงั ธมั มะสงั เวคะปจ จะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชญิ เถิด เราท้ังหลาย จงกลาวคาถาพจิ ารณาธรรมสังเวชเถิด.) สพั เพ สงั ขารา อะนจิ จา, สงั ขาร คือรางกาย จิตใจ, แลรปู ธรรม นามธรรม ทั้งหมดทง้ั สน้ิ , มันไมเทยี่ ง, เกดิ ขน้ึ แลวดบั ไป, มแี ลว หายไป; สพั เพ สงั ขารา ทกุ ขา, สงั ขาร คอื รา งกาย จิตใจ, แลรปู ธรรม นามธรรม ทง้ั หมดทงั้ สน้ิ , มนั เปนทกุ ข ทนยาก, เพราะเกิดข้ึนแลว แก เจ็บ ตายไป; สพั เพ ธมั มา อะนัตตา, สิ่งท้งั หลายท้งั ปวง, ท้ังทเ่ี ปน สงั ขาร แลมใิ ชส งั ขาร ทงั้ หมดทั้งส้ิน, ไมใชต วั ไมใชต น, ไมควรถอื วาเรา วาของเรา วา ตัว วา ตนของเรา; อะธวุ ัง ชวี ติ งั , ชวี ติ เปนของไมยงั่ ยืน; ธวุ งั มะระณงั , ความตายเปน ของยง่ั ยืน; อะวสั สงั มะยา มะรติ พั พงั , อันเราจะพงึ ตายเปนแท; มะระณะปะรโิ ยสานงั เม ชวี ติ งั , ชีวิตของเรามีความตาย เปน ทีส่ ุดรอบ;

ชวี ิตงั เม อะนยิ ะตงั , ชวี ติ ของเราเปน ของไมเ ทย่ี ง; มะระณงั เม นยิ ะตงั , ความตายของเราเปนของเทย่ี ง; วะตะ, ควรท่จี ะสงั เวช; อะยงั กาโย, รางกายน้ี; มไิ ดต งั้ อยนู าน; อะจริ งั , ครัน้ ปราศจากวญิ ญาณ; อะเปตะวญิ ญาโณ, อนั เขาท้ิงเสียแลว ; ฉฑุ โฑ, จกั นอนทบั ; อะธิเสสสะต,ิ ซึ่งแผนดิน; ปะฐะวงิ , ประดจุ ดงั วาทอ นไมและทอ นฟน; กะลงิ คะรงั อวิ ะ, หาประโยชนม ไิ ด. นริ ตั ถงั .

๑๕. สพั พปต ตทิ านคาถา (คาถาแผสว นบญุ ใหแ กส รรพสตั วท ง้ั หลาย) (หนั ทะ มะยงั สพั พะปต ตทิ านะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแผสว นบุญใหแ กส รรพสัตวท งั้ หลายเถิด.) ปญุ ญสั สทิ านิ กะตสั สะ ยานญั ญานิ กะตานิ เม, เตสญั จะ ภาคโิ น โหนตุ สตั ตานนั ตาปปะมาณะกา, สัตวท้งั หลาย ไมม ที ี่สดุ ไมม ปี ระมาณ, จงมสี ว นแหง บญุ ทข่ี า พเจา ไดท ําในบดั น,้ี และแหง บญุ อ่ืนทไี่ ดท ําไวกอนแลว; เย ปย า คณุ ะวนั ตา จะ มยั ห๎ งั มาตาปตาทะโย, ทิฏฐา เม จาปยะทฏิ ฐา วา อญั เญ มชั ฌตั ตะเวรโิ น, คือจะเปน สัตวเ หลาใด, ซ่ึงเปนทรี่ ักใครแ ละมบี ญุ คุณ เชน มารดา บดิ า ของขา พเจา เปน ตน กด็ ,ี ทีข่ าพเจา เหน็ แลว หรอื ไมไ ดเหน็ ก็ดี, สตั วเ หลาอื่นทเ่ี ปน กลางๆ หรือเปน คเู วรกนั ก็ด;ี สัตตา ตฏิ ฐนั ติ โลกสั ม๎ งิ เต ภมุ มา จะตโุ ยนกิ า, ปญ เจกะจะตโุ วการา สงั สะรนั ตา ภะวาภะเว, สัตวท ั้งหลาย ตง้ั อยใู นโลก, อยใู นภูมทิ ง้ั ๓, อยใู นกาํ เนดิ ท้งั ๔, มีขันธ ๕ ขนั ธ มขี ันธข นั ธเดียว มีขันธ ๔ ขันธ, กําลงั ทอ งเทย่ี วอยใู นภพนอ ยภพใหญ ก็ด;ี

ญาตงั เย ปตตทิ านมั เม อะนุโมทนั ตุ เต สะยงั , เย จมิ งั นปั ปะชานนั ติ เทวา เตสงั นเิ วทะยงุ , สตั วเ หลาใด รูส ว นบุญที่ขา พเจา แผใ หแ ลว, สัตวเหลา นั้น จงอนุโมทนาเองเถดิ , สวนสตั วเ หลา ใด ยงั ไมร สู วนบญุ นี,้ ขอเทวดาทง้ั หลาย จงบอกสตั วเหลานัน้ ใหร ู; มะยา ทนิ นานะ ปญุ ญานงั อะนุโมทะนะเหตนุ า, สพั เพ สตั ตา สะทา โหนตุ อะเวรา สขุ ะชวี ิโน, เขมปั ปะทญั จะ ปป โปนตุ เตสาสา สชิ ฌะตงั สภุ า. เพราะเหตุที่ไดอ นโุ มทนาสว นบุญทขี่ า พเจาแผใหแลว, สัตวทงั้ หลายทัง้ ปวง, จงเปน ผูไมม เี วร อยูเ ปน สขุ ทกุ เมื่อ, จงถึงบทอันเกษม กลาวคอื พระนพิ พาน, ความปรารถนาทดี่ งี ามของสัตวเหลา นั้น จงสําเรจ็ เถดิ .

๑๖. ปฏ ฐนฐปนคาถา (คาถาวา ดว ยการตง้ั ความปรารถนา) (หนั ทะ มะยงั ปฏ ฐะนะฐะปะนะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชญิ เถดิ เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาวาดว ยการตงั้ ความปรารถนากันเถดิ .) ยันทานิ เม กะตงั ปญุ ญงั เตนาเนนทุ ทเิ สนะ จะ, ขปิ ปง สจั ฉกิ ะเรยยาหงั ธมั เม โลกตุ ตะเร นะวะ, บญุ ใดที่ขา พเจาไดท ําในบดั นี้, เพราะบญุ นนั้ และการอทุ ิศแผส ว นบญุ น้นั , ขอใหข าพเจา ทําใหแ จงโลกตุ ตธรรม ๙ ในทนั ท;ี สะเจ ตาวะ อะภพั โพหงั สงั สาเร ปะนะ สงั สะรงั , ถาขาพเจา เปน ผอู าภพั อย,ู ยังตอ งทองเท่ียวไปในวฏั ฏสงสาร; นยิ ะโต โพธสิ ตั โต วะ สมั พทุ เธนะ วยิ ากะโต, นาฏฐาระสะป อาภพั พะ- ฐานานิ ปาปุเณยยะหงั , ขอใหข า พเจา เปน เหมือนโพธิสัตวผ เู ที่ยงแท, ไดรับพยากรณแตพ ระพุทธเจาแลว, ไมถ ึงฐานะแหง ความอาภพั ๑๘ อยาง; ปญ จะเวรานิ วชั เชยยงั ระเมยยงั สลี ะรกั ขะเน, ปญ จะกาเม อะลคั โคหงั วชั เชยยงั กามะปง กะโต, ขา พเจาพงึ เวนจากเวรทงั้ ๕, พงึ ยนิ ดีในการรักษาศลี , ไมเ กาะเกย่ี วในกามคณุ ท้งั ๕, พงึ เวนจากเปอ กตมกลาวคอื กาม;

ททุ ทฏิ ฐิยา นะ ยชุ เชยยงั สงั ยชุ เชยยงั สทุ ฏิ ฐยิ า, ปาเป มติ เต นะ เสเวยยงั เสเวยยงั ปณ ฑเิ ต สะทา, ขอใหข าพเจา ไมพ งึ ประกอบดว ยทฏิ ฐิชัว่ , พงึ ประกอบดวยทฏิ ฐทิ ด่ี งี าม, ไมพงึ คบมติ รชว่ั , พึงคบแตบณั ฑิตทกุ เมอ่ื ; สทั ธาสะตหิ โิ รตตปั ปา- ตาปก ขนั ตคิ ุณากะโร, อัปปะสยั โ๎ ห วะ สตั ตหู ิ เหยยงั อะมนั ทะมยุ ๎หะโก, ขอใหขาพเจาเปน บอ ท่เี กิดแหง คุณ, คอื ศรทั ธา สติ หิริ โอตตัปปะ ความเพยี ร และขันต,ิ พงึ เปน ผทู ศี่ ตั รูครอบงาํ ไมไ ด, ไมเ ปน คนเขลา คนหลงงมงาย; สพั พายาปายปุ าเยสุ เฉโก ธมั มตั ถะโกวโิ ท, เญยเย วตั ตตั ว๎ ะสชั ชงั เม ญาณงั อะเฆวะ มาลโุ ต, ขอใหข า พเจา เปน ผฉู ลาดในอบุ าย, แหงความเส่ือมและความเจรญิ , เปน ผูเฉยี บแหลมในอรรถและธรรม, ขอใหญ าณของขาพเจา เปนไป ไมของขดั ในธรรมทค่ี วรร,ู ดจุ ลมพดั ไปในอากาศ ฉะนน้ั ; ยา กาจิ กสุ ะลา มย๎ าสา สุเขนะ สชิ ฌะตงั สะทา, เอวงั วตุ ตา คณุ า สพั เพ โหนตุ มยั ๎หงั ภะเว ภะเว, ความปรารถนาใดๆ ของขา พเจา ท่ีเปน กุศล, ขอใหสําเร็จโดยงา ยทกุ เมอื่ , คณุ ท่ีขาพเจากลาวมาแลวท้งั ปวงน,ี้ จงมแี กข า พเจา ทุกๆ ภพ;

ยะทา อปุ ปช ชะติ โลเก สมั พทุ โธ โมกขะเทสะโก, ตะทา มตุ โต กกุ มั เมหิ ลทั โธกาโส ภะเวยยะหงั , เมื่อใด พระสัมมาสมั พุทธเจา ผูแสดงธรรมเครือ่ งพน ทุกข, เกิดข้นึ แลว ในโลก, เม่ือน้ัน, ขอใหข าพเจาพนจากกรรมอันช่ัวชา ทง้ั หลาย, เปน ผูไดโ อกาสแหง การบรรลุธรรม; มะนสุ สตั ตัญจะ ลงิ คญั จะ ปพ พชั ชญั จปุ ะสมั ปะทงั , ละภติ ว๎ า เปสะโล สีลี ธาเรยยงั สตั ถสุ าสะนงั , ขอใหขา พเจาพึงไดความเปน มนษุ ย, ไดเพศบรสิ ุทธ,ิ์ ไดบ รรพชา อปุ สมบทแลว , เปนคนรกั ศีล มศี ีล, ทรงไวซ งึ่ พระศาสนาของพระศาสดา; สขุ าปะฏปิ ะโท ขปิ ปา- ภญิ โญ สจั ฉกิ ะเรยยะหงั , อะระหตั ตปั ผะลงั อคั คงั วชิ ชาทิคณุ ะลงั กะตัง, ขอใหเ ปนผมู ีการปฏิบตั ิโดยสะดวก, ตรัสรไู ดพ ลนั , กระทําใหแจง ซึง่ อรหันตผลอันเลศิ , อันประดบั ดว ยธรรม มวี ิชชา เปน ตน ; ยะทิ นปุ ปช ชะติ พทุ โธ กมั มงั ปะรปิ รู ญั จะ เม, เอวงั สนั เต ละเภยยาหงั ปจ เจกะโพธมิ ตุ ตะมนั ต.ิ ถา หากพระพทุ ธเจา ไมบ งั เกิดขึน้ , แตก ศุ ลกรรมของขา พเจา เต็มเปย มแลว, เมอ่ื เปน เชน น้นั , ขอใหข า พเจาพงึ ไดญ าณ เปนเครอ่ื งรูเฉพาะตน อนั สูงสุดเทอญ.







๑๗. อรยิ อฏั ฐงั คกิ มคั คปาฐะ (คาํ แสดงอริยมรรคมอี งค ๘) (หนั ทะ มะยงั อะรยิ ฏั ฐงั คกิ ะมคั คะปาฐงั ภะณามะ เส.) (เชญิ เถดิ เราทัง้ หลาย จงกลา วคาํ แสดงอริยมรรคมอี งค ๘ เถิด.) อะยะเมวะ อะรโิ ย อัฏฐังคโิ ก มคั โค, หนทางนแี้ ล, เปนหนทางอนั ประเสรฐิ , ซง่ึ ประกอบดว ยองค ๘; เสยยะถที งั , ไดแกส ง่ิ เหลาน้ี คือ:– (๑) สมั มาทฏิ ฐิ, ความเหน็ ชอบ; (๒) สมั มาสังกปั โป, ความดํารชิ อบ; (๓) สมั มาวาจา, การพูดจาชอบ; (๔) สมั มากมั มนั โต, การทาํ การงานชอบ; (๕) สมั มาอาชโี ว, การเล้ียงชวี ติ ชอบ; (๖) สมั มาวายาโม, ความพากเพยี รชอบ; (๗) สมั มาสะต,ิ ความระลึกชอบ; (๘) สมั มาสะมาธ.ิ ความต้งั ใจม่นั ชอบ. (องคม รรคที่ ๑) กะตะมา จะ ภกิ ขะเว สมั มาทฏิ ฐ,ิ ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย, ความเหน็ ชอบ เปนอยา งไรเลา ?; ยัง โข ภกิ ขะเว ทกุ เข ญาณงั , ดกู อ นภกิ ษุทงั้ หลาย, ความรูอันใด เปนความรูในทกุ ข; ทกุ ขะสะมทุ ะเย ญาณงั , เปน ความรูใ นเหตใุ หเกดิ ทุกข;

ทกุ ขะนิโรเธ ญาณงั , เปนความรใู นความดับแหง ทกุ ข; ทกุ ขะนิโรธะคามนิ ยิ า ปะฏิปะทายะ ญาณงั , เปนความรใู นทางดาํ เนินใหถึง ความดบั แหง ทกุ ข; อะยงั วจุ จะติ ภกิ ขะเว สมั มาทฏิ ฐ.ิ ดกู อนภิกษุทง้ั หลาย, อนั นีเ้ รากลาววา ความเห็นชอบ. (องคม รรคที่ ๒) กะตะโม จะ ภกิ ขะเว สมั มาสงั กปั โป, ดูกอนภกิ ษทุ ้ังหลาย, ความดํารชิ อบ เปน อยางไรเลา ?; เนกขมั มะสงั กปั โป, ความดําริในการออกจากกาม; อะพย๎ าปาทะสงั กปั โป, ความดํารใิ นการไมมงุ ราย; อะวิหงิ สาสงั กปั โป, ความดาํ ริในการไมเบียดเบียน; อะยงั วจุ จะติ ภกิ ขะเว สมั มาสงั กปั โป. ดูกอ นภกิ ษุทงั้ หลาย, อันนเ้ี รากลา ววา ความดาํ ริชอบ. (องคมรรคท่ี ๓) กะตะมา จะ ภกิ ขะเว สมั มาวาจา, ดูกอ นภิกษุทั้งหลาย, การพดู จาชอบ เปนอยา งไรเลา ?; มสุ าวาทา เวระมะณ,ี เจตนาเปน เคร่ืองเวนจากการพดู ไมจ รงิ ;

ปส ณุ ายะ วาจายะ เวระมะณ,ี เจตนาเปน เคร่ืองเวน จากการพูดสอเสยี ด; ผะรสุ ายะ วาจายะ เวระมะณ,ี เจตนาเปน เครื่องเวนจากการพดู หยาบ; สมั ผปั ปะลาปา เวระมะณ,ี เจตนาเปน เคร่อื งเวนจากการพูดเพอ เจอ; อะยงั วจุ จะติ ภกิ ขะเว สมั มาวาจา. ดกู อ นภิกษุทงั้ หลาย, อนั นี้เรากลา ววา การพูดจาชอบ. (องคม รรคท่ี ๔) กะตะโม จะ ภกิ ขะเว สมั มากมั มนั โต, ดกู อ นภิกษุทัง้ หลาย, การทําการงานชอบ เปน อยา งไรเลา ?; ปาณาตปิ าตา เวระมะณ,ี เจตนาเปน เคร่ืองเวนจากการฆา ; อะทนิ นาทานา เวระมะณ,ี เจตนาเปน เครอ่ื งเวน จากการถือเอาสง่ิ ของ ที่เจา ของไมไ ดใหแลว; กาเมสุ มจิ ฉาจารา เวระมะณ,ี เจตนาเปน เคร่อื งเวน จากการประพฤตผิ ดิ ในกามทงั้ หลาย; อะยงั วจุ จะติ ภกิ ขะเว สมั มากมั มนั โต. ดกู อนภกิ ษทุ งั้ หลาย, อนั นีเ้ รากลาววา การทําการงานชอบ.

(องคมรรคท่ี ๕) กะตะโม จะ ภกิ ขะเว สมั มาอาชโี ว, ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย, การเลี้ยงชีวิตชอบ เปน อยางไรเลา ?; อธิ ะ ภกิ ขะเว อะรยิ ะสาวะโก, ดกู อนภกิ ษทุ ง้ั หลาย, สาวกของพระอริยเจาในธรรมวินยั นี้; มจิ ฉาอาชวี ัง ปะหายะ, ละการเลยี้ งชวี ิตทผ่ี ิดเสยี ; สมั มาอาชเี วนะ ชวี ิกงั กปั เปต,ิ ยอมสาํ เรจ็ ความเปน อยูดวยการเล้ยี งชีวิตทชี่ อบ; อะยงั วจุ จะติ ภกิ ขะเว สมั มาอาชโี ว. ดูกอนภกิ ษทุ งั้ หลาย, อนั น้เี รากลา ววา การเลี้ยงชวี ติ ชอบ. (องคม รรคที่ ๖) กะตะโม จะ ภกิ ขะเว สมั มาวายาโม, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ความพากเพยี รชอบ เปน อยา งไรเลา?; อิธะ ภกิ ขะเว ภกิ ข,ุ ดกู อนภิกษทุ ัง้ หลาย, ภิกษใุ นธรรมวนิ ัยน้ี; อนปุ ปน นานงั ปาปะกานงั อะกสุ ะลานงั ธมั มานงั อะนปุ ปาทายะ, ฉนั ทัง ชะเนต,ิ วายะมะต,ิ วริ ิยงั อาระภะต,ิ จิตตงั ปค คณั ๎หาติ ปะทะหะต,ิ

ยอ มทาํ ความพอใจใหเ กดิ ขึน้ , ยอมพยายาม, ปรารภความเพียร, ประคองต้ังจติ ไว, เพื่อจะยังอกุศลธรรม อนั เปนบาปทย่ี งั ไมเกิด ไมใ หเ กดิ ข้ึน; อปุ ปน นานงั ปาปะกานงั อะกสุ ะลานงั ธมั มานัง ปะหานายะ, ฉนั ทัง ชะเนต,ิ วายะมะต,ิ วริ ิยงั อาระภะต,ิ จิตตงั ปค คณั ๎หาติ ปะทะหะต,ิ ยอมทําความพอใจใหเกิดข้นึ , ยอ มพยายาม, ปรารภความเพยี ร, ประคองตั้งจิตไว, เพ่อื จะละอกศุ ลธรรม อนั เปน บาปทเี่ กดิ ขนึ้ แลว; อะนปุ ปน นานงั กสุ ะลานงั ธมั มานงั อปุ ปาทายะ, ฉนั ทัง ชะเนต,ิ วายะมะต,ิ วริ ิยงั อาระภะต,ิ จติ ตงั ปค คณั ห๎ าติ ปะทะหะต,ิ ยอ มทาํ ความพอใจใหเ กิดขนึ้ , ยอมพยายาม, ปรารภความเพียร, ประคองตงั้ จติ ไว, เพ่ือจะยงั กุศลธรรมทยี่ ังไมเ กดิ ใหเ กิดข้นึ ; อปุ ปน นานงั กสุ ะลานงั ธมั มานงั ฐติ ยิ า, อะสมั โมสายะ, ภยิ โยภาวายะ, เวปลุ ลายะ, ภาวะนายะ, ปารปิ รู ยิ า, ฉนั ทัง ชะเนต,ิ วายะมะต,ิ วริ ยิ งั อาระภะต,ิ จิตตัง ปค คัณห๎ าติ ปะทะหะต,ิ

ยอ มทาํ ความพอใจใหเกิดขนึ้ , ยอมพยายาม, ปรารภความเพยี ร, ประคองตงั้ จติ ไว, เพ่ือความตั้งอย,ู ความไมเ ลอะเลอื น, ความงอกงามยงิ่ ขน้ึ , ความไพบูลย, ความเจรญิ , ความเต็มรอบ, แหงกุศลธรรมที่เกดิ ขนึ้ แลว ; อะยงั วจุ จะติ ภกิ ขะเว สมั มาวายาโม. ดูกอ นภกิ ษทุ ้งั หลาย, อันนี้เรากลาววา ความพากเพยี รชอบ. (องคม รรคที่ ๗) กะตะมา จะ ภกิ ขะเว สมั มาสะต,ิ ดูกอนภิกษุทง้ั หลาย, ความระลึกชอบ เปน อยา งไรเลา ?; อธิ ะ ภกิ ขะเว ภกิ ข,ุ ดกู อนภิกษทุ ้ังหลาย, ภกิ ษใุ นธรรมวินัยนี;้ กาเย กายานปุ สสี วหิ ะระต,ิ ยอ มเปนผูพิจารณาเห็นกายในกาย อยเู ปน ประจาํ ; อาตาป สมั ปะชาโน สะตมิ า, วิเนยยะ โลเก อะภชิ ฌาโทมะนสั สงั , มีความเพียรเครื่องเผากิเลส, มีสัมปชัญญะ มีสต,ิ ถอนความพอใจและความไมพ อใจในโลกออกเสียได;

เวทะนาสุ เวทะนานปุ ส สี วหิ ะระต,ิ ยอมเปนผพู ิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทัง้ หลาย อยเู ปน ประจาํ ; อาตาป สมั ปะชาโน สะตมิ า, วิเนยยะ โลเก อะภชิ ฌาโทมะนสั สงั , มีความเพียรเครอ่ื งเผากเิ ลส, มสี มั ปชัญญะ มสี ต,ิ ถอนความพอใจและความไมพอใจในโลกออกเสียได; จติ เต จติ ตานปุ ส สี วิหะระต,ิ ยอมเปนผูพิจารณาเหน็ จติ ในจติ อยูเ ปนประจํา; อาตาป สมั ปะชาโน สะตมิ า, วเิ นยยะ โลเก อะภชิ ฌาโทมะนสั สงั , มีความเพยี รเครอื่ งเผากเิ ลส, มสี มั ปชญั ญะ มีสต,ิ ถอนความพอใจและความไมพ อใจในโลกออกเสยี ได; ธมั เมสุ ธมั มานปุ ส สี วหิ ะระต,ิ ยอมเปน ผูพิจารณาเหน็ ธรรมในธรรมท้งั หลาย อยเู ปน ประจาํ ; อาตาป สมั ปะชาโน สะตมิ า, วเิ นยยะ โลเก อะภชิ ฌาโทมะนสั สงั , มีความเพยี รเคร่อื งเผากเิ ลส, มีสมั ปชัญญะ มีสต,ิ ถอนความพอใจและความไมพอใจในโลกออกเสยี ได; อะยงั วจุ จะติ ภกิ ขะเว สมั มาสะต.ิ ดกู อนภกิ ษุทั้งหลาย, อนั นี้เรากลา ววา ความระลึกชอบ.

(องคม รรคที่ ๘) กะตะโม จะ ภกิ ขะเว สมั มาสะมาธ,ิ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ความตั้งใจมนั่ ชอบ เปน อยางไรเลา ?; อธิ ะ ภกิ ขะเว ภกิ ข,ุ ดูกอนภกิ ษุทัง้ หลาย, ภกิ ษใุ นธรรมวินัยนี้; ววิ จิ เจวะ กาเมห,ิ สงดั แลวจากกามทัง้ หลาย; ววิ จิ จะ อะกสุ ะเลหิ ธมั เมห,ิ สงดั แลว จากธรรมทเ่ี ปน อกศุ ล ทัง้ หลาย; สะวติ กั กงั สะวจิ ารัง, วเิ วกะชงั ปต ิสขุ ัง ปะฐะมงั ฌานัง อุปะสมั ปช ชะ วหิ ะระต,ิ เขาถึงปฐมฌาน, ประกอบดว ย วติ ก วจิ าร, มีปต แิ ละสุข อันเกิดจากวิเวก แลว แลอย;ู วิตกั กะวจิ ารานงั วปู ะสะมา, เพราะความท่ี วติ ก วิจาร ท้ัง ๒ ระงับลง; อชั ฌตั ตงั สมั ปะสาทะนงั เจตะโส, เอโกทภิ าวงั , อะวิตกั กงั อะวจิ ารัง, สะมาธชิ งั ปต ิสขุ ัง ทตุ ิยงั ฌานงั อปุ ะสมั ปช ชะ วิหะระต,ิ เขา ถงึ ทตุ ยิ ฌาน, เปนเคร่ืองผอ งใสแหงใจในภายใน, ใหส มาธเิ ปน ธรรมอนั เอกผดุ มีขนึ้ , ไมม วี ติ ก ไมม วี จิ าร, มแี ตปต แิ ละสขุ อนั เกิดจากสมาธิ แลว แลอยู;

ปต ยิ า จะ วริ าคา, อน่ึง เพราะความจางคลายไป แหงปต ;ิ อเุ ปกขะโก จะ วหิ ะระต,ิ สะโต จะ สมั ปะชาโน, ยอมเปน ผูอ ยูอเุ บกขา, มสี ตแิ ละสมั ปชญั ญะ; สุขญั จะ กาเยนะ ปะฏสิ งั เวเทต,ิ และยอมเสวยความสขุ ดว ยนามกาย; ยนั ตงั อะรยิ า อาจกิ ขนั ต,ิ อุเปกขะโก สะตมิ า สขุ ะวหิ ารีต,ิ ชนิดที่พระอริยเจาทัง้ หลาย, ยอ มกลา วสรรเสริญผูนั้นวา, “เปนผอู ยูอุเบกขา มสี ติอยเู ปน ปรกติสขุ ”, ดังน้;ี ตะตยิ งั ฌานงั อปุ ะสมั ปช ชะ วหิ ะระต,ิ เขา ถึงตตยิ ฌาน แลว แลอย;ู สขุ สั สะ จะ ปะหานา, เพราะละสขุ เสยี ได; ทกุ ขสั สะ จะ ปะหานา, และเพราะละทุกขเ สยี ได; ปพุ เพวะ โสมะนสั สะโทมะนัสสานงั อตั ถงั คะมา, เพราะความดบั ไปแหง โสมนัสและโทมนสั ทัง้ ๒ ในกาลกอ น; อะทกุ ขะมะสุขงั อเุ ปกขาสะตปิ ารสิ ทุ ธิง, จะตตุ ถงั ฌานงั อปุ ะสมั ปช ชะ วิหะระต,ิ เขาถงึ จตตุ ถฌาน, ไมม ที กุ ข ไมม สี ขุ , มีแตค วามทีส่ ติ เปน ธรรมชาตบิ รสิ ทุ ธเิ์ พราะอเุ บกขา แลวแลอยู; อะยงั วจุ จะติ ภกิ ขะเว สมั มาสะมาธ.ิ ดูกอ นภิกษุทั้งหลาย, อันน้ีเรากลาววา ความต้ังใจมน่ั ชอบ.



๑๘. อตตี ปจ จเวกขณปาฐะ (คาํ พจิ ารณาปจ จัย ๔ หลงั ใชส อยแลว ) (หนั ทะ มะยงั อะตตี ะปจ จะเวกขะณะปาฐงั ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลา วคาํ พจิ ารณาปจ จัย ๔ หลงั ใชสอยแลวเถิด.) (พิจารณาจวี ร) อชั ชะ มะยา อะปจ จะเวกขติ ว๎ า ยัง จวี ะรงั ปะรภิ ตุ ตงั , จวี รใด อันเรานงุ หม แลว ไมท นั พิจารณา ในวันน้;ี ตัง ยาวะเทวะ สตี ัสสะ ปะฏฆิ าตายะ, จีวรน้ัน เรานุงหมแลว เพยี งเพอื่ บาํ บดั ความหนาว; อุณ๎หสั สะ ปะฏฆิ าตายะ, เพอ่ื บําบดั ความรอ น; ฑงั สะมะกะสะวาตาตะปะสริ งิ สะปะสมั ผสั สานัง ปะฏฆิ าตายะ, เพ่ือบําบดั สัมผัสอนั เกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสตั วเ ลือ้ ยคลานท้ังหลาย; ยาวะเทวะ หริ โิ กปน ะปะฏจิ ฉาทะนตั ถงั . และเพียงเพือ่ ปกปด อวยั วะ อันใหเ กดิ ความละอาย.

(พจิ ารณาอาหาร) อัชชะ มะยา อะปจ จะเวกขติ ว๎ า โย ปณ ฑะปาโต ปะรภิ ตุ โต, บณิ ฑบาตใด อนั เราฉันแลว ไมท นั พิจารณา ในวนั นี;้ โส เนวะ ทะวายะ, บิณฑบาตน้นั เราฉนั แลว ไมใ ชเ ปน ไปเพอ่ื ความเพลิดเพลนิ สนกุ สนาน; นะ มะทายะ, ไมใชเปน ไปเพือ่ ความเมามัน เกดิ กําลงั พลังทางกาย; นะ มณั ฑะนายะ, ไมใ ชเปน ไปเพอ่ื ประดบั ; นะ วภิ สู ะนายะ, ไมใชเ ปน ไปเพือ่ ตกแตง; ยาวะเทวะ อมิ สั สะ กายสั สะ ฐติ ยิ า, แตใ หเปน ไปเพยี งเพ่อื ความตงั้ อยไู ดแหง กายน;้ี ยาปะนายะ, เพอื่ ความเปนไปไดของอัตภาพ; วิหงิ สปุ ะระตยิ า, เพือ่ ความส้นิ ไปแหง ความลําบาก ทางกาย; พร๎ หั ม๎ ะจะรยิ านุคคะหายะ, เพอ่ื อนเุ คราะหแ กก ารประพฤติ พรหมจรรย; อิติ ปรุ าณญั จะ เวทะนงั ปะฏิหงั ขาม,ิ ดวยการทาํ อยางน้,ี เรายอ มระงบั เสียได ซงึ่ ทกุ ขเวทนาเกา คือความหิว;

นะวญั จะ เวทะนงั นะ อปุ ปาเทสสาม,ิ และไมท าํ ทุกขเวทนาใหมใหเ กดิ ขนึ้ ; ยาตร๎ า จะ เม ภะวสิ สะติ อะนะวชั ชะตา จะ ผาสวุ ิหาโร จาต.ิ อน่งึ ความเปนไปโดยสะดวกแหงอตั ภาพนดี้ ว ย, ความเปน ผหู าโทษมิไดด ว ย, และความเปน อยโู ดยผาสกุ ดว ย, จกั มีแกเรา, ดงั น้.ี (พิจารณาทอี่ ยอู าศยั ) อัชชะ มะยา อะปจ จะเวกขติ ว๎ า ยัง เสนาสะนงั ปะรภิ ตุ ตงั , เสนาสนะใด อนั เราใชส อยแลว ไมทันพจิ ารณา ในวันน;้ี ตัง ยาวะเทวะ สตี สั สะ ปะฏฆิ าตายะ, เสนาสนะน้ัน เราใชสอยแลว เพยี งเพื่อบาํ บดั ความหนาว; อุณ๎หสั สะ ปะฏฆิ าตายะ, เพื่อบาํ บดั ความรอ น; ฑงั สะมะกะสะวาตาตะปะสริ งิ สะปะสมั ผสั สานงั ปะฏฆิ าตายะ, เพื่อบําบดั สัมผัสอนั เกดิ จากเหลือบ ยงุ ลม แดด และสตั วเ ล้ือยคลานทัง้ หลาย; ยาวะเทวะ อตุ ปุ ะรสิ สะยะวโิ นทะนงั ปะฏสิ ลั ลานารามตั ถงั . เพียงเพอ่ื บรรเทาอนั ตรายอนั จะพึงมจี ากดนิ ฟา อากาศ, และเพื่อความเปน ผยู นิ ดอี ยูได ในที่หลกี เรน สําหรบั ภาวนา.

(พจิ ารณายารกั ษาโรค) อัชชะ มะยา อะปจ จะเวกขิตว๎ า โย คลิ านะปจ จะยะเภสชั ชะปะรกิ ขาโร ปะรภิ ตุ โต, คิลานเภสชั บริขารใด อนั เราบริโภคแลว ไมทันพจิ ารณา ในวนั น;ี้ โส ยาวะเทวะ อปุ ปน นานงั เวยยาพาธกิ านงั เวทะนานงั ปะฏฆิ าตายะ, คิลานเภสัชบริขารนนั้ เราบรโิ ภคแลว เพยี งเพอื่ บาํ บดั ทกุ ขเวทนา อนั บังเกิดขนึ้ แลว มอี าพาธตา งๆ เปน มูล; อพั ย๎ าปช ฌะปะระมะตายาต.ิ เพ่ือความเปนผูไมม ีโรคเบยี ดเบียน เปนอยางย่ิง, ดงั น้;ี

๑๙. ปพพชติ อภิณหปจจเวกขณปาฐะ (คาํ สาํ หรบั บรรพชติ ควรพิจารณาเนอื งๆ) (หนั ทะ มะยงั ปพ พะชติ ะอะภิณหะปจ จะเวกขะณะปาฐงั ภะนามะ เส.) (เชิญเถดิ เราท้งั หลาย จงกลาวคําสาํ หรับบรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ เถิด.) ทะสะ อเิ ม ภกิ ขะเว ธมั มา, ดกู อนภิกษทุ ง้ั หลาย, ธรรมท้งั หลาย ๑๐ ประการ เหลา นี,้ มอี ย;ู ปพ พะชเิ ตนะ อะภณิ ห๎ งั ปจ จะเวกขติ พั พัง, เปน ธรรมทบี่ รรพชติ พึงพจิ ารณาโดยแจม ชดั อยเู นืองนิจ; กะตะเม ทะสะ?, ธรรมทง้ั หลาย ๑๐ ประการน้นั เปน อยา งไรเลา ?; (๑) เววณั ณยิ มั หิ อชั ฌปู ะคะโตติ ปพ พะชเิ ตนะ อะภณิ ห๎ งั ปจ จะเวกขติ พั พัง, คอื บรรพชติ พึงพจิ ารณาโดยแจม ชดั อยูเนืองนจิ วา, เราเปนผเู ขาถงึ เฉพาะแลว ซึ่งวรรณะอันตาง อันพิเศษ, ดงั นี้; (๒) ปะระปะฏพิ ทั ธา เม ชวี กิ าติ ปพ พะชิเตนะ อะภณิ ๎หงั ปจ จะเวกขติ พั พัง, บรรพชิตพงึ พิจารณาโดยแจม ชดั อยูเ นืองนิจวา , การเล้ยี งชวี ติ ของเรา เนือ่ งเฉพาะแลวดวยผูอ นื่ , ดังน้ี;

(๓) อัญโญ เม อากบั โป กะระณีโยติ ปพ พะชิเตนะ อะภณิ ๎หงั ปจ จะเวกขติ พั พัง, บรรพชติ พึงพจิ ารณาโดยแจม ชัด อยูเ นอื งนจิ วา , ระเบียบการปฏบิ ัตอิ ยางอนื่ ทเ่ี ราจะตองทํามอี ย,ู ดังนี;้ (๔) กัจจิ นุ โข เม อัตตา สลี ะโต นะ อปุ ะวะทะตตี ิ ปพ พะชิเตนะ อะภณิ ห๎ งั ปจ จะเวกขติ พั พัง, บรรพชิตพงึ พจิ ารณาโดยแจมชดั อยูเนืองนิจวา, เมอื่ กลาวโดยศีล, เรายอมตาํ หนิตเิ ตียนตนเองไมได มิใชห รอื , ดังน;้ี (๕) กัจจิ นุ โข มงั อะนวุ ิจจะ วิญู สะพร๎ ัหม๎ ะจารี สลี ะโต นะ อปุ ะวะทนั ตตี ิ ปพ พะชิเตนะ อะภณิ ห๎ งั ปจ จะเวกขติ พั พัง, บรรพชติ พึงพิจารณาโดยแจมชดั อยเู นืองนจิ วา, เมือ่ กลาวโดยศีล, เพือ่ นสพรหมจารีทเ่ี ปน วญิ ชู น, ใครครวญแลว, ยอมตาํ หนติ เิ ตียนเราไมไ ด มิใชหรอื , ดงั นี้; (๖) สพั เพหิ เม ปเ ยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโวติ ปพ พะชเิ ตนะ อะภณิ ๎หงั ปจ จะเวกขติ พั พัง, บรรพชิตพงึ พิจารณาโดยแจมชัด อยูเ นืองนจิ วา, ความพลดั พรากจากของรกั ของชอบใจ ทง้ั ส้นิ , จกั มแี กเรา, ดงั น้ี;

(๗) กมั มสั สะโกมห๎ ิ กมั มะทายาโท กมั มะโยนิ กมั มะพนั ธุ กมั มะปะฏสิ ะระโณ, ยัง กมั มงั กะรสิ สามิ กัลย๎ าณงั วา ปาปะกงั วา, ตัสสะ ทายาโท ภะวสิ สามตี ิ ปพ พะชิเตนะ อะภณิ ๎หงั ปจ จะเวกขติ พั พัง, บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจมชัด อยเู นอื งนิจวา , เราเปน ผมู ีกรรมเปน ของตน, มกี รรมทตี่ องรบั ผลเปน มรดกตกทอด, มกี รรมเปน ท่กี าํ เนดิ , มกี รรมเปน เผาพนั ธุ, มกี รรมเปนทพ่ี งึ่ อาศัย, เราทาํ กรรมใดไว ดกี ็ตาม ช่วั กต็ าม, เราจกั เปน ผูร ับผลตกทอดแหงกรรมนน้ั , ดงั น้ี; (๘) กะถมั ภตู สั สะ เม รตั ตนิ ทวิ า วตี ปิ ะตนั ตีติ ปพ พะชิเตนะ อะภณิ ห๎ งั ปจ จะเวกขติ พั พัง, บรรพชิตพงึ พิจารณาโดยแจมชดั อยเู นืองนิจวา, วันคืนลว งไปลวงไป, ในเม่ือเรากําลงั เปน อยูในสภาพเชน ไร, ดังน;้ี (๙) กจั จิ นุ โขหงั สญุ ญาคาเร อะภริ ะมามตี ิ ปพ พะชเิ ตนะ อะภณิ ๎หงั ปจ จะเวกขติ พั พัง, บรรพชติ พง่ึ พิจารณาโดยแจมชดั อยูเ นืองนิจวา , เรายอ มยนิ ดีในโรงเรอื นอนั สงัดอยูหรือหนอ, ดังน้ี;

(๑๐) อตั ถิ นุ โข เม อตุ ตะรมิ ะนสุ สะธมั มา อะละมะรยิ ะญาณะทสั สะนะวเิ สโส อะธคิ ะโต, โสหงั ปจ ฉเิ ม กาเล สะพร๎ หั ม๎ ะจารีหิ ปุฏโฐ นะ มงั กุ ภะวสิ สามตี ิ ปพ พะชเิ ตนะ อะภณิ ห๎ งั ปจ จะเวกขติ พั พงั , บรรชิตพงึ พจิ ารณาโดยแจมชดั อยเู นืองนจิ วา , ญาณทรรศนะอันวเิ ศษ ควรแกพ ระอรยิ เจา, อันยง่ิ กวาวิสยั ธรรมดาของมนุ ษย, ทเ่ี ราไดบรรลุแลว , เพอื่ เราจะไมเ ปนผเู กอเขนิ เมื่อถูกเพ่ือนสพรหมจารีดว ยกัน ถามในภายหลัง, มอี ยูแกเ ราหรอื ไม, ดงั นี้; อิเม โข ภกิ ขะเว ทะสะ ธมั มา, ดูกอ นภิกษทุ ั้งหลาย, ธรรมทงั้ หลาย ๑๐ ประการ เหลานแี้ ล; ปพ พะชิเตนะ อะภณิ ๎หงั ปจ จะเวกขติ พั พา, เปน ธรรมทบ่ี รรพชติ พงึ พจิ ารณาโดยแจม ชดั อยเู นอื งนจิ ; อติ .ิ ดว ยอาการ อยา งน้ีแล.

๒๐. ปจ ฉิมพุทโธวาทปาฐะ (คาํ แสดงพระโอวาทคร้งั สดุ ทา ยของพระพทุ ธเจา ) (หนั ทะ มะยงั ปจ ฉิมะพทุ โธวาทะปาฐงั ภะณามะ เส.) (เชญิ เถิด เราทง้ั หลาย จงกลา วคําแสดงพระโอวาทครงั้ สดุ ทา ยของพระพุทธเจา เถิด.) หันทะทานิ ภกิ ขะเว อามนั ตะยามิ โว, ดกู อ นภิกษุท้ังหลาย, บัดน,ี้ เราขอเตอื นทานทงั้ หลายวา; วะยะธมั มา สงั ขารา, สังขารทง้ั หลาย มีความเสอื่ มไปเปนธรรมดา; อัปปะมาเทนะ สมั ปาเทถะ, ทานทงั้ หลาย, จงทาํ ความไมประมาทใหถ งึ พรอมเถดิ ; อะยงั ตะถาคะตสั สะ ปจ ฉมิ า วาจา. น้ีเปน พระวาจามใี นครั้งสดุ ทา ย ของพระตถาคตเจา .

๒๑. อทุ ทสิ สนาธฏิ ฐานคาถา (คาถาอทุ ศิ และอธษิ ฐาน) (หนั ทะ มะยงั อทุ สิ สะนาธฏิ ฐานะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชญิ เถดิ เราทงั้ หลาย จงกลา วคาถาอทุ ศิ และอธษิ ฐานเถิด.) (บทที่ ๑) อมิ นิ า ปญุ ญะกมั เมนะ, ดว ยบญุ น้ี อทุ ศิ ให; อุปช ฌายา คณุ ุตตะรา, อุปชฌาย ผเู ลิศคณุ ; อาจะรยิ ปู ะการา จะ, แลอาจารย ผเู ก้ือหนนุ ; มาตา ปต า จะ ญาตะกา, ท้ังพอ แม แลปวงญาต;ิ สรุ โิ ย จนั ทมิ า ราชา, สูรย จันทร และราชา; คณุ ะวนั ตา นะราป จะ, ผูทรงคุณ หรือสูงชาติ; พร๎ หม๎ ะมารา จะ อนิ ทา จะ, พรหม มาร และอินทราช; โลกะปาลา จะ เทวะตา, ทงั้ ทวยเทพ และโลกบาล; ยะโม มติ ตา มะนสุ สา จะ, ยมราช มนษุ ยม ติ ร; มชั ฌตั ตา เวรกิ าป จะ, ผเู ปน กลาง ผจู องผลาญ; สพั เพ สตั ตา สุขี โหนต,ุ ขอให เปนสุขศานต ทุกทว่ั หนา อยา ทกุ ขทน; ปญุ ญานิ ปะกะตานิ เม, บญุ ผอง ท่ีขาทํา จงชว ยอาํ นวยศภุ ผล; สขุ งั จะ ติวธิ งั เทนต,ุ ใหส ุข ๓ อยางลน ; ขปิ ปง ปาเปถะ โวมะตงั . ใหล ถุ ึง นิพพานพลัน* (นพิ พานเทอญ). * ถาจะหยดุ วา เพยี งเทา นี้ ใหเปลย่ี น “นพิ พานพลัน” เปน “นิพพานเทอญ”

เย เกจิ ขุททะกา ปาณา, (บทที่ ๒) มะหนั ตาป มะยา หะตา, เย จาเนเก ปะมาเทนะ, สตั วเ ลก็ ทัง้ หลายใด; กายะวาจามะเนเหวะ, ทัง้ สตั วใหญ เราหา้ํ หน่ั ; ปญุ ญงั เม อะนโุ มทนั ต,ุ มิใชน อ ย เพราะเผลอพลัน; คณั หนั ตุ ผะละมตุ ตะมงั , ทางกายา วาจา จติ ; เวรา โน เจ ปะมญุ จนั ต,ุ จงอนโุ มทนากศุ ล; สพั พะโทสงั ขะมนั ตุ เม. ถอื เอาผล อนั อกุ ฤษฏ; ถามเี วร จงเปล้อื งปลดิ ; อดโทษขา อยา ผกู ไว* (ท่วั หนาเทอญ). * ถาจะหยดุ วา เพียงเทา น้ี ใหเ ปลี่ยน “อยา ผกู ไว” เปน “ทว่ั หนาเทอญ”

ยงั กญิ จิ กสุ ะลงั กมั มงั , (บทท่ี ๓) กัตตพั พงั กริ ิยงั มะมะ, กาเยนะ วาจามะนะสา, กศุ ลกรรม อยา งใดหนง่ึ ; ตทิ ะเส สุคะตงั กะตงั , เปน กจิ ซง่ึ ควรฝก ใฝ; เย สตั ตา สญั ญโิ น อัตถ,ิ ดวยกาย วาจา ใจ; เย จะ สตั ตา อะสญั ญโิ น, เราทําแลว เพอ่ื ไปสวรรค; กะตงั ปญุ ญะผะลงั มยั ห๎ งั , สัตวใด มีสัญญา; สพั เพ ภาคี ภะวนั ตุ เต, หรอื หาไม เปน อสญั ญ; เย ตงั กะตงั สวุ ทิ ติ งั , ผลบญุ ขา ทํานั้น; ทนิ นงั ปญุ ญะผะลงั มะยา, ทกุ ๆ สตั ว จงมีสว น; เย จะ ตัตถะ นะ ชานนั ต,ิ สัตวใ ดรู ก็เปนอนั ; เทวา คนั ตว๎ า นเิ วทะยุง, วาขาให แลว ตามควร; สพั เพ โลกมั ห๎ ิ เย สัตตา, สตั วใ ด มิรถู ว น; ชวี นั ตาหาระเหตกุ า, ขอเทพเจา จงเลาขาน; มะนญุ ญงั โภชะนงั สพั เพ, ปวงสัตว ในโลกีย; ละภนั ตุ มะมะ เจตะสา, มชี ีวติ ดวยอาหาร; จงได โภชนสาํ ราญ; ตามเจตนา ขา อาณตั *ิ (ของขา เทอญ). * ถาจะหยุดวา เพียงเทา น้ี ใหเปลย่ี น “ขาอาณตั ”ิ เปน “ของขา เทอญ”

อิมนิ า ปญุ ญะกมั เมนะ, (บทที่ ๔) อิมนิ า อทุ ทเิ สนะ จะ, ขิปปาหงั สลุ ะเภ เจวะ, ดวยบญุ นี้ ท่ีเราทาํ ; ตัณห๎ ปุ าทานะเฉทะนงั , แลอทุ ิศ ใหป วงสตั ว; เย สนั ตาเน หนิ า ธมั มา, เราพลันได ซง่ึ การตดั ; ยาวะ นพิ พานะโต มะมงั , ตัวตณั หา อปุ าทาน; นสั สนั ตุ สพั พะทา เยวะ, สงิ่ ชวั่ ในดวงใจ; ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว, กวา เราจะ ถงึ นิพพาน; อชุ จุ ติ ตงั สะตปิ ญ ญา, มลายสิน้ จากสนั ดาน; สัลเลโข วริ ยิ มั ห๎ นิ า, ทกุ ๆ ภพ ท่ีเราเกดิ ; มารา ละภนั ตุ โนกาสงั , มจี ิตตรง และสติ ทง้ั ปญญาอันประเสรฐิ ; กาตญุ จะ วริ ิเยสุ เม, พรอมทงั้ ความเพยี รเลศิ พทุ ธาทปิ ะวะโร นาโถ, เปนเคร่ืองขดู กเิ ลสหาย; ธมั โม นาโถ วะรตุ ตะโม, โอกาส อยาพึงมี แกหมูมาร นาโถ ปจ เจกะพทุ โธ จะ, ส้ินทั้งหลาย; สงั โฆ นาโถตตะโร มะมงั , เปน ชอ งประทุษรา ย ทําลายลา ง เตโสตตะมานภุ าเวนะ, ความเพยี รจม; มาโรกาสงั ละภนั ตุ มา, พระพทุ ธ ผูบวรนาถ; ทะสะปุญญานภุ าเวนะ, พระธรรม ที่พงึ่ อดุ ม; มาโรกาสงั ละภนั ตุ มา. พระปจเจกะพุทธะสม-; ทบพระสงฆ ทพี่ ง่ึ ผยอง; ดวยอานภุ าพนน้ั ; ขอหมมู าร อยาไดช อ ง; ดว ยเดชบญุ ทัง้ ๑๐ ปอง; อยา เปดโอกาส แกม าร เทอญ.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook