Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นักศึกษาสงสัย

นักศึกษาสงสัย

Published by wi.kuntarn, 2020-06-22 11:58:44

Description: นักศึกษาสงสัย

Search

Read the Text Version

ตัวอยา่ งคำถามขอ้ สงสยั ของนกั เรียนนกั ศกึ ษา บทท่ี 1 ปัญหาเก่ียวกับพระพุทธเจ้า 1. พระพทุ ธประวัติ มคี วามจรงิ เพียงไร? 2. ทวี่ า่ ภายหลังตรสั รู้ ทนั ทีทีพ่ ระพุทธเจา้ ดำเนนิ ไปดว้ ยพระบาทได้ 7 ก้าวนน้ั จรงิ หรอื ไม่ ทำไม จงึ เปน็ เช่นน้ัน? 3. พระพทุ ธเจ้าเม่ือประสตู ิใหม่ ๆ พราหมณท์ ำนายว่ามคี ตเิ ป็นสองคอื ถา้ อยู่ครองฆราวาสจะได้ เป็นพระเจา้ จกั รพรรดริ าช หากออกผนวชจะได้เป็นศาสดาเอกของโลก ทำไมพระองค์จงึ เสดจ็ ออกผนวชเลา่ ? 4. การบรรลธุ รรมของพระพุทธเจา้ ตั้งตนอย่างไร และบรรลุได้อยา่ งไร ใชอ้ ะไรเปน็ เครอ่ื งวดั วดั อย่างไร ใครเปน็ ผ้วู ดั ? 5. เมือ่ พระพุทธเจ้าตรัสสั่งสอนอะไร ว่าเป็นทางแห่งการบรรลุธรรม กรุณชี้แจงดว้ ย? 6. กอ่ นที่พระองคจ์ ะมาเปน็ พระพทุ ธเจา้ ทรงเป็นอะไรมากอ่ น กรณุ าเลา่ โดยละเอียดตั้งแต่ เสวยพระชาติเปน็ สัตว์ตอนแรก? 7. สมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า ทรงเปน็ แบบอย่าง ทรงเปน็ ครูที่ดขี องมนษุ ยใ์ นทกุ ด้าน ซึ่ง รวมทัง้ พระธรรมคำสอนของพระองค์ดว้ ย แตท่ ำไมพุทธประวัตจิ ึงสอดแทรกอภนิ หิ าริย์ไว้ อย่างมากมาย (คงทราบนะครับ) แลว้ ในสมยั นท้ี า่ นลองคิดดู ความทันสมัยทางวทิ ยาศาสตร์ เจรญิ ขนาดไหน แล้วจะทำให้คนสมยั นีม้ คี วามคิดตอ่ ศาสนาอย่างไร? 8. เมือ่ พระพุทธเจา้ ตรัสรู้แลว้ ทำไมเมือ่ พระพทุ ธบิดาสง่ คนมานมิ นต์ ให้เสด็จเข้าไปในเมอื ง พระองค์จงึ ไม่เสด็จไป จนตอ้ งสง่ คนมาเชญิ เสดจ็ ถึง 10 ครั้ง ท่เี ป็นเช่นน้ีเพราะเหตไุ ร? 9. การทพ่ี ระพทุ ธเจ้า ทรงกำหนดวนั ปรนิ พิ พานไดเ้ องน้ัน จะไม่เปน็ การเหลือเชื่อไปหรอื เพราะ คนเราจะถงึ แก่ความตายนน้ั อยทู่ ่ีเวรกรรมท่ีทำไว้ ขอฟงั คำอธิบายดว้ ย? 10.ที่ว่าพระพุทธเจ้าปรนิ พิ พานแลว้ ไม่เกิด เม่ือเป็นเช่นน้ีแลว้ พระองค์ไปอยู่ท่ีไหน นพิ พานตา่ ง จากการตายธรรมดาอย่างไร ขอฟงั คำอธบิ าย? 11.กรณุ าเล่าถงึ ตอนท่ีพระพุทธเจา้ ปรนิ พิ พานโดยละเอยี ด และพระธาตคุ งเหลอื อยทู่ ไ่ี หนบา้ ง มี ก่ีประเภท อะไรบ้าง? 12.รอยพระพทุ ธบาทที่จงั หวัดสระบรุ ี เปน็ รอยพระบาทของพระพุทธเจา้ จริงหรอื ไม่ และมรี อย พระบาทในท่อี ืน่ อีกหรอื เปลา่ ? ขอฟงั เหตุผลและหลักฐานว่าเป็นอย่างไร? 13.ขอความกรุณาท่านไดก้ รุณาอธิบายวา่ ใครเป็นผเู้ ข้าถงึ นิพพาน เพราะพุทธศาสนาปฏเิ สธ อตั ตาตวั ตน อยากทราบเพราะได้ฟังเทศนแ์ ล้วยงั งง ๆ อยู่ ขอท่านได้โปรดอธิบายให้เขา้ ใจ ด้วย? 14.พระพุทธเจา้ ทรงแสดงธรรมครั้งสุดท้ายแกใ่ คร ที่ไหน ใจความว่าอย่างไร? 15.พระพุทธเจ้าตรัสสอนพระโมคคลั ลานะเกีย่ วกบั วิธแี กง้ ว่ งขอ้ หนงึ่ ว่า \"ถา้ ง่วงใหค้ ิดเร่ืองทีท่ ำให้ ง่วงใหม้ ากจะหายได้ แตจ่ ริง ๆ แลว้ ถา้ เราคดิ ถึงเร่อื งท่ีทำให้เราง่วง เราก็ยิ่งง่วง อยากทราบ จะปฏบิ ตั ติ ามคำสอนของพระพุทธเจา้ ไดอ้ ย่างไร?

16.พระพุทธเจา้ ปกครองพระสาวกของพระองค์แบบประชาธปิ ไตยอยา่ งไร ไม่ใช่แบบพอ่ ปกครองลกู หรอื 17.การที่พระพทุ ธเจ้าเสด็จไปโปรดพุทธมารดาที่ดาวดงึ ส์ ท้ัง ๆ ทไ่ี ม่ปรินิพพาน ทา่ นขึ้นไป สวรรค์ได้อย่างไร? 18.เพราะเหตไุ ร ประวตั ขิ องพระพทุ ธเจา้ จึงเปน็ แต่เร่ืองอภนิ ิหาร ซึ่งเป็นไปไมไ่ ด้ ทำไมจึงไมเ่ อา เร่ืองท่เี ป็นไปไดม้ าแนะนำส่ังสอนกนั ? บทท่ี 2 ปัญหาเก่ียวกบั พระพุทธศาสนา 19.แกน่ แท้ของศาสนาคอื อะไร? และแกน่ แท้ของพระพุทธศาสนาคืออะไร? 20.หัวใจของพระพทุ ธศาสนาคอื อะไร? 21.พระพทุ ธศาสนาชว่ ยแก้พยาธิทุกขอ์ ย่างไรบา้ ง? 22.พระพทุ ธศาสนา ยอมรบั และยกย่องคำสอนท่ไี มใ่ ช่ของพระพทุ ธศาสนาหรือไม่? ถา้ มีขอทราบ วา่ มีในทใ่ี ดบ้าง? ขอทราบตวั อยา่ งด้วย? 23.พระพทุ ธศาสนายอมรบั วา่ การระลึกชาติไดเ้ ป็นความจริงหรอื ไม่? 24.พระพทุ ธศาสนา ใช้ควบคูก่ ันกับวทิ ยาศาสตร์ทัว่ ไปได้หรอื ไม่? ขอทราบเหตผุ ลดว้ ย? 25.พระพุทธศาสนาเชอ่ื ว่าโลกหน้ามีจริงหรอื ไม่ มีหลักฐานอยา่ งไรบ้าง? 26.พระพุทธศาสนา มีผลตอ่ การเป็นผ้นู ำอยา่ งไร ขอฟังอธบิ ายพร้อมด้วยหลกั ฐาน 27.พระพทุ ธศาสนาเสอื่ มจรงิ หรือไม่ เพราะเหตุไรจึงเสื่อม 28.พระพุทธศาสนาทำให้คนเราดอ้ ยพัฒนาจริงหรอื ทำให้คนขี้เกยี จหรอื ทำไมคนเราจึงพูด เชน่ นี้? 29.ทา่ นคดิ วา่ พระพทุ ธศาสนา จะชว่ ยจรรโลงความสุขเยน็ ให้แกป่ วงชน และประเทศชาตไิ ด้ หรือไม่? บทท่ี 3 ปัญหาเก่ยี วกับพระรตั นตรยั และพระธรรม 30.อนตั ตา หมายถึงอะไร ความหมายท่ีเตม็ รูปเป็นอย่างไร? 31.ทกุ ขค์ อื อะไร? 32.ความรกั เปน็ ทกุ ขอ์ ย่างไร? 33.วธิ ีทำลายทุกข์ จนทกุ ขห์ มดส้นิ ไป ทำได้อย่างไร? 34.คนตายแลว้ หมดทกุ ข์จรงิ หรอื ไม่? เพราะเหตไุ ร? 35.มีธรรมขอ้ ใดบา้ ง ที่จะชว่ ยให้โลกน้มี คี วามวา้ วนุ่ นอ้ ยลง 36.หลกั ธรรมหรอื ธรรมอะไร ทน่ี กั ศกึ ษาควรยดึ ถือเป็นหลักในการศกึ ษา ขอความกรุณาช้ีแจง

37.อา่ นหนังสอื พมิ พพ์ บวา่ กรรมท่ีหนกั ยง่ิ กว่าอนันตรยิ กรรมก็ยงั มี คือมิจฉาทฏิ ฐิ อยากกเรียน ถามวา่ มิจฉาทฏิ ฐิ คอื อะไร เราจะสำรวจทฏิ ฐขิ องตนเองวา่ อยใู่ นประเภทไหนไดอ้ ยา่ งไรครับ 38.กรรมทส่ี าม ไมข่ าวไมด่ ำคือกรรมอะไร 39.คณุ ธรรมขอ้ ใด ทท่ี ำใหเ้ ราร้สู กึ มนั่ ใจตัวเอง? 40.คุณธรรมขอ้ ใด ทีค่ วรปฏบิ ัติเพือ่ ให้เกิดปญั ญา ปฏภิ าณ และความเฉลยี วฉลาด 41.อัสมมิ านะ คอื อะไร? เกิดขน้ึ จากอะไร ทำอย่างไรจึงจะสามารถละหรอื บรรเทาลงได้? 42.มารคืออะไร? มกี ีอ่ ยา่ ง อะไรบา้ ง? 43.พระพุทธองคเ์ คยทรงปรารภ เร่ืองความเคารพเมอ่ื พระองค์ตรัสรแู้ ล้ววา่ มองหาผู้ท่ีจะเคารพ นบั ถอื ไมไ่ ด้ จงึ ทรงปริวิตกว่าจะเปน็ โทษหรอื ไม่ดี ถ้าขาดความเคารพ ในทส่ี ุดไดย้ ึดพระธรรม เปน็ ทเี่ คารพ ขนาดพระพุทธองค์ยงั ตอ้ งหาท่ีเคารพ จึงอยากกราบเรียนถามว่า การมบี ุคคล หรือหลกั ท่เี คารพน้ันจำเปน็ นักหรอื เพราะทกุ วนั น้ีเราเปน็ ประชาธิปไตย ทุกคนเท่าเทียมกนั ไมจ่ ำเป็นต้องเคารพกัน 44.\"ดฉิ ันสนใจจะทราบบทพระพุทธคณุ พระธรรมคณุ และพระสงั ฆคุณ กบั วิชาครุศาสตร\"์ 45.ผมอยากทราบวา่ ตามคดิ เห็นของอาจารย์ ทา่ นอาจารย์คดิ ว่า พระพุทธศาสนาเหมาะแก่ ประเทศไทย (ในสภาพปัจจุบนั ) หรือไม่ ? อาจารย์อาจจะตอบวา่ เหมาะแตข่ อความกรรุ า ตอบว่าไม่เหมาะอย่างไร? 46.ครูทไ่ี ม่มศี าสนาจะเป็นครูทดี่ ีได้หรือไม่ ถ้ามีความยดึ ม่ันของตัวเองว่าถูกต้อง 47.ส่งิ ธรรมชาติที่เกดิ ขนึ้ ท้ังดนิ ฟา้ อากาศเหล่านี้ มันเป็นเรือ่ งของโลกหรือเรอ่ื งของธรรม ใครเปน็ คนแยกธรรมออกจากโลกว่า บคุ คลนน้ั เรียนทางโลก บุคคลนี้เรียนทางธรรม โลกกับธรรม ตา่ งกันตรงไหน ขอความกรณุ าอธิบายด้วยครับ? บทที่ 4 ปัญหาเกีย่ วกับพระสงฆ์ 48.พระอุปชั ฌายะทอ่ี ุปสมบทใหแ้ ก่กุลบุตรผมู้ ีร่างกายไมส่ มประกอบหรอื วบิ ัติ เชน่ เปน็ งอ่ ย เปน็ การกระทำถูกต้องพระวนิ ัยหรอื ไม่ ผิดถกู อยา่ งไรขอความกรุณาอธิบายด้วย? 49.การบวชพระถอื วา่ ไดบ้ ญุ มาก ผบู้ วชและผู้อุปการะได้บุญเพราะเหตอุ ยา่ งไร ผูท้ ี่ไมม่ โี อกาส บวชจะนำหลกั การมาปฏิบัติบ้างจะได้บุญหรือไม่? 50.ทา่ นคดิ ว่า พระจะชว่ ยสรา้ งเสริมศรทั ธาตอ่ พระพทุ ธศาสนาได้อย่างไร? 51.พระในปัจจุบนั ท่ีดำรงตำแหนง่ ตา่ ง ๆ ถือวา่ เป็นบาปหรือเปล่าคะ? 52.ทำไมพระพุทธเจ้าทรงบญั ญตั ิวา่ พระสงฆ์จะฉันอาหารครบ 3 มือ้ ไมไ่ ด้ เพราะอะไร กรณุ า อธิบายดว้ ยคะ่ ? 53.ทำการบรบิ าลพระสงฆ์ซ่ึงอาพาธ เปรียบประดจุ อนเุ คราะห์ตอ่ องค์พระตถาคตเอง ขอ้ นจี้ ริง หรอื เทจ็ ประการใด และการท่มี ผี ู้กล่าวว่าการทำบุญต่อพระสงฆ์ขณะที่อาพาธน้ันจะไดร้ บั ผล บุญสู้พระสงฆธ์ รรมดาไมไ่ ด้ เพราะขณะท่ีท่านอาพาธนัน้ ทา่ นแผบ่ ญุ บารมไี ด้นอ้ ย ข้อน้ีจรงิ หรือไม่ ?

บทท่ี 5 ปัญหาเกย่ี วกบั ศีล 54.ศลี คอื อะไร ? มีกล่าวไวใ้ นส่วนใดของพระไตรปิฎก? 55.จะอธิบายชแ้ี จงเรอื่ งศีล 5 อย่างไร จงึ จะเขา้ ใจและยนิ ดีทจี่ ะสมาทานรกั ษา 56.ถอื ศลี 5 อยู่แลว้ ควรทำอยา่ งไรจึงจะเป็นพุทธศาสนิกชนท่ีสมบุรณ์? 57.การให้ยาเพอื่ รกั ษา แต่บังเอญิ คนไข้แพย้ าถึงตายหมอผรู้ ักษาจะมบี าปหรอื ไม่? 58.การฆา่ เพ่อื ปอ้ งกนั ตัวบาปหรือไม่ 59.การสำเรจ็ ความ ใครด่ ้วยตนเอง และการทำหมนั มีความผิดทางพระพุทธศาสนาหรือไม่? 60.การฆา่ เช้อื โรคในร่างกายเปน็ บาปหรือไม่ 61.การตดั แขนคนไข้เพือ่ รักษา บาปหรอื ไม่ จะถือว่าเป็นการจองเวรหรอื ไม?่ 62.การกล่าวเทจ็ เพ่ือประโยชน์ของผฟู้ ังหรือของผ้อู ่ืนผิดศีลหรือไม่? 63.ทำความผดิ โดยเจตนาและไม่เจตนา อยา่ งไหนจะบาปมากกวา่ กนั ? 64.การปลอ่ ยสัตว์ใหช้ ีวติ สัตว์ช่ือว่าเป็นบญุ ถ้าเทียบกับการเปน็ หมอ พยาบาลท่ดี ี ชว่ ยเหลอื คน ปว่ ยดว้ ยน้ำใจที่จะช่วยจริง ๆ จะนบั วา่ เปน็ บุญพอ ๆ กนั กับการใหท้ านชวี ิตสตั ว์หรือไม่?

ตัวอยา่ งแนวตอบปัญหาธรรมะของพระเทพดิลก (ระแบบ ฐิตญาโณ) ปญั หาเก่ยี วกับพระพุทธศาสนา 19. แก่นแท้ของศาสนาคืออะไร? และแกน่ แทข้ องพระพุทธศาสนาคอื อะไร? แกน่ แทข้ องศาสนานนั้ จะบง่ ชัดลงไปทีเดียวไมง่ า่ ยนัก เพราะศาสนาในโลกมีมาก แต่อาจกล่าว โดยสรปุ ประเดน็ สำคญั เพ่อื ให้ครอบคลมุ ศาสนาทุกศาสนาได้ดังน้ี ก. ศาสนา คอื ทรี่ วมแห่งความเคารพนบั ถืออนั สูงสดุ ของมนุษยชาติ ข. ศาสนา คือที่พ่งึ ทางใจ ซง่ึ มนุษยส์ ว่ นมากย่อมเลอื กยึดเหนี่ยวตามความพอใจ และตามความ เหมาะสมแก่เหตุแวดล้อมของตน ค. ศาสนา คือคำสั่งสอนอนั วา่ ดว้ ยระบบศลี ธรรมและอดุ มคตสิ งู สุดในชวี ติ ของบคุ คล รวมทง้ั แนวความเชือ่ ถือและแนวการปฏบิ ัตติ า่ ง ๆ กนั ตามคติของแต่ละศาสนา แก่นแทข้ องศาสนา ตามหลกั ทกี่ ลา่ วมาแลว้ จึงอาจสรปุ ไดว้ ่า คือ \"ระบบศลี ธรรมอนั อาจนำ ความสุข ขจดั ทกุ ข์ให้แก่ผู้นับถอื ในระดับต่าง ๆ จนไดส้ มั ผัสความสขุ อันสูงสุดในศาสนานัน้ ๆ \" แกน่ แทข้ องพระพุทธศาสนานนั้ อาจแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ชว่ ง คือ 1. ชว่ งท่เี ป็นเหตุ ไดแ้ กป่ ัญญา ความรอบรู้สิ่งทง้ั หลายตามความเปน็ จรงิ จนสามารถละ ความยดึ มัน่ ถอื มั่นดว้ ยอำนาจตัณหา มานะ ทิฎฐลิ งไปได้ 2. ในชว่ งท่เี ปน็ ผล ได้แก่ วมิ ุตติ คือการทีจ่ ติ หลดุ พ้นจากอำนาจของกิเลสโดยส้นิ เชิง ซ่งึ เกิดขึ้นจากปญั ญาอนั เหน็ ชอบในอรยิ สจั 4 ประการตามความเป็นจริง 20. หวั ใจของพระพุทธศาสนาคืออะไร ? หัวใจของพระพุทธศาสนา ที่ทราบกนั โดยทั่วไปคอื หลักที่ทรงแสดงไวใ้ นโอวาทปาติโมกข์ อันทรง แสดงในรปู ของการปฏิบตั ิ 3 ระดบั คอื 1. สพพฺ ปาปสฺส อกรณํ การไมก่ ระทำบาปทั้งปวง 2. กุสลสฺสูปสมปฺ ทา การทำกุศลให้สมบูรณ์ 3. สจติ ตปริโยทปนํ การทำจิตให้ผอ่ งแผ้ว สามข้อนี้จึงไดม้ กี ารยดึ ถือกนั โดยมากวา่ เป็นคำสอนทีเ่ ปน็ หวั ใจของพระพุทธศาสนา

21. พระพทุ ธศาสนาช่วยแกพ้ ยาธทิ กุ ข์อย่างไรบา้ ง? พยาธิทกุ ขน์ นั้ เกดิ ขึ้นมาจากสาเหตภุ ายในบ้าง ภายนอกบา้ ง แตส่ ว่ นมากแล้วจะเกดิ จากสาเหตุ รว่ ม พระพุทธศาสนาให้ยอมรับว่า ความเจ็บไข้เป็นของธรรมดาประการหนงึ่ แต่ในขณะเดียวกนั ใน พระพุทธศาสนามขี ้อหา้ มและคำสอนทมี่ ีลกั ษณะปอ้ งกัน บำรุงรักษาสขุ ภาพพลานามัย เชน่ 1. ในดา้ นการปอ้ งกัน ทรงสอนใหอ้ ยู่ในเสนาสนะท่ีอำนวยให้เกิดความสะดวกสบาย จงึ ได้เรยี ก วดั วาอาราม คอื สถานที่ทีท่ ำให้มคี วามรน่ื รมย์ ให้ปอ้ งกันคอื รักษาเสนาสนะ อารามให้มคี วาม สะอาด ไมถ่ ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรอื บ้วนน้ำลายลงในน้ำ ของสดเขียว ห้ามท้ิงของสกปรก ทางหนา้ ต่าง ห้องนำ้ ห้องสว้ มต้องช่วยกันรักษาความสะอาด ถ่ายแล้วจะไมช่ ำระไมไ่ ด้ เม่อื คน หนึง่ ไม่ชำระ อกี คนหนงึ่ ไปพบเข้าจะตอ้ งชำระเสียเอง หากไมท่ ำถือเป็นความผิดท้ังสองคน ให้อยใู่ นสถานท่ซี ่งึ มีอากาศดี มกี ารถ่ายเทได้สะดวก ไม่ร้อนจัดหนาวจัดเกนิ ไป เป็นต้น 2. ในด้านการบำรงุ รักษาร่างกาย ทรงสอนให้รจู้ ักประมาณในการบริโภคอาหาร ละเว้นไม่ บริโภคส่งิ ที่เป็นพิษ หา้ มการดืม่ สรุ าเมรัย มอี ริ ยิ าบทสม่ำเสมอคอื ไมอ่ ยูใ่ นอิริยาบทใดอริ ยิ าบท หนง่ึ มากเกนิ พอดี สอนให้เคยี้ วไมช้ ำระฟนั เปน็ ประจำ การเดนิ บิณฑบาท เดนิ จงกรม ทรง สอนใหป้ ระกอบการงานใหเ้ หมาะสมแกก่ าล ให้ละเวน้ อบายมุข บรโิ ภคอาหารเปน็ เวลา ให้ ด่ืมข้าวยาคูเพอื่ ไมใ่ ห้ทอ้ งผกู เป็นต้น หลกั การท้ังสองประการน้ี ทรงบัญญตั แิ ละสัง่ สอนเพ่ือใหเ้ กดิ ผลในทางสรา้ งภูมติ า้ นทานโรค บำรุงรกั ษาสุขภาพพลานามยั ไม่ทำส่งิ แวดล้อมเป็นพิษ โรคกายจำนวนไม่น้อยทเ่ี กี่ยวข้องกับจิตด้วย จงึ ทรงสอนใหค้ นอยอู่ ยา่ งมหี ลกั เปน็ ท่ีพง่ึ พำนกั ของ ใจคอื 1. ให้พิจารณาเสียกอ่ นแล้วใช้สอยปัจจัย 4 2. ให้พจิ ารณาให้ดีเสยี ก่อนแล้ว อดกล้นั ตอ่ เร่ืองต่าง ๆ 3. ใหพ้ จิ ารณาเสยี กอ่ นแลว้ เวน้ สิ่งทีเ่ ป็นอันตรายต่อสขุ ภาพกาย ใจ 4. ใหพ้ จิ ารณาเสียกอ่ นแลว้ บรรเทาความรู้สกึ ทีเ่ ป็นอนั ตรายต่อสุขภาพจิต เช่นไมป่ ล่อยจติ ให้ไป หมกมนุ่ ครุน่ คดิ ในทางกามวิตก พยาบาทวิตก วิหงิ สาวติ กมากเกินไป 5. ในเม่ือคนเรามีความเจบ็ ไขเ้ ป็นธรรมดา เมื่อเกิดโรคภยั ไขเ้ จบ็ ขึน้ มา พระนน้ั เป็นหมอเองไมไ่ ด้ แตท่ รงสอนให้คนป่วยวางตนใหเ้ หมาะสม เพื่อชว่ ยให้หายป่วยไดเ้ ร็วข้ึน คอื ทำตนให้เปน็ คน ปว่ ยท่ีพยาบาลงา่ ย โดยมหี ลักดงั น้ี 1. สามารถอดกลัน้ ตอ่ ความอยากบรโิ ภคของแสลงแกโ่ รคได้ 2. บริโภคสิ่งทไี่ มแ่ สลงแก่โรคแต่พอประมาณ 3. ยนิ ดีปฏบิ ตั ติ ามคำสัง่ ของแพทย์ และผู้พยาบาล 4. บอกอาการของโรคแก่หมอ และผูพ้ ยาบาลตามความจรงิ 5. มจี ิตใจเข้มแขง็ สามารถอดกล้นั ต่อทุกขเวทนาได้

ถึงแมว้ ่าจะไม่อาจเป็นหมอได้ แต่งานพยาบาลกนั และกันในยามปว่ ยไข้ ทรงกำหนดใหท้ ำได้ โดย ผทู้ ำหน้าท่พี ยาบาลจะต้องประกอบดว้ ยคณุ สมบัติด้งนี้ คอื 1. มคี วามรอบรฉู้ ลาดในประเภทของยา ขนาด และเวลาใช้ยา 2. รูว้ า่ อะไรเปน็ ของแสลงแกโ่ รคหรือไม่แสลง ให้คนปว่ ยบรโิ ภคเฉพาะของที่ไมแ่ สลงโรค 3. พยาบาลคนปว่ ยด้วยจิตเมตตา ไมต่ ้องการอามสิ สิ่งตอบแทนอย่างอนื่ 4. ไมร่ งั เกยี จต่อสง่ิ ท่สี กปรก เช่น อุจจาระ ปสั สาวะ น้ำลาย เสมหะ น้ำมกู เป็นต้น ใหส้ ังเกตวา่ ในด้านการป้องกันและบำรงุ รักษาน้นั พระพทุ ธศาสนามคี ำสอนท่กี า้ วหนา้ มาก หากมี การนำเอาคำสอนในพระพุทธศาสนาไปใชแ้ ล้ว ปัญหาเรื่องอากาศเปน็ พิษ แม่น้ำเน่าเสีย สงิ่ สกปรกท่ี หมักหมมอย่ใู นสว่ นตา่ ง ๆ ของประเทศ โดยเฉพาะในแหลง่ ทเี่ จริญ จนกรุงเทพมหานครกลายเป็น เมืองสกปรกตดิ อนั ดบั โลกกจ็ ะไม่เกิดขึ้น การสร้างหอ้ งแถวจนปดิ ทางลม สวนสาธารณะขาดแคลนคนไมค่ ่อยได้ออกกำลงั กายเท่าที่ควร และโรคบางอยา่ งที่เกิดจากสภาพแวดลอ้ มเป็นพิษ ก็จะผอ่ นคลายลงได้มากทเี ดยี ว 22. พระพทุ ธศาสนา ยอมรับและยกย่องคำสอนทไ่ี ม่ใช่ของพระพุทธศาสนาหรอื ไม่ ถ้ามีขอทราบว่ามี ในที่ใดบ้าง? ขอทราบตวั อย่างด้วย? พระพุทธศาสนาไม่ใช่รัฐวสิ าหกจิ นี่ จะไดผ้ ูกขาดอะไรต่อมิอะไรไว้มากมาย แตพ่ ระพทุ ธศาสนา เป็นเรอ่ื งของสัจธรรมทีพ่ ระพุทธเจ้าทรงตรสั รู้ และสจั ธรรมนัน้ เป็นของมีอยู่เป็นอยู่แลว้ ในโลกน้ี พระพุทธเจ้าจงึ เปน็ เพียงผูค้ นพบแลว้ นำมาเปดิ เผยชแ้ี จงแสดงแกโ่ ลก เมื่อสัจธรรมมีฐานะเป็นเชน่ น้ี จึงมคี นเป็นจำนวนไม่น้อยท่ีพบสัจธรรมในระดับตา่ ง ๆ อันไมถ่ ึงกับต้องตรสั รไู้ ด้ เม่อื ลงกนั สมกันกับ หลักธรรมทที่ รงตรัสรโู้ ดยตรงและเป็นผลสืบเน่ืองมาจากการตรสั รู้ พระพุทธศาสนาก็ยอมรบั ความจรงิ เหล่านั้น วา่ เปน็ ความจรงิ ในระดบั น้ัน ๆ ในพระพทุ ธศาสนาจึงมีทัง้ ท่ีเป็น พทุ ธภาษิต โบราณ ภาษติ อิสิภาษิต เทวตาภาษิต พรหมภาษติ พราหมณภ์ าษิต สาวกสาวิกาภาษิต เปน็ ตน้ คำสอนเหล่านมี้ กี ระจัดกระจายอย่ใู นคัมภีรท์ างพระพทุ ธศาสนา โดยเฉพาะพระสุตตนั ตปิฎก กับ อรรถกถามากท่สี ุด จะยกตวั อยา่ งมาพอเปน็ แนวทางในการศึกษาบางขอ้ ตามสมควรแกข่ อบข่ายของการตอบปญั หา ดังนี้ 1. โบราณภาษติ คอื ของเกา่ เช่น \"คำสตั ยเ์ ปน็ คำไม่ตาย, ไม่วา่ ในกาลใดก็ตาม เวรย่อมไมส่ งบ ระงบั เพราะการจองเวร แต่จะสงบได้เพราะการไมจ่ องเวรกนั \" 2. บัณฑติ ภาษิต เชน่ \"บคุ คลพงึ สละทรพั ย์เพอ่ื รักษาอวัยวะ พงึ สละอวยั วะเพอื่ รกั ษาชวี ิตไว้ แต่ เมอื่ อนสุ รณถ์ งึ ธรรมคอื สจั จะ บุคคลพึงสละทง้ั ทรพั ย์ อวัยวะและแมช้ ีวติ เพือ่ รกั ษาธรรมไว้,

เมตตา เปน็ ธรรมคำ้ จนุ โลก, บุคคลพึงรักษาความดขี องตนไวเ้ หมือนเกลือรักษาความเคม็ ฉะนัน้ \" 3. พรหมภาษิต เช่น \"ในหมู่ชนผ้รู งั เกยี จกนั ดว้ ยชาติ กษัตรยิ ป์ ระเสริฐท่ีสดุ แตท่ า่ นผู้สมบรู ณ์ ด้วยวชิ ชาและจรณะเปน็ ผปู้ ระเสริฐสุดในหม่เู ทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลาย, บุคคลเหลา่ ใด ไดถ้ ึง ซึง่ พระพทุ ธเจา้ ว่าเปน็ ท่ีพึ่งท่รี ะลกึ แลว้ เขาเหล่านั้นจัดไม่ไปสู่อบายเลย เขาละกายท่เี ป็น มนุษย์ จักทำกายที่เปน็ เทวดาใหส้ มบรู ณ์\" 4. สาวกภาษติ เชน่ \"บุคคลทำสิ่งใดพงึ พดู ส่ิงน้นั ไมท่ ำสิง่ ใดก็ไมค่ วรพดู สิง่ นั้น บัณฑิตยอ่ ม กำหนดรู้คนทีไ่ มท่ ำไดแ้ ต่พดู , บุคคลควรทำวนั คืนไม่ใหว้ ่างเปล่าจากประโยชน์ไมว่ า่ จะน้อย หรือมากกต็ าม เพราะวันคืนผ่านบุคคลใดไป ชีวิตของบุคคลนั้นย่อมพรอ่ งจากประโยชน์น้นั , บคุ คลควรกลา่ ววาจาทีน่ ่ารกั อนั ผู้ฟังยินดเี ทา่ นน้ั เพราะคนดีย่อมไม่ถือคำหยาบของคนเหลา่ อน่ื กล่าวแตค่ ำไพเราะเท่าน้ัน\" 5. เทวตาภาษิต เช่น \"บรุ ุษจะเปน็ บณั ฑติ ในที่ท้ังปวงกห็ าไม่ แม้สตรีที่มปี ญั ญาเฉียบแหลมในท่ี นนั้ ๆ ก็เป็นบัณฑติ ได้เหมอื นกัน, เม่ือเขาขอโทษ ถ้าผ้ใู ดมีความขุ่นเคืองภายในหนักในโทสะ ไมย่ อมรบั ผนู้ น้ั ชอื่ ว่าหมกเวรไว\"้ 6. ศาสดานอกพระพุทธศาสนา เชน่ \"คนฉลาดกลา่ วว่าปญั ญาประเสรฐิ เหมือนพระจนั ทร์ ประเสริฐกวา่ ดาวท้งั หลาย แม้ศีลสิรแิ ละธรรมของสัตบรุ ุษ ยอ่ มติดตามผ้มู ปี ัญญา, กรรมช่วั บุคคลไมท่ ำเสยี เลยดกี ว่า เพราะกรรมชั่วย่อมแผดเผาในภายหลงั ได้\" 7. พราหมณภ์ าษติ เชน่ \"ขอเดชะ เขากล่าววา่ ฟา้ กบั ดนิ ไกลกนั และฝัง่ ทะเลก็ไกลกัน แต่ นักปราชญ์กล่าววา่ ธรรมของสัตบรุ ุษกบั ของอสตั บุรษุ ไกลกันยิ่งกวา่ นัน้ \" 8. ราชธิดาภาษติ เช่น \"ผใู้ ดปรารถนาโภคทรพั ย์ อายุ ยศ สุขอันเป็นทิพย์ ผนู้ ัน้ พงึ งดเวน้ บาป ทง้ั หลาย แลว้ ประพฤตธิ รรมคอื สจุ รติ 3 อย่างเถดิ \" 9. ปจั เจกพุทธภาษิต เช่น \"นรชนผู้กำหนดั ในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่นในกาม ทำบาปทั้งหลาย ยอ่ มเขา้ ถึงทคุ ต\"ิ 10.ภาษิตของควาญช้าง เชน่ \"คนทรามปัญญาไดย้ ศดแี ลว้ ยอ่ มประพฤตสิ ิ่งท่ไี มเ่ ป็นประโยชน์ แก่ตน ย่อมปฏิบัตเิ พ่ือเบยี ดเบยี นตนและคนอืน่ \" จากตัวอยา่ งทีพ่ ระพุทธเจา้ ทรงยอมรับคำกล่าวอนั เปน็ สภุ าษติ ของคนตา่ ง ๆ นัน้ เปน็ การแสดงให้ เห็นว่าพระพทุ ธศาสนาไมม่ ีระบบการผกู ขาดทางความคดิ เหน็ และความคิดเหน็ ทถี่ กู ต้องในระดับตา่ ง ๆ น้ัน บณั ฑิตทงั้ หลายสามารถคิดได้พูดได้ และเป็นความจริงในระดบั น้นั ๆ จริง ๆ จุดเด่นท่ีควรพจิ ารณาและไมอ่ าจมองขา้ มไปไดค้ ือ การทพ่ี ระพทุ ธศาสนายอมรบั นับถอื คำ กล่าวท่เี ป็นสุภาษติ ของคนตา่ ง ๆ น้นั เป็นการสอ่ งให้เห็นวา่ พระพุทธเจา้ ทรงประกอบด้วย พระปัญญาคณุ คอื ทรงรอบรสู้ ัจธรรมท้งั หลายท้งั ที่ทรงตรัสรดู้ ว้ ยพระองคเ์ อง และเป็นวาทะของ นักปราชญเ์ หลา่ อ่ืนอยา่ ง กว้างขวาง จนไมอ่ าจหย่ังได้จริง ๆ

พระบรสิ ทุ ธคิ ุณ คอื ทรงมีพระทยั บรสิ ุทธปิ์ ราศจากอาสวะกเิ ลสจริง ๆ ไมม่ ีกิเลสเป็นเหตยุ กตนขม่ คน อน่ื หรอื ปกปดิ คณุ ความดี ของคนอ่นื ยิ่งไปกว่านน้ั ยังทรงยกย่องท่านเหล่านน้ั ไวใ้ นที่ตา่ ง ๆ ใหป้ รากฎดว้ ย พระมหากรุณาธิคุณ ทรงกอปรดว้ ยพระมหากรุณาดุจหว้ งมหรรณพ มุง่ ให้คนไดป้ ระสบความจรงิ ใน ระดับตา่ ง ๆ เพ่ือให้เขาไดร้ บั ความสุขตามสมควรแกก่ ารปฏิบตั ิ 23. พระพุทธศาสนายอมรบั วา่ การระลึกชาตไิ ด้เป็นความจริงหรือไม่ อันท่ีจรงิ การใช้คำวา่ ยอมรับหรอื ไม่ยอมรบั นั้น สว่ นมากเราจะใช้ในกรณขี องเรอื่ งหรือสิง่ ที่ไม่อาจ กำหนดแนน่ อนลงไปว่าดีหรือไมด่ ี เม่อื มคี นกล่มุ หนึ่งยอมรบั กด็ สี ำหรบั คนกลุม่ นั้น แตอ่ กี กลมุ่ หนงึ่ อาจ เห็นว่าไมด่ กี ไ็ ด้ เพราะเขาไมย่ อมรบั ข้อนพ้ี งึ ดูตัวอยา่ งระบบการปกครองของประเทศตา่ ง ๆ ในโลก ซึ่งการกระทำทจ่ี ดั เปน็ วีรกรรมในประเทศหนง่ึ อาจจะกลายเป็นกบฎทรยศในประเทศหนึง่ ก็ได้ หลักธรรมในพระพทุ ธศาสนานน้ั เปน็ เร่ืองของการกล่าวความจริง ตามท่ีเป็นจริงอยา่ งไรกแ็ สดงไป อย่างน้นั ใครจะเชื่อหรอื ไมเ่ ช่ือ ยอมรบั หรือไม่ยอมรบั ก็ไมท่ ำใหค้ วามมีอยู่หรอื ความไมม่ ขี องสิง่ นนั้ กระทบกระเทือนแต่ประการใด การระลึกชาติได้ จัดเป็นญาณหรืออภิญญาหนง่ึ ซง่ึ เปน็ ความจริงอย่างแท้จริง ทผ่ี ไู้ ดญ้ าณอภิญญา ทกุ คนจะประจักษ์ไดด้ ว้ ยตนของตนเอง สำหรบั คนทไี่ ม่ไดป้ ฏบิ ตั ิไปถึงระดับนน้ั จะเชื่อหรือไม่เชื่อก็ตาม หาไดก้ ระทบกระเทอื นแต่การระลึกชาติได้ของท่านผไู้ ดญ้ าณอภิญญาแตป่ ระการใดไม่ แตใ่ นระดบั ท่ี ลดหลน่ั ลงมา การระลกึ ชาติไดเ้ ปน็ เรอ่ื งท่ีพสิ จู น์ได้ โดยอาศยั หลกั การสืบสวน ทดสอบ เทยี บเคียง หลักฐานยืนยนั อันเป็นกรรมวธิ ีทางวทิ ยาศาสตร์ ซึ่งศาสตราจารย์ ดร.เอยี น สตีเวนสนั แหง่ อเมรกิ า กำลังทำอย่ใู นปจั จบุ ัน มีตัวอยา่ งบุคคลท่พี ิสจู นไ์ ด้จรงิ กวา่ 600 รายทวั่ โลก การระลกึ ชาติไดท้ ี่ พระพุทธศาสนาแสดงไวเ้ ทา่ ทีพ่ บมามีเปน็ ระดับ ๆ ดังน้ี 1. ระลกึ ไดด้ ้วยบุญในอดตี สว่ นมากจะระลกึ ไดไ้ มเ่ กิน 2 ชาติ 2. ระลึกไดด้ ้วยอำนาจอภิญญา ของนักบวชนอกพระพุทธศาสนา 3. ระลึกได้ดว้ ยกำลงั แหง่ ญาณ อภิญญาของพระอรยิ สาวก จนถงึ พระพุทธเจ้า แตถ่ ึงแมท้ ่านจะ เผปน็ พระอรยิ สาวกเหมือนกัน แตข่ อบขา่ ยแหง่ ญาณอภญิ ญาไม่เทา่ กัน 24. พระพทุ ธศาสนา ใช้ควบคกู่ ันกับวทิ ยาศาสตร์ทวั่ ไปได้หรอื ไม่ ขอทราบเหตุผลด้วย? ได้ซี ทำไมจะไม่ได้เล่า โดยเฉพาะในดา้ นหลักการและวิธีการ พระพุทธศาสนากับวทิ ยาศาสตร์ ตรงกัน คือวิทยาศาสตรแ์ ปลว่า ความรู้ ซงึ่ พระพุทธเจา้ ทรงแสดงว่า ความร้ธู รรมตอ้ งได้มาโดยการ วิเคราะห์ ทดลองและหาเหตุผล อนั เปน็ หลกั การและวิธกี ารเดียวกันกบั วิทยาศาสตร์ จนนักปราชญ์ ทางตะวันตกยอยอ่ งวา่

\"วชิ าวิทยาศาสตร์ทางโลก เปน็ วทิ ยาศาสตรฝ์ ่ายวัตถุ สว่ นพระพุทธศาสนาเปน็ วทิ ยาศาสตรท์ าง วิญญาณหรือจติ ใจ\" แต่อยา่ ไปเข้าใจว่าตอ้ งเหมือนกันทกุ อยา่ งนะ เพราะบางอยา่ งขนานกนั ทเี ดียว แตท่ ไ่ี มค่ วรลมื และ ตรงตามคำถามน้ีคือการได้มาซงึ่ ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ การใช้ผลติ ผลทางวทิ ยาศาสตร์ การสร้าง ผลติ กรรมทางวิทยาศาสตร์ จะต้องอิงอาศัยหลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนามากที่สุด งานยิ่งประณตี มากจะต้องใชห้ ลักธรรมมาก และหลักธรรมท่ีขาดมไิ ด้เลย คือ \"สติ กบั ปัญญา\" ส่วนในขนั้ การศกึ ษา คน้ ควา้ ทางวิทยาศาสตร์น้ันปญั ญาจะตอ้ งมลี ักษณะเปน็ ธัมมวิจัย คือการวเิ คราะห์วิจัยสงิ่ นน้ั ๆ โดย อาศยั อทิ ธบิ าท 4 ประการคอื ฉนั ทะ คอื ความพอใจงานคน้ คว้าน้นั สูงมากพอ วริ ยิ ะ มีความเพยี รพยายามดว้ ยความเชอ่ื ม่นั และความพอใจ จิตตะ เอาใจใส่สนใจทมุ่ เทชวี ิตลงไปในงานน้นั ๆ วมิ ังสา ตรติ รองพิจารณาหาเหตุผลในเรอ่ื งนั้นทกุ แง่มุม องค์ธรรมเหลา่ น้ี ตอ้ งใช้เชน่ เดียวกันท้ังทางพระพทุ ธศาสนาและวทิ ยาศาสตร์ รวมท้ังการงาน ด้านอน่ื ๆ แตผ่ ลงานบางอยา่ งทางวิทยาศาสตร์ ตรงกนั ขา้ มกบั หลกั คำสอนทางพระพทุ ธศาสนาอยา่ ง แรง เช่น การผลิตอาวุธเพ่อื ทำลายกนั เป็นต้น อย่างไรกต็ าม ใคร่ขอกระซิบนกั วทิ ยาศาสตร์ ที่มีความรสู้ กึ วา่ วิทยาศาสตรว์ ิเศษนักให้ทราบ ว่า \"นักศาสนาและนกั วทิ ยาศาสตร์ทแี่ ท้จรงิ นนั้ จะไม่ยนื ยนั หรอื ปฏเิ สธเรือ่ งอะไรกต็ ามที่ยังมไิ ด้มีการ วเิ คราะห์ ทดลอง หาเหตุผล ตามหลักการและวิธีการของตนก่อน\" 25. พระพุทธศาสนาเชื่อว่าโลกหน้ามีจรงิ หรอื ไม่ มหี ลักฐานอยา่ งไรบ้าง? นก่ี อ็ ีกแหละ คือไม่ขึน้ อยู่กับเชอื่ หรอื ไม่เชื่อ แตข่ นึ้ อยกู่ บั มหี รือไม่มี เมอ่ื มีก็บอกวา่ มี เม่ือไมม่ กี บ็ อก วา่ ไม่มี ในกรณีของส่ิงที่มอี ยู่เปน็ อยูน่ ้นั ใครจะเชอ่ื หรือไมเ่ ชอ่ื กต็ ามหาได้เปลย่ี นแปลงฐานะของส่งิ เหล่านั้น ให้เป็นไปตามความเช่ือหรือไม่เชอื่ ของใคร ๆ ในโลกไม่ เร่ืองโลกหน้า ชาติหนา้ ชาติก่อน เป็นเร่อื งของความมอี ยู่ ตามเหตุปัจจัยของโลกนั้น ๆ พระพทุ ธเจ้าทรงรู้เรอ่ื งโลกเหล่านี้ด้วยพระญาณ 2 ประการ คือ 1. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ พระญาณท่ที ำให้พระองค์ทรงระลึกชาตกิ อ่ น ๆ ได้ 2. จตุ ูปปาตญาณ หรอื ทพิ พจักขญุ าณ พระญาณทที่ ำให้พระองคท์ รงเห็นการเกิด ตาย และ ความแตกต่างกันแหง่ สรรพสตั วว์ ่า เปน็ เพราะกรรมอะไร

แต่ท่ีทรงแสดงไว้นัน้ ไมท่ รงใชค้ ำวา่ \"โลกหน้า\" แตท่ รงใชค้ ำว่า ปรโลก โลกอื่น คกู่ ับ อิธ โลก แปลวา่ โลกนี้ ในทน่ี ี้จงึ ต้องถอื วา่ โลกหน้าทีถ่ ามมานัน้ หมายเอาโลกอื่นนั่นเอง เพอื่ จะไดน้ ำ หลักฐานมาเปน็ เคร่อื งพจิ ารณาในความหมายทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงใชว้ า่ โลกอ่นื ขอ้ นี้มหี ลกั ฐานมากเปน็ พิเศษ ในสังยุตตนิกายบางสงั ยตุ พูดเรอื่ งนโี้ ดยเฉพาะ แตพ่ ูดในแงม่ มุ ต่าง ๆ เพ่อื ทรงกระต้นุ ให้ผูฟ้ งั เกดิ ความเบ่ือหนา่ ย คลายกำหนดั ในสงั ขาร เช่น ทรงแสดงแก่ภิกษุทั้งหลาย ณ พระเชตวนั ความว่า \"ภิกษุทัง้ หลาย สงสารมที ่ีสุดอันบุคคลตามรูไ้ มไดเ้ บอื้ งต้นแห่งสตั วโ์ ลกทง้ั หลายมีอวิชชาปิดบงั ไว้ ผู้ มีตณั หาเป็นเครอ่ื งเกาะเก่ียว ตอ้ งทอ่ งเท่ียวไปอยู่ไม่ปรากฎเบอ้ื งตน้ ที่สดุ ทรงอุปมาว่าเมอื่ ขวา้ งทอ่ นไม้ ข้นึ ไปบนอากาศ ไม้นน้ั บางคร้ังกเ็ อาปลายลงบางคราวกเ็ อากลางลง บางคร้งั กเ็ อาข้างตน้ ลง สัตว์ ทัง้ หลายที่มอี วชิ ชาปกปิดไว้ มเี ครอ่ื งเกาะเกี่ยวคอื ตัณหา เม่อื ท่องเท่ียวไปมาอยู่ ประเดีย๋ วจากโลกน้ี ไปสโู่ ลกอื่น ประเด๋ยี วจากโลกอ่นื มาสู่โลกน้ีเช่นเดียวกันฉนั นนั้ \" ข้อนเี้ ปน็ เพราะเหตุอะไร? เพราะเหตุว่าสงสารนีม้ ที ีส่ ดุ อันคนไมอ่ าจรูไ้ ด้ นอกจากนยี้ ังมพี ระพุทธดำรสั เปน็ อันมาก ทที่ รงแสดงถงึ ส่งิ ท่เี ป็นอทิ ธิพล ในการกำหนดความสุข ทุกข์ในโลกหน้าไวเ้ ปน็ อันมาก เชน่ - ผู้ทำบุญแลว้ ยอ่ มยนิ ดีในโลกน้ี ละไปแล้วย่อมยินดี ชือ่ ว่าย่อมยนิ ดใี นโลกทัง้ สอง เขายอ่ มยินดวี า่ เราทำบุญไวแ้ ลว้ ไปสสู่ ุคติย่อมยนิ ดยี งิ่ ข้นึ - ผู้ทำบาปยอ่ งเศรา้ โศกในโลกนี้ ละไปแลว้ ก็เศรา้ โศกช่ือวา่ เศรา้ โศกในโลกท้ังสอง เขาเหน็ กรรม อันเศร้าหมองของตนจึงเศรา้ โศกและเดือดร้อน - บุญนำสุขมาใหใ้ นเวลาสนิ้ ชวี ิต, บุญเป็นท่ีพึง่ ของสตั วใ์ นโลกหน้า เนือ่ งจากปญั หาในทำนองน้ีถามมาก และถามกนั ทุกแหง่ จนคนบางพวกถือว่าเปน็ ปญั หาโลก แตก ทจ่ี รงิ ไม่ใช่โลกแตกหรอก เพราะพระพุทธเจ้าและพระอรหันตท์ ้ังหลายทรงรแู้ ละรู้เร่ืองเหลา่ น้ัน ดว้ ย \"ญาณ อภิญญา วิชชา\" อนั ผ่านการปฏบิ ตั ิอย่างมขี น้ั ตอนมาตามลำดับ แต่คนบางพวกต้องการ จะโตแลว้ เรียนลดั ดกี ว่า ถา้ เรียนก็พอทำเนา แตน่ ีบ่ างคร้งั ไม่ทราบว่าอะไรด้วยซำ้ ไป กลับปฏิเสธหมด เลยทัง้ นรก สวรรค์ โลกอน่ื ชาติหนา้ ชาตกิ ่อน เป็นเหมอื นหมออธิบายลกั ษณะของจุลินทรียบ์ างอย่าง ท่ีท่านไดเ้ หน็ จากกลอ้ งจุลทัศน์ เราไม่ยอมดดู ้วยกลอ้ ง อยา่ งท่าน ใชต้ ามธรรมดานเี้ องดู พอไม่เห็นก็ปฏิเสธไปเลย การคิดและตัดสนิ เรือ่ งเหล่านดี้ ว้ ยสามญั สำนึกของตน และตดั สินปฏิเสธไปเลยนั้น จงึ ไม่ใช่ปัญหาโลกแตก แตส่ มองจะระเบิดเอา เพราะเป็น เรือ่ งที่ไมอ่ าจรดู้ ้วยการคดิ อย่างไรกต็ ามในเรือ่ งนี้ ขอให้มีจดุ ยนื อยูท่ ่ี \"การทำความด\"ี เป็นหลักไว้ อยา่ งไร ๆ ก็จะได้ความอุ่นใจ 4 ประการ ตามทที่ รงแสดงไว้ในกาลามสูตร คือ

1. หากว่าโลกหนา้ มอี ยู่ วบิ ากแห่งกรรมดีและกรรมช่วั มีอยู่ ขอ้ น้ีเปน็ ฐานะทีเ่ ปน็ ไปได้ ที่ หลังจากตายไปแล้วเราจะบังเกิดในสุคตโิ ลกสวรรค์ 2. ถ้าโลกหนา้ ไม่มี และวบิ ากแห่งกรรมดีและชั่วกไ็ ม่มี ในปัจจบุ ันนเี้ ราก็รกั ษาตัวใหม้ ีสขุ เปน็ คน ไม่มีเวร ไม่มีภัย ไม่เบียดเบยี นใคร ไม่มีทุกข์ มีแต่ความสขุ 3. ถา้ บาปที่บุคคลทำ ช่ือว่าเป็นการกระทำ แตเ่ ราไมไ่ ดค้ ดิ บาปต่อใคร ๆ ไฉนความทุกขจ์ ะ เกิดขน้ึ แกเ่ ราผ้ไู ม่ได้ทำบาปเลา่ 4. ถ้าบาปท่ีบุคคลทำ ไมช่ อื่ ว่าเปน็ การกระทำ เราพจิ ารณาเหน็ ความบริสทุ ธิ์ทง้ั สองทาง คือ ไม่ วา่ บาปจะมผี ลหรือไม่มผี ล เปน็ บาปหรือไม่เปน็ บาป บาปนนั้ เราก็ไม่ไดท้ ำ ปัญหาหาอาชญากรรม ท่สี ร้างความอกส่นั ขวญั แขวนในสงั คมปัจจบุ ัน ทุกรูปแบบ หากวา่ คนใน สังคมยอมรับนบั ถือ \"กฎแหง่ กรรม การเวียนว่ายตายเกดิ โลกหน้า\" จะลดลงเองโดยอัตโนมัติ เพราะ คนเราจะมคี วามรบั ผิดชอบในการกระทำของตนสูงข้นึ เพราะนอกจากตอ้ งรบั ผิดชอบต่อผลกรรมใน ปัจจุบนั แล้ว มีความร้สู ึกว่าผลเหล่าน้ันจะเกิดขึน้ แกต่ นอีกในอนาคต ช่วยใหม้ ีแรงหนนุ สองชน้ั แต่เม่ือ ไม่อาจยอมรบั ในเรอื่ งโลกหน้าได้ ขอเพยี งแตย่ ึดม่นั อยใู่ นการทำความดีเถิดอย่างน้อยจะไดร้ บั ความอุ่น ใจท้งั 4 ประการนส้ี ามารถพิสูจน์ตนเองไดท้ กุ เวลา ขอเพียงแต่มีการสังเกตพิจารณาด้วยเหตผุ ล เทา่ น้นั 26. พระพุทธศาสนา มีผลต่อการเปน็ ผู้นำอยา่ งไรบ้าง ขอฟังอธิบายพร้อมด้วยหลักฐาน พระพุทธศาสนามผี ลต่อการเปน็ ผู้นำมากทีเดียว พระพทุ ธเจา้ เองทรงดำรงฐานะของพระธรรม ราชา ทรงเป็นผูน้ ำในการประพฤติปฏิบัติความดีทุกระดบั จนไดน้ ามวา่ ทรงเปน็ ศาสดาแห่งเทวดาและ มนุษย์ทง้ั หลาย คำว่า สตุถา ทเี่ ราแปลกันวา่ ครู ศาสดา ผูส้ ่งั สอนนัน้ ทา่ นยังแก้เปน็ สตถฺ วาห ทแ่ี ปลว่า ผูน้ ำ หมู่ ในกรณที ่ีศาสนาแปลวา่ คำสง่ั การปกครอง พระพทุ ธเจา้ ทรงเป็นผู้นำในกรณที ที่ รงบำเพญ็ พทุ ธธตั ถจริยา คอื ทรงทำหนา้ ท่ีของพระพทุ ธเจ้า ถ้ามกี ารนำเอาหลกั นติ ิบญั ญตั ิบริหาร ตุลาการของ พระพทุ ธเจา้ มาใชไ้ ดเ้ ตม็ รปู แล้ว ความสงบสขุ ความมรี ะเบยี บวินยั จนถงึ สันตุสุขจะเกดิ ขน้ึ ไดม้ าก ทเี ดยี ว แต่ในท่ีนี้จะกล่าวหลักของผนู้ ำในระดบั ต่าง ๆ จากจดุ เล็ก ๆ คอื ครอบครวั ถึงประเทศชาตมิ า เป็นตวั อย่าง จุดเด่นทคี่ วรสนใจคอื พระพทุ ธศาสนาถือหลักวา่ ความเปน็ ผ้นู ำที่ดีที่สุดคือเปน็ ผูน้ ำทางความ ประพฤติ ตามหลักทคี่ นไทยเรายึดถอื กนั วา่ \"คนตอ้ งนำ สตั วต์ อ้ งต้อน\" นนั่ เอง พระพทุ ธศาสนา เปรยี บมวลขนเหมือนโคว่ายนำ้ ข้ามฟาก หากว่าจ่าฝูงวา่ ยตรง โคลูกฝูงกว็ า่ ยตรงตาม หากจา่ ฝงู วา่ ยคน ลูกฝงู จะวา่ ยคนตามดว้ ยฉนั ใด ในหมูม่ นุษย์กเ็ หมือนกนั หากผูเ้ ป็นหัวหนา้ ประพฤตธิ รรม ผู้ใต้ปกครอง

ก็ประพฤติธรรมตาม แตถ่ า้ หัวหนา้ หรอื ผู้นำไม่ตง้ั อยใู่ นธรรม ผใู้ ต้ปกครองก็ไม่ประพฤติธรรมตามดว้ ย อย่างทเี่ ราพดู กันวา่ \"สมภารไม่ดหี ลวงชีก็สกปรก\" นั่นแหละ หลกั อันเป็นพนื้ ฐานอย่างสำคญั ของผู้นำทกุ ระดบั คือ 1. เมตตา มีความรักความปรารถนาดีต่อทกุ คน 2. กรุณา มีความสงสารพร้อมทีจ่ ะช่วยเหลอื เมือ่ คนอนื่ ประสบทกุ ข์ 3. มุทิตา สามารถทำใจใหย้ นิ ดใี นการได้ดีของคนอื่นได้ 4. อเุ บกขา ในกรณที เี่ ป็นปญั หาอันไมอาจแก้ไขได้ ต้องทำใจใหย้ อมรบั กฎแห่งกรรมได้ เพื่อไม่ให้ เกดิ ความลำเอยี งเพราะรกั ใคร่กัน เพราะไม่ชอบกัน เพราะกลัว และเพราะหลง ซง่ึ อคติทงั้ 4 ประการ นีเ้ ป็นอันตรายของความเปน็ ผนู้ ำอย่างมาก ผู้นำในระดับท่ีสงู ข้นึ ไป คอื มีผอู้ ยู่ใต้ปกครองมาก จำเปน็ ต้องมีหลกั ในการปกครองตนและ ปกครองคนอน่ื โดยหลักธรรมตอ่ ไปน้ีคือ \"การให้ทาน รักษาศีล บริจาคทรพั ย์ ซ่อื ตรง ออ่ นโยน มคี วามเพยี รอย่างมาก ไมโ่ กรธง่าย ไม่ เบยี ดเบยี นใคร มคี วามอดทน ไมป่ ระพฤติให้ผิดจารตี ประเพณี ระเบียบ กฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ \" ในการบริหารบุคคลและบรหิ ารงานนนั้ ผู้นำระดับบริหารบ้านเมอื ง ตอ้ งมีหลกั ในการทำงานดังน้ี - สัสสเมธะ มีความฉลาดรอบรใู้ นการส่งเสรมิ สนบั สนนุ การเกษตรกรรม กสิกรรม การลงทนุ และพัฒนาอาชีพในดา้ นต่าง ๆ - ปรุ ิสเมธะ ฉลาดในการเลอื กคนทำงาน บรรจุคนเข้าทานใหเ้ หมาะสมแกค่ วามรู้ความสามารถ ของเขา ไมม่ กี ารเล่นพวกเขาพวกเรา แตถ่ อื เอาความรู้ความสามารถเป็นเกณฑใ์ นการเลือกคนเข้า ทำงานและมอบหมายใหร้ บั ผดิ ชอบงาน - สัมมาปาสะ การใช้หลกั สงั คมสงเคราะห์ อันเป็นเหมอื นบ่วงคลอ้ งน้ำใจคน ในกรณีที่เป็นคนชรา ประสบภัยอนาถา แต่ใหค้ นยากจนกเู้ งนิ ไปทำการเกษตรกรรม กสิกรรม เป็นตน้ โดยมีวาระว่างจาก การเรียกเก็บดอกเบ้ยี ในชว่ งตน้ 3 ปี - วาชเปยยะ ไดแ้ กก่ ารช้แี จงให้ประชาชนเข้าใจในเหตุผลตา่ ง ๆ ดว้ ยถ้อยคำไพเราะออ่ นหวาน เป็นความจริงและมปี ระโยชน์ ตามสมควรแก่กาลนน้ั ๆ เป็นการสรา้ งความเข้าใจอันดรี ะหวา่ ง ผู้ปกครองและผอู้ ยใู่ ตป้ กครอง

- นริ ัคคฬะ หมายถึงผลที่ผปู้ กครองไดย้ ึดหลักดงั กลา่ วในการปกครองแลว้ เป็นเหตุให้เกดิ การอยู่ ดกี ินดีขนึ้ ในประเทศ ความมงั่ คัง่ ม่ันคงทางเศรษฐกิจก็จะตดิ ตามมา ปัญหาอาชญากรรมต่าง ๆ กจ็ ะ ลดลง ประชาชนมีความอย่เู ย็นเป็นสขุ บนั เทิงใจเปน็ อยู่ อยา่ งที่กล่าววา่ ประตูเรอื นไม่ตอ้ งใส่กญุ แจก็ ได้ นอกจากนีพ้ ระพทุ ธศาสนายงั ได้แสดงหลกั ทห่ี ัวหนา้ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ขา้ ราชการ พ่อคา้ จะตอ้ งมี ไว้ และเม่อื มแี ล้วจะประสบความเจริญกา้ วหน้าในงานอาชีพของตน เชน่ - หัวหนา้ หรือผ้นู ำทุกระดบั ต้องมี \"ความอดทน ความระมัดระวงั ความขยันหมนั่ เพยี ร ความ เอือ้ เฟอ้ื เผ่ือแผ่ เมตตากรุณาเอ็นดู หม่ันตรวจตราติดตามงานและบคุ คล\" - ข้าราชการตอ้ งมี \"ความรอบรู้ ไหวพริบ ปฏิภาณ ฉลาดในการจัดงาน ร้จู กั กาลสมัย และมคี วาม หม่ันขยนั ในการทำงาน ไมป่ ระมาท มปี ัญญาประจกั ษ์ชัดในเรื่องนนั้ ๆ จัดการงานไดเ้ รยี บร้อย\" - คณุ สมบัตขิ องพ่อคา้ เช่น \"มีตาดีคอื มีสายตากวา้ งไกลรู้ภาวะตลาดความตอ้ งการ เปน็ ตน้ จดั การงานได้เหมาะเจาะมีคนทอ่ี าจพึง่ พาอาศัยในดา้ นตา่ ง ๆ ได\"้ 27. พระพทุ ธศาสนาเส่ือมจริงหรือไม่ เพราะเหตุไรจงึ เสื่อม พระพทุ ธศาสนาเปน็ สังขารชนดิ หนง่ึ เมอ่ื เป็นสงั ขารก็ต้องไม่เทย่ี งเป็นธรรมดา ความเสอ่ื มและ ความเจรญิ ของสังขารทั้งหลาย ขึ้นอยูก่ ับเหตปุ ัจจัยฉนั ใด ความเสือ่ มของพระพทุ ธศาสนากอ็ าศยั เหตุ ปจั จยั ฉนั น้ัน ซึง่ เราอาจสรุปเหตุปจั จยั ทท่ี ำใหพ้ ระพุทธศาสนาเสือ่ ม จากหลกั ฐานทีพ่ ระพุทธวจนะ และหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ก็จะพบสาเหตุสำคญั 2 ประการคอื 1. สาเหตจุ ากภายใน คอื พุทธบริษทั 4 อนั ได้แก่ ภกิ ษุ ภกิ ษุณี อุบาสก อุบาสกิ า ละเว้นไมท่ ำ หนา้ ทีข่ องตน หรอื ทำแต่ทำงานท่ไี มม่ ีส่วนสนับสนุนพระพุทธศาสนามากพอ ข้อน้ที รงแสดงไวม้ ากถงึ เร่ืองความเลอะเลอื น ความเส่ือมแหง่ พระสัทธรรม เชน่ \"พุทธบรษิ ัทไม่ฟงั ธรรม ไมเ่ ล่าเรียนธรรม ไม่จำทรงธรรม ไม่เข้าไปเพง่ อรรถแหง่ ธรรมโดยเคารพรู้ อรรถร้ธู รรมแลว้ ไมป่ ฏิบัตธิ รรมสมควรแกธ่ รรม\" \"พุทธบริษัทไมเ่ คารพยำเกรงในพระศาสดา พระธรรม พระสงฆ์ ในไตรสิกขา และขาดการเคารพ นบั ถือตอ่ กันและกนั \" \"พทุ ธบรษิ ทั ในพระศาสนาน้ี ไม่เลา่ เรยี นตวงั คสตั ถศุ าสน์โดยพสิ ดาร ไม่แสดงธรรมตามทีต่ นฟงั มา เรยี นมา ไมส่ อนธรรมตามทต่ี นเรยี นมาฟงั มา ไม่สาธยายธรรมตามทีต่ นเรยี นมาฟงั มา ไม่ไตรต่ รองดว้ ย ความคดิ ไมพ่ ิจารณาธรรมตามท่ตี นศึกษา\"

\"ศกึ ษาเล่าเรยี นธรรมกันผิด ๆ จากพระพุทธศาสนาในดา้ นลำดบั บท พยัญชนะ ความหมาย, ทำ ตนเปน็ คนว่ายากสอนยาก ขาดความอดทน ไม่รบั คำพรำ่ สอนโดยความเคารพ, ภิกษทุ ่ีมีความรอบรไู้ ม่ ทำหน้าที่บอกกลา่ วธรรมแกค่ นอื่น, ภกิ ษทุ ี่เป็นพระเถระเป็นผูม้ กั มาก พระพฤตยิ ่อหยอ่ น ทอดธุระใน ความสงบ ไมป่ รารภความเพยี ร เพ่อื ใหถ้ ึงธรรมทีย่ ังไมถ่ ึง บรรลุธรรมทยี่ งั ไม่ได้บรรลุ\" เหล่านี้ถือว่าเป็นเหตปุ ัจจัยที่ทำให้พระศาสนาเส่ือม อนั เกดิ จากภายใน คือการกรทำของพุทธ บรษิ ทั เอง แตเ่ ราไมส่ มควรลมื ว่าหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์นนั้ พระพทุ ธศาสนาในประเทศต่าง ๆ ท่ี เสอ่ื มไปจากประเทศต่าง ๆ นนั้ \"เกดิ จากลัทธิการเมอื ง การทำลายของศาสนาอนื่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในปจั จบุ นั น้ี ส่ิงทเ่ี ป็น อนั ตรายตอ่ ศาสนาต่าง ๆ คือลัทธิการเมืองทเ่ี ปน็ ปฏิปักษ์ตอ่ พระศาสนา ซง่ึ เราอาจดูตัวอย่างใน ประเทศต่าง ๆ ได้ในปัจจบุ นั น้ี\" 28. พระพุทธศาสนาทำให้คนเราด้อยพัฒนาจรงิ หรอื ทำให้คนขีเ้ กียจหรือ ทำไมคนเราจึงพูดเชน่ น้ี? ใครจะพูดอย่างไร เปน็ เร่อื งของคนมปี ากแล้วอยากพูด บางครั้งไม่รู้วา่ เรื่องทีต่ นกำลังพดู เป็นเรื่อง อะไรด้วยซำ้ ไป คนจำพวกนีถ้ งึ แมว้ ่าปากมซี ปิ กค็ งจะไมร่ ูดซปิ หรอก ทา่ นจงึ บอกวา่ ใครมปี ากอยากปูดกพ็ ูดไป เร่อื งอะไรก็ช่างอย่างฟงั ขาน เราอยา่ ตอ่ กอ่ ก้าวให้ร้าวราน ความรำคาญก็จะหายสบายใจ ในสมยั พทุ ธกาล คำกล่าวในลกั ษณะกลา่ วหาใส่ไคล้บดิ เบอื นมีมาก จนพระพุทธเจ้าทรงประทาน หลกั ในการวางตนตอ่ คำกล่าวหาเหลา่ นัน้ ไว้ว่า 1. เมอ่ื เขากล่าวตำหนติ เิ ตียนพระรตั นตรัยอยา่ โกรธอยา่ น้อยอกน้อยใจอะไร 2. เม่ือเขากลา่ วชมก็อย่ากระหย่มิ ยินดี หรือชื่นชม ในกรณีของการกลา่ วไม่ตรงตามความเปน็ จริง หากอาจชี้แจงให้เขาเข้าใจได้ ก็ใหช้ ้ีแจงไปตามควร แต่ถ้าเปน็ คำเพอ้ เจอ้ เหลวไหลไรส้ าระ การกระทำทขี่ าดความรับผิดชอบของคนอ่ืนไมต่ ้องไปใส่ใจ แต่ ให้สนใจถึงส่ิงอนั เป็นภาระหนา้ ที่ของตนอันได้ทำแล้วหรอื ไม่ได้ทำ จากคำถามข้างต้นน้นั แสดงวา่ ผถู้ ามสงสัยในคำกล่าวของคนอน่ื ไม่ไดก้ ลา่ วจากความรู้สึกนกึ คิด ของตนเอง เป็นคำถามท่ีควรแก่การชี้แจง ดังนี้

1. ด้อยพฒั นาคืออะไร? คำว่าด้อยพฒั นาคอื ขาดความเจริญในดา้ นตา่ ง ๆ หลักธรรมใน พระพุทธศาสนาสง่ เสริมให้คนดอ้ ยพฒั นาหรอื ขอ้ นค้ี นที่พิจารณาหลกั ธรรมตามความเปน็ จริงจะ พบวา่ พระพุทธศาสนาคอื ระบบการพัฒนาเพื่อยกระดับความเปน็ อยขู่ องตนให้สูงขึน้ ประณตี ข้นึ พฒั นาคนใหก้ ลายเปน็ มนุษย์ พัฒนามนุษยใ์ หก้ ลายเป็นกลั ยาณชน พฒั นากัลยาณชนใหเ้ ปน็ พระอรยิ เจ้าในชัน้ ต่าง ๆ โดยเรง่ รัดพัฒนาการใชก้ าย วาจา ใจ ของคนใหส้ ร้างสรรค์ส่ิงท่ีเป็นประโยชนแ์ ก่ ตนเองและคนอ่ืน จนเข้าถึงสันติภาพอันถาวรอยา่ งทเ่ี รยี กรอ้ ยตอ้ งการกัน 2. พระพุทธศาสนาทำให้คนข้เี กียจหรอื ? กเ็ ปล่าอีก แต่คนนับถือพระพุทธศาสนาหรือศาสนา อะไรกต็ าม แตช่ ่ือ คอื เป็นชาวพทุ ธแต่ในนาม ก็พร้อมที่จะเปน็ คนเกียจคร้านได้ทกุ เวลา ความเกียจ ครา้ นจึงเปน็ \"สนั ดานอันขุดยากกว่าสันดอนของคนบางจำพวก\" แตพ่ ระพุทธศาสนานัน้ เป็นศาสนา แห่งความเพยี รพยายาม การจะได้อะไรกต็ ามในพระพุทธศาสนาไมว่ ่าจะเปน็ การตรสั รู้ของ พระพทุ ธเจ้า การจะบรรลุประโยชน์สขุ ในชวี ติ ของคนในระดบั ตา่ ง ๆ ตอ้ งอาศยั ความเพยี รพยายาม ทั้งนน้ั พระพุทธศาสนาถือว่า ความเกียจคร้านเป็นอบายมุขคอื ทางเสอ่ื ม ที่ทำให้คนตกตำ่ อยู่ ตลอดเวลา เพราะมัวอา้ งหนาว ร้อน หิว กระหาย เชา้ สาย บ่าย เยน็ แล้วไมท่ ำงาน ทรงเนน้ ให้คน ตระหนักถึงเวลาที่ตอ้ งใชไ้ ปด้วยความเพียรพยายามไว้เป็นอันมาก ทั้งในดา้ นดำรงชวี ิตประจำวัน เพื่อ สร้างหลักฐานให้แกต่ นเองและครอบครวั จนถงึ เพื่อพัฒนาชวี ิตยกระดับจติ ของตนใหส้ งู ข้นึ จนบรรลุ เปา้ หมายในทางพระพทุ ธศาสนา และถือวา่ การเห็นแกน่ อนมากเกินไป เป็นการทำชีวติ ให้เปน็ หมนั คือ ไรค้ า้ ในข้ันของการบำเพญ็ เพียรทางจติ กำหนดใหพ้ กั ผ่อนเพียงคืนละ 4 ช่ัวโมงเท่าน้นั ในหลักท่ที รง แสดงไวว้ า่ เปน็ คำสอนของพระองค์หรือไม่ ข้อหนึ่งวา่ \"คำสอนใดทีม่ ีลกั ษณะเกียจครา้ น ไมใ่ ช่เพ่ือปรารภความเพียรพยายาม ให้ทราบว่าน่ันไม่ใช่ธรรม ไมใ่ ช่ วินัย ไม่ใชค่ ำสอนในพระศาสนาน้ี แต่คำสอนในศาสนานี้จะต้องไมม่ ลี กั ษณะส่งเสริมให้เกิดความเกียจ คร้าน แตเ่ น้นหนกั ให้มกี ารปรารภความเพยี รท่ังทางกายและทางจิต\" คนท่พี ูดอย่างคำถามทวี่ า่ น้ัน ขอใหห้ าคำสอนในพระพุทธศาสนามาสักขอ้ เถิด ท่วี ่า พระพทุ ธศาสนาสอนใหเ้ กียจคร้านนนั้ มที ี่ไหน ใจความว่าอย่างไร ไม่ใช่เขาเจาะปากมาพูดแลว้ พดู เรือ่ ย ๆ ไป โดยไมม่ ีความรบั ผิดชอบอยา่ งน้ี คำพดู แบบน้แี หละท่เี ขาเรยี กว่า \"สำรอกเพ้อเจ้อ หรือพดู พล่อย ๆ \" 29. ท่านคิดวา่ พระพุทธศาสนา จะชว่ ยจรรโลงความสุขเยน็ ให้แกป่ วงชน และประเทศชาตไิ ดห้ รือไม่ ? พูดเปน็ เล่นไป เรอ่ื งอะไรจะต้องมาคิดเอาเล่า ข้อเทจ็ จริงในทางประวตั ศิ าสตรเ์ ป็นประจกั ษ์พยาน พิสจู น์ความจริงขอ้ นด้ี ีอยูแ่ ลว้ ลองพลกิ ประวัตศิ าสตร์ชาติไทยหรอื อนิ เดยี ก็ได้ เราจะพบความจริงว่า ยคุ ท่ีชาติบ้านเมืองมีความสงบสขุ ที่สดุ ในชาตนิ น้ั ๆ คือยคุ ท่พี ระพทุ ธศาสนาได้รับการยอมรับนับถือ และปฏบิ ตั ิกันแพรห่ ลาย อินเดยี ทงิ้ พระพุทธศาสนาพร้อมกบั การสูญเสียเอกราชให้แกก่ ษัตรยิ อ์ ิสลาม ลังกาเกดิ ความเดือดร้อนแตกแยก ในยคุ ที่โปรตุเกสเข้ามามีอทิ ธิพลครอบครองลงั กา ก่อนลงั กาจะได้ เอกราชจากอังกฤษนั้น พระพทุ ธศาสนาได้ฟื้นตัวข้ึนมากอ่ นนะ ประเทศไทยเรากม็ ีลกั ษณะคล้ายคลงึ

กนั คือยุคทองทางศีลธรรม เชน่ สมยั พอ่ ขนุ รามคำแห่งมหาราช พระมหาธรรมราชาลิไท พระเจ้าบรม ไตรโลกนาถ จนถึงรัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ จนถึงตอนกลาง เป็นยุคท่ีคนในใจในธรรมสูง ตงั้ แตพ่ ระเจ้า แผ่นดินลงมา ความสงบสขุ กเ็ กดิ ขึ้น ความเจริญในดา้ นตา่ ง ๆ ก็ติดตามมา ปจั จุบันน้เี ป็นอย่างไรบ้าง? คนไทยพยายามเลียนแบบฝรง่ั กันทุกอยา่ ง ผนู้ ำทางสงั คมแทนที่จะออกจากวดั อย่างสมัยกอ่ น กลบั สำเร็จมาจากเมอื งนอกมองเห็นศาสนาของจนเป็นขอ้ งล้าสมยั เชย ชอบอ้างวาทะของปราชญฝ์ รง่ั ซงึ่ เปน็ เพียงทฤษฎเี ทา่ นั้น ไมไ่ ด้ผา่ นการปฏิบตั ทิ ดสอบโดยเฉพาะอย่างปรัชญา พอกลบั มาจากเมอื ง นอกกม็ าต้งั คำถามแบบเชย ๆ อย่างที่ถามมาน่ัน คนไทยท่สี ำนกึ ถงึ ความดีงามของชาติ ศาสนาแห่งตน โดยผ่านการศกึ ษาค้นคว้าพอสมควรเท่านั้น จะไมถ่ ามคำถามเชย ๆ แบบน้หี รอก จรรโลง เป็นกริ ิยา แปลว่า จงู , พยุงไวไ้ ม่ใหเ้ ซ, ไม่ให้ล้มลง ซ่ึงจากคำแปลเหลา่ นี้ เปน็ เครือ่ งยนื ยันว่าเปน็ งานทพี่ ระพุทธศาสนา และศาสนาตา่ ง ๆ ได้กระทำ กนั มานานแล้ว พระพทุ ธเจา้ น้ันได้รับการยอมรบั วา่ ทรงทำงานที่เปน็ ประโยชน์เกอื้ กลู และความสุข แกโ่ ลก ด้วยการทรง ชีท้ างบรรเทาทกุ ข์ และช้ีสุขเกษมศานต์ ชีท้ างพระนฤพาน อนั พน้ โศกวโิ ยคภยั ... กำจัดน้ำใจหยาบ สันดานบาปแหง่ ชายหญงิ สตั วโ์ ลกไดพ้ ึ่งพงิ มละบาปบำเพญ็ บุญ ... สงิ่ ที่เปน็ ปญั หาที่สร้างความเดือดรอ้ นใหเ้ กิดข้ึนในสงั คมปจั จบุ นั และเปน็ ปญั หาถาวรทกุ ยุคทกุ สมัยนัน้ หากเราไดน้ ำเอาหลักการและวธิ กี ารในพระพทุ ธศาสนาเข้าไปใช้ จนได้รบั การนับถอื และ ปฏบิ ตั ติ ามกนั อย่างกวา้ งขวางแลว้ สามารถบรรเทาและแกป้ ัญหาเหลา่ นัน้ ไดม้ ากทเี ดยี ว เช่น 1. ปญั หาทางเศรษฐกิจ คนขาดความสุขจากการมีทรพั ย์ การใชจ้ ่ายทรัพย์ ตอ้ งเป็นหน้เี ปน็ สนิ กนั มาก จนถงึ กบั ตอ้ งทำงานทุจริตผิดกฎหมาย เพ่ิมความเดอื ดร้อนให้มากขน้ึ น้ัน หากคนเราได้ยดึ หลกั อันเป็นหวั ใจของเศรษฐกิจ ในการดำรงชีวิตคือ \"มีความหมัน่ ขยนั ในการทำงานอนั เปน็ หน้าที่ของตน รจู้ กั เกบ็ รักษาทรพั ย์สมบัติไวบ้ ้าง คบหา สมาคมรว่ มกิจการงานกับคนดี รจู้ ักประมาณในการใชจ้ า่ ย ตามกำลังทรัพย์ทีต่ นอาจใชจ้ า่ ยได้ ของ หายให้หากลับคืนมา ของเกา่ ครำ่ คร่าซ่อมขน้ึ ใชส้ อย รจู้ ักประมาณในการใช้จา่ ยบรโิ ภคสมบตั ิ ไม่ หมกม่นุ อบายมขุ \" เพยี งเทา่ นีเ้ ราก็แกป้ ญั หาเศรษฐกจิ ของปัจเจกชนได้ เมอ่ื แก้ทปี่ จั เจกชนได้ เมื่อแกท้ ี่ปัจเจกชนได้ ช่ือว่าแกป้ ัญหาเศรษฐกิจของประเทศชาตไิ ด้

2. ปัญหาทางสงั คม ขอเพยี งแตใ่ หค้ นทกุ คนยึดมน่ั ในหนา้ ทีข่ องตน ใครมีหน้าทอ่ี ย่างไร มีความ รบั ผดิ ชอบในหน้าท่นี ัน้ ๆ มีความเมตตากรุณากนั ไม่เลย้ี งชพี ในทางท่ีผดิ ไมล่ ะเมดิ ในสามีภรรยาของ กนั และกัน พูดจากันด้วยคำสัตย์ คำจริง คำไพเราะออ่ นหวาน คำสมานสามคั คี และคำทม่ี ีประโยชน์ สงเคราะหช์ ว่ ยเหลอื กัน ไมท่ ำลายประโยชนข์ องคนอ่ืน วางตนเป็นมติ รสนิทสนมกัน ไม่ลำเอียงด้วย อคติ 4 ประการ เปน็ ต้น ปัญหาสงั คมที่สร้างความอกส่นั ขวญั แขวนกจ็ ะสงบระงบั ไปได้ คำขวญั ท่ี เรียกร้อนกันวา่ \"ชว่ ยกันกำจัดคอรัปชน่ั ให้สน้ิ เพื่อแผ่นดินไทยอยรู่ อด\" ก็ไม่ตอ้ งมี เพราะในสงั คมไทยหรอื สังคม ไหนก็ตามขอเพยี งแตม่ ีศีล 5 เป็นหลักในการดำรงชวี ติ กนั ส่วนมากเท่านนั้ ปัญหาสงั คมอาชญากรรม ต่าง ๆ จะยตุ ิลงเอง จากตัวอยา่ งที่ยกมาน้ี พอจะเป็นแนวทางในการพจิ ารณาศึกษาว่า พระพุทธศาสนาหาได้ชว่ ย จรรโลงประเทศชาติและประชาชนภายในชาตแิ ต่อยา่ งเดียวเท่านน้ั ไม่ แต่พระพทุ ธศาสนายังมี หลกั การและวิธกี ารที่จะสร้างความสขุ ให้เกิดขึน้ แกป่ ระชาชน จากระดับชีวติ การครองเรอื น ความสุข กายสบายใจจนถงึ ความสขุ อย่างยิ่ง คอื สนั ติสขุ ที่ถาวรให้เกิดขึ้นแก่บคุ คลผูป้ ฏิบัติตามด้วย ข้อทีไ่ มค่ วรลืมคอื พระพทุ ธศาสนาเป็นนามธรรม จะใหพ้ ระพทุ ธศาสนาแสดงพฤติกรรมออกมาได้ บุคคลต้องน้อมนำธรรมในพระพทุ ธศาสนามาปฏิบัติ เหมอื นยาท่ีมีคุณภาพในการบำบัดโรคตา่ ง ๆ ยา จะทำหน้าท่ีของตนได้ ก็ตอ่ เมอ่ื คนป่วยไดบ้ ริโภคดื่มกนิ ยาเหลา่ นั้นเข้าไป ถูกต้องตามเงอื่ นไขต่าง ๆ ที่ หมอบอกไว้ ประโยชนจ์ ากยากจ็ ะเกิดขึ้น พระพุทธศาสนากม็ ลี ักษณะเชน่ นน้ั ต้องอาศัยบคุ คลปฏบิ ัติ ธรรมสมควรแกธ่ รรมนน้ั ๆ ทที่ า่ นแสดงไวโ้ ดยอเนกปรยิ าย เม่ือบุคคลได้เลอื กเฟน้ ธรรมด้วยอุบายอัน แยกคายแลว้ นำไปประพฤติปฏิบัติให้เหมาะใหค้ วรแกก่ รณนี น้ั ๆ ธรรมะก็จะสำแดงอานภุ าพไดเ้ ตม็ ตามหน้าท่ีของตน คอื อำนวยผลให้เกดิ ข้นึ แกบ่ คุ คลนั้น ๆ ตามสมควรแก่การปฏบิ ัติของเขา ชวี ิตยังไม่ลับดบั เพียงนี้ แรงยังมีจงสกู้ ระเสือกกระสน หากเจ็บปวดรวดร้าวจงเฝา้ ทน ประจวบจนสมหวังดังตงั้ ใจ

นกั ศกึ ษาสงสัย บทท่ี 3 ปัญหาเกีย่ วกับพระรตั นตรยั และพระธรรม 30. อนัตตา หมายถึงอะไร ความหมายที่เต็มรปู เปน็ อย่างไร? อนัตตา เราแปลกันวา่ ไมใ่ ชต่ วั ตน พระพุทธเจา้ ทรงแสดงวา่ ธรรมทัง้ หลายเป็นอนตั ตา คำวา่ ธรรม หมายเอาท้ังสงิ่ ทป่ี จั จยั ปรงุ แต่ และไม่มปี ัจจัยปรุงแตง่ คือเปน็ ทัง้ สงั ขารและวิสังขาร ความหมายเต็มรูปนัน้ ท่านจำแนกออกเปน็ ข้อ ๆ ดงั นี้ ใคร ๆ ไม่อาจบงั คับใหเ้ ป็นไปตามท่ีใจเราหวังได้ตลอดไป ไมม่ ีใครเป็นเจ้าของส่ิงเหลา่ นน้ั อย่างแทจ้ รงิ ตรงกันข้ามกับสงิ่ ทถ่ี อื วา่ เปน็ ตวั เป็นตน ตามความเชอ่ื ถือของศาสนาพราหมณ์ เมอ่ื แยกย่อยออกไปแลว้ เป็นสภาพวา่ งเปล่าจากตัวตน และว่างจากกิเลสตัณหาความทกุ ข์ ในกรณี ของวิสงั ขาร 31. ทุกข์ คืออะไร? เมอ่ื จะกลา่ วโดยลักษณะแลว้ ความทุกข์ทา่ นแสดงวา่ ประกอบดว้ ยลักษณะ 4 ประการ คอื \"เบยี ดเบียนประกอบด้วยปัจจยั ปรงุ แต่ง ความแปรปรวนเปลยี่ นแปลงและกอ่ ให้เกิดความเรา่ ร้อน\" อันเป็นลกั ษณะของความทุกข์ในอรยิ สัจ ความทกุ ขท์ า่ นแสดงไว้เป็นอันมาก แต่แหลง่ ทเ่ี กิดของ ความทุกข์ คือ กายกบั ใจ ท่ีสำคัญคือใจทีย่ ึดม่นั ถือม่ันด้วยอุปาทานในขนั ธ์ 5 เปน็ ความทกุ ขโ์ ดยสรุป 32. ความรกั เป็นทุกขไ์ ด้อยา่ งไร? ความรกั เป็นทกุ ขก์ เ็ พราะว่า ความรกั ไมไ่ ด้เกิดขึน้ ลอย ๆ แต่เกิดข้นึ จากปัจจยั ปรุงแต่ง หรอื องคป์ ระกอบตา่ งๆ เขา้ สนับสนุนเปน็ อันมาก เม่ือเกิดขึน้ แล้วก็เบยี ดเบยี นใจให้เร่าร้อนไปตา่ ง ๆ เชน่ กลวั จะไมส่ มหวงั กลัวจะต้องเปลีย่ นแปลงไป เมื่อไดม้ าตามต้องการแลว้ กเ็ ร่ารอ้ นเพราะกลัวความ พลดั พราก และเมื่อสงิ่ นนั้ พลัดพรากไป ทุกขน้ั ตอนของความรักน้นั จะตอ้ งมีการเปลีย่ นแปลง ไม่ เปล่ยี นแปลงไปในทางดีกเ็ ปล่ียนแปลงไปในทางไม่ดี ซ่งึ ลกั ษณะเหล่านเี้ ป็นลักษณะแหง่ ความทกุ ข์ ท้ังนั้น แตค่ วามทุกขส์ ่วนมาก เรามักติดใจกนั ในความหมายท่วี ่า \"ความไมส่ บายกายไมส่ บายใจ\" ซึ่งเปน็ ลกั ษณะเพียงอย่างเดียวของความทุกข์ ที่ท่านเรียกว่าทกุ ขเวทนา ถึงแม้ในความหมายนี้ก็ตาม ผมู้ ี ปัญญากอ็ าจพจิ ารณาเหน็ ได้ว่า ความรักส่ิงหรือบุคคลท่ีเรารกั นน้ั ใหค้ วามสขุ หรอื ความทกุ ขม์ ากกว่า กนั ซงึ่ ก็จะได้คำตอบในทนั ทีว่า ให้ความทุกข์มากกวา่ ดังนท้ี รงแสดงว่า \"กามน้ันมสี ขุ น้อย แต่มีทกุ ขม์ า\"

ความรักหรือสง่ิ ทีบ่ ุคคลรักนั้น จะใหค้ วามสขุ เฉพาะในกรณที ่เี กดิ ความสขุ โสมนัสเพราะอาศยั ส่งิ เหล่าน้ันเป็นเหตเุ ท่านัน้ แตเ่ ม่อื นำไปเปรียบเทียบกับความทกุ ข์ คือการถูกแรงปรารถนาเผาลนใจ ใน การแสวงหาส่ิงเหล่านั้น การไดม้ าไวใ้ นครอบครอง การต้องปอ้ งกนั อารักขา บำรุงเลี้ยงดูและเมอ่ื ส่งิ เหล่านนั้ ตอ้ งเส่อื มไปแตกดบั ไปแลว้ ความสุขเปน็ เรือ่ งเพียงเล็กนอ้ ยเท่านน้ั ข้อท่ีเรารู้กนั แพร่หลาย คือ ความโศก ภยั ทุกข์ เกิดเพราะความรกั ให้ลองนกึ ดวู า่ ถา้ เราไม่มีความ รกั ในสงิ่ หรอื บคุ คลนน้ั แลว้ ความทุกข์ท่ีเกีย่ วกับส่งิ นัน้ ทกุ ขั้นตอนทีว่ ่ามากจ็ ะไมเ่ กดิ ขน้ึ ดว้ ยเหตุนีเ้ อง ท่านจึงกลา่ ววา่ \"ความรักเปน็ ทุกขแ์ ละเป็นเหตุใหเ้ กิดทุกขด์ ้วย\" เหตุใหเ้ กดิ ทกุ ข์นนั้ หากจะพูดกันใหไ้ ด้ผลในการปฏิบตั ิสำหรบั ผูต้ อ้ งการจะบรรเทาทุกข์ใน ชวี ติ ประจำวันของตนแลว้ จะพบว่ามีสาเหตุใกล้และไกลลดหลน่ั กนั ลงไป ดงั น้ี 1. เหตุใกล้ท่ีสุดในชวี ติ ประจำวัน คือ \"จิตไปยดึ ถอื ส่ิงต่าง ๆ โดยขาดปัญญา เป็นทาง นำมาซงึ่ ความทกุ ข์\" อยา่ งที่ ทา่ นกล่าววา่ สขุ ทุกข์อยู่ทีใ่ จมิใช่หรอื ถา้ ใจถือก็เป็นทุกข์ไม่สุขใส ใจไม่ถอื กเ็ ป็นสุขไม่ทุกข์ใจ เราอยากได้ความสุขหรือทุกข์นา 2. เหตใุ กล้ทเี่ กดิ จากปัจจัยต่าง ๆ เชน่ \"เหยา้ เรอื นทค่ี รอบครองไมด่ ี การเป็นหน้ีเปน็ สนิ คนอน่ื ความเป็นคนอนาถา ความพ่ายแพ้ ความวิตกกงั วลมากเปน็ ความทกุ ข์ ทง้ั หมด\" 3. เหตทุ ี่เกดิ ความยดึ ถอื อยา่ งทที่ รงแสดงว่ากลา่ วโดยสรุปการทจ่ี ิตยึดมน่ั ถือมน่ั ในขันธ์ 5 เป็นความทกุ ข์ ความยึดมัน่ ถอื มน่ั น้นั ท่านจำแนกออกเป็น 3.1 ความยึดมนั่ ถอื มัน่ ด้วยอำนาจความใคร่วา่ ของเรา ๆ รสู้ กึ วา่ ของเรา ยงิ่ ยากเท่าไร ความทกุ ขก์ ม็ ากขึ้นเทา่ น้ัน 3.2 ความยึดมน่ั ถือมั่นดว้ ยทิฐิ คอื ความคดิ เห็นเป็นเหตุให้เปน็ คนดือ้ ร้นั ตอ้ ง ถกเถยี งววิ าทกบั คนอน่ื จนถึงเปน็ ทฐิ ิที่ปิดกน้ั ความเจรญิ ในดา้ นพัฒนาการทางจิต 3.3 ความยดึ มนั่ ถอื มัน่ ดว้ ยศีลวัตร พิธกี รรม ของขลัง ฤกษผ์ านาทีตา่ ง ๆ จน ขาดความเปน็ อิสระ สรา้ งความวติ กกังวลให้เกิดข้ึน สูญเสียความมน่ั ใจ จนไมอ่ าจใช้ ปญั ญาพจิ ารณาสิ่งต่าง ๆ ให้รเู้ ห็นตามเปน็ จริงได้ 3.4 ความยึดมน่ั ถอื มนั่ ในตวั เราเอง พวกของตวั จนถึงกบั ต้องการให้คนอื่น ยอมรบั นับถอื ตน มีมานะจดั เมื่อไมไ่ ด้ตามทีต่ นต้องการกเ็ ป็นทุกข์

4. เหตุทแ่ี ทจ้ ริง คือ ตณั หา 3 ประการ อนั แสดงตวั ออกมาในลกั ษณะท่ี \"ก่อให้เกดิ ความมีความเป็นและภพสบื เน่ืองกันไปไมข่ าดสาย จติ ที่ผกู พนั อย่ดู ว้ ยความกำหนดั ความเพลิดเพลินในอารมณท์ ั้งหลายมีรูป เป็นตน้ จนถงึ เพลิดเพลินสยบตดิ อยใู่ น อารมณแ์ ละภพน้นั ๆ ท่านแบ่งออกเปน็ 3 ประการคือ 4.1 กามตณั หา จติ ทะเยอทะยานอยากได้ในรูป เสยี ง กลิ่น รส สัมผัส อนั น่า ใคร่ นา่ ปรารถนา นา่ พอใจ 4.2 ภวตัณหา ความมีจิตทะเยอะทะยานอยากในฐานะความเป็นตา่ ง ๆ จนถงึ ต้องการบังเกดิ ในภพทป่ี ระณตี ยง่ิ ๆ ข้ึนไป ดว้ ยอำนาจของสสั สตทฏิ ฐิ คือ ความเหน็ วา่ เท่ยี ง 4.3 วภิ วตัณหา การท่ีจติ ทะเยอทะยานอยาก ใหส้ ง่ิ ตา่ ง ๆ ท่ีตนไม่พอใจ ทำลายไป จนถึงต้องการใหข้ าดสูญไป ไมต่ อ้ งเวียนว่ายตายเกิดอีก ด้วยอำนาจของ อุจเฉททิฏฐิ ตัณหาทง้ั 3 ประการนีจ้ งึ จัดว่าเป็นเหตุขั้นพน้ื ฐานแห่งความทกุ ข์ ทค่ี นต้องประสบในชีวติ นแ้ี ละ ในชาตติ อ่ ๆ ไป 33. วิธีทำลายทุกข์ จนทกุ ข์หมดสน้ิ ไป ทำได้อยา่ งไรบา้ ง? กอ่ นอืน่ เราตอ้ งยอมรับวา่ ความทุกข์ไมว่ า่ จะประเภทใดก็ตาม เปน็ ผลทีเกดิ ขึน้ มาจากเหตุ เหมือน อาการของโรคทีป่ รากฏออกมา การจะทำใหค้ วามทกุ ขห์ มดส้นิ ไปจึงตอ้ งทำลายท่ีเหตุแหง่ ความทุกข์ เหมือนการเยียวยารกั ษาท่สี มฏุ ฐานของโรคจนโรคหายไปไดฉ้ ะนน้ั ความทกุ ขท์ ่กี ล่าวมาในขอ้ ก่อนที่ เป็นผลทง้ั หมด การที่จะแกอ้ าจจะแก้ไปเปน็ จุด ๆ ไปดงั นี้ 1. อย่ายึดถืออะไรใหม้ ากนกั ตอ้ งยอมรับความเปลีย่ นแปลงในเรื่องน้นั บ้าง ไมต่ ั้ง ความหวงั เพยี งอยา่ งเดียว ควรจะเตรยี มใจเตรยี มรบั ความผดิ หวงั ไว้ด้วย เม่อื เราหวงั อะไรแต่น้อย หากผดิ หวัง ความทุกข์จากเรื่องนน้ั ๆ กน็ อ้ ยลง 2. พยายามสร้างความสุขในการครองเรือน หากจะเป็นหน้ีเป็นสนิ กต็ ้องเปน็ หนี้เพื่อ การลงทนุ หรอื มนั่ ใจว่าจะหาทรัพยม์ าใชห้ นี้ไดท้ นั พยายามชว่ ยตนเองใหม้ าก เร่อื ง อะไรที่เกดิ ข้ึนในชีวติ เม่อื ผ่านมาแล้วก็ตอ้ งปล่อยใหผ้ ่านไป อย่าเกบ็ มาวิตกกังวล และอย่าไขว่ควา้ อนาคตให้มากนัก แตเ่ พียรพยามทำหน้าท่ขี องตนในปัจจุบันใหด้ ี 3. ทำความเข้าใจในขันธ์ 5 วา่ เปน็ ของไมเ่ ทยี่ ง เป็นทกุ ข์ มคี วามแปรปรวนไปเป็น ธรรมดา พยายามใช้เหตุผลในการดำรงชีวติ ให้มาก เม่อื มีปัญหาเกดิ ข้ึนใหน้ ัดพบกนั ท่เี หตุผลและความถกู ต้อง ไม่ยดึ ถอื ดว้ ยอำนาจกาม ทฏิ ฐิ เรอื่ งท่ขี าดเหตผุ ลและมี มานะจนเดือดร้อน ทกุ ขอ์ ันเกิดจากเร่อื งนั้นกจ็ ะผ่านอคลายลงไปได้ 4. ปฏิบตั ิตนตามหลกั ของอริยมรรคมอี งค์ 8 ประการ คือ 4.1 สมั มาทฏิ ฐิ ปญั ญาอันเห็นชอบ ได้แกเ่ ห็นอรยิ สจั 4 ตามความเป็นจริง 4.2 สัมมาสังกปั ปะ ดำริชอบ คือดำรใิ นการที่จะถา่ ยถอนกายกบั จิตของตน

ออกจากพยาบาท และออกจากความเบยี ดเบยี น 4.3 สัมมาวาจา เจรจาชอบ คอื เวน้ จากพูดเทจ็ พูดคำหยาบ พดู ส่อเสยี ด พูด เพ้อเจ้อ 4.4 สัมมากัมมันตะ คอื กระทำชอบ คอื เวน้ จากการฆ่า การลักทรพั ย์ การผดิ ลูกผิดเมียเขา การดม่ื เคร่ืองดองของมึนเมา 4.5 สมั มาอาชวี ะ เล้ียงชีพชอบ คือละมิจฉาชีพทุกชนิด ดำรงชีวิตด้วยสัมมาชพี 4.6 สมั มาวายามะ พยายามชอบ คือพยายามระวงั ไมใ่ ห้บาปเกดิ ขน้ึ ภายในจิต พยายามละบาปทเี่ กดิ ขึน้ แลว้ พยายามบำเพ็ญกศุ ลใหเ้ กดิ ข้ึนภายในจติ พยายาม รักษากศุ ลทเี่ กิดขนึ้ แล้วไมใ่ ห้เสื่อมไป 4.7 สมั มาสติ ระลึกชอบ คอื ระลกึ ถงึ กาย เวทนา จติ และธรรม เพื่อทำจิตให้ สงบ และเกิดความรเู้ ห็นตามเปน็ จริงว่ากาย เวทนา จติ ธรรม กเ็ ป็นสักแต่ว่า กาย เวทนา จิต ธรรม เท่าน้นั หาใช่สัตว์ บคุ คล ตวั ตน เราเขา ทจ่ี ะพงึ ยดึ ถือดว้ ยอำนาจ อปุ าทานแตป่ ระการใดไม่ 4.8 สมั มาสมาธิ ความต้ังมนั่ ชอบ คอื การทำจิตของตนใหส้ งบ และไดบ้ รรลรุ ูป ฌาน 4 อันสามารถสงบนิวรณ์ธรรมทั้ง 5 ประการลงได้ด้วยองค์แห่งฌานทเ่ี กดิ ข้นึ เม่อื มรรคมอี งค์ 8 ประการนบ้ี ุคคลไดก้ ระทำให้บรบิ รู ณแ์ ลว้ จะก่อให้เกิดเปน็ สมั มาญาณ คือ ความรู้ในทางท่ีชอบ บรรลุ สมั มาวมิ ุตติ คือจิตหลุดพน้ ด้วยอำนาจของกิเลสในทางทช่ี อบ ความทกุ ข์ อันเปน็ ผลสืบเน่อื งจากกิเลสทุกรปู แบบกจ็ ะหมดไป เหมือนพระอาทติ ยอ์ ุทัยกำจัดความมดื ใหห้ มดไป ฉะนั้น 34. คนตายแลว้ หมดทุกข์จริงหรอื ไม่? เพราะเหตุไร? ความตายจัดเปน็ สภาวทุกข์ คอื ทุกข์ประจำประการหนง่ึ คนตายจึงเปน็ ทุกขใ์ นความหมาย ทว่ี ่า \"เบียดเบยี นปจั จัยปรงุ แต่ง มีความแปรปรวนเปล่ียนแปลง\" แต่ในแง่ของเวทนาคอื ความเสวย อารมณ์เปน็ การยตุ ิความทุกขส์ ำหรบั ชาตนิ ัน้ ๆ ไดข้ ณะหนงึ่ แตก่ ารจะวนิ จิ ฉัยวา่ คนตายคนน้ันหมด ทกุ ข์จริงหรือไม่ ตอ้ งมองไปทส่ี าเหตุแห่งทุกข์ว่า ยังมีอยหู่ รอไม่ หากเขายงั ไม่ได้ละเหตุแห่งความทกุ ข์ คือ อวิชชา ตัณหา อปุ าทาน กรรม แลว้ การเกิดย่อมจะมีสำหรับเขาอีก เม่ือเกิดอกี ความทุกขใ์ น รปู แบบตา่ ง ๆ ก็จะตดิ ตามมา แต่ถา้ ตรงกันขา้ มคือเขาละเหตุแห่งความทุกข์ได้ เขาไดช้ ื่อวา่ หมดทุกข์ มาแต่ขณะละเหตแุ หง่ ทุกข์ไดแ้ ลว้ แต่จะอย่างไรกต็ าม เมื่อเราจะกล่าวกนั ถึงทุกขเวทนากำเนดิ ที่ดี อนั เกดิ ข้ึนจากอำนาจบญุ กศุ ลใน ระดับตา่ ง ๆ ทำให้คนท่ีตายไปนน้ั มีความทุกขน์ อ้ ยลงตามลำดบั ปริมาณของความสุขเพิ่มข้นึ จน กลายเป็นทิพยสุข ฌานสุขตามสมควรแกก่ ศุ ลกรรมของเขาเหล่านน้ั ได้ ซึ่งความสขุ ในกำเนดิ นั้น ๆ มี ทง้ั ท่ีเป็น โลกยิ สุข คอื ความสุขที่เกิดจากอารมณ์อนั ประณตี และ โลกุตตรสขุ คือความสุขทอี่ งิ อาศัย ธรรมของทา่ นทเี่ ปน็ พระโสดาบันบคุ คลเป็นตน้ ไปถงึ อนาคามี

35. มีธรรมข้อใดบ้าง ท่ีจะชว่ ยให้โลกนีม้ ีความวา้ ว่นุ น้อยลง อนั ท่ีจริงธรรมแตล่ ะข้อท่ที รงแสดงไว้นั้น ทรงแสดงเพอ่ื ประโยชน์ เพอื่ เก้อื กูล เพื่อความสขุ แก่ สรรพสตั ว์อันเป็นการลด บรรเทา ทำลายความว้าวุ่นในดา้ นตา่ ง ๆ ลงได้ท้ังนน้ั แต่ในที่นจี่ ะพดู ทเี่ ปน็ สามญั ทัว่ ไป คอื หากคนในโลกมี หิริ ความละอายตอ่ บาป และโอตตัปปะ ความสะด้งุ กลัวต่อบาปมาก พอสมควรแล้ว จะชว่ ยลดความว้าวนุ่ ลงไดม้ าก โดยเฉพาะในระดับทตี่ ้องเกี่ยวขอ้ งกบั คนอน่ื เพราะ ธรรมทัง้ สองนท้ี า่ นเรียกวา่ ธรรมทง้ั สองประการน้ี ท่านจดั เปน็ มโนธรรม คือธรรมมอี ยู่ภายในจิต และเจริญขน้ึ ตามลำดบั โดยอาศัยแรงกระตุน้ จากภายใน คอื อายุมากข้นึ การศกึ ษาสูงข้ึน ฐานะทางตระกลู ดีมีจติ ใจเข้มแขง็ ไม่ ตกไปสู่อำนาจฝ่ายตำ่ ง่าย ๆ และอาศยั ปจั จยั ภายนอกเขา้ มาสนับสนุน คอื กลัวว่าทำอะไรลงไปแล้ว แม้ตนเองก็ตเิ ตยี นตนเองได้ ท่านผรู้ ใู้ ครค่ รวญแล้วตำหนิ หรือกลวั ต่ออาชญาของบ้านเมอื ง และกลวั ต่อภัยในอบาย หริ ิโอตตัปะ หากมีปริมาณสงู มากพอภายในจิตแล้วจะป้องกนั หา้ มจิตคนไว้ ไมใ่ หท้ ำอะไรลงไป โดยขาดความรับผดิ ชอบ พร้อมท่ีจะใชเ้ หตุผลในการดำเนนิ ชีวิตความวา้ วุน่ ต่าง ๆ ทัง้ สว่ นตนและ สังคมก็จะลดลงได้เปน็ อนั มากทเี ดยี ว อีกประการหนง่ึ คือการอยู่กนั อยา่ งมีเมตตากรณุ า หวังจะเหน็ ความสุขความเจรญิ ของกนั และกัน ชว่ ยเหลอื เกอ้ื หนนุ กันตามควรแก่ฐานะทจ่ี ะทำได้ มีความรกั ความเคารพสงเคราะหอ์ นุเคราะห์กนั ไม่ วิวาทกัน มคี วามสามัคคีกนั เอกภาพภายในสงั คมจากจดุ เลก็ คอื ครอบครัวถึงจดุ ใหญค่ ือ ประเทศชาติ และโลกกจ็ ะเกดิ ขน้ึ เหตุนน้ั ท่านจงึ กลา่ วว่า โลโกปตฺถมภฺ ิกา เมตฺตา = เมตตาเปน็ ธรรมคำจุนโลก หรอื อยา่ งทที่ า่ นกลา่ วไว้เปน็ คำกลอนในเรอ่ื ง พระอภัยมณี วา่ ประการหนง่ึ ซงึ่ ขาด พระศาสนา ท่วั โลกา เกดิ ทกุ ข์ ถงึ ยุคเข็ญ ครนั้ จะกลับ ดับรอ้ น ผอ่ นให้เย็น กต็ ้องเป็น ไมตรี ปรานีกนั 36. หลกั การหรอื ธรรมอะไร ท่นี ักศกึ ษาควรยึดถือเป็นหลกั ในการศึกษา ขอความกรณุ าชแี้ จง?

หลักธรรม ท่ีนักศกึ ษาควรถอื เป็นหลกั ในการศึกษาและแมแ้ ต่คนอื่นที่ตอ้ งการความสำเร็จ ใน หน้าทีก่ ารงานของตนกอ็ าจใชห้ ลักเดียวกนั ได้คือ 1. นักศกึ ษาสญั ญา คอื สรา้ งความสำนกึ ว่า เราเปน็ นกั ศกึ ษา หมายถึงการยอมรบั สภาพของตนในฐานะนั้น ๆ 2. รหู้ น้าที่ ได้แก่ร้หู นา้ ทหี่ ลักของนักศกึ ษาคืออะไร หนา้ ทหี่ ลกั นน้ั ขาดไมไ่ ด้ แตห่ น้าท่ี รองขาดได้ หนา้ ที่ของนักศึกษาที่แท้จรงิ คอื \"การศึกษาในสาขาวิชาท่ีตนต้องศึกษา\" 3. ฉนั ทะ ปลกู ฝังความรกั ความพอใจในการศึกษา ลักษณะวิชา อาจารยท์ ส่ี อน และ เวลาทีต่ นจะต้องใชไ้ ปเพอื่ การศึกษา 4. วริ ิยะ มีความกล้าหาญ ไม่หวั่นเกรงอปุ สรรคความยากของเน้ือหาวิชา และมีความ เพียรพยายามในการฟัง การคิด การสอบถาม การจดไวเ้ ป็นหลักฐาน และเพ่อื กนั ลืม 5. จิตตะ เอาใจใส่สนใจในการศึกษา และสิง่ ทเี่ ป็นอุปการะแก่การศกึ ษา 6. วิมังสา หมัน่ ตรติ รองพนิ ิจพจิ ารณา หาเหตผุ ลขอ้ เปรียบเทยี บ การทำความเขา้ ใจ ขบเจาะเรือ่ งน้นั ๆ จนแทงตลอดเรอื่ งราวตา่ ง ๆ ทต่ี นศึกษา ด้วยปญั ญาของตน อยา่ งทพี่ ูดกนั ว่า \"เรยี นให้รู้ ดูใหจ้ ำ ทำใหไ้ ด้ ใชใ้ ห้เป็น\" ด้วยการอาศัยหลกั ธรรมเพียงเทา่ น้ี การศกึ ษา การงานต่าง ๆ ที่คนตอ้ งจดั ตอ้ งทำ ก็จะสำเร็จตาม เปา้ หมายไดไ้ มง่ ่ายนกั แตอ่ ยา่ ลมื ว่าคุณสมบัตเิ หล่าน้ี จะต้องไมห่ ยอ่ นหรือตึงเกนิ ไป โดยอาศัย สตปิ ัญญา เป็นเคร่ืองระลึกตรวจสอบแล้วปฏิบัติตนไปตามสมควรแกก่ รณี เช่นความพอใจหยอ่ นไป ก็ ต้องพยายามเพมิ่ พูดความพอใจใหส้ ูงข้นึ เปรยี บเหมอื นเครอ่ื งยนตต์ ่าง ๆ ส่วนไหนชำรดุ บกพร่องไป ก็ เพียรพยายามแก้ไขปรบั ปรุงสว่ นนน้ั ๆ เครอ่ื งยนตน์ น้ั ก็จะอำนวยประโยชนใ์ ห้ตามต้องการได้ฉันใด คณุ ธรรมดังกล่าวกจ็ ะเปน็ ปจั จยั สนับสนนุ ใหค้ นบรรลเุ ป้าหมายทตี่ นต้องการเชน่ เดียวกันฉันนน้ั 37. อา่ นหนงั สือพมิ พพ์ บวา่ กรรมทห่ี นกั ยง่ิ กว่าอนันตรยิ กรรมกย็ งั มี คือมจิ ฉาทิฏฐิ อยากกราบเรยี น ถามวา่ มิจฉาทฏิ ฐะ คืออะไร เราจะสำรวจทิฏฐขิ องตนเองวา่ อย่ใู นประเภทไหนได้อยา่ งไรครับ? มิจฉาทฏิ ฐิ แปลวา่ ความเห็นผิด เป็นความเห็นผดิ ชนดิ ทีห่ ย่งั รากลึกอยู่ภายในจิตไม่อาจถ่ายถอน ได้ และไมย่ อมรับฟงั เหตผุ ลทขี่ ัดแยง้ กบั ความเชื่อถือของตน เมือ่ กลา่ วโดยพสิ ดารแลว้ มี 62 ประเภท แต่มจิ ฉาทฏิ ฐิทรี่ นุ แรงทเ่ี รยี กว่า นิยตมจิ ฉาทฏิ ฐิ คอื ความเห็นผิดชนิดไม่ยอมเปลย่ี นแปลงนัน้ มเี พยี ง 2 ชดุ เท่านั้น แต่ก็เป็นปจั จัยของกนั และกนั คือ 1. ความเห็นผิดในเรอ่ื งกรรม วบิ ากของกรรม แบง่ ออกเป็น 3 คือ 1.1 อกริ ยิ ทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่เปน็ อันทำ คือการทำไมม่ ีไมว่ ่าจะเปน็ ฝา่ ยกศุ ล อกุศลก็ตาม ท่านปรู ณกัสสปะ เปน็ เจา้ ของความคิดนี้ ทา่ นอธบิ ายวา่ \"วิญญาณอยู่ นิ่ง ๆ ไมม่ สี ว่ นรับรใู้ นการกระทำของกาย ดังนี้ การฆ่า การลกั ขโมย การช่วย เหลอื กันจงึ ไมม่ ี บาปบญุ ไมม่ ี การทำดีทำชว่ั ก็ไมม่ ี

1.2 อเหตุกทิฏฐิ ความเหน็ ว่าผลท้ังหลายไม่มเี หตไุ มม่ ีปจั จัย คนเราจะไดด้ ีหรือ ชวั่ ก็ได้เอง ไม่เกดิ จากเหตุปัจจัยอะไรแมค้ วามบริสุทธ์กิ เ็ กดิ ข้นึ ไดเ้ องลอย ๆ ไม่องิ อาศัยเหตุอย่างใดอยา่ งหน่ึง คำสอนน้เี ป็นของทา่ น มกั ขลโิ คสาล ท่านถือว่าผลทุก อยา่ งทเ่ี กิดขน้ึ ในชวี ิตของตน เป็นเรือ่ งของความบังเอญิ โชควาสนา 1.3 นตั ถกิ ทิฏฐิ ความเห็นวา่ ไมม่ ี คอื ปฏเิ สธแบบรวบยอดหมดทั้งเหตแุ ละผล เปน็ ความเหน็ ของ ท่านอชิตเกสกัมพล ท่านบอกวา่ ทำบุญทำบาปกไ็ มไ่ ดบ้ ญุ ได้บาป การบชู าไม่มผี ล โลกหนา้ ไม่มี 2. ความเห็นผิดในเร่ืองของสังสารวฏั แบง่ ออกเปน็ 2 คือ 2.1 สัสสตทฏิ ฐิ เป็นความเห็นของ ทา่ นปกุธกจั จายนะ ท่านสอนวา่ ทุกสิ่ง เป็นของเทยี่ งแท้แน่นอนตลอดไปไมม่ ีการเปลีย่ นแปลง เช่นน้ำอาจจะรอ้ นในบาง คราว อาจจะเป็นนำ้ แข็งในบางโอกาส แต่จะกลับมาเป็นนำ้ ธรรมดาต่อไป จะ เปลี่ยนแปลงไปเปน็ อยา่ งอ่ืนไม่ได้ คนสตั ว์เกดิ มาอย่างไรตายไปแล้วกจ็ ะเกิดเปน็ อย่างนั้นอีก ไม่มกี ารจตุ แิ ปรผันแต่ประการใด 2.2 อุจเฉททฏิ ฐิ เปน็ ความเห็นของ ท่านอชติ เกสกัมพล เชน่ เดยี วกนั คอื เห็น วา่ ขาดสูญ มนษุ ย์ สตั ว์ เกดิ ขึ้นจากธาตปุ ระชุมกัน เมอ่ื ธาตแุ ยกออกจากกนั แลว้ ก็ ขาดสูญ ไม่มีการเกดิ อกี ชีวิตจึงจบสนิ้ ท่ีเชิงตะกอน โลกน้ไี มม่ ีอะไร สตั วไ์ มมี คนก็ไม่ มี พ่อแม่ บาปบุญ โลกน้ีโลกหน้า คุณมารดาบดิ าเปน็ ต้น ก็ไมม่ ีทั้งนั้น ความเหน็ เหลา่ นถ้ี ือวา่ เปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐิอย่างรนุ แรงมาก ความเหน็ 3 ประการแรก ทำใหค้ นหยุด ขวนขวายในการสรา้ งความดี ที่จะชว่ ยใหก้ ารพฒั นาตนให้สูงข้ึน ขาดความรบั ผดิ ชอบในการกระทำ เพราะไม่ยอมรับวา่ มกี ารกระทำอยา่ งพวกอเหตุทฏิ ฐิ ก็จะรอคอยความบงั เอญิ โชค วาสนา ปล่อยเวลา แห่งชีวิตให้ผ่านไป โดยไม่เกดิ ประโยชน์อะไร ทีร่ ้ายหนกั เข้าไปกวา่ น้นั คอื เขาพร้อมทจ่ี ะทำอะไรกไ็ ด้ เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของตน โดยไม่สนใจศีลธรรม กรรม ผลกรรม และความทุกขใ์ นอบาย เพราะเขาปฏิเสธไม่ยอมรบั หมด ลองคดิ เถิดว่าหากคนในโลกคิดกนั อย่างนีม้ าก ๆ แล้ว ผลจะเกดิ ข้ึน อยา่ งไรบา้ ง พวกอุจเฉททิฏฐิ ก็ทำนองเดียวกันกบั 3 พวกแรก เพราะไมใ่ ส่ใจเรอ่ื งอะไรท่ีเป็นกฎแห่ง กรรม สงั สารวฏั เขาเห็นวา่ อะไรเปน็ ความสนุกสบายในชีวติ ของตน เขากพ็ ร้อมท่ีจะกระทำส่ิงนนั้ โดย ไม่จำเป็นจะตอ้ งรบั ผดิ ตอ่ กรรม ผลกรรมและกฎแหง่ สังสารวฏั มิจฉาทิฏฐิเหล่าน้จี งึ หา้ มสวรรค์ หา้ ม นิพพาน ตราบใดท่เี ขายงั ละมิจฉาทิฏฐเิ หล่าน้ีไม่ได้ จะกลายเป็นหลักตอแห่งวัฏฏะ คือจะต้องเสือ่ มไป โดยส่วนเดียว ตามปกติแล้ว พระพทุ ธเจา้ จะไม่ทรงตำหนิความคิดเห็นของคนอื่น แต่สำหรบั มจิ ฉาทิฏฐิเหล่าน้ี ทรงตำหนแิ ละทรงแสดงวา่ มีโทษมากกวา่ อนนั ตริยกรรมดังกลา่ ว แต่ท่วี า่ นีห้ มายเอาทิฏฐิ 3 ขอ้ แรก เพราะอีก 2 ขอ้ หลงั น้นั ยังแยกออกเป็นอยา่ งละ 2 คอื i. สัสสตทิฏฐิ ความเห็นวา่ เที่ยงนั้น แยกออกเปน็ 2 คอื ก) เกดิ เปน็ อยา่ งไรก็เป็นอยา่ งนนั้ ตลอดไป ข) มีการจตุ ิแปรผันได้ ii. อุจเฉททิฏฐิ ความเหน็ วา่ ขาดสูญนั้น แบ่งออกเป็น 2 เหมือนกัน คือ

ก) สญู หมด ข) สูญบางส่ิง บางสิ่งมไิ ดส้ ูญ ความเหน็ นัยท่ีสอบของแตล่ ะข้อมโี อกาสพฒั นาสติปญั ญา บารมแี ละภูมธิ รรมไปได้ ไม่ถงึ กับห้าม สวรรคแ์ ต่ยังคงห้ามนิพพานอยูน่ น่ั เอง ขอ้ ท่ตี ้องการจะตรวจสอบว่าตนเองอยูใ่ นทฏิ ฐิประเภทใด อนั ทจ่ี ริงไมใ่ ชเ่ ร่อื งยาก หากทำความ เข้าใจทฏิ ฐิทั้งหมดท่กี ล่าวมา แล้วลองตรวจสอบดูวา่ ความคิดของตนเองโนม้ เอยี งไปในทางใด กพ็ ึง กลบั ตวั กลับใจของตน ให้มีศรัทธา 4 ประการไว้ภายในจิต คอื a. กมมฺ สทฺธา เชอ่ื ความมีอยู่ของกรรม คอื เจตนาที่บุคคลกระทำลงไปทางกาย วาจา ใจ b. วปิ ากสทธฺ า เชื่อความมอี ยูแ่ ห่งผลกรรม เชน่ กินขา้ วเป็นกรรม อิม่ เป็นวบิ าก c. กมฺมสฺสกตาสทฺธา เชอื่ ความมีสัตวเ์ ปน็ ผมู้ กี รรมเป็นของ ๆ ตน จะต้องเป็นผรู้ บั ผล ของกรรม มีกรรมเป็นกำเนดิ มีกรรมเปน็ เผ่าพันธุ์ มีกรรมเปน็ ที่พงึ่ อาศยั ใครทำ กรรมอนั ใดไวด้ หี รือช่ัวกต็ าม เขาจะตอ้ งเป็นผูร้ ับผลของกรรมนั้นเหมือนเรากินข้าว แลว้ อ่มิ ความอมิ่ นนั้ เราเป็นคนอม่ิ เอง คนอืน่ จะมาอม่ิ แทนไม่ได้ d. ตถาคตโพธิสทฺธา เชอ่ื ในพระปญั ญาเครือ่ งตรสั รขู้ องพระพุทธเจ้า ซึ่งมเี รื่องเปน็ อนั มากทีเ่ ป็นผลแห่งการปฏบิ ัตโิ ดยตรง เหมอื นกับการจะรูร้ สเปรี้ยว หวาน มัน เคม็ ดว้ ยการชิม ด่ืมกนิ แตเ่ มอื่ โอกาสเช่นน้นั ยงั ไมม่ ี ก็ใหเ้ ชอ่ื ไปตามที่ท่านผ้ไู ด้ดมื่ ชมิ มาแล้วบอก ปญั หาบางอย่างในพระพทุ ธศาสนามีลักษณะอย่างนนั้ แต่ถ้าคนเชอื่ ว่า พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ดี ตรัสรู้ชอบด้วยพระองคเ์ อง เรื่องนน้ั ๆ พระองคท์ รงสอนไว้ กเ็ ช่ือไปตามน้ันกอ่ น จนกวา่ จะมโี อกาสพิสจู น์ดว้ ยตนเอง การทำใหไ้ ดเ้ ชน่ นี้ถือว่า เปน็ ความปลอดภัยเป็นอยา่ งมาก สำหรับคนที่จิตยงั แกวง่ ด้วยความลังเล สงสยั ขาด ความมนั่ ใจ ในเร่ืองตา่ ง ๆ ท่ีท่านแสดงไว้ 38. กรรมทีส่ าม ไม่ขาวไม่ดำคือกรรมอะไร ถ้าจะพดู ถึงชนดิ แห่งกรรมเรยี กกรรมที่ 3 ได้ แต่ตามลำดบั ท่ีทรงแสดงไว้นัน้ เปน็ ลำดับท่ี 4 เพ่อื ให้ เกิดความเข้าใจตลอด จงึ ขอนำมาลงไวท้ งั้ 4 ประเภท คอื 1. กรรมดำ ใหผ้ ลดำ หมายถงึ กรรมทม่ี กี ารเบยี ดเบียนตนและคนอื่น ด้วยการประพฤติ อกศุ ลกรรมตา่ ง ๆ เขายอ่ มได้รับความเดือดรอ้ นเพราะกรรมนนั้ ท้ังในโลกนีแ้ ละโลก หน้า 2. กรรมขาว ให้ผลขาว หมายเอากรรมทีเ่ ปน็ สุจรติทางกาย วาจา ใจ ที่บุคคลกระทำ ลงไป ยอ่ มอำนวยผลใหเ้ ขาได้รบั ความสขุ กายสบายใจ ท้ังในชีวติ ปจั จุบนั และในโลก หนา้ 3. กรรมท้ังดำทง้ั ขาว ใหผ้ ลทั้งดำทง้ั ขาว หมายถึงกรรมที่บคุ คลทำทง้ั ดแี ละชว่ั ปะปน

กนั ไป เม่อื ถึงคราวที่จะให้ผลกรรมนน้ั ๆ กจ็ ะให้ผลไปตามหน้าที่ของตนคอื สง่ ผลให้ เขาได้รับสขุ บา้ งทุกข์บ้าง ตามสมควรแก่กรรม เหมอื นนกั เรียนเรียนหนงั สอื เข้าใจ บา้ ง ไมเ่ ข้าใจบา้ ง เวลาสอบเขาก็ตอบไดบ้ ้างไมบ่ ้าง เวลาสอบเขากต็ อบไดบ้ ้างไมไ่ ด้ บา้ ง ตามสมควรแก่ความเข้าใจและไม่เขา้ ใจของเขา 4. กรรมไมด่ ำไม่ขาว ให้ผลไมไ่ ด้ไมข่ าว คือเจตนาท่ีจะละกรรมท้ัง 3 ประเภทขา้ งต้น เปน็ เจตนาทกี่ ระทำเพ่ือใหส้ ้ินกรรม ได้แกก่ รรมของพระอรหันต์ เหตนุ นั้ พระอรหนั ต์ กระทำอะไรกต็ าม ทา่ นไม่เรยี กวา่ กรรม แตเ่ รยี กว่า กริ ิยา จงึ ไม่มีวิบากทที่ ่าน จะตอ้ งรบั เพราะท่านเป็น ปุญฺญปาปปหโี น มบี ุญลาปอันละได้เด็ดขาดแล้ว 39. คณุ ธรรมขอ้ ใด ทท่ี ำให้เรารู้สึกมน่ั ใจตัวเอง? คุณธรรมท่จี ะสรา้ งความม่นั ใจให้เกดิ ข้นึ มีความกลา้ หาญ เชอ่ื มัน่ ในตนเองสูง ไมห่ ว่ันไหวตอ่ สงิ่ และบุคคลตา่ ง ๆ น้ันมี 5 ประการ คือ 1. สัทธา เชอ่ื ในส่งิ บคุ คลท่ีควรเช่อื มเี หตุผลในการยอมรบั เชือ่ ถอื ในเร่อื งนั้น ๆ 2. สีล พฤติกรรมทางกาย วาจา เป็นปกติ ไม่มคี วามบกพร่องท่ีควรตำหนิ คอื ไมท่ ำตน เป็นคนมีเวรภยั กบั ใคร ๆ 3. พหสุ ัจจะ มกี ารศกึ ษาการสดับการฟังมาก ได้แกม่ ปี ระสบการณ์ทางประสาทสัมผสั จำเร่อื งต่าง ๆ ไดม้ าก ท่องหลักการตา่ ง ๆ ได้ ใช้ปญั ญาพจิ ารณาในเรอื่ งนั้น จนเกดิ ความรู้ความเข้าใจในเรอ่ื งนนั้ ๆ ได้มากพอ 4. วิริยารัมภะ ปรารภความเพียร คือมคี วามเพียรในการทำงาน ในการละชว่ั ทำความ ดไี ม่ปลอ่ ยใหเ้ กิดความบกพร่องในงานทต่ี นรักผิดชอบอยู่ งานใดทีต่ งั้ ใจว่าจะทำ และ งานจรเกิดขนึ้ ให้ทำงานน้นั ๆ อยา่ งจรงิ ๆ 5. ปัญญา มคี วามรอบรู้ในสิง่ ต่าง ๆ ท่ีตนควรรู้ ทงั้ ในดา้ นดี ดา้ นเสีย พร้อมกับรู้อบุ าย วธิ ที จี่ ะหลกี หนที างเสื่อมมาดำเนินในทางเจริญ คุณธรรมทั้ง 5 ประการนม้ี อี ยใู่ นบุคคลใด ความมนั่ ใจ ความกล้าหาญ กจ็ ะบังเกดิ ขน้ึ แกบ่ คุ คลน้ัน ตามสมควรแก่เหตคุ ือธรรมทตี่ นมอี ยู่ 40. คณุ ธรรมขอ้ ใด ทีค่ วรปฏิบัติเพือ่ ให้เกดิ ปัญญา ปฏภิ าณ และความเฉลียวฉลาด คณุ ธรรมทจี่ ะให้เกิดผลเช่นน้ันมีมาก แต่อาจสรุปกล่าวในทีน่ บี่ างประการ คอื \"อยู่ในสำนกั ของครู อาจารย์ที่เป็นบัณฑิต เพื่อนฝูงท่ีคบหาดว้ ยกันเปน็ กัลยาณมิตร มีความพอใจและความเพยี รพยายามท่ี จะพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ เปน็ พหุสูตคือมีการสดับตรับฟังมาก ตามท่ีกล่าวในขอ้ พาหุสัจจะ มคี วาม สนใจร้จู ักสงั เกต พิจารณา สอบถามท่านผู้รู้ มีความรอบรใู้ นภาษาตา่ ง ๆ ทงั้ ของตนและของชาตอิ น่ื พรอ้ มด้วยความเขา้ ใจภาษานั้น ๆ โดยอักษรและความหมาย ทข่ี าดไม่ไดค้ ือ

\"การฝึกใชป้ ัญญา ไหวพริบ ปฏิภาณ และความเฉลียวฉลาดอยู่เสมอ ๆ\" อย่าลืมว่า ถ้าจะทำอะไรก็ตามตอ้ งกระทำส่ิงนนั้ บอ่ ย ๆ จนเกดิ ความชำนิชำนาญ ถงึ จุดหนึง่ จะ สามารถใชส้ ่งิ น้นั ๆ ไดโ้ ดยอตั โนมัตเิ อง แต่ไมค่ วรเล็งผลเลศิ ว่า เราจะตอ้ งมีความรอบรปู้ ฏิภาณ และ ความเฉลียวฉลาดไปเสยี ทกุ อยา่ ง ต้องยดึ หลกั ทว่ี า่ \"รู้ทกุ ส่ิงในบางสิ่ง รู้บางส่งิ ในทกุ ๆ ส่งิ \" 41. อสั มิมานะ คอื อะไร? เกดิ ข้ึนจากอะไร ทำอย่างไรจงึ จะสามารถละหรือบรรเทาลงได้? อัสมมิ านะ คอื ความสำคัญวา่ เราเปน็ อย่างน้ันอยา่ งนี้ ทางเกิดน้ันเกดิ จากมีเช้อื ภายในจติ อยกู่ ่อน คือตดิ มาในภพชาติต่าง ๆ ต่อมาได้ปจั จัยภายนอกในลักษณะตา่ ง ๆ อสั มมิ านะจึงเจริญข้ึน ให้สังเกต ว่า มานะมกั จะมากข้นึ ตามอายุ ตำแหนง่ การงานเป็นตน้ เสมอ เหตุเกดิ ในปจั จุบนั เชน่ 1. เกิดเพราะรปู เสียง กล่ิน รส โผฏฐพั พะ และ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ 2. เกดิ เพราะโลกธรรม 8 คือ เสอ่ื มลาภ ได้ลาภ ไดย้ ศ เสื่อมยศ สรรเสรญิ นนิ ทา สขุ ทกุ ข์ 3. เกิดเพราะชาตติ ระกลู วงศ์ บุตรธิดาของตระกูล รูปร่าง ทรพั ย์ ฐานะทางสงั คม หน้าท่ีกางงาน ศิลปศาสตร์ วิทยฐานะ การศกึ ษา ปฏภิ าณ และวตั ถุอย่างใดอย่าง หน่ึง มานะนเ้ี มอื่ เกิดข้นึ แล้ว แสดงอาการออกมาในรูปของความเปน็ คนมีจติ ใจใฝ่สงู ยกตนเชน่ ทา่ น ดู หมน่ิ คนอ่ืน ตีเสมอ เช่นถือว่าตนมรี ูปสวยกว่าเขา จดั เปน็ อติมานะ คือดหู มน่ิ เขาหรือถอื วา่ รูปตวั ขี้เหร่ กวา่ เขา จัดเปน็ อวมานะ คอื ดูหม่ินตน การจะบรรเทาให้เบาบางลงนัน้ บุคคลตอ้ งอาศัยปัญญาเปน็ เครอ่ื งพิจารณาว่า ชาติตระกลู รูปรา่ ง เป็นต้นนัน้ ไมใ่ ชข่ ้อยุตวิ ่าเราจะเปน็ คนดหี รือคนเลว แต่คนเราจะดหี รอื เลวก็เพราะการกระทำ มองให้เห็นว่า เหตุให้เกดิ มานะทุกข้อท่ีกล่าวแลว้ นนั้ เปน็ เพียงสมมตบิ ญั ญตั กิ นั ทั้งน้ัน โดยความ เป็นจรงิ แล้ว เปน็ ของไม่เท่ียง เปน็ ทกุ ข์ มคี วามแปรปรวนไปเปน็ ธรรมดา หรือทำจติ ใหย้ อมรบั ความ จริงท่ที า่ นกล่าวไวเ้ ปน็ คำกลอนว่า อนั ยศศักดิ์ ชอื่ เสยี ง เพียงความฝัน ฝ่ายรปู โฉม โนมพรรณ ฉนั บปุ ผา อนั ชีวติ เปรยี บหมาย เหมอื นสายฟา้ อนิจจา ไมไ่ ดม้ ี จีรงั กาล

อน่ึง ไมค่ วรลืมว่ามานะระดบั หน่งึ นัน้ จำเปน็ ตอ้ งมี คือความสำนึกว่าเราเป็นใคร มหี นา้ ท่ีความ รับผดิ ชอบอย่างไรแลว้ พยายามทำตนให้เหมาะสมแก่ฐานะ ความรับผดิ ชอบของตนสว่ นมากทา่ นใช้ ชอื่ ใหมว่ า่ สญั ญา คือความสำนกึ เชน่ สมณสัญญา สำนกึ ว่าว่าเราเป็นสมณะ ข้าราชการ สัญญา ความสำนกึ วา่ เราเปน็ ข้าราชการ นักศึกษาสัญญา ความสำนึกวา่ ตนเปน็ นักศกึ า เปน็ ตน้ เมอ่ื สำนกึ ว่าตนเป็นอะไร มหี น้าที่ความรับผดิ ชอบอย่างไร แลว้ ทำหนา้ ที่ของตนให้ถูกตอ้ ง สมบูรณ์ โดยไม่จำเปน็ จะต้องไปดูหมนิ่ ใคร ตเี สมอใครหรอื ดหู มนิ่ ตนอย่างคนบางพวกท่ีมากไปดว้ ยอว มานะ คอื ดหู ม่นิ ตนเอง เกิดเร่ืองอะไรขนึ้ ก็ภาวนาวา่ \"ไมร่ ู้ ไม่เหน็ ไม่ได้ ไมเ่ ปน็ ไม่เขา้ ใจ\" เรื่องของมานะในขั้นบรรเทา จงึ ควรบรรเทาใหอ้ ยใู่ นระดบั ท่ีใช้งานไดด้ ังกล่าว เหมือนการลดกรด ลงเป็นดา่ งเพือ่ ใชใ้ นกจิ กรรมต่าง ๆ ฉะน้นั ส่วนการละมานะไดเ้ ด็ดขาดนนั้ มานะเปน็ สงั โยชนข์ ้ัน ละเอียด อรหัตตมรรคเทา่ นัน้ จงึ จะตดั มานะไดข้ าด 42. มารคืออะไร? มีกี่อยา่ ง อะไรบ้าง? มาร แปลวา่ ผู้ลา้ งผลาญ ทำลาย หรอื เปน็ อุปสรรคในการทำความดี จนถึงทำใหเ้ สียคนและตาย ไปในท่สี ุด ทา่ นแบง่ ออกเป็น 5 ประเภทคือ 1. ขนั ธมาร มารคอื เบญจขันธ์ ได้แก่ขันธ์ 5 ทไี่ มป่ กติ เช่น เจบ็ ปว่ ยอยู่เสมอ เปน็ ตน้ 2. กิเลสมาร มารคือกเิ ลส อันเกดิ ขนึ้ แล้วทำจิตใหเ้ ศรา้ หมอง เรา่ ร้อน ขาดความสงบ เพราะถกู เพลงิ ราคะ โทสะ โมหะแผดเผา ให้เรา่ ร้อนกระวนกระวาย 3. อภิสงั ขารมาร มารคือบาปกรรมทตี่ นได้กระทำไวอ้ ำนวยผลให้เกิดเปน็ ความทุกขใ์ น ลักษณะตา่ ง ๆ แต่ในชน้ั ท่สี ูงขึ้นไปคอื สำหรับทา่ นผูต้ ้องการบรรลุมรรคผลนิพพาน บุญ และอรูปฌาน ก็เป็นมารสำหรับท่าน เพราะถ้าท่านยงั หลงพอใจในบญุ และอรูป ฌานอยู่ ทา่ นก็บรรลนุ พิ พานไมไ่ ด้ เหมือนคนขา้ มฟากท่ียงั รักเสียดายเรืออยู่ ก็ขึ้นฝัง่ ไมไ่ ดฉ้ ะนน้ั 4. มัจจุราชมาร มารคือความตาย ที่ทำลายชวี ติ ของคนใหแ้ ตกดับไป โดยเฉพาะอย่าง ยงิ่ คนท่ีกำลังทำความดอี ยู่ หรอื กำลงั จะได้ดี เช่น ดาบสท้งั สองท่เี ป็นอาจารย์ของ พระโพธิสตั ว์ ซ่งึ ตายไปกอ่ นการตัดสินพระทยั แสดงธรรมของพระพุทธเจา้ เพยี ง 7 วนั อกี ทา่ นหน่งึ เพียงวันเดยี วหากท่านไม่ถกู ความตายมาตดั ชวี ิตเสียก่อน กจ็ ะไดฟ้ งั ธรรมและบรรลุมรรคผลได้ 5. เทวปุตตมาร มารคอื เทวดาที่เปน็ พาล ชอบล้างผลาญขดั ขวางการทำความดขี องคน อื่น เชน่ มารทตี่ ามผจญพระพทุ ธเจ้า กอ่ นตรัสรู้ และคอยรบกวนหลงั จากตรสั ร้แู ล้ว รวมถึงทา่ นผู้ใหญท่ ข่ี าดพรหมวิหารมีอคตแิ ละรษิ ยาในผนู้ อ้ ย จดั เป็นมารทีค่ อย ขัดขวางทำลายความดขี องคน

43. พระพุทธองค์เคยทรงปรารภ เรอ่ื งความเคารพเมื่อพระองค์ตรัสร้แู ลว้ ว่า มองหาผู้ทีจ่ ะเคารพนบั ถือไม่ได้ จึงทรงปริวติ กว่าจะเป็นโทษหรือไมด่ ี ถา้ ขาดความเคารพ ในที่สุดไดย้ ดึ พระธรรมเป็นท่ีเคารพ ขนาดพระพทุ ธองคย์ ังต้องหาท่เี คารพ จึงอยากกราบเรยี นถามว่า การมีบุคคลหรอื หลักที่เคารพน้นั จำเปน็ นักหรือ เพราะทกุ วันน้ีเราเปน็ ประชาธปิ ไตย ทุกคนเท่าเทียมกัน ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งเคารพกนั เอาอยา่ งน้ันเชียวหรือ? นขี่ นาดประชาธิปไตยครึ่งใบนะ ยังมคี นคดิ อย่างน้ี หากเปน็ ประชาธิปไตยเต็มใบเข้าคงฟ้งุ ซ่านกันไมเ่ บาทเี ดยี ว แตเ่ อาเถอะอยา่ งไร ๆ ก็แสดงวา่ คนถามมีความรอบรูม้ ากพอควร โดยเฉพาะในเรอื่ งพุทธประวตั ิ แตก่ ับประชาธิปไตยที่อ้างมา กลบั เข้าใจผิดอยา่ งน่าเห็นใจ ได้โปรดเขา้ ใจว่า ไมว่าจะเป็นการปกครอง ระบบใดก็ตาม จำต้องมหี ลักการ บุคคล สถาบนั อันเปน็ ที่เคารพ ย่ิงระบบประชาธิปไตยทสี่ มบูรณแ์ บบ ดว้ ยแลว้ คนในประเทศนนั้ จะตอ้ งเคารพจงึ จำเป็นในทกุ ระบบการปกครอง และทกุ ศาสนา ความ เคารพคือคำท่ีมาจากรากศพั ท์เดยี วกบั คารวะ คุรุ ครู ไทยเราแปลวา่ ความนับถอื เช่น ความนบั ถือพ่อ แม่ เกดิ มาจากเรายอมรบั ว่าท่านเป็นพอ่ แม่ จงึ เกดิ ความนับถอื ท่าน เมอื่ นับถือทา่ นช่วยให้เราเชอ่ื ฟัง และทำตามท่าน ผลคอื ความสุขความเจริญเกิดขนึ้ แกต่ นเอง ในทำนองตรงกันข้ามหากคนเราอยู่กบั อย่างขาดความเคารพแลว้ จะหาความสงบสขุ ไม่ไดเ้ ลย ไม่ต้องอะไรมากหรอกเอาขนาดคนเดนิ ถนนขบั รถ ไม่เคารพในกฎจราจรกว็ ุ่นวาย จนแก้กันไม่ตกแล้ว ปัญหาท่ีจะตอ้ งพิจารณาในปัจจุบนั น่ีคือ จะแก้อยา่ งไร ไมใ่ หค้ นเหอ่ ประชาธปิ ไตยคร่ึงใบอย่างผดิ ๆ ตามที่ถามมา ใหก้ ลับมามคี วามเคารพ ไปตามลำดับดังนี้ คือ 1. นบั ถือตนเองในฐานเป็นมนษุ ย์ บตุ รของตระกลู นักเรียน นกั ศกึ ษาทดี่ ี 2. เคารพกฎหมาย จารีต ประเพณี ศาสนา วฒั นธรรม เอกลักษณ์ไทย ซงึ่ บรรพชนท่าน ไดส้ ร้างไว้รวมถงึ เคารพในสทิ ธิ เสรภี าพ หนา้ ท่ี ทั้งของตนเองและคนอื่น 3. เคารพในพระรัตนตรัย ไตรสิกขา ความไม่ประมาทและการต้อนรบั ปราศรัย 44. \"ดิฉันสนใจจะทราบบทพระพุทธคณุ พระธรรมคุณ และพระสังฆคณุ กับวชิ าครุศาสตร\"์ คำถามถามมาไม่ค่อยชดั วา่ ตอ้ งการจะทราบในแงใ่ ด แตท่ ำใหเ้ ข้าใจว่าพระพทุ ธคุณหรือคุณของ พระรตั นตรัย มคี วามเกี่ยวขอ้ งและตรงกับหลักวิชาครุศาสตร์อยา่ งไรบา้ ง? วิชาครศุ าสตรน์ ัน้ อาจแปล ไดว้ ่า ศาสตร์ของครุ หรอื ศาสตร์ท่ีสรา้ งคนใหเ้ ปน็ ครู เปน็ ผทู้ ี ควรแกก่ ารเคารพสักการะ ถงึ แมว้ ่า เน้ือหาวิชาจะกระจายออกไป แตเ่ ป้าหมายของครุศาสตร์มีความหมายดงั กล่าว เมอื่ เปน็ เชน่ นเี้ ราจะ พบวา่ คณุ ของพระรตั นตรัยมีความเก่ียวขอ้ งกบั วิชาครุศาสตร์ อย่างมากทีเดียวคอื พระพทุ ธคณุ พระพุทธเจ้าน้นั ทรงเป็นพระบรมครูของโลก พระคณุ ของพระองคจ์ ึงเป็นคณุ ท่ผี ู้ เป็นครจู ะตอ้ งเขา้ ใจถึงระดบั หนึง่ ซ่ึงอาจแบ่งพระคณุ ของพระองค์ออกเปน็ 3 ประเภท ดงั น้คี ือ

1. พระปญั ญาคณุ คอื การที่พระพทุ ธองคท์ รงรอบรสู้ รรพสิง่ ตามความเปน็ จรงิ ไดแ้ ก่ ทรงรู้วา่ อะไรเปน็ อะไร เกิดข้ึนและดับไปอย่างไร พร้อมดว้ ยกรรมวธิ ที ี่จะนำไปสกู่ าร ดบั ของส่งิ น้ัน ๆ ตามควรแก่กรณี ผู้ศกึ ษาวชิ าครุศาสตร์ จำเปน็ จะตอ้ งศึกษาหา ความร้คู วามเข้าใจในสาขาวิชาและเน้อื หาแหง่ วชิ าที่ตนต้องเรยี นต้องสอนมาก พอทจี่ ะอธบิ ายใหค้ นอืน่ เข้าใจได้ตามทีต่ นตอ้ งการจะใหเ้ ข้าใจ ซงึ่ เม่ือทำได้เชน่ น้ีช่อื ว่า ได้เขา้ ถึงปญั ญาคุณระดับหนงึ่ 2. พระปริสุทธิคณุ ได้แก่การทพ่ี ระพุทธเจ้ามีพระทัยบรสิ ุทธ์ิ ปราศจากกิเลสอาสวะ ด้วยประการท้งั ปวง ไม่ว่าจะทรงประสบกบั อารมณข์ องโลกเช่นไร ก็ไมท่ รงหวั่นไหว พระคุณขอ้ นีผ้ ู้เรยี นวชิ าครศุ าสตรอ์ าจสัมผัสไดใ้ นระดบั ท่มี ีความบรสิ ุทธ์ิใจตอ่ ตนเอง นกั เรียน นักศึกษา ผบู้ ังคบั บัญชาไม่เหน็ แกต่ ัว หรือมุง่ ความเจริญกา้ วหน้าสว่ นตน แทนท่จี ะหวงั ผลอันเปน็ ความเจริญกา้ วหนา้ ของนกั เรยี น นักศึกษา เป็นต้น 3. พระมหากรณุ าธคิ ุณ คอื การท่พี ระพุทธเจ้าทรงมีพระมหากรุณา แสดงธรรมท่ี พระองคไ์ ดต้ รสั รูเ้ พ่ือประโยชน์ เพอื่ เก้อื กูล เพือ่ ความสุขแกโ่ ลก ซง่ึ เปน็ คุณท่ีผทู้ ำ หน้าทค่ี รจู ะขาดเสยี ไม่ได้ ผู้ศึกษาครศุ าสตร์หากต้องการจะดำเนินตามพระคณุ บทนี้ อาจทำได้ดว้ ยการสวมใสว่ ญิ ญาณครลู งในจิต ทำงานเพอื่ ประโยชน์ เพอ่ื เก้ือกูล เพือ่ ความสุขแก่ศษิ ย์ของตนเป็นทต่ี งั้ หากว่าผู้ศึกษาครุศาสตร์ ได้สมั ผัสพระคุณของพระพุทธเจา้ ในระดบั ทเี่ หมาะสมแก่ฐานะของตน แลว้ จะสามารถแก้ปญั หา การว่งิ เตน้ เพ่ือความก้าวหน้า ความสะดวกสบายของตน ตลอดถงึ การใช้ เวลาทต่ี นควรมอบให้แก่นักเรียนนกั ศกึ ษาไปเพือ่ การสอบเลอื่ นวิทยฐานะ การสอนพเิ ศษในทตี่ ่าง ๆ ลงได้มากทเี ดียว เพราะว่าครเู หล่านนั้ จะทำงานของตน \"ด้วยวิญญาณของครอู ันกอปรดว้ ยความ กรณุ า บริสุทธิ์ใจ และปัญญา มีเหตุผลในการทำงาน\" พระธรรมคุณเกี่ยวข้องกบั วชิ าครุศาสตรอ์ ย่างไร? พระธรรมคุณ คอื ศาสตรอ์ นั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงแสดงไวด้ ีแล้ว มีความถกู ต้องสมบรู ณ์ที่สุด ซึง่ เปรยี บเหมือศาสตรใ์ นวิชาครศุ าสตร์ พระธรรมอนั วิญญูชนพึงรูเ้ ฉพาะตน จดุ เดน่ ในพระธรรมคณุ 3 ข้อน้ี เปน็ หนา้ ทอี่ นั ผศู้ กึ ษาวชิ าครุศาสตร์จะตอ้ งนำศาสตร์น้ัน ๆ มาสจู่ ิตของตน จนเกิดความรู้ความ เข้าใจอย่างแจม่ แจง้ ในสาขาวิชชาการนั้น ๆ อันจะนำไปส่คู วามเป็นผู้สามารถถ่ายทอดวิชาเหลา่ น้นั แก่ นกั เรยี นของตน เพราะนน่ั คือผลที่ผูศ้ ึกษาครศุ าสตรม์ ุ่งหวงั จะต้องทำใหไ้ ด้ ไมอ่ ยา่ งน้นั แลว้ จะเขา้ ทำนองทว่ี า่ ถงึ เปน็ ครู รูว้ ิชา ปญั ญามา ไม่รจู้ กั ใช้ปาก ให้จดั จา้ น เหมือนเตา่ ฟัง นั่งซ่อื อ้อื รำคาญ วชิ าชาญ มากเปล่า ไมเ่ ข้าที

พระสงั ฆคุณเก่ยี วข้องกบั วิชาครศุ าสตร์อย่างไร? สำหรับพระสังฆคณุ นั้น เป็นการสะท้อนออกมาซงึ่ พระธรรมอนั แสดงออกเชิงพฤตกิ รรมในทาง ปฏบิ ตั ขิ องบุคคล ซ่งึ อาจแบง่ ออกเปน็ คณุ สว่ นตวั ทา่ นเอง คือ ปฏิบัติดี ปฏบิ ตั ิตรง ปฏบิ ัตเิ ป็นธรรม ปฏิบตั ิสมควร และคุณทีเ่ กือ้ กลู แก่คนอ่ืน อันเปน็ ผลทีท่ ่านพึงได้รบั เพราะการปฏบิ ัติตนดังกลา่ ว จาก บคุ คลท่ีเห็นความดขี องทา่ นคอื \"เป็นผคู้ วรแกก่ ารบชู า การตอ้ นรับ การทำบุญ การไหว้ เป็นนาบญุ อัน ยอดเย่ยี มของชาวโลก ไมม่ เี นื้อนาบญุ อนื่ ยิ่งไปกวา่ \" ดงั นน้ั ผู้ศึกษาครุศาสตร์ ซ่ึงจะต้องเปน็ ผู้นำทางความรู้ ความประพฤติของนกั เรยี น นกั ศึกษา จึง จำเปน็ ตอ้ งปฏบิ ัติตนใหเ้ ป็นครูท่ีดี มีความซอ่ื ตรงต่อหน้าท่ี มีความเป็นธรรม วางตนเหมาะสมแก่ฐานะ กาล บุคคลนั้น ๆ เมอื่ ทำไดเ้ ช่นนี้ ครยู อ่ มได้ช่อื ว่าเปน็ ผูค้ วรแก่การคารวะเคารพนับถอื ของนกั เรยี น นกั ศึกษาท้ังหลาย และไดช้ อื่ ว่าเปน็ ปูชนยี บุคคล เป็นครุฐานยี บุคคลของศษิ ยอ์ ย่างแท้จริง ดงั นั้น ทา่ นจงึ สรุปคุณของพระสงฆ์ไว้วา่ \"พระสงฆ์คือหม่ชู นท่ศี ึกษาคำสง่ั สอนของพระพทุ ธเจ้า แล้วปฏิบัติตามคำส่ังสอนน้ัน และสอนบคุ คลอื่นให้ปฏบิ ัตติ ามด้วย\" ซึ่งอาจนยิ ามครอู อกมาในรูป เดยี วกันว่า \"ครูคอื ผู้ศกึ ษาในวิชาครุศาสตร์ และสามารถปฏิบตั ติ ามวิชาครุศาสตร์นั้นได้แล้ว นำวชิ าเหล่านั้น มาสอนให้นักเรยี นนกั ศกึ ษาให้ร้ตู ามดว้ ย\" อย่าลมื ว่า พระพทุ ธเจ้าน้ันทรงเปน็ บรมครู คือยอดแห่งครูในโลกน้ี พระธรรมคือคำสอนขององค์ บรมครู พระสงฆ์นน้ั นอกจากจะต้องศึกษาและปฏิบัติตามคำสอนของบรมครแู ลว้ ยงั ต้องทำหน้าท่เี ป็น ครูของชาวโลก ตามรอยบาทพระพุทธองค์ด้วย ครุศาสตรเ์ มือ่ เปรียบกับพระธรรมแล้ว เปน็ เพียงสว่ น เลก็ นอ้ ยแห่งพระธรรมนัน่ เอง ผู้ศึกษาวิชาครุศาสตร์ หากสามารถสัมผสั คณุ พระรัตนตรยั ได้ดังกล่าว ยอ่ มได้ชอื่ ว่าผู้บรรลุ เป้าหมายแหง่ ครศุ าสตรอ์ ย่างแทจ้ ริง 45. ผมอยากทราบว่า ตามคดิ เห็นของอาจารย์ ท่านอาจารยค์ ิดว่า พระพทุ ธศาสนาเหมาะแก่ประเทศ ไทย (ในสภาพปัจจุบัน) หรือไม่ ? อาจารย์อาจจะตอบวา่ เหมาะแตข่ อความกรรุ าตอบวา่ ไมเ่ หมาะ อย่างไร? ถามแปลกดีนี่ ไมท่ ราบว่าต้องการจะพูดเรอื่ งอะไรกนั แน่ เพราะพระพทุ ธศาสนานนั้ เปน็ สจั ธรรม ท่เี กดิ ข้ึนจากการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า เป็นการแสดงเรอ่ื งความจรงิ ของโลก ชวี ติ ธรรม ความเป็น จริงในระดบั ต่าง ๆ มที ้ังข้อทค่ี วรรู้ ควรละ เป้าหมายทค่ี วรก้าวไปและกรรมวิธีในการเขา้ ถึงเปา้ หมาย ในเรอ่ื งนัน้ ๆ จึงไม่เป็นเร่อื งทจ่ี ะต้องกลา่ ววา่ \"ในสภาพปัจจุบนั \" เพราะไมเ่ กีย่ วกับกาลเวลา แตเ่ ปน็ ความจรงิ อนั แท้จริงอยู่เช่นน้นั ไม่วา่ กาล สงั คม โลกจะเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งไรกต็ าม ยง่ิ ปญั หาของโลก และสังคมมคี วามซับซ้อนยิง่ ขนึ้ ความจำเป็นทจี่ ะต้องนำหลักธรรมอันเกดิ ข้ึนจากการตรสั รขู้ อง

พระพุทธเจ้าไปใชก้ ็มากย่ิงข้นึ เป็นเงาตามตวั เช่นในปัจจุบนั น้ี โลกกำลังประสบปัญหาทางสังคม การเมืองจิตวทิ ยา การทหาร การเศรษฐกจิ อาชญากรรมในรูปแบบต่าง ๆ เปน็ ตน้ ซงึ่ เรอ่ื งเหลา่ นีห้ าก ได้นำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปใช้ให้เหมาะแกก่ รณีนนั้ ๆ แลว้ ยอ่ มสามารถบรรเทา ขจัด ปญั หาเหล่านัน้ ไปไดโ้ ดยไมต่ ้องสงสยั อย่างในกรณขี องปญั หาอาชญากรรมทสี่ ร้างความอกสั่นขวญั แขวนใหแ้ ก่คนในสงั คมนน้ั ขอเพียงแต่บคุ คลในสงั คมไดน้ ำเอาหลักศีล 5 กับกัลยาณธรรม 5 เปน็ หลักในการดำรงชีวติ ปัญหาเหล่านั้นก็จะอันตรธานไปโดยอัตโนมัติ เปน็ ตน้ ข้อที่ขอให้ช้ปี ระเดน็ ท่ไี ม่เหมาะสมน้ัน ความเหมาะสมย่อมมีทอ่ี งค์ธรรม ซึง่ ทรงแสดงไวใ้ นกรณนี ั้น ๆ เรื่องของธรรมจึงตอ้ งมีความเหมาะสมตลอดไป แต่ทีเ่ กิดไม่เหมาะสมขนึ้ มานน้ั อาจมไี ด้ในกรณขี อง การใชธ้ รรมะไม่เป็น เชน่ เมตตาท่านสอนให้สรา้ งความรูส้ กึ รกั หวังดีแกค่ นทว่ั ไป แต่ใช้เกนิ ไปจน กลายเป็นอคติ คือ ลำเอียงเพราะรกั ใคร่กัน ชว่ ยเหลือกันในทางทีไ่ มถ่ ูกไม่ควร หรอื ไมเ่ ขาถงึ เมตตา แตเ่ ปน็ กามราคะ ทม่ี ุ่งการสนองตอบ เมอ่ื ไม่มกี ารสนองตอบกเ็ กดิ ความโกรธ การใชธ้ รรมะไมเ่ ป็นใน ลกั ษณะนี้จงึ ไมเ่ ปน็ ความบกพรอ่ งอะไรของธรรมะ แตเ่ ป็นความบกพร่องของคน เหมือนคนทีร่ ับยา จากหมอมาพร้อมด้วยรายละเอียดเวลา ขนาดท่จี ะใช้ยา แต่ไมไ่ ดใ้ ช้ยาตามนนั้ เกดิ อนั ตรายขึ้นมาไม่ เปน็ ทงั้ ความผดิ ของยาและหมอ แต่เป็นเร่ืองท่ีคนใชย้ าต้องรับผิดชอบด้วยตนเอง ไดโ้ ปรดเข้าใจว่า เรื่องธรรมะนัน้ ไมต่ ้องประยกุ ตใ์ ช้เพราะมคี วามถกู ตอ้ งสมบูรณ์จนไม่ต้อง ประยกุ ตแ์ ลว้ ขอเพียงมีปัญญาเป็นเครือ่ งพิจารณาแลว้ ใชธ้ รรมะใหเ้ หมาะสมแกก่ รณีนัน้ ๆ เท่านั้น จะต้องไมม่ าพดู ถงึ คำว่าเหมาะสมหรือไม่เหมาะสมอีกต่อไป 46. ครูทไี่ ม่มศี าสนาจะเปน็ ครูท่ดี ีได้หรือไม่ ถา้ มีความยดึ มั่นของตวั เองวา่ ถกู ตอ้ ง กอ่ นที่จะตดั สินว่าใครมีศาสนาหรอื ไม่ ควรทำความเขา้ ใจความหมายของคำวา่ ศาสนาเสียกอ่ น คำ ว่าศาสนา ทา่ นไดน้ ยิ ามความหมายไว้วา่ \"ศาสนาคอื ระบบความเช่ือในอำนาจท่ีมองเหน็ ไมไ่ ด้ดว้ ยตาบางอย่าง เช่น ธรรมะ เทพเจา้ ประกอบด้วยหลักศีลธรรมอันเน้นหนักให้คนทำความดีละเวน้ ความชัว่ เพือ่ บรรลเุ ปา้ หมายแห่งชีวิต เช่น สวรรค์ การไดอ้ ย่รู ว่ มกบั พระเจ้า นพิ พาน ศาสนาจงึ เป็นระบบการปกครองจิต ด้วยหลักศีลธรรม ทางศาสนา เพ่อื การบรรลเุ ปา้ หมายแต่ละศาสนา\" ดว้ ยการนิยามความหมายออกมาเชน่ นี้ เปน็ เคร่ืองชี้ใหเ้ หน็ ว่าทุกคนจะต้องมหี ลักของศาสนาใน การดำรงชีวติ ไม่อย่างใดกอ็ ยา่ งหน่งึ ถึงแมค้ นที่อ้างตนเองว่าไมน่ บั ถอื ศาสนาอะไร กต็ ้องมีหลักการ ปกครองตน ครองใจ ครองชวี ติ เพอ่ื เป้าหมายท่ีเขาต้องการ ไมอย่างใดก็อย่างหนงึ่ ส่วนความยดึ มน่ั ถอื มั่นน้นั ไม่วา่ ยดึ ม่ันถือม่ันในอะไรและโดยใครกต็ าม ไมเ่ กดิ ผลดแี ก่ใครทงั้ นั้น เพราะสิ่งทีค่ นเข้าไปยึดม่ันถอื มัน่ ทีจ่ ะไมม่ ีโทษน้ันไมม่ เี ลย สว่ นจะมีโทษน้อยหรอื มากก็ขน้ึ อยกู่ ับ ลกั ษณะของความยดึ มน่ั ถือมน่ั แตโ่ ปรดเข้าใจว่าความยึดมนั่ ถอื มั่นนัน้ ต้องเปน็ ความยึดมนั่ ดว้ ย อำนาจตณั หา มานะ ทิฏฐิเทา่ น้นั จงึ จะเปน็ โทษ ครูในคำถามนี้แสดงว่ายึดมนั่ ดว้ ยอำนาจทิฏฐิคือความ

คิดเห็นของตน ซง่ึ จะใหเ้ กดิ ผลดบี รบิ ูรณ์นัน้ เป็นไมไ่ ด้ ไดโ้ ปรดเขา้ ใจวา่ นอกจากทา่ นทต่ี รสั รู้แลว้ จะไม่มีใครรู้แจง้ เหน็ จรงิ ในสรรพสง่ิ ตามความเป็นจรงิ ทัง้ หมด การยอมรบั ฟงั ความเห็นของคนอน่ื การรู้จักประนปี ระนอมและเลือกเฟ้นส่งิ ต่าง ๆ แล้ว นำไปใช้ให้เหมาะสมแก่กรณนี นั้ ๆ เป็นความจำเป็นไม่วา่ จะเปน็ ครูหรอื เป็นใครกต็ าม การยดึ ม่ันถอื ม่ันในความคิดเหน็ ของตน นอกจากจะเป็นการปิดก้นั การเรียนรู้จากแหล่งต่าง ๆ แล้ว โอกาสท่จี ะเลอื กสิ่งทีด่ ีกว่า และดีท่ีสุดจากเรื่องนัน้ ๆ กต็ อ้ งพลอยหมดไปดว้ ย อย่าลืมวา่ ความเห็นของคนเรานัน้ บางครง้ั กด็ ี แต่ไม่ควรลมื วา่ มคี วามเห็นท่ดี ีกว่าและดีที่สดุ อยู่ด้วย การทำตน เป็นคนใจกว้างพรอ้ มทีจ่ ะรบั ฟังความคิดเห็นของคนอื่นเพอ่ื นำไปพิจารณาเปรียบเทยี บ เปน็ การเปดิ โอกาสใหไ้ ด้สิ่งที่ดี ดีกวา่ และดที ี่สุดงา่ ยข้นึ ไมว่ ่าเร่อื งอะไรกต็ าม ไมค่ วรยดึ มั่นถอื มั่นจนหลบั หหู ลบั ตา ไม่ยอมรบั ฟังและนบั ถือเหตผุ ลจากแหล่งอ่ืน ๆ เพราะการทำเชน่ น้นั คอื การปดิ ประตขู งั ตนเองไว้ในวง แคบ ๆ กลายเป็นหิ่งหอ้ ยภายในกระป๋องหรือกบในสระนอ้ ย ๆ อย่างคำโคลงท่วี า่ ร้นู ้อยมากรู้ เริงใจ กลกบเกดิ อยู่ใน สระจ้อย ไป่เห็นทะเลไกล กลางสมุทร คิดวา่ น้ำบ่อนอ้ ย มากล้ำลึกเหลือ 47. สิง่ ธรรมชาตทิ เ่ี กิดขน้ึ ท้งั ดินฟ้าอากาศเหล่าน้ี มนั เปน็ เรื่องของโลกหรือเรือ่ งของธรรม ใครเป็นคน แยกธรรมออกจากโลกว่า บคุ คลนนั้ เรียนทางโลก บคุ คลนเ้ี รยี นทางธรรม โลกกับธรรมต่างกนั ตรงไหน ขอความกรณุ าอธบิ ายด้วยครับ? เร่อื งโลกกับธรรมนั้น เม่ือว่ากนั โดยความหมายแลว้ มีความเกยี่ วข้องกัน คือธรรมบางอย่างก็เปน็ โลก แตโ่ ลกไมจ่ ำเปน็ จะต้องเป็นธรรมเสมอไป เมื่อจะแบ่งสรปุ จะพบว่าธรรมแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สงั ขตธรรม ธรรมท่ีเกดิ ขน้ึ จากเหตุปจั จยั ต่าง ๆ โลกกอ็ ย่ใู นกลมุ่ ธรรมนีด้ ้วย ธรรม กลมุ่ นี้จะมอี าการปรากฏให้เหน็ คอื เกดิ ขน้ึ แตกดับไป ในขณะที่ยังดำรงอยจู่ ะมีการ แปรปรวนเปลย่ี นแปลงอยูต่ ลอดเวลา 2. อสงั ขตธรรม คือธรรมที่ไมถ่ ูกปัจจยั ปรุงแตง่ ท่านเรยี กวา่ เป็น โลกุตระ คอื อยูเ่ หนอื โลก ไม่ปรากฏความเกดิ ความดับ และความแปรปรวนเปล่ยี นแปลง ไดแ้ กน่ ิพพาน ในพระพุทธศาสนา เมอ่ื โลกกับธรรมลว้ นเป็นสงั ขตธรรม คอื เกดิ จากปัจจยั ปรงุ แตง่ ด้วยกันแล้ว การแยกวา่ เรยี นทาง โลกทางธรรมน้ัน อันท่จี ริงเราแยกออกเด็ดขาดไม่ได้หรอก เพราะพระพทุ ธเจา้ ก็ทรงเปน็ โลกวทิ ู คือ

ทรงรู้แจ้งโลกด้วย การพดู วา่ ใครเรยี นอะไรจึงหมายเพยี งเน้ือหาวชิ านน้ั วิชานี้ ใหส้ งั เกตวา่ วชิ าการใน โลกนี้เม่ือแบง่ ออกเป็นกลุม่ แลว้ จะมีเพยี ง 3 กลุม่ เทา่ นัน้ คือ i. กลุ่มของธรรม เป็นเร่ืองของความดีและความชัว่ อันเปน็ ส่วนนามธรรมลว้ น ๆ ii. กลมุ่ ของธรรมชาติ ที่ออกมาในรูปของวทิ ยาศาสตรส์ าขาต่าง ๆ เป็นตน้ iii. กลมุ่ ของสงั คม หมายถงึ การเรยี นร้พู ัฒนาการดา้ นตา่ ง ๆ ของสังคม และวชิ าต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วกับสงั คม เช่น ประวัติศาสตร์ รฐั ศาสตร์ นติ ศิ าสตร์ เปน็ ต้น ใครจะเรียนในสายใดก็ตาม อีก 2 สายจะต้องไดร้ ับการสนใจ ศกึ ษาด้วย แต่ไม่ไดเ้ นน้ หนกั เท่าสาย ทตี่ นตอ้ งเรยี นโดยตรงเทา่ นัน้ เอง ทีแ่ น่นอนที่สุดคือทุกสาขาวชิ าจำตอ้ งอาศยั ธรรมในการควบคุม กำหนด บงการจิตของผศู้ กึ ษา หากขาดธรรมแลว้ การเรยี นร้ทู กุ รูปแบบไม่วา่ ของใครในลัทธกิ ารเมือง ใดก็ตามไมอ่ าจสำเร็จได้ ความแตกต่างระหวา่ งธรรมกบั โลก จงึ อาจสรุปได้ว่า ไม่มโี ลกใดที่ไมเ่ กีย่ วกบั ธรรม แต่ธรรม บางอยา่ งไมเ่ กย่ี วกับโลกเลย ดงั อธิบายมาแล้ว นักศกึ ษาสงสยั : ปญั หาเกีย่ วกบั พระรัตนตรัยและ ปา สารบัญ เปิดไปดูบทที่ ... 1 / 2 / 4 / 5 พระธรรม น่ีคือหนา้ คัดลอก ของ http://members.thai.net/tron/post/anecdote/answer/buddha_question1.htm ที่ G o หน้าเว็บที่ G o o g l e ได้เก็บไว้ เป็นหนา้ เว็บในชว่ งเวลาทเ่ี ราเขา้ ไปเก็บขอ้ มูลจากเว็บน้ัน หน้านอ้ี าจเปลย่ี นแปลงไปแลว้ คลิกทนี่ ่ี หน้าน้ี ซึง่ จะไม่มกี ารเน้นสี หนา้ ท่จี ัดเกบ็ ไวน้ ี้อาจมีรูปภาพทีไ่ ม่มอี ยูอ่ ีกตอ่ ไป คลกิ ทนี่ เี่ พ่ือดูเฉพาะ ขอ้ ความแทนรปู ภาพ ถ้าตอ้ งการลงิ ก์มาหา หรือบุ๊คมารค์ หนา้ นี้, โปรดใช้ url ดังตอ่ ไปนี:้ http://www.google.com/search?q=cache:1iN3RfyKFoIJ:members.thai.net/tron/post/anecdote/answer/bu ct=clnk&cd=4 ผลการค้นหาถกู เนน้ ส:ี นกั ศกึ ษาสงสัย

นกั ศกึ ษาสงสยั : ปญั หาเกีย่ วกบั ไปสา สารบัญ เปดิ ไปดูบทที่ ... 1 / 2 / 3 / 4 / 5 พระพทุ ธเจา้ นักศกึ ษาสงสัย บทที่ 1 ปญั หาเกย่ี วกับพระพทุ ธเจ้า 1. พระพทุ ธประวตั ิ มีความจรงิ เพยี งไร? พุทธประวตั ิ คอื พระประวัติของพระพุทธเจ้า มีความจรงิ ตามที่ทา่ นแสดงไวใ้ นทนี่ นั้ ๆ เป็นความ จริงเช่นเดียวกับประวัติบคุ คลในอดตี เหลา่ อน่ื แต่แปลกที่เรื่องคนอนื่ ๆ ในอดตี ไมค่ ่อยมใี ครสงสัย ความ มอี ย่ขู องทา่ นเหล่านั้น ในฐานะของคน ๆ หนึ่งทีเ่ กิดขนึ้ ดำรงอยู่ ดับไปในอดีต แต่พระประวัติ ของพระพทุ ธเจ้ามีหลักฐานยืนยันในด้านต่าง ๆ มากมาย คนกลบั สงสยั ตง้ั แงต่ า่ ง ๆ ข้ึนมา จนถงึ กนั บางพวกมคี วามเข้าใจและเผยแพร่ความเห็นของตนออกไปว่า พระพุทธเจา้ เปน็ เพียงบุคคลใน จินตนาการเทา่ นั้น หาไดม้ ตี วั ตนอยจู่ ริงไม่ ทำไมจงึ ไดม้ คี วามคิดเห็นนา่ รกั นา่ เอน็ ดูอยา่ งนกี้ ็ไมร่ ู้ แปลกจรงิ ๆ เร่ืองราวท่เี ปน็ พระประวตั ขิ องพระพุทธเจ้าน้นั ผู้ศึกษาหากต้องการจะพสิ จู น์วา่ พระองค์เปน็ บคุ คลในประวัติศาสตรจ์ ริงหรือไมแ่ ลว้ เราจะตอ้ งศกึ ษาใน 3 ด้านดว้ ยกนั คือ 1.1 ความเป็นจริงในดา้ นประวัตศิ าสตร์ ในเรือ่ งน้เี รามหี ลกั ฐานดา้ นโบราณคดี วรรณกรรม ภูมิศาสตร์ ทสี่ ามารถทำลายความสงสยั ได้เป็นอยา่ งดี ยิง่ บุคคลเหล่านน้ั ได้ไปใหถ้ งึ ดนิ แดนอนั เป็นพทุ ธ ภมู ดิ ้วยแลว้ จะไม่ตดิ ใจสงสัยเลยวา่ เจ้าชาย สทิ ธัตถะ โอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสริ มิ หามายาแห่งกรงุ กบลิ พัสดุ์ ได้เสด็จออกผนวช จากราชตระกูลศากยะ บำเพญ็ เพยี รจนตรสั รู้ ประดิษฐานพระพุทธศาสนา จนมีคนเคารพนบั ถือสืบต่อ กันมาถงึ ปัจจุบนั นั้น เปน็ บคุ คลทม่ี ีตวั ตนอยจู่ รงิ ในประวตั ศิ าสตร์หรอื ไม่ เชน่ เดียวกบั นกั ศึกษา ประวัตศิ าสตร์ ปรัชญา เช่อื ในความมีอยขู่ อง เธเลส , อะแนกซิมานเดอร์ , อะแนกซเมเนส , ไพแท กกอรัส , โสกราตีส อันเป็นปรชั ญาเมธขี องกรีกในยคุ กอ่ นและยคุ ใกล้เคียงกับพระพุทธเจ้า ยอมรับ ถึงการมีอยขู่ อง พระนางคลโี อพตั รา ของอียปิ ต์ เล่าจอ้ื ขงจื้อ เมง่ จื้อ อันเป็นปรชั ญาเมธขี อง จนี ตลอดจนถึงคนสำคญั อืน่ ๆ ในอดีต พระพทุ ธเจ้าเป็นบุคคลทเี่ คยเกดิ ขนึ้ ดำรงอยู่ และดับไปใน อดีตเช่นเดยี วกบั คนอ่นื ๆ น้ันเอง ไมน่ า่ จะมปี ัญหาในเรอ่ื งน้ี

1.2 ความจรงิ ในดา้ นปาฏหิ าริย์ อนั เป็นพระคุณสมบตั ทิ ่ีทรงขจัดสิง่ ท่ีเปน็ ปฏิปักษ์ออกไปได้ คือ การ ทท่ี รงขจดั กเิ ลสและบาปธรรมทั้งปวงได้ จนทำให้ทรงประกอบด้วยปาฏหิ าริย์หรอื ความอศั จรรย์ 3 ประการคอื ก. อิทธิปาฏิหาริย์ ทรงประกอบดว้ ยฤทธ์ิ คอื ความสำเรจ็ อย่างอศั จรรย์ บางอยา่ งเกินวสิ ยั ของสามัญ ชน แต่เม่อื บุคคลได้ศกึ ษาให้ทราบถึงความหมายและเหตแุ ห่งฤทธ์แิ ล้ว จะสามารถปรบั ความเขา้ ใจใน รปู ของการเปรยี บเทยี บกับความสำเร็จทางกายภาพของ นักกายกรรม ยิมนาสตกิ ผฝู้ ึกมาอยา่ งดแี ล้ว ก็จะพบว่า คนเหล่านน้ั มีความสำเรจ็ ที่เกนิ วิสัยของสามัญชนเหมอื นกัน เร่ืองอทิ ธปิ าฏิหาริยใ์ น พระพุทธศาสนาไม่วา่ จะเป็นของพระพทุ ธเจา้ หรอื พระสาวก เป็นคณุ สมบัตเิ ฉพาะของท่านที่ฝึกจิตมา ดแี ล้ว เช่นเดยี วกับพวกนกั กายกรรม ท่ฝี กึ มาในเรือ่ งนัน้ ๆ มาดแี ลว้ ฉะน้ี ข. อาเทสนาปาฏหิ ารยิ ์ เปน็ ผลของ เจโตปรยิ ญาณ อันผ่านการฝกึ อบรมทางจติ มาตามลำดบั ทำให้ พระพุทธเจ้าทรงรใู้ จ ทายใจ เขา้ ใจคนอนื่ ไดใ้ นแงม่ ุมต่าง ๆ อันเป็นอปุ กรณส์ ำคัญประการหนง่ึ ทที่ ำให้ พระองคท์ รงแสดงธรรมให้คนต่าง ๆ เข้าใจได้ ตามพนื้ ฐานความรขู้ องเขาเหล่านน้ั ทท่ี รงรู้ด้วยอาเทส นาปาฏิหาริยน์ ้ี ค. อนุสาสนีปาฏหิ ารยิ ์ ทรงมพี ระธรรมคำสง่ั สอนเป็นอัศจรรย์ คือ ข้อใดท่ีทรงแสดงไวว้ ่าเปน็ โทษ ก็ คงเปน็ โทษตลอดไป ขอ้ ใดทที่ รงแสดงวา่ เปน็ คุณ ก็คงเป็นคุณเป็นโทษตลอดไป เม่อื คนนำมาปฏิบตั ิ แล้วจะนำมาปฏิบตั แิ ล้วจะอำนวยผลใหต้ ามสมควรแก่การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ พระธรรมคำสอนของ พระองคจ์ งึ สามารถพิสจู นต์ วั เองได้ทุกเวลาทัง้ ในอดตี กาล ปจั จุบนั กาล และอนาคตกาล แตข่ อ้ ท่ีควรไม่ลืมประการหน่ึง คือ การเรียบเรยี งเร่อื งราวของคคุ ลในประวัตศิ าสตรน์ ้นั \"ความ บนั ดาลใจ ประทับใจ ของผู้เรยี บเรียง มบี ทบาทร่วมอยู่ดว้ ย\" คือผเู้ รยี บเรยี งมีความประทับใจ เล่ือมใส จนเกดิ เป็นจินตนาการเหน็ เป็นเชน่ นัน้ จรงิ ๆ จึงไดเ้ รียบเรียงไวเ้ ช่นนัน้ แม้ว่าพระประวัติของ พระพทุ ธเจา้ ผู้เรยี บเรียงจะอยใู่ นฐานะ สตุ กวี คอื แตง่ โดยได้ยินได้ฟงั ได้ศกึ ษามา และ อรรถกวี แต่ง โดยเน้อื หาความจริงเปน็ หลกั กต็ าม แต่มีบางเร่ืองบางตอนทเี่ กิดขึน้ จากแรงบันดาลใจ อันอาศัย ศรัทธาปสาทะแตง่ ออกมาในฐานะของ จนิ ตกวี และ ปฏภิ าณกวี คอื แตง่ โดยปฏิภาณของตนปะปน อยู่บา้ งเปน็ ธรรมดา แต่ผู้ศึกษาต้องยอมรับในฐานะนั้น ๆ ในกรณขี องพทุ ธประวัติ ผลงานแบบจนิ กวมี ี บา้ งก็ไม่มากนัก โปรดเขา้ ใจว่า เร่ืองราวของพระพุทธเจา้ นัน้ แม้จะตัดเร่ืองฤทธ์ิปาฏหิ าริยอ์ อกหมด ก็ไมท่ ำให้ กระทบกระเทือนอะไรแมแ้ ต่น้อย เพราะนนั่ ไม่ใช่รากฐานของพระพทุ ธเจ้า แตร่ ากฐานที่แทจ้ รงิ ของ พระพทุ ธเจ้า คือ พระปญั ญาคณุ พระบริสุทธคิ ุณ และ พระมหากรณุ าธิคุณ อันพระองค์ทรง กระทำส่งิ ทีเ่ ป็นประโยชนเ์ กือ้ กูล และความสขุ แกโ่ ลก จากอดีตถึงปจั จุบนั และอาจพสิ ูจนต์ นเองได้ทุก กาลเวลา 2. ทวี่ า่ ภายหลงั ตรสั รู้ ทนั ทีท่ีพระพุทธเจ้าทรงดำเนินไปด้วยพระบาทได้ 7 ก้าวนน้ั จรงิ หรือไม่ ทำไม จึงเป็นเชน่ น้นั ?

ตามพทุ ธประวตั ิ คนทีเ่ หน็ เหตกุ ารณ์ในยุคนั้นบอกว่าเปน็ เช่นน้นั จริง คนทเ่ี กิดไม่ทันได้รว่ มอยู่ใน กลมุ่ ของพวกทโี่ ดยเสด็จพระนางสริ ิมหามายาไปท่ีลุมพนิ ีวัน ถ้าไม่คดิ ว่าตนเองเก่งจนสามารถร้วู า่ อะไร ในอดตี จรงิ หรือไมจ่ รงิ ต้องยอมรับวา่ \"ท่านแสดงไว้ในคมั ภีรว์ า่ เป็นเชน่ น้ัน\" ทำไมจงึ เป็นเชน่ นั้นหรอื ? เรื่องน้ตี ้องมองกนั ในแง่ของหลักฐานในดา้ นตา่ ง ๆ ซ่ึงอาจจะเปรยี บเทียบได้ในระดบั หนึง่ เชน่ 2.1 สมเด็จพระนารายณม์ หาราช เม่ือประสตู ิใหม่ ๆ พระญาตวิ งศเ์ ห็นเป็น 4 กร จึงไดถ้ วายพระ นามว่านารายณร์ าชกมุ าร เป็นหลกั ฐานในประวตั ิศาสตร์ แตพ่ ระกรจรงิ ๆ มเี พียง 2 กร เทา่ น้ัน สิทธัตถะราชกุมารปรากฏว่าเดนิ ด้วยพระบาทได้ 7 ก้าวเพียงขณะเดยี ว ต่อแต่นน้ั กเ็ ป็นทารกทเ่ี ดิน ไมไ่ ดเ้ ชน่ เดยี วกบั ทารกทวั่ ไป เพราะตอนอสติ ดาบสเขา้ เยีย่ ม พระจสุทโธทนะทรงอ้มุ พระกุมารให้อสติ ดาบสดู การเสดจ็ ดำเนนิ ไปได้ 7 ก้าว จงึ เป็นเร่อื งของบุญฤทธิ์ ที่ทา่ นเรียกว่า ปญุ ญฺ วโตอิทฺธิ คือ ความสำเร็จอยา่ งอัศจรรย์ เปน็ คุณสมบัติเฉพาะของผู้มีบญุ เทา่ น้ัน 2.2 เจา้ ชายสิทธัตถะ เปน็ อัจฉริยะบุคคล ท่ีสรา้ งสมอบรมบารมเี ปน็ พิเศษ การเสด็จดำเนินได้ 7 กา้ ว จึงอาจเป็น กัมมวปิ ากชาอิทธิ คือความสำเร็จอยา่ งอัศจรรยท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ดว้ ยอำนาจกรรมทีเ่ รียกวา่ อัมม โยนิ คอื กุศลกรรมอย่างสูงมาเป็นกำเนดิ ก่อใหเ้ กิดความอัศจรรย์ขึ้น อนั เป็นเรอื่ งเฉพาะของท่านท่ี เปน็ อจั ฉรยิ บคุ คล ซงึ่ ผมู้ ปี ญั ญาอาจพจิ ารณาเทียบเคียงกบั อัจฉรยิ บคุ คลในปัจจบุ ันไดเ้ ปน็ อันมาก เช่น - เดก็ ชาย กมิ อี้ชุน ชาวเกาหลี อายุ 6 ขวบ พูดได้ 6 ภาษา อายุ 6 เดือน ฟนั เต็มปาก - เดก็ หญิง สกลุ ตลาเทวี ชาวอินเดีย เด็กชายเงา ชาวเกาะสมยุ สามารถบวกเลขไดเ้ ร็วกวา่ เครื่องคิด เลข เมอ่ื อายุเพยี ง 6 ขวบ - คณุ สมเถา สุจรติ กลุ อ่านเอนไซโครปิเดยี บริตานกิ า จบเมื่ออายุ 5 ขวบ - คุณทพิ ยส์ ุดา สนุ ทรเวช อา่ นภาษาไทย องั กฤษ ได้คลอ่ งเมอื่ อายุ 17 เดือน เรียน ป.3 ที่โรงเรยี น สาธิตจุฬาฯ เม่ืออายุ 2 ขวบ - และเดก็ แขกอกี คนหนงึ่ ทสี่ ามารถอธิบายไตรเพทได้เมือ่ อายเุ พียง 2 ขวบกว่า ๆ เปน็ ตน้ คนเหลา่ นไ้ี ม่ได้เปน็ พรโพธิสตั ว์ ยังแสดงความเปน็ อัจฉริยะในดา้ นตา่ ง ๆ ออกมาได้ แล้วทำไมเล่า พระพทุ ธเจา้ ทา่ นเป็นพระโพธิสตั ว์ เปน็ อัจฉรยิ บคุ คลที่ไม่มีใครเหมือนจะไมเ่ หมอื นใครในบางเรอื่ ง ไม่ได้เชียวหรือ? 2.3 เป็นพุทธวสิ ัย คือวิสยั ของคนท่ีจะเป็นพระพทุ ธเจา้ และองค์พระพุทธเจา้ เรื่องทีเ่ ก่ยี วกับ พระองคห์ ลายเรื่อง ทเ่ี ราไม่อาจหยัง่ ร้ไู ดด้ ว้ ยความคดิ พจิ ารณา ใครขืนจะรเู้ รอ่ื งนใ้ี หไ้ ดด้ ้วยการคิดเอา เอง ท้ัง ๆ ที่เปน็ เหตุการณ์ท่ีผ่านมานานแล้วอาจกลายเปน็ คนบ้านไปได้งา่ ย ๆ เพราะเป็น “อจินไตย” คอื เร่ืองทีไ่ ม่ควรคดิ ซ่ึงท่านแสดงไว้ 4 ประการคอื

- พุทธวิสยั เรอื่ งอันเป็นวิสัยของพระพุทธเจ้า - อิทธิวิสัย วิสัยแหง่ ท่านทบ่ี รรลุฤทธิ์ ในชนั้ ต่าง ๆ - กมั มวิปากวิสยั วสิ ยั แหง่ วิบากกรรม - โลกจินตา ความคิดเร่ืองกำเนิด ความเป็นมาของโลก ข้อที่ไม่ควรลมื คอื บณั ฑติ ในพระพุทธศาสนาไม่ไดต้ ดิ ใจในเรอ่ื งเหลา่ น้ีวา่ จะเปน็ จรงิ ๆ หรือไม่ เพราะ บัณฑิตยอ่ มนับถอื พระพทุ ธเจ้าในฐานะทที่ รงประกอบดว้ ยพระคณุ ดงั กลา่ ว และพระพทุ ธเจา้ ในฐานะ ทีท่ รงประกอบด้วยพระคณุ ดงั กล่าว และพระพทุ ธคุณที่สำคญั คือการที่พระองคท์ รงประกอบดว้ ย พระ มหากรุณา ส่ังสอนธรรมที่พระองคท์ รงตรสั รแู้ ก่ชาวโลก และพระธรรมนน้ั สามารถรกั ษาคมุ้ ครองผู้ ปฏิบตั ิตามได้จรงิ ชาตกิ ำเนิด พระรูปกาย ตลอดถึงจะดำเนนิ ไดด้ ว้ ยพระบาท 7 กา้ ว เมื่อประสูตร หรือไม่ ไมถ่ ือเปน็ ประเด็นสำคญั แตน่ ่นั เป็นขอ้ เท็จจริงในทางประวตั ศิ าสตร์ ทที่ ่านผู้อยู่ในเหตกุ ารณ์ ได้เหน็ และบอกกลา่ วสืบต่อกันมา ผู้ฉลาดจึงไม่บังอาจปฏเิ สธในเรื่องทีต่ นเกิดไมท่ นั และเป็นพุทธวิสัย เพราะไมเ่ หน็ ว่าจะไดอ้ ะไรขึน้ มา นอกจากจะเป็นการเพม่ิ มลทินใจ คอื ความสงสยั ขน้ึ ภายในจิตใจให้ มากขึ้น และเปน็ การเสียเวลาในการพัฒนาจิตของตนไปโดยเปล่าปราศจากประโยชน์ 3. พระพทุ ธเจา้ เม่ือประสูตใิ หม่ ๆ พราหมณ์ทำนายวา่ มีคติเปน็ สองคือถ้าอยคู่ รองฆราวาสจะไดเ้ ป็น พระเจา้ จักรพรรดริ าช หากออกผนวชจะไดเ้ ป็นศาสดาเอกของโลก ทำไมพระองคจ์ ึงเสด็จออกผนวช เล่า? ไมใ่ ห้พระองคเ์ สด็จออกผนวชแลว้ จะให้ทำอะไรละ่ หรอื ว่าตอ้ งการใหพ้ ระองคเ์ ปน็ พระเจา้ จักรพรรดิ อันทีจ่ รงิ เรือ่ งนน้ี า่ คดิ เหมือนกันนะ หากเราจะพดู วา่ เจา้ ชาวสิทธัตถะเสด็จมาถงึ ทางแยก พอดี คนเรานัน้ เม่อื ถงึ คราวทีจ่ ะตอ้ งเลือก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอะไรก็ตาม เราควรตอบคำถามใหไ้ ดอ้ ยา่ ง น้อย 3 ข้อ อยา่ งในกรณีของพระสทิ ธัตถราชกมุ ารกเ็ หมือนกนั พระองคอ์ าจตอบปญั หาได้ 3 ข้อแล้ว คอื จะไปทางไหน? ไปทำไม? ไดป้ ระโยชนอ์ ะไร? จะเห็นวา่ ประโยชนเ์ ป็นเรอ่ื งสำคัญทสี่ ุดเพราะคณุ ค่า อันแทจ้ รงิ ของความเป็นในฐานะต่าง ๆ นั้น คอื ประโยชน์ท่ีตนจะทำใหแ้ ก่ตนและแกค่ นอ่นื แม้เราจะ ตัดประเดน็ ทพ่ี ระพทุ ธเจ้าทรงสรา้ งบารมี เพ่อื ความเปน็ พระพุทธเจา้ โดยตรงออกไปกอ็ าจได้หลักใน การเปรยี บเทียบได้วา่ การเป็นพระพทุ ธเจา้ สามารถทำประโยชน์ได้กวา้ งขวางมาก จนพระเจา้ จกั รพรรดิไม่อาจเทียบได้เลย ไมว่ ่าประโยชนใ์ นระดับใดก็ตาม คือ - ประโยชนใ์ นปจั จบุ นั ฐานะของพระพุทธเจ้าทำไดเ้ ต็มที่ ทง้ั เพอ่ื พระองค์เองและแก่คนอืน่ ใน ขอบขา่ ยท่กี วา้ งไกล ตลอดกาลอนั ยาวนาน แต่พระเจา้ จกั รพรรดิจะทำได้ในขอบขา่ ยจำกดั คอื ใน ดินแดนของพระองค์ และเม่ือพระองคส์ วรรคตไปแลว้ ผลงานทั้งหลายจะดำรงอยู่ได้ไมน่ านแล้วจะ หายไป - ประโยชนใ์ นภายหน้า พระพุทธเจา้ ทรงยุตกิ ารเวียนวา่ ยไปสงั สารวัฏได้ ทรงสอนใหคนอ่ืนได้

ประโยชนใ์ นระดับต่าง ๆ จากความสุขในมนุษย์จนถึงพรหมโลก พระเจ้าจกั รพรรดิจะทำไดเ้ พียงช่วย ใหค้ นได้สมบัติในสวรรค์เท่านน้ั สำหรบั พระองคเ์ องไม่แนว่ ่าจะได้สวรรคห์ รือไม่ เพราะกว่าจะเปน็ พระ เจา้ จักรพรรดไิ ด้ ต้องเหยียบยำ่ ไปบนกองเลอื ดและชวี ิตคนเปน็ อนั มาก แมข้ ณะท่เี ปน็ พระเจา้ จักรพรรดิอยู่ กอ็ าจต้องทำบาปอีกมาก พระพทุ ธเจ้าจึงทรงแสดงว่า การบรรลุโสดาปัตติผลเปน็ พระ โสดาบนั ท่านมีคตแิ นน่ อน จะเกดิ อีกไมเ่ กนิ 7 ชาติ ก็บรรลอุ รหตั นิพพานได้ แตส่ ังสารวฏั ของพระเจ้า จกั รพรรดิ ไมอ่ าจกำหนดไดว้ า่ เมอ่ื ไรจะส้นิ ทุกข์ - ประโยชนอ์ ย่างยอดเย่ยี ม พระพทุ ธเจา้ ทรงเข้าถงึ ปรมตั ถประโยชน์ คอื มรรคผลนิพพาน และ สอนคนอ่ืนให้บรรลตุ ามไดม้ ากกวา่ มาก ฝ่ายพระเจ้าจกั รพรรดิ ไมอ่ าจเข้าถงึ ได้ด้วยพระองค์ และสอน คนอนื่ ดว้ ยเหตนุ ้เี อง หากพระพุทธเจ้าไม่เสด็จออกบวช แน่นอนพระองคต์ อ้ งได้เป็นพระเจ้า จักรพรรดิ แตช่ าวโลกในยคุ หลังจะไดอ้ ะไรจากพระองคเ์ ลา่ อยา่ งมากก็รจู้ ักพระองคใ์ นฐานะพระเจ้า จกั รพรรดิองค์หนึง่ ในประวตั ศิ าสตร์ แต่ไมม่ ีผลงานอะไรเหลอื อย่เู ลยสำหรับคนในยุคหลัง การเสดจ็ ออกผนวชของเจา้ ชาวสิทธัตถะ จงึ เปน็ การกระทำทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสมยิ่งแล้วไมอ่ ย่างนัน้ แล้วแมใ้ น ปัจจุบนั โลกจะไมร่ จู้ ักสัจธรรมเปน็ อันมาก ซึ่งเปน็ ผลจากการตรสั ร้ขู องพระองค์ หรอื ใครจะวา่ เป็นพระ เจ้าจกั รพรรดดิ ีกว่ากต็ ามใจ 4. การบรรลุธรรมของพระพทุ ธเจ้า ตัง้ ตนอยา่ งไร และบรรลไุ ดอ้ ย่างไร ใช้อะไรเปน็ เครื่องวัด วัด อย่างไร ใครเป็นผู้วดั ? คำถามข้อนี้ถามมาหลายนัยเหลือเกนิ ขอแบง่ ตอบเป็นประเด็น ๆ ไปดงั นีค้ อื 4.1 หลงั จากทท่ี รงตดั สนิ พระทัยเลกิ ทกุ รกริ ิยา คอื การทรมานพระองคแ์ ละเสวยพระกระยาหาร จนมีพระกำลังแข็งแรงแล้ว ทรงเร่ิมด้วยการบำเพญ็ อานาปานสติ คอื การทรงกำหนดรู้ลมหายใจเข้า ออกยาวหรอื สน้ั จนจิตสงบอยทู่ ่ีลม ความสงบได้เกิดขนึ้ ตามลำดับ จนเปน็ อปั ปานาสมาธิ คอื สมาธิอนั แน่วแน่ แต่กวา่ จะบรรลุสมาธิได้ ทรงพิจารณาและแกป้ ัญหา อปุ สรรคต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ดว้ ยพระองค์ เองมากทีเดียว 4.2เมอื่ ทรงบรรลอุ ปั ปนาสมาธิแล้ว ได้ทรงบรรลรุ ปู ฌาน 4 ไปตามลำดับ จนสามารถสงบระงบั นวิ รณ์ 5 ประการได้ ด้วยองค์แหง่ ฌาน 5 คอื วติ ก ความตรึก สงบ ถนี มิทธะ วิจาร ความตรอง สงบ วจิ กิ ิจฉา คอื ความลังเลสงสัย ปติ ิ ความเอิบอมิ่ ใจ สงบ พยาบาท สุข ความสบายกายใจ สงบ อุทธัจจกกุ ุกจจะ คอื ความฟงุ้ ซา่ นรำคาญ

สมาธิ ความสงบแห่งจิต สงบ กามฉันท์ ความรกั ใคร่พอใจ 4.3 เม่อื ทรง บรรลจุ ตุตถฌาน ซ่ึงมีองค์ 2 คือ อุเบกขาฌาน กบั เอกคั คตา คือจิตสงบอย่าง แท้จริง ทรงนอ้ มพระทยั ประจักษช์ ดั ดว้ ยพระปญั ญาว่า สงั ขารทัง้ หลายทง้ั ปวงไม่เทยี่ ง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา 4.4 ทรงบรรลุพระญาณ 3 ในยามทัง้ 3 แห่งราตรที ่ตี รัสร้ตู ามลำดับ คือ - ปุตเตนวิ าสานุสสตญิ าณ พระญาณทที่ ำให้ทรงระลกึ ชาตกิ ่อน ๆ ของพระองคไ์ ด้ โดยพิสดาร ใน แง่มมุ ต่าง ๆ ทุก ๆ ชาติไมม่ กี ำหนดว่ากี่พระชาติ - จุตูปปาตญาณ พระญาณทท่ี ำให้ทรงรู้ ความแตกตา่ งแหง่ สรรพสตั ว์วา่ ที่เป็นเชน่ น้ันเพราะกรรม อะไรโดยละเอยี ดพิสดาร เช่นกัน - อาสวกั ขยญาณ คอื พระญาณท่ีทำใหอ้ าสวะ คือกเิ ลสท่ีมีชอ่ื ต่าง ๆ ใหห้ มดส้นิ ไปจากพระขันธ สนั ดาน เขา้ ถึงความบริสุทธ์ิอยา่ งแทจ้ ริง ในจดุ นี้เองที่เรยี กวา่ ทรงตรัสรู้โดยสมบูรณ์ ประเดน็ ต่อไปคอื ตรสั รูห้ รอื บรรลไุ ดอ้ ยา่ งไร? การบรรลธุ รรมของพระพุทธเจ้า เรยี กวา่ เปน็ การตรสั รู้ ประเด็นทคี่ วรทำความเข้าใจ คือการตรัสรู้ น้นั เปน็ อย่างไร และทรงตรัสรู้อะไร การตรัสรู้นน้ั เกิดข้ึนเมอื่ พระองคท์ รงบำเพ็ญเพยี รผา่ นข้นั ตอนตา่ ง ๆ ดังกล่าวแลว้ เมอ่ื ถึงจดุ หนึง่ ความรไู้ ด้เกิด \"ผุดข้ึนภายในพระทัย\" ตามท่ที รงแสดงแกพ่ ระปญั จ วัคคยี ์ ในธัมมจักกัปปวตั ตนสูตร ความวา่ จกั ษุ ญาณ ปัญญา วชิ ชา แสงสวา่ ง ไดเ้ กิดขึน้ แก่เราในธรรมท่เี ราไม่ไดเ้ คยสดบั มาเลยในกาลกอ่ น ตามลำดับดงั น้ี คอื สัจจญาณ ทรงรคู้ วามจริงในอริยสจั แต่ละขอ้ ว่า อะไรเปน็ อะไร คอื ทรงรวู้ ่า นท่ี กุ ข์ นี่นโิ รธ นีม่ รรค คือข้อปฏิบตั ิใหถ้ ึงความดับทกุ ข์ กิจจญาณ ทรงรกู้ จิ คอื งานท่ีต้องทำในอริยสัจแต่ละข้อวา่ ทกุ ข์ ควรกำหนดรู้ สมทุ ัย เหตุใหเ้ กิด ทกุ ขค์ วรละ นโิ รธ ความดบั ทุกข์ ควรทำให้แจม่ แจ้ง มรรค คอื ข้อปฏิบัตใิ ห้ถงึ ซ่ึงความดับทกุ ข์ ควรลงมือปฏบิ ตั ิให้สมบรู ณ์ กตญาณ ทรงร้วู ่าพระองคไ์ ดท้ รงทำงานน้นั ไปตามหน้าท่ีแลว้ คอื ได้กำหนดรู้ทุกข์แล้ว สมุทยั ที่ ควรละได้ละแลว้ นโิ รธท่คี วรทำใหแ้ จง้ ได้ทรงทำใหแ้ จง้ แล้ว มรรคท่ีควรลงมือประพฤติปฏิบตั ิ ได้ทรง ปฏบิ ตั ิโดยสมบูรณ์แลว้ เมอ่ื พระญาณ 3 เกิดข้ึนในอรยิ สจั ดังกลา่ วโดยสมบูรณ์ พระองค์ได้ช่ือวา่ ตรัสรู้ โดยสมบรู ณ์แลว้ ไดร้ ับส่ังแกพ่ ระปญั จวคั คยี ์ ความวา่ หากว่าญาณ 3 ท่เี กิดขนึ้ ในอรยิ สัจ 4 ของ พระองค์ไม่สมบูรณ์ พระองคจ์ ะไม่ปฏญิ าณว่าทรงตรสั รู้พร้อมเฉพาะ ซงึ่ ปญั ญาเครอ่ื งตรัสรูช้ อบ อนั ไม่ มคี วามตรสั รอู้ ืน่ ยิ่งไปกวา่ ในโลก

แต่เป็นเพราะวา่ ปัญญาอันรู้เห็นตามเปน็ จริงในอรสิ ัจ 4 ซึง่ มีรอบ 3 มอี าการ 12 หมดจดดีแล้ว จงึ ไดท้ รงยนื ยนั ได้ตรสั ร้พู รอ้ มเฉพาะ ซ่งึ ปญั ญาเครื่องตรัสรชู้ อบ ไม่มีความตรสั รอู้ น่ื ไปกวา่ ในโลกทัง้ ปวง ประเด็นทวี่ า่ ใชอ้ ะไรเปน็ เครื่องวัด วัดอย่างไร ใครเปน็ ผวู้ ัดนัน้ เครือ่ งวัดคือพระญาณทีเกิดข้ึนในอริยสจั 4 ดงั กลา่ วแลว้ ญาณเหล่านั้นเมอ่ื สมบรู ณแ์ ล้ว จะ ก่อให้เกิดญาณหรอื ปัญญาขน้ึ ภายในพระทัยว่า \"ความพน้ วเิ ศษของเราไมก่ ลบั กำเริบ ชาตนิ ี้เป็นชาติสุดท้ายแล้ว ต่อไปจะไมม่ ภี พอกี แล้ว\" การจะพดู วา่ ใครเป็นผู้วดั นั้น พงึ รดู้ ้วยอุปมาวา่ เหมือนคนดืม่ น้ำหวานสกั อย่างหน่ึง การจะรู้วา่ หวานมากน้อย หรอื หวานอย่างไร คนทด่ี ่มื นัน้ เองจะเป็นผวู้ ดั ด้วยอาศยั ความรทู้ างล้ินของตน การ บรรลมุ รรคผลก็ทำนองเดยี วกนั ญาณหรือปัญญาท่เี กดิ ขึ้นแก่ท่านผู้บรรลุนน้ั เอง จะเป็นผูว้ ัดหรือผ้รู ู้ ข้อนพ้ี งึ เห็นตัวอย่างความเปลี่ยนแปลงทางจิตทางทา่ นท่ีได้บรรลุอรหตั ทท่ี รงแสดงในพระสตู รเปน็ อัน มาก เช่นในอนนั ตลักขณสูตร ความว่า \"ดูกรภิกษทุ ้งั หลาย อรยิ สาวกเมื่อได้สดับแล้ว เห็นอยดู่ ว้ ยปัญญาอย่างน้ี ยอ่ มเบอื่ หนา่ ยในขนั ธ์ 5 เม่อื เบือ่ หน่าย ย่อมคลายกำหนดั เม่อื คลายกำหนดั จิตก็พ้น เมือ่ จิตพน้ กเ็ กิดญาณรู้ว่าเราพน้ แลว้ ดงั นี้ ชาตนิ ีค้ อื ความเกิดสิน้ แลว้ พรหมจรรยไ์ ดป้ ระพฤตจิ บแล้ว กิจทค่ี วรทำได้ทำเสรจ็ แล้ว กิจอื่นอกี ในทำนองเดียวกนั ไมม่ อี ีกตอ่ ไป\" 5. เมอ่ื พระพทุ ธเจ้าตรสั สั่งสอนอะไร วา่ เปน็ ทางแห่งการบรรลุธรรม กรุณาช้แี จงด้วย? ดังได้กลา่ วมาแลว้ วา่ พระพทุ ธทรงตรสั รูอ้ รยิ สจั 4 ขอ้ ที่ทรงสัง่ สอนเพือ่ การบรรลธุ รรมจึงเป็น เรอื่ งของอรยิ สจั 4 เพราะหลกั ธรรมในพระพุทธศาสนาทง้ั หมดลว้ นเปน็ อริยสจั 4 ทั้งน้นั แตเ่ ราเหน็ ว่ามมี ากและแตกตา่ งกันนน้ั เปน็ ปริยายคอื นัยแห่งการแสดงธรรมของพระพุทธเจ้า เพราะพระองค์ ทรงมีหลักในการแสดงธรรม 3 ประการ คือ 5.1 ทรงแสดงธรรม เพ่ือใหผ้ ู้ฟงั รู้ยิง่ เหน็ จรงิ ในสิง่ ทบี่ คุ คลนน้ั ๆ ควรรู้ควรเหน็ 5.2 ทรงแสดงธรรมมีเหตุมีผล ที่ผูฟ้ ังแต่ละคนอาจไตรตรองพจิ ารณาแล้วเหน็ จริงได้ 5.3 ทรงแสดงธรรมเปน็ อัศจรรย์ คือผูป้ ฏบิ ัติตามธรรมแล้วจะไดร้ บั ผลตามสมควรแกก่ ารปฏิบตั ขิ อง เขามากบ้างนอ้ ยบ้าง ให้สงั เกตวา่ คำสอนของพระพุทธเจ้าทงั หมด เราอาจะจัดเป็นกลุ่มตามอรยิ สจั 4 ไดเ้ ป็น 4 กลุ่ม เทา่ นั้น คอื

- ปรญิ ญาตัพพธรรม ธรรมทีพ่ ึงศกึ ษาให้รูว้ ่าอะไรเปน็ อะไร - ปหาตัพพธรรม ธรรมท่พี ึงศกึ ษาใหร้ ูแ้ ลว้ ละเสีย - สัจฉิกาตพั พธรรม ธรรมทพ่ี งึ กระทำให้แจม่ แจง้ - ภาเวตัพพธรรม ธรรมท่พี งึ ศึกษาแล้วลงมอื ปฏิบัติ ทางทีจ่ ะนำคนเขา้ สกู่ ารบรรลธุ รรม จงึ เป็นภาเวตัพพธรรม อันสรปุ ลงในไตรสกิ ขา คอื ศลี สมาธิ ปญั ญา หรอื อรยิ มรรคมอี งค์ 8 ประการ คือ 1. สมั มาทิฎฐิ ปัญญาอันเหน็ ชอบในอรยิ สัจท้งั 4 ดว้ ยญาณ 3 ดงั กล่าวแลว้ 2. สัมมาสงั กัปปะ ความดำรชิ อบ คอื ดำริออกจากการไมพ่ ยาบาท ไม่เบยี ดเบียน 3. สมั มาวาจา เจรจาชอบ คอื เวน้ จากการพูดคำเท็จ คำสอ่ เสยี ด คำหยาบ คำเหลวไหล 4. สมั มากมั มันตะ ทำการงานชอบ คอื งดเวน้ จากฆา่ สัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผดิ ในกาม 5. สมั มาอาชวี ะ เลย้ี งชีวติ ชอบ คือละมจิ ฉาชีพ เลี้ยงชพี ด้วยสัมมาชพี 6. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ คอื พยายามระวงั ไมใ่ ห้บาปเกดิ ข้นึ ละบาปที่เกดิ ข้ึนแลว้ พยายามสรา้ งกุศลคอื ความดี และพยายามรักษาความดีท่ีมีอย่ไู ม่ใหเ้ สอ่ื มไป 7. สมั มาสติ คอื ระลึกชอบ คอื ระลกึ ในกาย เวทนา จิต ธรรม ใหเ้ ห็นเป็นเพยี ง กาย เวทนา จติ ธรรม ไม่ใชส่ ตั ว์บคุ คลตัวตนเราเขา อนั ควรยดึ ถือแตป่ ระการใด 8. สมั มาสมาธิ คือความต้ังจิตม่นั ชอบ ได้แกบ่ ำเพ็ญเพียรจนบรรลรุ ปู ฌาน 4 ประการ อันเป็น การสงบระงบั จากนวิ รณ์ 5 ดังกล่าวแล้ว เมื่อ ศีล คือ สัมมาวาจา สมั มากัมมนั ตะ สัมมาอาชวี ะ สมาธิ คือ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ปัญญา คือ สัมมาทิฏฐิ สมั มาสังกัปปะ ได้รบั การปฏิบัติจนสมบูรณ์เต็มท่ีแลว้ การบรรลุ ธรรมช้นั สูงสุดก็บงั เกดิ ขนึ้ ความร้อู ริยสจั ตามความเป็นจริงกเ็ กดิ ข้ึน ทา่ นแสดงโดยอุปมาวา่ ทกุ ข์ คอื ปริญญาตัพพธรรม เปรยี บเหมือนอาการของโรค สมุทัย คอื ปหาตัพพธรรม เปรียบเหมือนสมฏุ ฐานแห่งโรค นิโรธ คือสจั ฉกิ าตัพพธรรม เปรยี บเหมอื นความหายจากโรค

มรรค คือภาเวนตัพพธรรม เปรียบเหมอื นกรรมวิธีในการเยียวยารักษาโรค เมื่อหมอรูอ้ าการและสมฏุ ฐานของโรคดีแล้ว ลงมอื รักษาทส่ี มฏุ ฐาน เมื่อสมฏุ ฐานถกู ทำลาย อาการของโรคก็หาย ความหายจากโรคกป็ รากฏฉันใด การบรรลธุ รรมคือมรรคผลในพระพุทธศาสนา อนั เกิดจากการปฏิบัตติ ามมรรคมอี งค์ 8 ประการ เมื่อสมบรู ณ์เต็มทแี่ ล้ว ย่อมช่วยใหร้ อู้ รยิ สัจ 4 ตาม เสด็จพระพทุ ธเจา้ เชน่ เดยี วกนั ฉนั นั้น 6. ก่อนที่พระองคจ์ ะมาเป็นพระพุทธเจา้ ทรงเปน็ อะไรมากอ่ น กรุณาเลา่ โดยละเอียดตั้งแต่ เสวยพระชาติเปน็ สัตวต์ อนแรก? พูดเป็นเลน่ ไป การทอ่ งเท่ียวเวยี นวา่ ยตายเกิดในสงั สารวฏั ของคนเรานั้น กำหนดไมไ่ ด้วา่ ต้งั ต้น เมอ่ื ไร และจะจบสิน้ ลงได้เม่อื ไร แมจ้ ะทรงแสดงตำนานเรือ่ งอาภสั สพรหมจากพรหมโลกลงมากนิ งว้ น ดิน จนร่างกายหยาบกลายเปน็ บรรพบรุ ษุ มนุษย์ แตค่ วามเป็นจริงแล้วชีวติ ทกุ ชวี ติ น้ันทอ่ งเทีย่ วจาก โลกหน่งึ ไปสโู่ ลกหนงึ่ ตามแรงผลักดันของกรรม เรื่องของพระพทุ ธเจา้ ในสมยั ท่เี ป็นพระโพธสิ ตั วแ์ ล้ว ทรงอุบัตใิ นกำเนิดต่าง ๆ เปน็ อนั มาก แม้ในกำเนิดสัตวด์ ริ ัจฉาน แต่ท่านกำหนดวา่ สัตวท์ ี่ทรงเป็นน้ันไม่ เลก็ กวา่ นกกระจาบ ไม่โตเกนิ ช้าง หากจะเร่มิ นบั จากพระชาติที่ทรงต้งั ความปรารถนาขอให้ไดเ้ ปน็ พระพุทธเจา้ และไดร้ ับคำ พยากรณข์ องพระทีปงั กรพุทธเจา้ ในสมัยทีท่ รงอุบัตเิ ป็นสเุ มธาดาบส นบั จากนั้นเป็นตน้ มาจนตรสั รู้ เปน็ พระพุทธเจ้าแลว้ ได้ทรงนำเอาพระชาตติ ่าง ๆ ที่พระองค์เคยเกดิ ในกำเนดิ ต่าง ๆ มาเลา่ ประกอบ พระธรรมเทศนาตามสมควรแกเ่ ร่ืองทีเ่ กิดขึ้นในโอกาสนั้น ๆ ท่านรวบรวมไวถ้ งึ 547 เรื่อง เปน็ หนงั สอื หนาขนาดนว้ิ กว่าจำนวน 10 เลม่ ท่านเรียกว่า \"ชาดก คือเรอื่ งที่เคยเกิดมาแลว้ \" หาก ตอ้ งการทราบรายละเอียดในเรือ่ งนน้ั ๆ อาจหาอ่านเอาได้จากห้องสมุดใหญ่ ๆ บางแห่ง ขืนให้ รายละเอียดกันท่ีน่ี ตอ้ งเรยี บเรยี งออกมาเป็นหนงั สอื ขนาดใหญ่ ไม่น้อยกวา่ 3 เลม่ จงึ ไมอ่ าจทำได้ใน เวลานี้ 7. สมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจ้า ทรงเป็นแบบอย่าง ทรงเป็นครูทดี่ ขี องมนุษยใ์ นทกุ ด้าน ซึ่งรวมทั้งพระ ธรรมคำสอนของพระองคด์ ้วย แตท่ ำไมพุทธประวัตจิ ึงสอดแทรกอภินิหารยิ ์ไว้อยา่ งมากมาย (คงทราบ นะครับ) แลว้ ในสมัยนีท้ ่านลองคิดดู ความทนั สมัยทางวิทยาศาสตร์เจรญิ ขนาดไหน แลว้ จะทำให้คน สมัยนีม้ คี วามคิดตอ่ ศาสนาอยา่ งไร? ทกุ ยคุ ทุกสมยั คนจะมีความคดิ เร่อื งศาสนา ตามกำลังแห่งความรู้ความเข้าใจของตน แม้ในเรื่อง เดียวกันหากคนมีพืน้ ฐานความเขา้ ใจในเร่ืองนนั้ ๆ ต่างกนั เขาย่อมมีความคิดในเรื่องน้นั ไม่เหมือนกนั สมัยไหน ๆ กต็ ้องปล่อยให้คิดกันไปอยา่ งน้ี เร่ืองอภนิ ิหารในพระพุทธศาสนานน้ั เปน็ การแสดงขอ้ เท็จจรงิ ทางประวัตศิ าสตรใ์ นหนังสอื บาง เล่ม เช่น ปฐมสมโพธกิ ถา มีส่วนแห่สงแรงบันดาลใจของกวี ท่ีเกดิ จากศรทั ธา และความซาบซ้งึ ในพระ พทุ ธคุณ ซงึ่ เปน็ ความจรงิ ในแง่ของวรรณคดี ไม่นา่ จะมปี ัญหาอะไรเลยจริง ๆ เพราะอะไร?

เพราะคำวา่ อภินิหาร หรอื อภนิ หี าร ไมม่ ี ย การนั ตอ์ ยา่ งคำถาม ท่านแปลว่า บุญหรืออานภุ าพ เครอ่ื งนำออกเพอื่ คณุ อนั ยิง่ , อำนาจแห่งบารมี, อำนาจแหง่ บญุ ทีต่ นสร้างสมไว้, ดว้ ยความหมายทัง้ 3 ประการน้ี จึงเป็นเครอ่ื งช้ใี หเ้ หน็ ว่าคนทุกคนล้วนมอี ภนิ หิ ารดว้ ยกันทุกคน จะมากหรอื น้อยย่อมขึ้นอยู่ กับอำนาจบุญบารมีของคนนนั้ ๆ อภินหิ ารน้นั เกดิ ขนึ้ จากสาเหตุ 2 ประการ คอื - บญุ บารมีในอดีตกาลท่บี คุ คลไดส้ ร้างสมไว้ในภพชาติตา่ ง ๆ จนบารมนี ัน้ เต็มสมบรู ณพ์ อทีจ่ ะ อำนวยใหเ้ กดิ อภินิหารในภพชาติน้ัน ๆ ได้ - บญุ บารมที ี่สร้างมาแลว้ ในอดตี ชาติ แต่ไมเ่ ต็มบริบูรณ์ ทา่ นได้สรา้ งเพ่ิมเติมข้นึ ในปัจจุบันชาติ จนบารมนี ้ันแก่กล้า สามารถสำแดงอภนิ หิ ารออกมาได้ อภนิ หิ าร จงึ เปน็ ผลทเี่ กิดมาจากเหตุอนั บคุ คลไดส้ ร้างข้นึ ด้วยตน ไดป้ ัจจัยในปจั จบุ นั สนบั สนนุ มาก บ้างนอ้ ยบา้ ง ก็แสดงอภนิ หิ ารออกมา ตามควรแก่บุญบารมีของแต่ละบคุ คล เชน่ สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช เม่ือทรงประสูติใหม่ พระราชวงศ์เห็นเปน็ 4 กร จนได้ถวายพระ นามเช่นน้ัน อนั เปน็ การแสดงออกถงึ บารมีทจี่ ะได้เปน็ ใหญ่ในอนาคต ซงึ่ เปน็ จรงิ เช่นนนั้ หรอื การที่ ฟ้าผ่าลงมาโดยไม่มอี ันตราย มีงมู าวงขนดรอบองค์ของ พระเจา้ ตากสินมหาราช เม่อื ประสูติ ใหม่ ๆ และการท่ีพระองค์ถกู อาจารย์ลงโทษผกู ล่ามไว้ท่ีบันไดทา่ นำ้ พอนำ้ ขน้ึ ถึงคอบนั ไดกห็ ลุดลอย ขน้ึ เป็นต้น นี่คอื ส่ิงทเ่ี รียกวา่ อภินหิ าร คืออำนาจแหง่ บญุ บารมี พระพทุ ธเจา้ น้นั ทรงเป็นอจั ฉรยิ มนุษย์ ซ่งึ อย่างน้อยทสี่ ุดในประวตั ิศาสตร์โลกรวม 5,000 ปมี าน้ี ไมม่ หี ลกั ฐานว่าใครจะมอี ำนาจบารมีสงู ส่งยงิ่ กวา่ หรอื ทัดเทยี มกับพระองค์ ประวัตขิ องอจั ฉรยิ บคุ คล เช่นเดยี วกบั การยอมรบั อัจฉริยในด้านอน่ื ของคนท้ังหลาย เชน่ อัจฉรยิ ะทางโคลงของศรปี ราชญ์ ซึ่ง สามารถแตง่ โคลงไดเ้ มือ่ อายเุ พยี ง 10 กว่าขวบ เป็นตน้ อภนิ หิ าร น้นั ในภาษาบาลีท่านมกั ใช้คำว่า \"กตาภนิ ีหาโร\" แปลว่าผูม้ อี ภินิหารอนั ได้กระทำไว้ แล้ว เชน่ เจ้าชายสิทธตั ถะทรงใช้เวลาเพยี งไมน่ านนัก ทำสมาธใิ หเ้ กดิ ข้ึนได้ในขณะท่ีคนอืน่ กำลงั สนใจ พธิ แี รกนาขวญั กนั เม่อื ทรงเห็นคนแก่ คนเจ็บ คนตาย ทรงคิดถึงปัญหาแหง่ โลกและชวี ติ จนทำให้มองเห็นว่าจะตอ้ ง มีอกี ฟากหนึ่งคอื ความไมเ่ กิด ไมแ่ ก่ ไมเ่ จบ็ ไมต่ าย มีอยู่ในโลกน้ี เมอ่ื ทรงครุ่นคดิ อยู่พอสมควรแล้ว ทรงมองเห็นพระโอรสว่าเปน็ บว่ ง ทรงเห็นสาวงามเป็นอันมากทีน่ อนหลบั อยู่เปน็ ดจุ ซากศพท่ีทงิ้ ในป่า ชา้ จนตัดสินพระทัยออกบวช โดยไมส่ นพระทัยในสมบตั ขิ องพระเจา้ จกั รพรรดิ เป็นต้น เหลา่ นล้ี ้วน แล้วแตเ่ ป็นนอภนิ ิหารคอื แรงบนั ดาลแห่งบารมีธรรม อันเป็นเคร่ืองนำออกเพอ่ื คุณอนั ยิง่ ใหญ่ ทเ่ี ปน็ เชน่ นีเ้ พราะอะไร? เพราะว่า คนแก่ คนเจ็บ คนตายนัน้ เปน็ ภาพทป่ี รากฏตามปกติ สำหรบั คนไมม่ บี ารมอี นั ได้สร้าง สมอบรมมาดแี ลว้ จะไม่รสู้ ึกสะดดุ ใจอะไร หรอื การเหน็ สาวงามนอนหลับเหมอื นซากศพน้นั คนไม่มี บารมจี รงิ ๆ มองเหน็ เช่นน้ันไมไ่ ด้ การมองปัญหาชวี ิตเข้าถงึ แกน่ ความจริงเช่นน้ี อันทีจ่ ริงหาได้เฉพาะ

สิทธตั ถราชกุมารไม่ พระอรหันตสาวกเป็นอันมากกม็ องเหน็ ในลกั ษณะนี้ เชน่ พระยสเถระ หรือ พระ สารีบตุ ร พระโมคคลั ลานเถระ กอ่ นจะออกบวชก็เพราะมองเหน็ การเล่นสนุกตา่ ง ๆ วา่ เปน็ การปลอ่ ย ชวี ิตใหส้ ญู เปลา่ เพราะอกี ไมน่ านทั้งคนดคู นแสดงกจ็ ะต้องตายกนั หมด จงึ ตัดสินใจออกบวช หรือ พระอุบลวรรณาเถรี เม่ือสมยั ท่ยี ังเป็นสาวมีคนมาสูข่ อกันมาก ทงั้ เจ้าชาย เศรษฐีคฤหบดี บิดา เหน็ เป็นเร่ืองยุ่งยากเพราะไม่ร้จู ะให้ใครดี จงึ ถามท่านว่าต้องการจะบวชไหม พอได้ยินคำถามบดิ า ทา่ นก็รับปากด้วยความยินดี เรือ่ งเหลา่ นีเ้ ป็นเรือ่ งของคนที่เรยี กว่า \"กตาภินีหาโร\" ท้งั นั้น แม้ความสำเรจ็ ของนกั วทิ ยาศาสตร์ท้ังหลาย เราอาจอนุโลมเข้าในข้อน้ีได้ เพราะท่านเหลา่ นัน้ กวา่ จะประสพความสำเรจ็ ในงานของท่าน จะตอ้ งสะสมความร้คู วามเข้าใจ ผ่านการทดลองมาเป็น เวลานาน บางเร่อื งมกี ารเก็บสะสมขอ้ มูลกนั หลายชวั่ อายคุ น จึงจะทำงานนัน้ ๆ สำเรจ็ ได้ เร่ืองของพระพุทธศาสนากับวทิ ยาศาสตร์น้นั เหมือนกันในด้านหลักการและวธิ ีการ แต่ วทิ ยาศาสตร์สนใจค้นควา้ ในด้านรูปวัตถุ ถึงแมจ้ ะมีการพดู ถงึ สสารและพลังงาน แต่พลงั งานทาง วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นการแปลงสสารใหเ้ กดิ เปน็ พลงั งาน สว่ นเรือ่ งอภินหิ ารเปน็ เร่ืองของคณุ ธรรมความดี อันไดช้ อ่ื ว่าบารมี ซงึ่ มหี นา้ ทใี่ นการขจดั กเิ ลสบาปธรรมให้เบาบางลงเรื่อย ๆ จนถงึ จดุ ที่บารมเี หลา่ นั้น จะแสดงอานุภาพออกมาได้ ท่านเรียกว่าอภนิ ิหาร เรอื่ งของอภินหิ ารจึงอาจพสิ จู น์ไดท้ ุกยคุ ทกุ สมัย เช่น - นายเรือง ในก๊กเจ้าพระยาพษิ ณุโลก ต้งั ตวั เป็นเจ้าแผน่ ดนิ ได้เพียง 7 วนั เกิดฝขี ึ้นที่คอตาย หรือ บางคนมีบารมีถงึ แตเ่ ปน็ บารมียังอ่อน ได้ตำแหนง่ อะไรท่ีเกนิ บารมีของตนเข้ากใ็ ห้มอี นั เป็นไปตา่ ง ๆ นานา ปญั หานเี้ ขา้ ใจวา่ ผูถ้ าม ตอ้ งการจะถามเรื่องปาฏหิ ารยิ ห์ รือฤทธม์ิ ากกวา่ แตไ่ มเ่ ขา้ ใจความหมาย ของคำ จงึ ใช้คำว่าอภนิ ิหาร โดยมี \"ย\" การันต์ แตเ่ มื่อบอกว่าเปน็ นักศกึ ษาคณะครุศาสตรจ์ งึ ทำให้ สับสนพอควรทีเดียว จงึ ขอสรุปว่า \"นกั วิทยาศาสตรท์ แ่ี ท้จรงิ น้ัน เหมอื นกนั กบั ศาสนาทแี่ ท้จรงิ คอื จะ ไมย่ นื ยนั หรือปฏเิ สธอะไร ในเรือ่ งท่ีตนยงั ไมไ่ ด้ศึกษาและพิสูจน์ดว้ ยกรรมวิธีเพ่ือการพสิ จู นเ์ ร่ืองนั้น ๆ \" 8. เม่อื พระพุทธเจา้ ตรสั รู้แล้ว ทำไมเม่อื พระพุทธบิดาสง่ คนมานมิ นต์ ให้เสด็จเข้าไปในเมอื ง พระองค์ จึงไม่เสดจ็ ไป จนตอ้ งสง่ คนมาเชญิ เสดจ็ ถงึ 10 ครั้ง ทีเ่ ป็นเช่นนเี้ พราะเหตุไร? พระพทุ ธเจา้ ทรงทำงานเพอื่ ประโยชน์เพือ่ เกือ้ กลู เพ่อื ความสขุ แก่สรรพสตั ว์ ทรงมพี ทุ ธกิจ ประจำวันอย่ปู ระการหนง่ึ คือ ทกุ เวลาใกลร้ งุ่ ของแต่ละคนื พระองค์จะทรงตรวจดูสตั วโ์ ลกดว้ ยทิพย จกั ขุ ใครมบี ารมีแก่กล้าปรากฏในข่ายพระญาณกจ็ ะเสด็จไปโปรดคนนน้ั ก่อน เรยี กว่าทรงทำงานตาม เหตตุ ามผลท่ีทรงเห็นด้วยพระญาณ ดังนน้ั จะเหน็ ว่าเม่ือตกลงพระทัยวา่ จะสอนธรรมแกส่ ตั วโ์ ลก จึง เสดจ็ ข้นึ เหนอื ไปเมอื งพาราณสี จากนัน้ ลอ่ งลงใต้ไปที่อุรุเวลาเสนานคิ ม แล้วเสด็จเข้ากรงุ ราชคฤห์ ทรงประสบความสำเร็จอยา่ งยงิ่ ใหญ่ในการทำงาน เพราะทรงทำงานอย่างมรี ะบบ มหี ลักการและ วิธกี ารทถี่ กู ต้องสมบรู ณท์ ่ีสุดคอื ก. เม่อื ใครปรากฏในขา่ ยพระญาณ จะทรงตรวจสอบขอ้ มลู ในด้านตา่ ง ๆ ของคนน้นั โดยละเอยี ด เสยี ก่อนว่าเปน็ ใคร มีบารมี พ้นื ฐานทางจิตเปน็ อยา่ งไร เป็นต้น

ข. ทรงกำหนดหวั ขอ้ ธรรม ที่จะทรงแสดงแก่คนเหลา่ น้ันไวก้ ่อน แล้วทรงประเมนิ ผลวา่ เมือ่ คน เหล่านนั้ ฟงั ธรรมแลว้ จะได้ผลอย่างไร ค. ทรงสรปุ ผลการแสดงธรรมแตล่ ะคร้ัง เปน็ การลว่ งหนา้ คอื ทรงรูว้ า่ เมอ่ื ทรงแสดงธรรมจบลง แลว้ ผลจะออกมาอย่างไรบ้าง และเป็นจริงอย่างที่ทรงสรุปผลไว้ในทกุ กรณี ดว้ ยหลักการดงั กลา่ วมาน้ี แสดงว่าพระญาตทิ างกรุงกบลิ พสั ดุ์ ยงั ไม่ปรากฏในข่ายพระญาณของ พระองค์ เมือ่ ไมป่ รากฏในข่ายพระญาณ การเสด็จไปโปรดจึงเปน็ เหมือนสอยมะมว่ งทีย่ ังไม่ถงึ เวลา สอย ผลทีแ่ ท้จริงจะไมเ่ กดิ ขึ้น จะทำไดเ้ พยี งการเยีย่ มพระญาติเท่านนั้ ซึง่ เมื่อเทย่ี บกับงานการช่วย สตั วโ์ ลกแลว้ งานช่วยสตั ว์โลกให้ได้บรรลธุ รรม ในเม่อื โอกาสของเขามาถึงเป็นความจำเป็นมากกว่า แตเ่ มื่อถงึ คราวจะเสด็จจะมใี ครเชญิ ให้เสด็จหรอื ไม่ พระองคก์ ค็ งเสด็จอยนู่ ั่นเอง ในกรณขี องการสง่ อำมาตยพ์ รอ้ มดว้ ยบรวิ ารคราวละ 1,000 คน มาทูลเสดจ็ รวม 9 ครั้ง เปน็ คน 9,000 คน แต่พระพุทธเจ้าไมไ่ ดเ้ สดจ็ เพราพระอรหนั ต์เหล่าน้ันไมไ่ ด้กราบทลู อาราธนา จนต้องส่ง กาฬุทายมี หาอำมาตย์ ซงึ่ เป็นพระสหายมากราบทูลเชญิ เสดจ็ ท่านกาฬุทายกี ราบทูลลาบวชด้วย เม่ือ ไดร้ บั พระบรมราชานุญาตแลว้ จึงได้ไปเฝา้ ฟงั ธรรมบรรลุอรหตั ได้บวชในสำนกั ของพระพุทธเจา้ และ ได้กราบทูลเชญิ เสดจ็ เมื่อเสดจ็ ก็เสดจ็ ไปขบวนใหญโ่ ตมาก พระกาฬทุ ายีได้กราบทลู พรรณนาความ งามของเส้นทางพระพทุ ธดำเนนิ ซ่งึ มคี วามยาว 60 โยชน์ ดว้ ยฉนั ทลกั ษณอ์ นั ไพเราะ และทา่ นได้ไป แจ้งระยะทางที่พระพุทธเจา้ เสด็จมาถงึ แก่พระญาติทกุ ๆ วัน รวม 60 วัน จนเสด็จถงึ กรุงกบิลพสั ดุ์ เมื่อพิจารณากนั ในฐานะยกย่องพระกาฬุทายี จะ เหน็ ความเป็นจรงิ วา่ ท่านทำงานไดเ้ หมาะสมแก่ตำแหนง่ เอตทัคคะ คอื ยอดกว่าภิกษุทงั้ หลายท่ีทำ ตระกลู ให้เลอื่ มใส แต่พระอรหนั ตอ์ ดตี ขา้ ราชการผู้ใหญอ่ กี 9 ท่าน พรอ้ มด้วยบรวิ าร 9,000 รปู เล่า ไม่กลายเปน็ คนใช้ไม่ไดไ้ ปหรือ และกรงุ กบิลพสั ดุ์ซึ่งมีข้าราชการอยู่มาก ในจำนวนขา้ ราชการผู้ใหญ่ 10 ทา่ น มีความรับผดิ ชอบในราชการเพยี งคนเดียวจะนำพาชาติบา้ นเมืองไปได้หรือ ย่ิงต่อมาทา่ น ออกบวชบรรลุเปน็ พระอรหนั ต์ ผไู้ ดช้ อ่ื วา่ มีสติสมบูรณ์ งานเพยี งเล็กนอ้ ยคอื กราบทูลอาราธนา พระพทุ ธเจ้าเสด็จกรงุ กบิลพัสดุ์เทา่ นัน้ ทา่ นจะไมท่ ำตามคำส่ังของพระเจา้ สุทโธทนะที่ทา่ นรับสัง่ มาเชยี วหรือ ยิ่งอา้ งว่าท่าน ลมื แลว้ ไปกันใหญ่ เพราะเป็นเร่อื งเปน็ ไปไมไ่ ด้สำหรับพระอรหันต์ ความจรงิ ในเร่อื งน้คี วรเปน็ เช่นไร? ประเด็นสำคญั ของเร่อื งน้ี คอื พระพทุ ธเจ้าไม่ไดเ้ สด็จไปเรว็ ๆ ตามทพ่ี ระเจา้ สุทโธทนะทรง ประสงค์ จึงต้องสง่ ราชทตู ไปชุดแล้วชุดเล่า ท่านเหล่านั้นคงกราบทูลอาราธนา ตามพระราชบัญชาทกุ ชดุ ท่ีไปน่ันแหละ แต่เพราะพุทธเจ้าทรงรอคอยความแก่กล้าแห่งญาณบารมขี องพระญาติ เพราะทรง ทำงานดว้ ยหลักการดงั กล่าวในตอนต้น พระเจ้าสุทโธทนะพระทยั รอ้ น จงึ ตอ้ งสง่ ราชทูตชดุ อ่ืน ๆ ตามมา จนถึงพระกาฬทุ ายเี ป็นทำนองเรง่ รดั เทา่ นนั้ เอง อย่างไรกต็ าม งานของพระกาฬทุ ายีเป็นงานที่ควรยกยอ่ งอยา่ งยิ่ง เพราะสามารถสร้างสภาพ

ยอมรบั นับถือใหเ้ กิดข้นึ ภายในพระทยั ของพระญาตวิ งศ์ แหง่ พระพทุ ธองคไ์ ดม้ ากทพี่ ระพทุ ธเจ้าเสด็จ มาถงึ ยงั แสดงอาการไม่ยอมถวายบังคมแอบไปหลบอยู่ข้างหลงั หลาน ๆ กม็ ี จนพระพทุ ธเจ้าต้องแสดง ปาฏิหารยิ ์ ลอยขน้ึ ไปบนอากาศ ทำดจุ เรี่ยรายละอองธุลีพระบาทลงบนพระเศียรแหง่ พระญาติ จน เป็นเหตใุ หม้ านะของทา่ นเหลา่ น้ันลดลง ฝนโบกขรพรรษตกลงท่ามกลางพระญาติ และทรงแสดง เวสสนั ดรชาดก โปรดพระญาตใิ นคราวนัน้ 9. การทพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรงกำหนดวนั ปรินพิ พานได้เองนนั้ จะไมเ่ ปน็ การเหลอื เชอ่ื ไปหรอื เพราะ คนเราจะถงึ แก่ความตายนนั้ อย่ทู เี่ วรกรรมท่ที ำไว้ ขอฟงั คำอธบิ ายด้วย? อ้าว ทำไมคิดอย่างนั้นละ พระพทุ ธเจ้าน้นั ทรงมีพระญาณหย่ังรสู้ รรพธรรมตามความเป็นจรงิ ทรงมีพระญาณทเ่ี รยี กว่า อนาคตังสญาณ คอื ทรงรูก้ าลอนาคต มีเรอ่ื งเป็นอันมากที่ทรงแสดงว่าจะ เกิดข้นึ ในอนาคต คือหลังจากพระองค์ปรินิพพานไปแล้ว และได้เกิดขึ้นจริง ๆ ตามที่ทรงแสดงไว้ซ่ึง เราเรียกว่าพุทธทำนาย นบั ประสาอะไรกบั การปลงพระชนมายุ เพราะเม่ือเทยี บกบั สิ่งอน่ื ที่ทรงรู้แลว้ เรื่องกำหนดวนั ปรนิ พิ พานเปน็ เรอ่ื งธรรมดามาก ธรรมดาจนขนาดคนท่ีเรยี นโหราศาสตรจ์ นแตกฉาน และแพทยแ์ ผนปจั จบุ ันทม่ี คี วามชำนาญจรงิ ๆ กส็ ามารถบอกได้วา่ ใครจะตายเมอ่ื ไร แตเ่ ขาไม่ทำนาย และไม่บอกนั้นเพราะจะทำใหค้ นปา่ ยเสียขวญั เทา่ นัน้ เอง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงประสูตใิ นวนั มหาปวารณา จึงทรงกำหนดพระทัยไว้ ว่าจะสวรรคตในวนั มหาปวารณาด้วย และทรงกำหนดไว้ตง้ั แตย่ ังเปน็ พระอยดู่ ้วยซ้ำไป แล้วผลเปน็ อยา่ งไร พระองคส์ วรรคตวันมหาปวารณาจริง ๆ ตามทที่ รงกำหนดไว้ การกำหนดวนั นพิ พานนนั้ พระอรหนั ตเ์ ปน็ อนั มากท่ีทา่ นตรวจดูอายุของท่านรวู้ า่ ส้นิ แล้ว ได้กราบ ทลู ลพระพทุ ธเจ้าไปนพิ พาน ในทซี่ ่ึงท่านกำหนดไว้ เช่น พระสารบี ตุ รเถระกราบทลู ลาไปนิพพานท่ี บ้านของท่าน เพ่ือโปรดมารดาของท่านให้เปน็ สมั มาทฏิ ฐิกอ่ นนพิ พาน เป็นต้น อยา่ ลืมวา่ เรอื่ งจริง ๆ ในโลกนมี้ ากเหลือเกนิ ท่เี รารไู้ มไ่ ด้ทำไม่ได้ แตค่ นอื่นสามารถรูไ้ ด้ทำได้ตามคุณสมบัติของแต่ละทา่ น 10. ทีว่ า่ พระพทุ ธเจ้าปรนิ ิพพานแล้วไม่เกดิ เมอ่ื เปน็ เช่นนีแ้ ล้วพระองค์ไปอยทู่ ่ีไหน นิพพานต่างจาก การตายธรรมดาอย่างไร ขอฟงั คำอธบิ าย? พระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ท้ังหลายนั้น ทา่ นไดท้ ำลายกเิ ลสไดห้ มดส้ินแล้ว ดังนั้นการเกิดจึงไมม่ ี เม่ือไมม่ ีการเกดิ หรอื ภพ อย่างทแ่ี สดงว่า \"อยมนตฺ มิ า ชาติ นตฺถิทานิ ปุนพฺภโว\" ซึง่ แปลว่า \"ชาตนิ ้ี เปน็ ชาติสดุ ทา้ ย ภพใหม่ไมไ่ ด้มีอีกตอ่ ไป\" การจะพูดว่านพิ พานแล้ว ไปอยู่ทไ่ี หนจงึ พดู ไมไ่ ด้ เหมือนไฟ ท่ีดับไปเพราะหมดเชื้อ ไม่อาจจะกล่าวไดว้ า่ ไฟนั้นหายไปอยูท่ ่ีไหนฉะนั้น

นพิ พานตา่ งจากการตายธรรมดา เพราะคนตายธรรมดานน้ั ยังมกี ิเลส กรรม คอื ความดแี ละความ ชั่ว กเิ ลสกบั กรรมยอ่ มทำหน้าที่สร้างปฏสิ นธวิ ญิ ญาณ เพือ่ ถือกำเนิดในรปู ของสง่ิ มีชีวติ ตา่ ง ๆ ตาม อำนาจของกรรม เพราะวา่ ท่านเหล่าน้ันยงั เป็นสัตว์โลกอยู่ จึงยอ่ มเป็นไปตามอำนาจของกรรม และ กรรมนีเ้ องจะทำหน้าที่จำแนก กำเนดิ เปน็ ตน้ ของท่านทต่ี ายไปนัน้ ให้เลวประณีต สงู ตำ่ โงฉ่ ลาด แตกต่างกัน 11. กรุณาเล่าถงึ ตอนท่ีพระพุทธเจา้ ปรินพิ พานโดยละเอียด และพระธาตุคงเหลอื อยูท่ ี่ไหนบ้าง มีก่ี ประเภท อะไรบา้ ง? อย่าให้ละเอยี ดมากนักเลย ประเด๋ียวจะกลายเป็นการแต่งหนังสือไป เอาเพียงใจความสำคญั ทค่ี วร ทราบตามลำดับดังตอ่ ไปนก้ี พ็ อ 1. หลังจากไดแ้ สดงธรรม แนะนำ ตอบข้อข้องใจของพระท่ีมาร่วมประชุมกันในสถานที่ ปรนิ ิพพานแลว้ พระพทุ ธเจ้าได้รับสงั่ เรียกภิกษุท้งั หมดแลว้ รับสั่งว่า \"ดูกรภิกษทุ ้งั หลาย บัดนี้ เราตถาคตขอเตือนเธอทงั้ หลายใหร้ ้ไู ว้ สังขารทั้งหลายมีความเสือ่ มแตก สลายไปเปน็ ธรรมดา เธอท้งั หลายจงยังกจิ ทงั้ ปวง อนั เปน็ ประโยชน์ตนและประโยชน์แก่คนอนื่ ให้ บรบิ รู ณด์ ้วยความไมป่ ระมาทเถิด\" 2. จากน้นั ไมไ่ ด้รับสั่งอะไรอีกเลย ทรงเขา้ อนุบพุ พวหิ ารสมาบัติ คือรปู ฌาน 4 อรูปฌาน 4 และสญั ญเวทยิตนโิ รธ 1 ไปตามลำดบั แลว้ ถอยหลังจากสัญญาเวทยิตนิโระมาหาอรูปฌานท่ี 4 คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ จนมาถงึ ปฐมฌานอนั เป็นรูปฌานที่ 1 แล้วเรมิ่ เข้าปฐมฌานไป ตามลำดบั อีกคร้งั หนง่ึ ทรงปรนิ ิพพานเม่ือออกจากจตตุ ถฌาน อันเป็นรูปฌานที่ 4 ในปัจฉิมยามแห่ง ราตรวี ิสาขบุรณมี เมอ่ื พระชนมายุ 80 พรรษาบริบูรณ์ ณ สาลวโนทยาน ของมลั ลกษัตริย์ เมอื งกุ สินารา พระธาตุของพระพทุ ธเจา้ ท่ที ่านนำมาสรา้ งเป็นเจดยี ์สถูปมกี ระจดั กระจายท่ัวไปในประเทศตา่ ง ๆ ที่นับถือพระพุทธศาสนา ทั้งฝ่ายมหายานและเถรวาท ตอ่ มาเมอื่ ผู้นับถอื เพิม่ จำนวนขึ้นพระบรม สารีริกธาตุคอื กระดูกของพระพทุ ธเจา้ มไี มม่ ากพอ ทจ่ี ะแจกกันไดท้ ัว่ ถึง การสร้างเจดีย์เพือ่ สักการะบชู าจงึ ได้แบ่งออกเปน็ 4 ประเภท คอื ก. พระธาตุเจดีย์ ภายในบรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตสุ ่วนต่าง ๆ ข. บริโภคเจดยี ์ สร้างบรรจเุ ครือ่ งใช้ตา่ ง ๆ ของพระพทุ ธเจา้ เช่น บาตร จีวร เปน็ ต้น แมส้ ถานท่ี ประสูติ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา ปรนิ พิ พาน รวมถงึ สถานท่ซี ่งึ เคยประทับ ก็สงเคราะหเ์ ข้าในเจดยี ์ ประเภทนดี้ ้วย ค. ธรรมเจดีย์ เจดีย์ท่ีสรา้ งขน้ึ บรรจหุ ลกั ธรรมสำคญั ๆ ของพระพุทธเจ้า

ง. อุทเทสิกเจดีย์ ได้แกส่ ิง่ ท่สี ร้างเพอ่ื เป็นเครอื่ งระลกึ หรอื อทุ ิศต่อพระพทุ ธเจ้า เชน่ พระพทุ ธ ปฏิมาในรปู ลกั ษณ์ต่า งๆ ตลอดถึงสญั ลักษณ์ท่ีสร้างข้นึ เพือ่ ระลึกถึงพระองค์ เช่น พุทธศลิ ปสมยั พระ เจา้ อโศกมหาราช เจดีย์เหลา่ นี้สร้างกระจัดกระจายกันท่วั ไป โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงพระพทุ ธรูป นยิ มสรา้ งกนั แพร่หลาย มาก มากจนทำให้รสู้ ึกว่า \"อาศัยรปู พ่อหากนิ กันแล้ว\" ในปจั จุบันน้ี 12. รอยพระพุทธบาทท่จี งั หวัดสระบรุ ี เป็นรอยพระบาทของพระพุทธเจา้ จริงหรอื ไม่ และมรี อยพะ บาทในทอี่ ืน่ อีกหรือเปลา่ ? ขอฟงั เหตผุ ลและหลกั ฐานว่าเปน็ อย่างไร? รอยพระพทุ ธบาทท่ีสระบุรีนนั้ เป็นรอยพระบาทจำลอง จัดอยู่ในประเภทอุทเทสกิ เจดยี เ์ หมือน พระพทุ ธรปู สำหรับเหตุผลทที่ ำให้ตอบเชน่ นมี้ ีมาก เช่น 1. ถ้ารอยพระพทุ ธบาทของพระพุทธเจ้าโตขนาดน้นั จริง ๆ องค์โตขนาดน้นั จรงิ ๆ องค์ของ พระพุทธเจา้ ก็ต้องใหญ่และสูงมาก คนทีไ่ ด้พบเหน็ พระองคแ์ ทนที่จะเกดิ ศรทั ธาเล่อื มใส ก็ตอ้ งวงิ่ หนี กันเป็ฯการโกลาหล เพราะความตกใจกลวั 2. พระพุทธเจา้ ทรงแสดงว่า รอยเท้าของสัตว์ในโลกน้ี รอยเทา้ ชา้ งใหญ่ทส่ี ดุ รอยเท้าสัตวอ์ ืน่ เหยียบลงในรอยเท้าชา้ งไมม่ ดิ คือทรงใช้คำว่า ถึงความรวมลงในรอยเทา้ ชา้ ง หากรอยพระบาทท่ี จงั หวดั สระบุรี เปน็ รอยพระบาทของพระองค์จรงิ ๆ พระพทุ ธดำรสั ก็ต้องเปลย่ี นใหมว่ า่ รอยเท้าแหง่ สตั ว์ทง้ั หลายในโลกนร้ี อยตถาคตเป็นเลิศ รอยเท้าของสัตว์อ่ืน ๆ ถึงความรวมลงในรอยเทา้ ตถาคต ซงึ่ ไมม่ พี ระพุทธดำรสั เช่นวา่ น้ี 3. พระพทุ ธเจา้ เปน็ ชนเผ่าอารยัน รปู รา่ งกายอาจโตกว่าคนไทยบ้าง แต่ไมม่ ากนกั และในสมัย พทุ ธกาลมีคนหลงเข้าใจว่า พระมหากัจจายนเถระบา้ ง พระนันทเถระบ้างวา่ เปน็ พระพทุ ธเจา้ คนบาง คนพบพระองคเ์ ข้าไมท่ ราบว่าเป็นพระพุทธเจา้ กม็ ี และเมอ่ื ดขู นาดจวี รของพระองค์แล้วจะพบว่าพระ ไทยองค์ทรี่ ่างสงู หนอ่ ยกห็ ม่ ไดส้ บาย เพราะยาวเพยี ง 9 คืบ กว้าง 6 คืบ โดยคบื พระสุคต ซ่ึงคืบพระ สคุ ตทีว่ ่านยี้ าวกว่าไม้บรรทดั เพยี งเล็กนอ้ ยเทา่ นัน้ จากหลักฐานในคมั ภรี ช์ ัน้ หลงั ทา่ นบอกวา่ รอยพระพุทธบาทท่ีทรงเหยียบไว้ มี 5 แหง่ คือ 1. ท่ภี ูเขาสวุ รรณมาลิก 2. ทภี่ เู ขาสุวรรณบรรณพต 3. ที่ยอดเขาสมุ นกฏู 4. ที่โยนกบุรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook