Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Public-Learning-Commu-

Public-Learning-Commu-

Published by chalanda.fasai, 2021-05-27 04:37:57

Description: Public-Learning-Commu-

Keywords: PLC

Search

Read the Text Version

PLC Professional Learning Community ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

นายแพทยธ์ ีระเกยี รติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตรวจเยี่ยมสานักงานคณะกรรมการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน 11 มกราคม 2560 2

น้อมนาพระราชกระแสฯ ด้านการศึกษา พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ร.๙ 3

พระราชกระแสฯ ดา้ นการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว ร.๙ ๑. นักเรียน ๑.๑ “ครูตอ้ งสอนให้เดก็ นกั เรยี นมีนาใจ เชน่ คนเรียนเก่งช่วยติวเพื่อนทีเ่ รยี นลา้ หลัง มิใชส่ อนให้เด็กคิดแต่จะแขง่ ขนั (Compete) กบั เพ่อื น เพ่ือใหค้ นเก่งไดล้ าดบั ดี ๆ เช่น สอบไดท้ ่ีหนึง่ ของชน้ั แต่ตอ้ งให้เด็กแข่งขันกบั ตนเอง” (๑๑ ม.ิ ย.๕๕) ๑.๒ “ครูไม่จาเปน็ ต้องมีความรทู้ างเทคโนโลยมี าก แต่ตอ้ งมงุ่ ปลูกฝงั ความดี ใหน้ ักเรยี นช้ันต้น ต้องอบรมบ่มนสิ ัยให้เปน็ พลเมอื งดี เด็กโตก็ต้องทาเชน่ กนั ” (๖ มิ.ย.๕๕)

พระราชกระแสฯ ด้านการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ร.๙ ๑. นักเรยี น (ตอ่ ) ๑.๓ “เราต้องฝึกหดั ใหน้ กั เรียนรจู้ กั ทางานร่วมกนั เป็นกลุ่มเป็นหมคู่ ณะมากขึ้น จะไดม้ ีความสามัคครี จู้ กั ดูแลช่วยเหลือซ่ึงกนั และกัน เอ้ือเฟอ้ื เผอื่ แผค่ วามรู้และ ประสบการณแ์ ก่กัน” (๕ ก.ค.๕๕) ๑.๔ “ทาเปน็ ตัวอยา่ งใหน้ ักเรียนเปน็ คนดี นกั เรียนรักครู ครรู ักนักเรยี น” (๙ ก.ค.๕๕)

พระราชกระแสฯ ดา้ นการศกึ ษา ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ร.๙ ๒. ครู ๒.๑ “เรอื่ งครมู คี วามสาคญั ไม่นอ้ ยกวา่ นกั เรยี น ปญั หาหนงึ่ คือ การขาดครู เพราะจานวนไม่พอและครูย้ายบ่อย ดังน้ัน ก่อนคัดเลือกเด็กท่ีจะพัฒนาต้องพัฒนาครูก่อนให้พร้อม ท่ีจะสอนเด็กให้ได้ผลตามที่ต้องการ จึงจะต้องคัดเลือกครูและพัฒนาครู ต้องตั้งฐานะในสังคมของครู ให้เหมาะสมและปลกู จิตสานึกโดยใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง วิธกี ารคือ การใหท้ ุนและอบรม กล่าวคือ ต้องมีความรู้ทางวิชาการในสาขาท่ีเหมาะสมที่จะสอน ต้องอบรมวิธีการสอนให้มีประสิทธิภาพ มีความเป็นครูที่แท้จริง คือ มีความรักความเมตตาต่อเด็ก ควรเป็นครูท้องที่เพ่ือจะได้มีความผูกพันและ คิดที่จะพัฒนาท้องถ่ินทีเ่ กิดของตนไมค่ ิดยา้ ยไปยา้ ยมา” (๑๑ ม.ิ ย.๕๕) ๒.๒ “ต้องปรับปรงุ ครู...ครจู ะอายุ ๔๐-๕๐ ปี กต็ ้องเรยี นใหม่ ตอ้ งปฏวิ ัตคิ รูอย่างจริงจัง” (๖ มิ.ย.๕๕)

พระราชกระแสฯ ด้านการศกึ ษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ร.๙ ๒. ครู ๒.๓ “ปัญหาปัจจุบันคือ ครูมุ่งเขียนงานวิทยานิพนธ์ เขียนตาราส่งผู้บริหารเพื่อให้ ได้ตาแหน่งและเงินเดือนสูงขึ้น แล้วบางทีก็ย้ายไปที่ใหม่ ส่วนครูที่มุ่งการสอน หนังสือกลับไม่ได้อะไรตอบแทน ระบบไม่ยุติธรรม เราต้องเปล่ียนระเบียบตรงจุดนี้ การสอนหนังสือต้องถือว่าเป็นความดีความชอบ หากคนใดสอนดี ซึ่งส่วนมาก คือ มีคุณภาพและปรมิ าณ ตอ้ งมี reward” (๕ ก.ค.๕๕) ๒.๔ “ครบู างส่วนเวลาสอนนักเรียนจะสอนไม่หมดแตเ่ กบ็ ไวบ้ างสว่ น หากนกั เรียนตอ้ งการรทู้ ง้ั หมดวิชา ก็ต้องเสยี เงนิ ไปสมัครเรียนพิเศษกับครูท่านนั้นจะ เปน็ การสอนในโรงเรียนหรอื สว่ นตัวกต็ าม” (๕ ก.ค.๕๕)

พระบรมราโชวาท รชั กาลท่ี ๙ ในพิธพี ระราชทานปรญิ ญาบัตรแกน่ สิ ิตและนกั ศกึ ษาวิทยาลยั วิชาการศกึ ษา วันพฤหสั บดีที่ ๑๕ ธนั วาคม ๒๕๐๓ “...ผ้ทู ่เี ปน็ ครูอาจารยน์ ัน ใชว่ า่ จะมีแต่ความรู้ในทางวชิ าการ และในทางการสอน เทา่ นันก็หาไม่ จะต้องรจู้ ักอบรมเด็กทงั ในดา้ นศีลธรรมจรรยาและวฒั นธรรม รวมทังใหม้ คี วามสานึกรับผดิ ชอบในหนา้ ท่ี และในฐานะท่ีจะเป็นพลเมอื งดี ของชาติต่อไปขา้ งหน้า การให้ความรู้หรอื ทเี่ รยี กว่าการสอนนนั ต่างกบั การอบรม การสอนคอื การใหค้ วามรแู้ ก่ผู้เรียน ส่วนการอบรมเป็นการฝกึ จติ ใจของผูเ้ รยี น ให้ซึมซาบตดิ เปน็ นิสยั ขอใหท้ า่ นทงั หลายจงอย่าสอนแต่อยา่ งเดยี ว ให้อบรม ให้ไดร้ ับความรู้ดงั กลา่ วมาแลว้ ดว้ ย...”

พระบรมราโชวาท รชั กาลท่ี 9 “ประเทศชาติของเราจะเจริญหรือเสอื่ มลงนัน ย่อมขึนอยูก่ บั การศกึ ษาของประชาชนแตล่ ะคนเป็นสาคญั ผลการศกึ ษาอบรมในวันนีจะเป็นเคร่อื งกาหนดอนาคต ของชาติในวนั ข้างหนา้ ...”



(ร่าง) การพฒั นาครูเพื่อใช้ประกอบการเล่ือนวทิ ยฐานะ ครผู ชู้ ่วย ชำนำญกำร ชำนำญกำรพิเศษ เช่ียวชำญ เช่ียวชำญพิเศษ 2 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี Probation 800 ช่ัวโมง / ปี ( นับรวม PLC ด้วย ) + + Entry Requirement +++ การพฒั นา คอร์สทีไ่ ด้รับรองมาตรฐาน (Approved Course) ตามระดับวทิ ยฐานะ PLC ++ + ช่ัวโมง PLC ซึ่งผ่านการรับรอง จาก ผอ.โรงเรียน + Logbook *** ครูได้รับการสนับสนุนในการพฒั นาสาหรับคอร์สท่รี ับรองมาตรฐานเพื่อเล่ือนวทิ ยฐานะ 10,000 บาท/คน/ปี

13 การประเมินของนกั เรยี นไทยจาก PISA 2000 ถึง PISA 2015

ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยว่า จากการประชุมคณะกรรมการ บริหารราชการแผนดินเชิงยุทธศาสตร์ โดยมี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ได้นาเสนอการขับเคลื่อนด้านการศึกษาใน 3 ส่วน คือ การจัดการศึกษาตาม ยุทธศาสตร์ชาติ การจัดการศึกษาตามรัฐธรรมนูญ และการอุดหนุนโรงเรียนเอกชน ทั้งน้ี นายกรัฐมนตรี เห็นว่ากลไกที่สาคัญท่ีสุด คือ ครู จึงต้องพัฒนาครูตลอดเวลา ทั้งเห็นด้วยกับการอบรมครูที่โรงเรียนและ ไปศึกษาดูงานเท่าที่จาเป็น โดยต้องปรับวิธีสอนของครู เน้นสอนให้เด็กอยากเรียน รู้จักคิดวิเคราะห์ ใชด้ ิจิทัลและเทคโนโลยี โดยทีค่ รตู อ้ งเรียนรูไ้ ปกับเด็ก ท่ีสาคัญต้องสอนให้เด็กเรียนรู้ปัญหาของชุมชนและ นามาเปน็ โจทยใ์ นการเรยี นรู้ นอกจากน้ีขอให้ ศธ.ไปทบทวนหลักสูตรการเรียนการสอนว่าตอบโจทย์ใน 3 เรือ่ งของการเรียนเพอ่ื ใหม้ คี วามรู้ เพ่ือพัฒนาสังคมและเพอื่ พัฒนาศกั ยภาพของประเทศหรอื ไม่

15 ครู ครู Training Course จะดขี นาดไหน จะไม่สามารถประสบความสาเรจ็ ไดเ้ ลย หากไมม่ กี ารนาไปใชก้ บั นกั เรยี นโดยผ่านกลไกท่ดี แี ละมปี ระสิทธภิ าพ

“PLC” “เป็นกระบวนการพัฒนาครทู ี่ทาได้ทันที ไม่ตอ้ งรอใครสัง่ การ ลงทนุ น้อย ไมต่ ้องทิงเดก็ ๆตาดาๆ ไปอบรมทลี ะหลายๆวนั เพราะ PLC ใชห้ อ้ งเรียนเป็นหน้างาน ทาแลว้ พฒั นาและแก้ปัญหาเด็กได้ตรงประเดน็ ใชป้ ัญหาของเด็กเป็นตัวตังในการทางานของครู PLC เปน็ การรวมตวั กันของครู ร่วมกนั ทาแผนการสอน ร่วมกันสงั เกตการสอน และรว่ มกันวพิ ากษ์ ทาซาจนเกดิ นวตั กรรมการเรียนรู้ เม่อื มีนวตั กรรมเกิดขนึ จงึ เช่ือไดว้ า่ เดก็ ๆได้รบั การพฒั นาศักยภาพ… โรงเรียนกด็ าเนนิ การต่อเน่อื งจนเกิดเปน็ วัฒนธรรมองค์กร” นายชยั วฒั น์ แก้วบัวทอง หวั หนา้ คณะทางานพฒั นาครูจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี จาก PLC วิถีไทย : นานาทัศนะ โครงการตดิ ตามสนับสนุนและส่งเสรมิ การเรยี นรโู้ ครงการพัฒนาระบบกลไกและแนวทางการหนุน เสริมชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชพี เพอ่ื พฒั นาผู้เรยี น

\"เมื่อผู้บริหารการศกึ ษา ครู และผเู้ กีย่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยเข้าใจเรือ่ ง PLC นอี ยา่ งชดั เจน PLC กจ็ ะกลายเป็นวฒั นธรรมองคก์ ร เป็นเคร่อื งมอื ในการพัฒนาครู และบคุ ลากรทุกฝ่ายอยา่ งย่ังยนื แต่ต้องเข้าใจวา่ PLC ไมใ่ ชห่ ัวขอ้ การอบรม แต่เป็น กระบวนการ ครสู ามารถนากระบวนการ PLC นีมาใช้เพ่อื ศึกษาเรอ่ื งทตี่ นเองสนใจ หรือเพอื่ ศึกษาหาทางแก้ปัญหาการจดั การเรยี นการสอนทีต่ นพบ หรอื เพ่ือสรา้ งนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนท่เี หมาะสมกับบรบิ ทของตนได้ตลอดไปอยา่ งย่งั ยนื คือใชก้ ระบวนการ PLC แตป่ รับเปลีย่ นหวั ขอ้ หรอื ปัญหา ที่ต้องการศกึ ษาได้ตามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรยี น แต่ละพนื ท\"ี่ รศ. นราพร จันทร์โอชา

PLC คืออะไร P Professional L Learning C Community PLC = Professional Learning Community ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี

ความหมายของ PLC Professional Learning Community การรวมตัว ร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมทา และร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา บนพืนฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตรท่ีมีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และภารกิจร่วมกัน โดยทางานร่วมกันแบบทีมเรียนรู้ท่ีครูเป็นผู้นา ร่วมกันและผู้บริหารแบบผู้ดูแลสนับสนุน สู่การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพเปล่ียนแปลง คุณภาพตนเอง สู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้นความสาเร็จหรือประสิทธิผลของ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ และความสขุ ของการทางานรว่ มกันของสมาชกิ ในชุมชน

20

วตั ถปุ ระสงค์ PLC Professional Learning Community เพ่ือเปน็ เครอ่ื งมอื ทชี่ ว่ ยให้ 1 การแลกเปลี่ยนเรยี นรมู้ ปี ระสทิ ธภิ าพ เพือ่ ใหเ้ กดิ การรว่ มมอื รวมพลังของทกุ ฝา่ ย 2 ในการพฒั นาการเรยี นการสอนสคู่ ณุ ภาพ ของผู้เรยี น เพ่อื ให้เกดิ การพฒั นาวชิ าชพี ครู 3 PLC ถือว่า ด้วยการพฒั นาผู้เรยี น ทกุ คนคือคนเชีย่ วชาญในงานนัน จึงเรียนรูร้ ว่ มกนั ได้

ความเช่ือของ PLC 1 01 Professional 2 ยอมรับวา่ การสอนและการ Learning Community 3 ปฏบิ ตั งิ านของครมู ผี ลตอ่ 4 การเรียนรู้ของผเู้ รยี น 02 ยอมรับหลักการที่วา่ 03 การเรียนรู้ของครู คือ การเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น ยอมรับวา่ การสอน บางครังต้องอาศยั 04 ความรว่ มมอื รว่ มใจ ยอมรบั วา่ และสมั พนั ธภาพแบบ ครูมีความแตกตา่ ง กลั ยาณมติ ร



องคป์ ระกอบสาคัญของ PLC : Professional Learning Community 02 04 06 รว่ มแรง ร่วมใจ และร่วมมอื กลั ยาณมติ ร การเรียนรูแ้ ละพฒั นาวชิ าชีพ ต้องเปดิ ใจ รับฟงั เสนอวิธกี าร เป็นเพอื่ นร่วมวชิ าชีพ การเรยี นรกู้ ารปฏบิ ตั งิ าน นาสกู่ ารปฏิบัตแิ ละประเมินรว่ มกนั เตมิ เต็มส่วนท่ขี าดของ และตรงกับภาระงานคือ การสอนสู่คณุ ภาพผู้เรียน Open เปดิ ใจรบั และให้ แตล่ ะคน care และ Share 01 03 05 ต้องมีวสิ ัยทศั นร์ ว่ มกัน ภาวะผู้นารว่ ม ตอ้ งปรับเปลีย่ นวฒั นธรรมองคก์ ร มเี ปา้ หมาย ทิศทางเดียวกัน มุ่งสกู่ ารพัฒนาการเรียนการ การทาPLC ต้องมผี นู้ าและ ต้องเน้นการทางานที่เปดิ โอกาส ผู้ตามในการแลกเปล่ยี น การทางานท่ีชว่ ยเหลอื กันมากกวา่ สอนสูค่ ณุ ภาพผเู้ รียน เรียนรู้ การสั่งการ มชี ั่วโมงพดู คุย 01 02 03 04 05 06

Reflect Innovation ของกล่มุ PLC ผู้เรียน PLC Professional Do เทคนิคการสอน Share 25 Learning Community อน่ื ๆ Learn

ขนั้ ตอนการดาเนนิ การ PLC แนวทางแกไ้ ข PLCLearPnrinogfCeosmsmiounniatyl ปญั หา สาเหตุ Lesson Study นาผลมาคยุ เลือกวธิ ี Active Learning ปรับและนาผลมาคุย สร้างแผนการเรยี นรู้ PBL สรุปผล รว่ มกนั อ่ืนๆ นาแผนไปใช้ สาเรจ็ ไมส่ าเรจ็ นวตั กร2ร6 ม/เผยแพร่

ประโยชน์ของชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี ในสถานศึกษา PLCProfessional Learning Community 1 ลดความรูส้ ึกโดดเดี่ยวในงานสอนของครลู ง ประโยชน์ เพ่มิ ความรสู้ ึกผูกพนั ต่อพนั ธกิจและเป้าหมายของ ตอ่ ครูผสู้ อน 2 โรงเรียนมากขึน โดยเพม่ิ ความกระตือรือร้นทจี่ ะปฏิบัติ ใหบ้ รรลุพนั ธกิจอยา่ งแขง็ ขัน 3 มคี วามร้สู กึ ที่ต้องรว่ มกนั รบั ผิดชอบตอ่ พฒั นาการ โดยรวมของนักเรียนและร่วมกนั รบั ผิดชอบเปน็ กลุ่ม ต่อผลสาเรจ็ ของนกั เรยี น

“กระบวนการเรียนรู้สาคัญกวา่ ความรู้” ครูมใิ ช่ผ้มู อบความรู้ ครเู ป็นผอู้ อกแบบกระบวนการเรยี นร้พู รอ้ มผ้เู รยี น เปา้ หมายการเรยี นรมู้ ใิ ชต่ วั ความรอู้ ีกต่อไป แหลง่ เรียนรู้ วธิ ีการเรียนรู้ เปิดกวา้ งอยา่ งไร้ขดี จากดั

Thank You ขอบคณุ ค่ะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook