Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CVM_Inthanon54

CVM_Inthanon54

Published by pototae, 2015-10-06 09:44:40

Description: CVM_Inthanon54

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินมูลคาส่ิงแวดลอมทางเศรษฐศาสตรเ พ่ือการจดั การ อทุ ยานแหงชาตดิ อยอินทนนท จงั หวดั เชียงใหม Environment Valuation for Management of Doi Inthanon National Park in Chiang Mai Province ศูนยศ กึ ษาและวิจยั อุทยานแหง ชาติ จงั หวัดเชียงใหม สว นศกึ ษาและวิจยั อทุ ยานแหง ชาติ สาํ นกั อุทยานแหงชาติ กรมอุทยานแหงชาติ สตั วปา และพนั ธุพ ชื , 2554

รายงานผลการวิจัยศนู ยศกึ ษาและวจิ ยั อุทยานแหง ชาติ จงั หวัดเชยี งใหมเรอ่ื ง การประเมนิ มูลคา ส่ิงแวดลอมทางเศรษฐศาสตรเ พื่อการจัดการอทุ ยานแหงชาติ ดอยอนิ ทนนท จงั หวัดเชียงใหม Environment Valuation for Management of Doi Inthanon National Park in Chiang Mai Provinceงบประมาณการวิจยั ประจําป พ.ศ. 2554หัวหนาโครงการวิจยั นายสรรเสริญ ทองสมนกึผรู วมโครงการวิจยั นายภดู ิท อกั ษรดษิ ฐ นายสรายุทธ วรรณรกั ษ นางสาวศิริอร ศกั ด์ิวิไลสกุล นางสาวมนัฐชญา วงคแปง นางสาวณฐั ธนิ ี จันตะ วารี งานวิจัยเสร็จสมบูรณ ตลุ าคม 2554

รายงานการประเมินมูลคา สิง่ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร กเพื่อการจัดการอุทยานแหง ชาตดิ อยอินทนนท จงั หวัดเชียงใหม คํานํา คาํ นาํ การประเมินคาส่ิงแวดลอมถือวา เปนความตระหนักของมนุษยที่จะมีกลไกสําหรับควบคุมการบรหิ ารโครงการพัฒนาในรูปแบบตา งๆ ภายใตร ะบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม โดยมีวัตถปุ ระสงคท ่ีสําคัญของการนํากลไกการประเมินคาส่ิงแวดลอมเขามาเพ่ือใหมีการระมัดระวัง มิใหทําความเสียหายใหกับส่ิงแวดลอมอยางมาก จนทําใหคุณภาพชีวิตของมนุษยตองเสื่อมถอยลงไป กลไกท่ีสําคัญในการควบคุมความเส่อื มคุณภาพของสิ่งแวดลอ ม จะตองมขี อมลู มูลคา สิ่งแวดลอ มที่เปนมาตรฐานเดยี วกนั กบั ขอมลู ดา นเศรษฐกจิ ซงึ่ มีมาตรวัดท่มี ีหนว ยเปน มลู คา เงนิ ปจ จุบันมีความตองการขอมูลเกี่ยวกับมลู คาของสง่ิ แวดลอมเพ่ิมมากย่ิงข้ึน เน่ืองจากปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมที่เกิดข้ึนในปจจุบันไดขยายวงกวาง แตขณะเดียวกันสังคมยังขาดกลไกในการกํากับดูแล ปองกันการรุกล้ํา และแนวทางการฟน ฟทู รพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ ม ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของการใชประโยชนจากทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอมในพ้ืนที่อุทยานแหงชาติของนักทองเที่ยว จึงไดทําการประเมินมูลคาส่งิ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตรเพือ่ การจดั การอุทยานแหง ชาตดิ อยอินทนนท จงั หวัดเชียงใหมเพอ่ื จะไดนาํ ผลการศกึ ษาไปประยกุ ตใชในการกําหนดนโยบายและจัดสรรงบประมาณใหสอดคลองและเหมาะสมกบั การบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในพนื้ ที่อุทยานแหง ชาตดิ อยอินทนนทจงั หวดั เชยี งใหม และในพื้นทอี่ ทุ ยานแหงชาตอิ ืน่ ในอนาคต คณะผูวิจัยขอขอบพระคุณ ดร.ทรงธรรม สุขสวาง ผูอํานวยการสวนศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ ที่ไดใหการสนับสนุนงบประมาณและคําแนะนําท่ีเปนประโยชนสําหรับการศึกษาวิจัยครั้งน้ี ขอบคุณนายเกรียงศักด์ิ ถนอมพันธ หัวหนาอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท และเจาหนาท่ี ที่ไดอนุเคราะหสถานท่ีพักและอํานวยความสะดวกในระหวางปฏิบัติงานในพื้นที่เปนอยางดี ขอบคุณนายภานวุ ฒั น สุภามลู พนักงานราชการ สํานกั งานปศสุ ัตวจ งั หวดั เชียงใหม (อดีตนักวิจัยของศูนยศึกษาฯเชียงใหม) ที่ไดใหคําแนะนําและคอยเปนท่ีปรึกษาในการวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรม SPSS และLimdep จนสัมฤทธ์ิผลตามวัตถุประสงค ขอบคุณสํานักอุทยานแหงชาติ สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี 16 (เชยี งใหม) และเจาหนาท่ีในสังกดั ท่ไี ดป ระสานงานการศึกษาวิจยั จนสําเรจ็ เปน รปู เลมฉบับสมบูรณทายที่สุดขอขอบคุณนักทองเท่ียวและผูมีสวนเก่ียวของกับงานวิจัยช้ินน้ีทุกทาน ที่กรุณาสละเวลาอันมีคายิง่ ในการตอบแบบสมั ภาษณแ ละขอ ซักถามตาง ๆ นายสรรเสริญ ทองสมนึก (หวั หนา โครงการ) นายภูดทิ อักษรดษิ ฐ (นกั วิจยั ) นายสรายุทธ วรรณรักษ (นักวิจัย) นางสาวศิรอิ ร ศักดว์ิ ไิ ลสกกุล(นักวจิ ัย) นางสาวมนฐั ชญา วงคแ ปง (นักวิจัย) และนางสาวณัฐธินี จันตะ วารี (เจาหนาท่บี ริหารงานทั่วไป) ตุลาคม 2554 ศนู ยศกึ ษาและวจิ ยั อุทยานแหง ชาติ จงั หวัดเชียงใหม, 2554

รายงานการประเมินมูลคา สิ่งแวดลอมทางเศรษฐศาสตร 1เพ่อื การจดั การอทุ ยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวัดเชียงใหม สารบญั เร่อื ง สารบญั เรื่อง หนาคาํ นาํ กบทสรุปสาํ หรับผูบริหารภาษาไทย ขบทสําหรับผูบริหารภาษาองั กฤษ งสารบัญตาราง 3สารบญั ภาพ 5บทที่ 1 บทนาํ 1-1 1.1 ท่ีมาและความสาํ คัญของปญหา 1-2 1-2 1.2 วตั ถปุ ระสงคข องการวิจยั 1-2 1-5 1.3 ประโยชนท่ีไดรับจากการวิจัย 1-7 1.4 นิยามศัพทเฉพาะ 2-1 2-11 1.5 ขอบเขตของการศกึ ษา 2-18 2-22 1.6 กรอบแนวคดิ 2-30บทท่ี 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยท่ีเกย่ี วของ 3-1 2.1 ขอ มลู พ้นื ฐานเกย่ี วกบั อุทยานแหงชาตดิ อยอนิ ทนนท จังหวดั เชียงใหม 3-11 3-12 2.2 แนวคิดและทฤษฎีการประเมนิ มูลคาส่ิงแวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 3-13 2.3 แนวคดิ เก่ียวกับการจัดการอุทยานแหง ชาติ 2.4 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ ง 2.5 ตัวแปรทเ่ี กย่ี วขอ งบทท่ี 3 ระเบียบและวิธกี ารศกึ ษา 3.1 ระเบียบวธิ ีวิจัย 3.2 ขอบเขตของโครงการวิจัย 3.3 ระยะเวลาทท่ี ําการวจิ ยั พื้นทศ่ี กึ ษา และเกบ็ ขอ มูล 3.4 แผนดาํ เนินการ ศนู ยศกึ ษาและวิจยั อุทยานแหง ชาติ จงั หวัดเชยี งใหม, 2553

รายงานการประเมินมูลคา ส่ิงแวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2เพือ่ การจดั การอุทยานแหงชาตดิ อยอนิ ทนนท จังหวัดเชยี งใหม สารบัญเรอ่ื ง สารบัญเรื่อง (ตอ ) หนาบทที่ 4 การวเิ คราะหขอมลู และผลการศกึ ษา 4-2 4.1 ขอ มลู ทวั่ ไปของนักทอ งเทย่ี ว 4-17 4.2 ขอ มลู เกีย่ วกับคาความเตม็ ใจทจ่ี ะจายในดานการคุมครองพื้นที่ ปรบั ปรุงและ พัฒนาแหลง ทองเทีย่ ว รวมทง้ั ศึกษาวจิ ัยทรัพยากรและแหลงเรยี นรูทาง 4- 27 ธรรมชาติในอทุ ยานแหงชาตขิ องนักทองเทย่ี ว 4.3 การประเมินคาความเต็มใจท่ีจะจา ยและมลู คาสิ่งแวดลอมทางเศรษฐศาสตร เพือ่ การจัดการอุทยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนท จงั หวัดเชียงใหมบทที่ 5 สรปุ ผลการศึกษา และขอเสนอแนะ 5-1 5.1 สรปุ ผลการศึกษา 5-7 5.2 ขอจํากัดของการศกึ ษา 5-8 5.3 ขอ เสนอแนะบรรณานุกรม บ-1 ผ-1ภาคผนวก แบบสัมภาษณทใี่ ชเก็บขอ มูลนกั ทองเทีย่ ว โครงการประเมินมลู คา สิ่งแวดลอม ผ-7ภาคผนวก ก ทางเศรษฐศาสตรเพือ่ การจัดการอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จงั หวัดเชียงใหมภาคผนวก ข ผลการประเมนิ แบบจาํ ลอง Tobit ดวยโปรแกรม Limdep ศูนยศ ึกษาและวจิ ยั อุทยานแหงชาติ จังหวดั เชียงใหม, 2553

รายงานการประเมินมูลคาสงิ่ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 3เพอื่ การจัดการอทุ ยานแหง ชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชยี งใหม สารบัญตาราง สารบญั ตาราง หนา 3-13ตารางท่ี 3.1 แผนการดาํ เนนิ การศึกษาวิจยั และกิจกรรม 4-2 เดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2553 – กันยายน พ.ศ. 2554 4-5 4-6ตารางท่ี 4.1 ขอ มลู ทางดานเศรษฐกิจและสังคมของนักทองเทีย่ ว (n=600) 4-11ตารางท่ี 4.2 ขอมลู ทั่วไปเกีย่ วกบั การทองเท่ยี วในอุทยานแหงชาตดิ อยอนิ ทนนท (n=600) 4-14ตารางท่ี 4.3 ขอ มูลสถานท่ีทนี่ กั ทองเทย่ี วเคยไป (n=600) 4-16ตารางที่ 4.4 ขอ มูลลกั ษณะทว่ั ไปเก่ียวกบั การทอ งเท่ียวในอุทยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนท 4-19 จังหวัดเชียงใหม (n=600) 4-23ตารางที่ 4.5 ความพงึ พอใจท่มี ตี อการจดั การอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท 4-24 4-25 จงั หวัดเชียงใหม (n=600)ตารางท่ี 4.6 ขอ มูลทศั นคติตอการทอ งเทย่ี วเชิงอนรุ ักษ (เชิงนิเวศ) ในอุทยานแหงชาติดอย 4-26 อินทนนท จังหวัดเชยี งใหม (n=600) 4-28ตารางท่ี 4.7 ขอ มูลเกีย่ วกับความเต็มใจท่ีจะจา ยในดา นการคมุ ครองพ้นื ที่ ปรับปรุงและ 4-31 พฒั นาแหลง ทองเทย่ี ว รวมทั้งศกึ ษาวิจัยทรัพยากรและแหลงเรยี นรทู าง 4-34 ธรรมชาตใิ นอุทยานแหงชาตดิ อยอินทนนท จงั หวัดเชยี งใหม ของนกั ทองเทยี่ วตารางท่ี 4.8 ดานการคมุ ครองพนื้ ทอ่ี ุทยานแหงชาตดิ อยอินทนนท จังหวัดเชยี งใหม (วิธกี ารปองกนั หรือดูแล) ในกรณที นี่ ักทอ งเทย่ี วไมเต็มใจจา ยเปนตวั เงินตารางที่ 4.9 ดานการคุม ครองพนื้ ทอ่ี ุทยานแหงชาตดิ อยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม (วิธกี ารฟน ฟู) ในกรณีทนี่ กั ทอ งเทย่ี วไมเต็มใจจายเปน ตวั เงินตารางที่ 4.10 ดานการปรบั ปรุงและพัฒนาแหลง ทอ งเท่ยี วในอทุ ยานแหงชาติ ดอยอินทนนท จังหวดั เชยี งใหม ในกรณีทนี่ กั ทอ งเที่ยวไมเต็มใจจาย เปนตัวเงินตารางท่ี 4.11 ดานการศกึ ษาวิจยั ทรัพยากร และแหลง เรยี นรทู างธรรมชาตใิ น อุทยานแหง ชาติดอยอนิ ทนนท จังหวดั เชียงใหม ในกรณที ี่นักทอ งเท่ยี ว ไมเ ต็มใจจา ยเปน ตัวเงนิตารางที่ 4.12 ตวั แปรทีใ่ ชในสมการความเตม็ ใจท่ีจะจายในดานการคุมครองพื้นที่ ปรบั ปรุง และพัฒนาแหลงทองเที่ยว รวมทัง้ ศึกษาวิจยั ทรพั ยากรและแหลงเรยี นรทู าง ธรรมชาตใิ นอทุ ยานแหงชาตดิ อยอนิ ทนนท จงั หวดั เชียงใหม และ คา สมั ประสิทธิข์ องตวั แปรตารางที่ 4.13 ผลการประมาณคาสมั ประสทิ ธ์ขิ องสมการ WTPiA ในแบบจําลองTobitตารางท่ี 4.14 ผลการประมาณคาสัมประสทิ ธิข์ องสมการ WTPiP=1 ในแบบจาํ ลองTobitศนู ยศึกษาและวจิ ยั อุทยานแหง ชาติ จังหวดั เชียงใหม, 2553

รายงานการประเมินมูลคาสิ่งแวดลอมทางเศรษฐศาสตร 4เพ่อื การจัดการอุทยานแหง ชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวัดเชยี งใหม สารบัญตาราง สารบัญตาราง (ตอ) หนาตารางท่ี 4.15 ผลการประมาณคาสมั ประสิทธิ์ของสมการ WTPiP=2 ในแบบจาํ ลองTobit 4-37ตารางที่ 4.16 ผลการประมาณคาสัมประสิทธข์ิ องสมการ WTPiD ในแบบจาํ ลองTobit 4-40ตารางที่ 4.17 ผลการประมาณคา สัมประสทิ ธิ์ของสมการ WTPiRe ในแบบจาํ ลองTobit 4-43ศนู ยศ กึ ษาและวจิ ยั อุทยานแหงชาติ จงั หวดั เชยี งใหม, 2553

รายงานการประเมนิ มลู คา สิง่ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 5เพื่อการจดั การอทุ ยานแหง ชาตดิ อยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม สารบญั ภาพ สารบญั ภาพภาพท่ี 1.1 แผนทีอ่ ุทยานแหง ชาติภาคเหนือ หนาภาพที่ 2.1 แผนที่แสดงแหลงทองเท่ยี วสาํ คญั และบริเวณทเี่ ก็บแบบสมั ภาษณใ นพื้นท่ี 1-6 อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จงั หวดั เชยี งใหม 2-8ภาพท่ี 2.2 จาํ นวนนักทองเทยี่ วที่เขา ไปทองเท่ยี วในเขตของอุทยานแหงชาติ 2-9ภาพที่ 3.1 ดอยอนิ ทนนท จังหวัดเชยี งใหม ตั้งแตป งบประมาณ พ.ศ. 2554ภาพที่ 4.1 (เดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 –เดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2554) แยกเปนรายเดอื น 3-10 4-49 การอธบิ ายวิธกี ารแปลผลวิเคราะหข อ มลู ประมาณคาสมั ประสิทธิ์ ก า ร สั ม ภ า ษ ณ นั ก ท อ ง เ ท่ี ย ว ช า ว ไ ท ย ใ น อุ ท ย า น แ ห ง ช า ติ ด อ ย อิ น ท น น ท จังหวัดเชียงใหม ศนู ยศ กึ ษาและวิจยั อุทยานแหงชาติ จงั หวดั เชยี งใหม, 2553

รายงานการประเมินมูลคา สิ่งแวดลอมทางเศรษฐศาสตร 1-1เพอื่ การจดั การอุทยานแหงชาตดิ อยอินทนนท จังหวดั เชียงใหม บทที่ 1 บทนาํ บทที่ 1 บทนํา1.1 ทมี่ าและความสําคัญของปญ หา อุทยานแหงชาติเปนพ้ืนท่ีท่ีมีความสําคัญในแงของการเปนแหลงธรรมชาติและระบบนิเวศนที่อดุ มสมบูรณ ซ่งึ สิง่ เหลา น้ีไดใ หประโยชนมากมายไมวา จะเปน การเปน ตนกาํ เนดิ ของแหลงน้ําสายเล็กๆ ซ่ึงสายนํ้าเล็กน้ีเองจะรวมเปนแมนํ้าสายใหญ เพื่อใชในการอุปโภคและบริโภค อีกทั้งยังเปนแหลงอาหารใหแกสตั วต า งๆ เพือ่ ใชในการดํารงชวี ติ นอกจากประโยชนในขางตนท่ีไดกลาวมาแลวอุทยานแหงชาติยังเปนแหลง ศึกษาทางธรรมชาตแิ ละแหลงทอ งเทีย่ วท่สี าํ คญั ซ่ึงในปจจุบนั แนวโนม ของปริมาณนักทองเที่ยวที่เขามาเท่ียวในอุทยานแหงชาติมีจํานวนเพ่ิมมากข้ึนในทุก ๆ ป จํานวนนักทองเท่ียวท่ีเพ่ิมข้ึนอยางตอเนอ่ื งสงผลกระทบตอปญหาสิ่งแวดลอมไมวาจะเปนปริมาณขยะที่มีจํานวนมากสงผลกระทบตอการจดั การของเสยี ภายในอุทยานแหง ชาติ ดงั นน้ั การสรางความตระหนกั ใหแ กน ักทอ งเทย่ี วทเ่ี ขา มาใชประโยชนในอุทยานแหงชาติและการสรางความเขา ใจเกยี่ วกับการจายคา เตม็ ใจทจี่ ะจายเพื่อปองกันและฟนฟูในเขตพ้ืนที่อุทยานแหงชาติ โดยการใชวิธีการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรทรัพยากรในอุทยานแหงชาติจะมีสวนชวยในการจัดการอทุ ยานแหง ชาตอิ กี ทางหนงึ่ อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหมมีพ้ืนท่ีครอบคลุมอยูในทองท่ีอําเภอดอยหลออําเภอจอมทอง และอําเภอแมแ จม จังหวัดเชียงใหม ประกอบไปดวยภเู ขาสงู สลับซบั ซอน มีดอยอินทนนทซง่ึ เปน ยอดเขาท่ีสูงทส่ี ดุ ในประเทศไทย มีเนื้อทป่ี ระมาณ 482.4 ตารางกโิ ลเมตร หรือ 301,500 ไร ซึ่งในวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2521 คณะกรรมการอุทยานแหงชาติ ไดประกาศใหดอยอินทนนทเปนอุทยานแหงชาติสภาพภูมิประเทศท่ัวไปประกอบดวยภูเขาสลับซับซอน ยอดดอยอินทนนทสูงจากระดับน้ําทะเล 2,565 เมตร ยอดเขาท่ีมีระดับสูงรองลงมาคือ ดอยหัวมดหลวง สูงจากระดับน้ําทะเล2,330 เมตร ปาอนิ ทนนทน เ้ี ปน แหลง กําเนดิ ของตน นาํ้ แมกลาง แมปา กอ แมปอน แมหอย แมยะ แมแจมแมขาน และเปนสวนหนึ่งของตนนํ้าแมป ง ท่ีใหพลังงานไฟฟาท่ีเข่ือนภูมิพล สภาพปาในอุทยานแหงชาติเปน ปาดิบเขา ปาสน ปาเต็งรัง และปาเบญจพรรณ มีพันธุไม ไมสัก ไมตะเคียน สนเขา เต็ง เหียงมะเกลือ ไมแดง ไมประดู ไมรกฟา ไมมะคา ไมเก็ดแดง ไมจําปปา ไมตะแบก ฯลฯ นอกจากน้ียังมีดอกไมป าใหพบเห็นอีกดวย เชน ฟามุย ชางแดง รองเทานารี และกุหลาบปาสําหรับมอส ขาวตอกฤๅษีออสมนั ดา มอี ยทู ว่ั ไปในระดบั สงู แตส ัตวป า ในเขตอทุ ยานแหงชาติน้ันมีจํานวนนอย เน่ืองดวยถูกชาวเขาลาไปเปน อาหาร ปจ จบุ ันสตั วท่ี ยังพอพบเห็นอยบู า ง ไดแก เลยี งผา กวางผา กวาง เสอื หมูปา หมี ชะนี ศูนยศ กึ ษาและวิจัยอุทยานแหง ชาติ จงั หวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มลู คา สงิ่ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 1-2เพอื่ การจดั การอทุ ยานแหง ชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวดั เชยี งใหม บทที่ 1 บทนาํกระตายปา และ ไกปา ภายในอทุ ยานแหงชาตนิ ้นั มีแหลงทองเท่ียวมากมายเชน น้ําตกแมยะที่เปนนํ้าตกขนาดใหญและมีความสวยงาม น้ําตกแมกลาง และนํ้าตกอ่ืนๆ นอกจากนํ้าตกแลวยังมีเสนทางศึกษาธรรมชาติก่ิวแมปาน และยอดดอยอินทนนท ซ่ึงจะมาฤดูไหน อุณหภูมิก็อยูท่ี 5 – 18 องศาเซลเซียส(ศนู ยศ ึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติจังหวัดเชยี งใหม, 2553) ทง้ั นี้เพอ่ื เปน การรักษาและดูแลทรัพยากรตางๆ ในเขตพ้ืนที่อุทยานแหงชาติ การประเมินมูลคาสิ่งแวดลอมทางเศรษฐศาสตรเ พ่อื การจดั การอทุ ยานแหง ชาติ จึงมีความจําเปนอยา งยิง่ ทจี่ ะชวยเปนขอมูลสาํ หรบั การจัดการทรัพยากรและใชป ระโยชนจากทรพั ยากรอยา งถูกตองและยงั่ ยืนตอไปในอนาคต1.2 วัตถุประสงคข องการวจิ ยั 1. เพ่อื ศกึ ษาลกั ษณะทางเศรษฐกิจและสงั คมของนักทอ งเทยี่ วชาวไทย ท่ีเขาไปใชประโยชนหรือเทีย่ วชมธรรมชาติ ในอทุ ยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนท จงั หวดั เชยี งใหม 2. เพื่อประเมินคาความเต็มใจท่ีจะจายของนักทองเท่ียวชาวไทย ในดานการคุมครองพ้ืนที่ปรับปรุงและพัฒนาแหลงทองเท่ียว รวมท้ังศึกษาวิจัยทรัพยากรและแหลงเรียนรูทางธรรมชาติในอทุ ยานแหงชาตดิ อยอนิ ทนนท 3. เพอื่ ประเมินมูลคาส่ิงแวดลอมทางเศรษฐศาสตรข องนักทอ งเท่ยี วชาวไทย ทเ่ี ขาไปใชประโยชนหรือเท่ยี วชมธรรมชาติ ในอุทยานแหงชาตดิ อยอินทนนท จังหวัดเชยี งใหม1.3 ประโยชนท ีไ่ ดรับจากการวิจัย 1. สามารถนําขอมูลทไ่ี ดไ ปปรับใช และวางแผนในดา นของการคุมครองพ้ืนที่ ปรับปรุงและพฒั นาแหลง ทองเทย่ี ว รวมทงั้ ศึกษาวิจยั ทรพั ยากรและแหลงเรยี นรูทางธรรมชาติ ในแหลงทองเท่ียวตางๆ ของอทุ ยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จังหวัดเชยี งใหม 2. สามารถนําขอมลู ในเรื่องของคา ความเต็มใจทจ่ี ะจาย และมลู คาสิ่งแวดลอมทางเศรษฐศาสตรไปประยุกตใชกับอทุ ยานแหงชาตอิ ่ืนๆ 3. สามารถนาํ ขอ มลู ไปใชใ นการวางแผนการกําหนดอัตราคาธรรมเนียม (หรือคาบริการ) ในการเขาไปใชประโยชนหรือเท่ียวชมธรรมชาติในพ้ืนที่อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหมและอทุ ยานแหง ชาตอิ นื่ ๆ1.4 นิยามศัพทเ ฉพาะ มูลคา ส่งิ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร หมายถึง มูลคาของผลกระทบทางสิ่งแวดลอมในภาพรวมตามมมุ มองทางดา นเศรษฐศาสตรในพนื้ ท่อี ุทยานแหง ชาตทิ ี่กําลังทําการศึกษาวิจยั อยวู า มมี ลู คา เทา ไร หรอืมูลคาผลกระทบทางส่ิงแวดลอมท่ีเกิดข้ึนแลวหรือกําลังจะเกิดขึ้นในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนทศูนยศ กึ ษาและวิจัยอุทยานแหง ชาติ จงั หวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มูลคา สงิ่ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 1-3เพื่อการจัดการอทุ ยานแหง ชาติดอยอินทนนท จังหวดั เชยี งใหม บทท่ี 1 บทนาํจงั หวดั เชียงใหม ท่นี กั ทองเทีย่ วชาวไทยมีความเตม็ ใจทจี่ ะจา ย เพื่อนําไปใชใ นการคุมครองพื้นท่ี ปรับปรุงและพฒั นาแหลง ทอ งเทยี่ ว รวมทงั้ ศกึ ษาวิจัยทรัพยากรและแหลงเรยี นรทู างธรรมชาติในอทุ ยานแหง ชาติ ความเต็มใจท่ีจะจาย หมายถึง ระดับอัตราคาธรรมเนียมหรือคาบริการสูงสุดในการเขาไปใชประโยชนหรือเท่ียวชมธรรมชาติในอทุ ยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนท จังหวัดเชยี งใหม ตามวัตถุประสงคตางๆท่ีนักทองเท่ียวชาวไทยมีความเต็มใจที่จะจาย เพ่ือนําไปใชในการคุมครองพื้นท่ี ปรับปรุงและพัฒนาแหลงทองเที่ยว รวมทั้งศึกษาวิจัยทรัพยากรและแหลงเรียนรูทางธรรมชาติ ในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จงั หวัดเชียงใหม อยางย่ังยนื และบรู ณาการตอไปในอนาคต การคุมครองพน้ื ท่ีอุทยานแหง ชาติ หมายถงึ การอนรุ กั ษท รัพยากรธรรมชาติในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม ใหคงอยูตลอดไป รวมทั้งเสริมสรางสภาพแวดลอมทางธรรมชาติและระบบนิเวศใหด ยี ง่ิ ขึ้น โดยในการศึกษาวิจัยครั้งน้ีมี 2 วิธี คือ วิธีการท่ี 1 เปนการปองกันหรือดูแลรักษาทรพั ยากรปาไมและสัตวปา และการลดปญหาไฟปาในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหมโดยการออกตรวจลาดตระเวนปอ งกันรักษาปา และดับไฟปา ประชุม ฝกอบรม สัมมนาและศึกษาดูงานผลติ สื่อในรปู แบบตา งๆ เปน ตน และวิธีการท่ี 2 เปนการฟนฟูสภาพธรรมชาติของแหลงทองเท่ียวตางๆภายในอุทยานแหงชาตดิ อยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม โดยการสรางเสนทางศึกษาธรรมชาติ สรางฝายปลกู แฝก ปลูกหวาย ปลูกตน ไม เปนตน เพ่ือเพ่ิมพื้นที่ปาและการจัดการคุณภาพส่ิงแวดลอมและระบบนิเวศ ใหดยี ่งิ ข้นึ กวา เดิม การปรับปรงุ และพัฒนาแหลงทองเทีย่ วในอุทยานแหงชาติ หมายถึง การจัดการเพิ่มศักยภาพของพน้ื ท่ใี นเขตอทุ ยานแหงชาตดิ อยอนิ ทนนท จงั หวัดเชยี งใหม ใหม รี ะบบสาธารณูปโภคตา งๆ ในการท่ีจะสามารถแกป ญ หาทางดานสิง่ แวดลอ มอกี ทงั้ ยงั เปนการเพ่มิ ศักยภาพในการรองรบั นกั ทอ งเที่ยว โดยในการศกึ ษาวิจัยครงั้ นม้ี ี 1 วธิ ี คือ การปรับปรงุ และพฒั นาสงิ่ อํานวยความสะดวก และระบบสาธารณูปโภคตามแหลง ทอ งเทีย่ วตา งๆ ภายในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม เพ่ือไวสําหรับบริการและอํานวยความสะดวกแกนกั ทองเท่ียว เชน ท่ีน่ังพักผอน ถังขยะ หองน้ํา รานอาหาร รานขายของท่ีระลึกจุดบริการนักทองเที่ยว และ/หรือจัดใหมีรถบริการทองเท่ียวตามแหลงทองเที่ยวสําคัญๆ ภายในอทุ ยานแหงชาตดิ อยอินทนนท จงั หวัดเชียงใหม แทนการอนญุ าตใหน ักทองเท่ยี วนําพาหนะสวนบคุ คลเขาไปเอง เพือ่ ลดปญ หามลพิษทางเสยี งและมลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะในชว งฤดูกาลทองเท่ียว (ชวงปใหมหรือ/และชวงสงกรานต) ซ่ึงจะมีนักทองเท่ียวจํานวนมากหลั่งไหลเขาไปใชประโยชน หรือเท่ียวชมธรรมชาติในอุทยานแหงชาติ เปนตน การศึกษาวิจัยทรัพยากรและแหลงเรียนรูทางธรรมชาติในอุทยานแหงชาติ หมายถึงการศกึ ษาวจิ ัยและสํารวจรวบรวมขอมูลทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพในอุทยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวัดเชยี งใหม โดยในการศกึ ษาวจิ ยั ครัง้ นมี้ ี 1 วธิ ี คือ การศึกษาวิจัยและสํารวจรวบรวมขอมูลทรัพยากร และความหลากหลายทางชีวภาพในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหมเพ่ือเปนฐานขอมูลในการบริหารจัดการพ้ืนท่ี รวมถึงการสํารวจติดตามการเปลี่ยนแปลง และประเมินสถานภาพของทรัพยากรในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม เพ่ือการจัดการควบคุมฟน ฟทู รัพยากร และปอ งกันผลกระทบที่อาจจะเกิดข้ึน ท้ังท่ีเกิดจากการกระทําของมนุษยเอง หรือจากธรรมชาติ พรอมท้ังใหบริการในดานการศึกษากับสถาบันการศึกษา หรือสถาบันตางๆ เพื่อการศึกษาศนู ยศ ึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม, 2554

รายงานการประเมินมูลคา ส่ิงแวดลอมทางเศรษฐศาสตร 1-4เพื่อการจัดการอทุ ยานแหงชาติดอยอินทนนท จงั หวดั เชียงใหม บทที่ 1 บทนาํคนควาดา นวชิ าการตางๆ เชน การบรรยาย ฉายวดี ีทศั น แจกเอกสารเผยแพร จัดนิทรรศการ และบริการหองสมุด เปน ตน การจดั การอุทยานแหง ชาติ หมายถึง การคมุ ครองพืน้ ท่ี การปรับปรงุ และพฒั นาแหลงทองเที่ยวรวมทัง้ การศกึ ษาวจิ ยั ทรพั ยากรและแหลง เรียนรูทางธรรมชาติ ในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชยี งใหม และ/หรือการดาํ เนินงานหรือการปฏบิ ตั ิการใดๆ ของเจาหนาที่ในอุทยานแหง ชาติดอยอนิ ทนนทจังหวัดเชยี งใหม ท่ตี องเก่ยี วของกับบุคคล ส่ิงของ และหนวยงานภาคสนาม โดยครอบคลุมในเรื่องตางๆเชน การบริหารนโยบาย (Policy) การบริหารท่ีเก่ียวของกับสังคม (Society) การวางแผน (Planning)การอํานวยการ (Directing) การจัดสรรงบประมาณ (Budgeting) เปนตน โดยทําการเก็บขอมูลจากนักทองเทยี่ วชาวไทย ทเี่ ขาไปใชประโยชนหรือเที่ยวชมธรรมชาติจากแหลงทองเที่ยวในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จํานวน 7 แหง ประกอบดวย 1) น้ําตกแมยะ 2) น้ําตกแมกลาง 3) นํ้าตกวชิรธาร4) ท่ที าํ การอทุ ยานแหง ชาตดิ อยอินทนนท และลานกางเตนทด งสน 5) เสนทางเดินปานํ้าตกผาดอกเส้ียว6) เสน ทางศึกษาธรรมชาติกิว่ แมป าน และ 7) ยอดดอยอนิ ทนนท เพศ หมายถึง เพศของนักทองเท่ียวชาวไทย ท่ีเขาไปใชประโยชนหรือเท่ียวชมธรรมชาติในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จงั หวดั เชียงใหม ไดแก เพศชาย เพศหญิง อายุ หมายถึง อายุของนักทองเที่ยวชาว ที่เขาไปใชประโยชนหรือเท่ียวชมธรรมชาติในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม โดยกําหนดอายุเปนชวงในภายหลัง เชน ตํ่ากวา 20 ป20-30 ป 31-40 ป 41-50 ป มากกวา 50 ป สถานภาพสมรส หมายถงึ สถานภาพสมรสของนักทองเท่ียวชาวไทย ที่เขาไปใชประโยชนหรือเทยี่ วชมธรรมชาติในอทุ ยานแหง ชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวดั เชียงใหม ไดแ ก โสด หยา รา ง สมรส จํานวนสมาชิกในครัวเรือน หมายถึง จํานวนสมาชิกในครัวเรือนของนักทองเที่ยวชาวไทยท่ีเขาไปใชประโยชนหรือเที่ยวชมธรรมชาติในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม (รวมถึงตัวนักทองเท่ียวเองดวย) โดยกําหนดจํานวนสมาชิกเปนชวงในภายหลัง เชน 1-3 คน 4-6 คน มากวา6 คน ระดับการศึกษา หมายถึง ระดับการศึกษาของนักทองเที่ยวชาวไทย ท่ีเขาไปใชประโยชนหรือเที่ยวชมธรรมชาติในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม ต้ังแตระดับประถมศึกษา จนถึงสูงกวา ระดบั ปรญิ ญาโท รวมทง้ั ผทู ีก่ ําลังศึกษาอยูและผูทไ่ี มไ ดเ รียนดว ย อาชีพ หมายถงึ อาชีพของนักทองเท่ียวชาวไทย ท่ีเขาไปใชประโยชนหรือเที่ยวชมธรรมชาติในอุทยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนท จังหวดั เชียงใหม ไดแ ก ขาราชการ รฐั วสิ าหกจิ เกษตรกร พนักงานเอกชนธรุ กิจสวนตัว คาขาย รับจา งทว่ั ไป พอบาน แมบา น รวมท้ังนักเรยี น นกั ศึกษา และผูประกอบอาชีพอนื่ ๆ รายไดเฉลี่ยตอเดือน หมายถึง ระดับรายไดเฉล่ียตอเดือนของนักทองเที่ยวชาวไทย ท่ีเขาไปใชประโยชนหรือเท่ียวชมธรรมชาติในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม (ซ่ึงยังไมไดหักศนู ยศ ึกษาและวจิ ยั อุทยานแหงชาติ จังหวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มลู คาสงิ่ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 1-5เพอ่ื การจดั การอทุ ยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวดั เชียงใหม บทท่ี 1 บทนาํคาใชจายตางๆ ในรอบเดือน) โดยกําหนดรายไดเฉลี่ยเปนชวงในภายหลัง เชน ตํ่ากวา 5,000 บาท5,000-15,000 บาท 15,001-30,000 บาท 30,001-45,000 บาท มากกวา 45,000 บาท จํานวนสถานทท่ี ีน่ ักทอ งเทยี่ วเคยไป หมายถึง จาํ นวนสถานท่ีที่นักทองเท่ียวชาวไทย ไดเคยเขาไปใชประโยชนหรือเท่ียวชมธรรมชาติในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม เชน น้ําตกวชิรธาร น้ําตกแมกลาง น้ําตกสิริภูมิ น้ําตกสิริธาร นํ้าตกแมยะ นํ้าตกแมปาน นํ้าตกหวยทรายเหลืองนํ้าตกวังควาย ถ้ําบริจินดา ถํ้าหุบผาสวรรค เสนทางเดินปานํ้าตกผาดอกเสี้ยว เสนทางศึกษาธรรมชาติกิ่วแมปาน เสนทางศึกษาธรรมชาติพันชุลี เสนทางศึกษาธรรมชาติอางกา ดอยหัวเสือ–แมกลางหลวงยอดดอยอินทนนท ผาแงมนอย พระมหาธาตุนภเมทนีดล–พระมหาธาตนุ ภพลภูมิสิริ เปนตน โดยกําหนดจาํ นวนสถานทเ่ี ปนชว งในภายหลัง เชน 1-2 แหง และ 3 แหงขึน้ ไป การเขารวมกิจกรรมเก่ียวกับการอนุรักษส่ิงแวดลอม หมายถึง จํานวนคร้ังท่ีนักทองเท่ียวชาวไทย ไดเ คยเขารวมทาํ กจิ รรมเกยี่ วกับการอนุรกั ษทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม โดยกําหนดการเขารวมกิจกรรมเปนชวงในภายหลงั เชน 1 คร้ัง 2 ครัง้ 3 คร้งั ข้ึนไป รวมถึงในกรณีท่ีนกั ทอ งเทย่ี วยังไมเคยเขารวมกิจกรรมดังกลาวนี้ดวย ความตอ งการทจี่ ะกลบั มาเที่ยวอกี ครงั้ หมายถึง ความตอ งการหรือไมต องการท่ีจะกลับมาเที่ยวใหมอีกคร้ังหน่ึงของนักทองเท่ียวชาวไทย ท่ีไดเคยเขาไปใชประโยชนหรือเท่ียวชมธรรมชาติในอุทยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวัดเชียงใหม รวมถงึ ในกรณที ีน่ ักทอ งเท่ยี วยงั ไมแนใจดว ย ความพงึ พอใจตอ อทุ ยานแหงชาติ หมายถึง ความรูสึกสวนบุคคลของนักทองเที่ยวชาวไทยท่ีมีความรูสึกเปนสุขหรือแสดงความช่ืนชมยินดี หลังจากที่ไดรับการตอบสนองความตองการในสิ่งที่ขาดหายไปหรอื สงิ่ ท่ีทาํ ใหเกิดความไมส มดุล โดยแสดงออกตามระดบั ความพงึ พอใจของตนเอง ไดแก มากท่ีสดุมาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด ภายหลังจากการเขาไปใชประโยชนหรือเท่ียวชมธรรมชาติในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวดั เชยี งใหม รวมทงั้ จากการท่ีไดร เู หน็ และเขา ใจถงึ แนวทางและวิธีการบรหิ ารจดั การของอทุ ยานแหง ชาติดอยอินทนนท จงั หวัดเชยี งใหม ทัศนคตใิ นการทอ งเที่ยวเชงิ อนุรักษ หมายถงึ ความคดิ เหน็ หรอื ความรสู ึกนึกคิดของนกั ทอ งเทย่ี วชาวไทยท่ีแสดงออกถึงการเห็นคุณคาหรือใหความสําคัญตอการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ (เชิงนิเวศ) ในอุทยานแหง ชาตดิ อยอินทนนท จงั หวัดเชยี งใหม โดยแสดงออกตามระดับความสาํ คญั ของตนเอง ไดแ ก สําคัญมากท่สี ุด สาํ คัญมาก สําคัญนอย ไมสําคัญเลย รวมถึงในกรณที ีน่ ักทอ งเทยี่ วยงั ไมแ นใจดวย1.5 ขอบเขตของการศกึ ษา การศึกษาวิจัยในคร้ังนี้ ไดทําการศึกษาถึงลักษณะโดยทั่วไปทางดานเศรษฐกิจสังคมและพฤติกรรมของนักทองเที่ยวชาวไทยที่เขาไปใชประโยชนหรือเท่ียวชมธรรมชาติในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม รวมทั้งประเมินคาความเต็มใจท่ีจะจาย (Willingness to Pay : WTP)ในดา นการคุมครองพน้ื ที่ ปรับปรุงและพฒั นาแหลงทองเทยี่ ว รวมทัง้ ศกึ ษาวิจัยทรัพยากรและแหลง เรยี นรู ศูนยศ ึกษาและวจิ ยั อุทยานแหงชาติ จงั หวดั เชียงใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มูลคา ส่งิ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 1-6เพือ่ การจดั การอทุ ยานแหงชาติดอยอินทนนท จงั หวัดเชียงใหม บทท่ี 1 บทนาํทางธรรมชาตใิ นอุทยานแหงชาติ และประเมนิ มลู คา สงิ่ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร เพอื่ ใชเ ปนแนวทางหน่งึในการจดั การอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม ตอไปในอนาคต โดยไดทําการเก็บขอมูลดวยการสัมภาษณกลุมตัวอยางเปาหมายซึ่งเปนนักทองเที่ยวชาวไทย จํานวน 600 ตัวอยาง ที่เขาไปใชประโยชนหรือเท่ียวชมธรรมชาติในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม ตามสถานท่ีหรือแหลง ทอ งเทย่ี วทางธรรมชาติท่ีสําคัญๆ จํานวน 7 แหง ประกอบดวย 1) นํ้าตกแมยะ 2) นํ้าตกแมกลาง3) น้ําตกวชิรธาร 4) ที่ทําการอทุ ยานแหง ชาติดอยอินทนนท และลานกางเต็นทดงสน 5) เสนทางเดินปาน้ําตกผาดอกเสย้ี ว 6) เสนทางศึกษาธรรมชาตกิ ิ่วแมป าน และ 7) ยอดดอยอนิ ทนนท ในชวงเทศกาลปใหมคือตั้งแตวันที่ 30 ธันวาคม 2553 ถึงวันท่ี 3 มกราคม 2554 และในชวงเทศกาลสงกรานต ต้ังแตวันที่ 12 - 16 เมษายน 2554 และสมั ภาษณเพมิ่ เติมเพอื่ เปนการสอบทานหรือยืนยันขอมูลจากเจาหนาที่อทุ ยานแหง ชาตดิ อยอินทนนท จังหวัดเชยี งใหมภาพที่ 1.1 แผนทอ่ี ทุ ยานแหงชาติภาคเหนือท่ีมา: สาํ นักอุทยานแหงชาติ กรมอุทยานแหงชาติ สตั วป า และพันธุพืช, 2554 ศนู ยศกึ ษาและวิจัยอุทยานแหง ชาติ จงั หวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มูลคาส่งิ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 1-7เพ่ือการจดั การอทุ ยานแหง ชาตดิ อยอินทนนท จังหวดั เชยี งใหม บทที่ 1 บทนาํ1.6 กรอบแนวคิด ตวั แปรตาม ตัวแปรอิสระ ความเต็มใจท่ีจะจายของนักทองเทย่ี วชาวไทยท่เี ขา ไป ใชป ระโยชนหรอื เที่ยวชมธรรมชาติ ใน 1. เพศ 2. อายุ อทุ ยานแหงชาตดิ อยอินทนนท จังหวัดเชยี งใหม 3. สถานภาพสมรส ในดานตางๆ ดังน้ี 4. จาํ นวนสมาชิกในครัวเรือน 5. ระดับการศึกษา 1.การคุมครองพ้ืนที่ 6. อาชพี อทุ ยานแหงชาติ 7. รายไดเฉลีย่ ตอ เดอื น 8. จํานวนสถานทที่ ่นี ักทองเทยี่ วเคยไป 2. การปรบั ปรงุ และพัฒนา 9. การเขา รวมกิจกรรมเก่ียวกบั การ แหลงทองเทย่ี วใน อทุ ยานแหง ชาติ อนรุ กั ษสิ่งแวดลอม 10. ความตองการท่จี ะกลับมาเทยี่ ว 3.การศกึ ษาวิจัยทรพั ยากรและ แหลง เรยี นรูทางธรรมชาติ อกี คร้ัง ในอทุ ยานแหงชาติ 11. ความพึงพอใจตออุทยานแหง ชาติ 12. ทัศนคตใิ นการทอ งเที่ยวเชิงอนุรักษ (เชิงนิเวศ)ศูนยศึกษาและวจิ ัยอุทยานแหง ชาติ จังหวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มลู คา สงิ่ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-1เพอื่ การจดั การอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จงั หวัดเชียงใหม บทท่ี 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวขอ ง บทท่ี 2กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกย่ี วของ ในการศกึ ษาวิจัยครัง้ นี้ ไดร วบรวมแนวคิด ทฤษฎี และทบทวนเอกสารรายงานการวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วขอ งแลว นาํ มากาํ หนดประเด็นการศกึ ษา และใชเปนกรอบแนวคิดในการวจิ ยั ดงั ตอ ไปนี้ 2.1 ขอ มูลพืน้ ฐานเก่ียวกบั อทุ ยานแหงชาตดิ อยอินทนนท จงั หวดั เชยี งใหม 2.2 แนวคดิ และทฤษฎีการประเมินมลู คา สงิ่ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2.3 แนวคดิ เกยี่ วกับการจัดการอทุ ยานแหงชาติ 2.4 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วขอ ง 2.5 ตวั แปรท่ีเกย่ี วของ2.1 ขอมูลพืน้ ฐานเกีย่ วกบั อทุ ยานแหง ดอยอนิ ทนนท จงั หวดั เชยี งใหม 2.1.1 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของอทุ ยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนท สภาพภมู ปิ ระเทศประกอบดวยภูเขาสูงสลับซับซอน เปนสวนหนึ่งของแนวเขตเทือกเขาถนนธงชัยที่ทอดตัวตามแนวเหนือ-ใต ทอดตวั มาจากเทือกเขาหิมาลัยในประเทศเนปาล มีระดับความสูงของพืน้ ทีอ่ ยูระหวาง 400-2,565 เมตร จากระดับน้าํ ทะเลปานกลาง โดยจุดสูงสุดอยูท่ียอดดอยอินทนนทซ่ึงเปนจุดทส่ี งู สุดในประเทศไทย ยอดเขาท่ีมรี ะดบั สงู รองลงมา คือ ยอดดอยหัวหมดหลวง สูง 2,330 เมตรยอดดอยหัวหมดนอย สูง 1,900 เมตร ยอดดอยหัวเสือสงู 1,881 เมตรจากระดบั นํ้าทะเล ลกั ษณะโครงสรางทางธรณีของอทุ ยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนทโ ดยทัว่ ไป ประกอบดว ยหินท่ีมีอายุต้ังแตยุคแคมเบรียนขึ้นไป และหินสวนใหญจะเปนหินไนสและหินแกรนิต สวนหินชนิดอ่ืนๆทพ่ี บจะเปนหินยคุ ออรโดวิเชยี นซงึ่ ไดแ กห นิ ปูน จนถงึ ยุคเทอรเ ซียรี่ ไดแ ก หินกรวดมน อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม เปนพื้นที่ตนนํ้าลําธารที่สําคัญของแมน ํา้ ปง ใหกําเนิดแมน า้ํ ลาํ ธารหลายสาย ที่สําคัญไดแก ลํานํ้าแมวาง ลํานํ้าแมกลาง ลํานํ้าแมยะ ลําน้ําแมหอย ลําน้ําแมแจม และลํานํ้าแมเต๊ียะ ซึ่งลํานํ้าเหลาน้ีจะไหลผานและหลอเล้ียงชุมชนตางๆ ในเขตอําเภอจอมทอง อําเภอแมแจม อําเภอฮอด อําเภอแมวาง และอําเภอสันปาตอง จังหวัดเชียงใหมแลวไหลลงสูแ มนาํ้ ปงศนู ยศึกษาและวจิ ยั อุทยานแหงชาติ จังหวดั เชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมินมูลคา สง่ิ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-2เพอ่ื การจดั การอุทยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนท จงั หวดั เชียงใหม บทที่ 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ ง 2.1.2 ลกั ษณะภูมิอากาศ สภาพภมู อิ ากาศโดยทวั่ ไปของพนื้ ทอี่ ทุ ยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม ไดรับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตที่พัดเอาความชุมชื้นและเมฆฝนเขามา ทําใหฝนตก และลมตะวันออกเหนอื ทีพ่ ดั มาจากประเทศจนี จะนําเอาความหนาวเย็นและความแหงแลงเขามา ทําใหเกิดฤดูกาลตาง ๆ โดยจะมีฤดูรอนในชวงระหวางเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม ฤดูฝนในชวงระหวางเดอื นมถิ นุ ายนถึงพฤศจิกายน และ ฤดูหนาวในชวงระหวางเดือนธนั วาคมถงึ กมุ ภาพนั ธ สลับกนั ไป อยา งไรก็ตาม เนื่องจากสภาพทางกายภาพของพน้ื ทีอ่ ทุ ยานฯ มีความหลากหลายทางดานระดับความสูงของพื้นที่และมีลักษณะของพื้นที่เปนเทือกเขาท่ีสลับซับซอนและสูงมาก (ระดับความสูงระหวาง 400-2,565 เมตร จากระดับนํ้าทะเลปานกลาง) อีกท้ังพื้นที่อุทยานฯคอนขางจะกวางขวางถึง301,500 ไร ทาํ ใหล กั ษณะอากาศในแตล ะจุดในพืน้ ที่ของอุทยานฯ มคี วามแตกตางกันอยางมาก โดยจะมีลกั ษณะของสภาพอากาศแบบเขตรอ น (tropical climate) ในตอนลางของพ้นื ทที่ ี่มรี ะดบั ความสูงต่ํากวา1,000 เมตร ลงมา มีสภาพอากาศแบบกึง่ เขตรอ น (sub-tropical climate) ในบรเิ วณตอนกลางของพน้ื ท่ีที่มรี ะดบั ความสูงระหวา ง 1,000-2,000 เมตร และมีสภาพอากาศแบบเขตอบอุน (temperate climate)ในพ้ืนที่ที่มีระดับสูงกวา 2,000 เมตรข้ึนไป โดยเฉพาะที่บริเวณยอดดอยอินทนนท ซึ่งสภาพภูมิอากาศดังกลาวจะแสดงใหเห็นอยางชัดเจนจากสภาพของปาชนิดตางๆ ท่ีมีอยูในเขตอุทยานแหงชาติดอยอนิ ทนนทในพนื้ ที่ทีส่ ูงตอนบนของอุทยานฯ โดยทั่วไปแลวจะมีสภาพท่ีชุมชื้นและหนาวเย็นตลอดปโดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณยอดดอยอนิ ทนนท ซึ่งมลี ักษณะเปน สันเขาและยอดเขา จะมีกระแสลมท่ีพัดแรงและมีสภาพอากาศที่หนาวเยน็ มาก และในชวงวันท่ีหนาวจัดในชวงฤดูหนาวในเดือนธันวาคมถึงมกราคมอุณหภูมิจะลดต่ําลงถึง 0-4 องศาเซลเซียส และจะมีนํ้าคางแข็ง (frost) เกิดข้ึนท่ีระดับกลางๆของอุทยานแหงชาตดิ อยอินทนนท สภาพอากาศโดยท่วั ไปจะมลี กั ษณะคอ นขางเยน็ และช้นื อุณหภูมิเฉล่ียตลอดป (annual mean temperature) ประมาณ 20 องศาเซลเซยี ส (ซึ่งเมอื่ เทียบกับตัวเมืองเชียงใหมซงึ่ จะมีอุณหภูมิเฉล่ียตลอดปประมาณ 26 องศาเซลเซียส) ในชวงฤดูหนาวในเดือนธันวาคมถึงมกราคมอุณหภูมิเฉลี่ย (mean temperature) จะอยูระหวาง 15-17 องศาเซลเซียส และจะมีคาอุณหภูมิเฉล่ียตํ่าสุด (mean minimum temperature) 10-14 องศาเซลเซียส สภาพความชุมช้ืนของอุทยานฯโดยท่วั ไปจะชื้นกวา ตัวเมืองเชียงใหมมาก โดยจะมีปริมาณน้ําฝนเฉล่ียประมาณ 2,000-2,100 มิลลิเมตรมีคา ความช้ืนสัมพัทธเฉล่ียตลอดปประมาณ รอยละ 80 ขณะท่ีในตัวเมืองเชียงใหมจะมีปริมาณนํ้าฝนและความชืน้ สัมพทั ธเ ฉลย่ี ประมาณ 1,200 มลิ ลเิ มตร และ รอ ยละ 70 เทานั้น สําหรับในพ้ืนที่อุทยานฯ ท่ีมีระดับความสูงตั้งแต 1,800 เมตร ข้ึนไป จะมีสภาพอากาศทีเ่ ย็นและชุมฉ่าํ อยู ทั้งนเ้ี พราะจะเปนระดับความสูงของเมฆหมอก ทําใหสภาพปา มีเมฆและหมอกปกคลุมเกอื บตลอดป ทําใหปาดิบเขาของอุทยานฯ สามารถท่ีจะดูดซับเอาความชื้น จากละอองเมฆและหมอกหลอ เลย้ี งพ้ืนทต่ี ลอดป 2.1.3 แหลง ทอ งเท่ยี วทสี่ าํ คัญของอทุ ยานแหง ชาตดิ อยอินทนนท จงั หวดั เชยี งใหม 1) นํ้าตกแมย ะ เปน น้ําตกทม่ี ขี ยาดใหญและสวยงามมากแหงหนึ่ง เพราะนํ้าซ่ึงไหลลงมาจากหนาผาที่สูงชัน 280 เมตร ลงมากระทบโขดหินเปนชั้นๆ ทําใหดูคลายลักษณะของมานซึ่งมคี วามสวยงามมาก น้ําที่ไหลมาจากน้ําตกไดไหลรวมไปยังแองเบ้ืองลางลักษณะของนํ้าใสเย็นเหมาะศนู ยศกึ ษาและวจิ ัยอุทยานแหงชาติ จังหวดั เชียงใหม, 2554

รายงานการประเมินมลู คา ส่งิ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-3เพอื่ การจดั การอุทยานแหงชาตดิ อยอินทนนท จงั หวดั เชียงใหม บทท่ี 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวของสาํ หรบั เปน ทพ่ี กั ผอนหยอ นใจ อกี ทั้งบรเิ วณรอบๆ นาํ้ ตกเปน ปาเขาอันสงบเงียบบรเิ วณโดยรอบของนํ้าตกสะอาดและจัดการพน้ื ที่ไดอยา งกลมกลนื กับสภาพแวดลอม 2) น้ําตกแมกลาง น้ําตกแมกลางเปนจุดแรกของประตูเขาสูอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท สายน้ําอันเย็นฉํ่าท่ีตกผานหนาผาขนาดใหญ น้ําตกจากหนาผาสูงประมาณ 100 เมตรไหลพวยพุงมาสูโ กรกเขา ซงึ่ เปนแองนํ้าขนาดใหญ มีชื่อวา วังนอยและวังหลวง ในชวงฤดูฝนน้ําไหลแรงและขุนขนมาก นํ้าในแองลึกมาก หากถูกกระแสน้ําปะทะก็อาจจะตกลงไปในแองนํ้า ซึ่งมีนํ้าไหลเช่ียวกราก นกั ทองเทีย่ วควรระมดั ระวงั เรื่องความปลอดภัยของตนเอง 3) นาํ้ ตกวชิรธาร เปนน้ําตกขนาดใหญ เดิมช่ือ ตาดฆองโยง ภายหลัง ไดเปลี่ยนช่ือตามพระนามาภิไธยของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร ตัวนํ้าตกอยูสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 750 เมตร ตรงขามมหี นาผาสงู ชัน เรยี กวา ผามอ นแกว หรอื ในภายหลังเรียกวา ผาแวน แกว 4) นาํ้ ตกสริ ภิ ูมิ เปนนํ้าตกซึ่งไหลมาจากหนาผาสูงชันเปนทางยาวสวยงามมาก สามารถมองไดจ ากถนนขึน้ ดอยอนิ ทนนทตรงทท่ี าํ การอทุ ยานฯ จะเหน็ เปนสายน้าํ ตกแฝดลงมาคูกนั แตเ ดมิ เรียกวาเลาลี ตามช่ือของหมูบานมง ซ่ึงอยูใกลนํ้าตกสิริภูมิทางเขาน้ําตกไมสามารถนํารถเขาไปใกลตัวน้ําตกไดนกั ทอ งเทีย่ วตอ งเดินเทาเขาไปบรเิ วณดา นลา งของน้ําตก 5) นํ้าตกสิริธาร เดิมน้ําตกแหงน้ีมีช่ือวา น้ําตกปาคา ซ่ึงเปนนํ้าตกท่ีไหลมาจากลาํ นาํ้ แมก ลาง บรเิ วณเทือกเขาดอยอินทนนท และไหลลงสูน้ําแมปงที่อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหมเม่ือวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2545 สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถเสด็จมาทอดพระเนตรทรงพระราชทานนามนาํ้ ตกวา น้าํ ตกสิรธิ าร นํา้ ตกน้ีอยูป ระมาณกิโลเมตรท่ี 22 เปนนํ้าตกที่ไหลลงมาจากผาหินขนาดใหญมีความสูงของน้ําตกประมาณ 50 เมตรจากฐานไหลลดหล่ันกันลงมาเปน 2 ช้ันตอกันอยางสวยงามมาก และมปี รมิ าณนํา้ มากและไหลแรงตลอดท้ังป สามารถไดย นิ เสยี งของนํ้าตกในระยะไกลความสูงจากระดับนํ้าทะเลที่ประมาณ 870 เมตร และเปดเปนนักทองเที่ยวใหมเมื่อวันท่ี 28 มีนาคมพ.ศ. 2545 เปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญแหงหนึ่งท่ีนักทองเท่ียวทั้งชาวไทยและตางประเทศนิยมมาทองเทยี่ วเปนจํานวนมาก เพื่อชมความสวยงามของน้ําตกท่ไี หลลงมาจากผาหินขนาดใหญแลว ลาํ นํา้ สายนี้ยงั เปนประโยชนตอ ประชาชนที่อยบู ริเวณลุมน้าํ แมก ลางและอาํ เภอจอมทอง ทใ่ี ชนํ้าในการอปุ โภค บรโิ ภคและการเกษตร และยังเปนที่อยูอาศัยของสัตวน้ําหลายชนิดเชน กบ เขียด ปลาหลายชนิดและปลาที่หายาก เชน ปลาคางคาว ซึ่งเปนปลาที่ไดช่ือทางวิทยาศาสตรวา Oreoglanis siamensis อันเปนเกียรติแกป ระเทศไทยและคนไทยทกุ คน 6) นํ้าตกแมป าน เปน น้าํ ตกทอี่ ยูทามกลางธรรมชาติท่ีลึกของปาใหญอุดมสมบูรณไปดวยแมกไมนานาพันธุ จะเห็นสายน้ําที่ไหลผานภูผาถึง 4 ช้ัน ลอมรอบดวยปาเขียวขจีตัวน้ําตกมคี วามสงู มากกวา 100 เมตร สามารถมองเห็นไดจากจุดชมวิวระยะไกล จากบริเวณท่ีต้ังหนวยพิทักษฯอุทยานแหงชาติ (นํ้าตกแมปาน) หรือเดินเทาไปตามเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติผาสําราญ (น้ําตกแมป าน-หว ยทรายเหลือง) ระยะทางประมาณ 400 เมตร ศนู ยศึกษาและวิจยั อุทยานแหง ชาติ จังหวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มูลคา ส่งิ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-4เพือ่ การจดั การอุทยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จังหวัดเชียงใหม บทที่ 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ียวขอ ง 7) น้ําตกวังควาย เปนนํ้าตกท่ีสวยงามของอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท เปนนํ้าตกทีน่ กั ทองเทยี่ วนิยมพาบุตรหลานมาลงเลน สายนํ้าอันเย็นฉํ่าไหลลงเซาะลดเลี้ยวตามลานหินขนาดใหญลดหล่ันเปนช้นั พื้นนํ้าเปนทรายเม็ดเล็กละเอยี ด 8) น้ําตกหวยทรายเหลือง นํ้าตกแหงน้ีแมเปนที่รูจักไมมากนักแตรับรองเม่ือไดเขาไปสัมผสั แลว จะไดพบกับความสวยงามและเสนหด งึ ดูดใจทา นไมน อยเลย สายน้ําที่ไหลผานมาจากยอดเขาและชั้นหินขนาดใหญสธู ารน้ําดา นลา ง สามารถลงเลนนาํ้ พรอมสรางสสี ันแกชวี ติ ไดอยางดี บรเิ วณโดยรอบปกคลุมดว ยแมกไมเ ขยี วขจสี รางความรมรืนอากาศเยน็ สบายยิง่ นกั นอกจากน้ียังรับฟงเสียง นกนอยและแมลงทส่ี ง เสียงรอ งใหไดเพลดิ เพลิดสขุ กายใจพรอ มๆ กันดวย 9) ถา้ํ บรจิ นิ ดา เปนถํ้าขนาดใหญ อยูในเทอื กเขาดอยอางกาหรือดอยอินทนนท ใกลน้ําตกแมก ลาง ภายในถ้าํ มีความลึกหลายกิโลเมตร เพดานมีหนิ งอกหินยอยหรือทีช่ าวเหนือเรียกวา นมผา และมีพระพุทธรูปประดษิ ฐานอยภู ายใน เพ่ือใหนักทอ งเทีย่ วไดนมสั การ นอกจากนนั้ ยังมธี ารหิน เม่อื มีแสงสวางมากระทบจะเกดิ ประกายระยิบระยบั ดงั กากเพชรงามย่ิงนัก ลักษณะของถ้ําเปนถ้ําทะลุแสงสวางลอดเขามาได สามารถมองเห็นภายในไดถ นดั กอนจะถึงปากถํ้าจะมีปา ยขนาดใหญตงั้ อยู 10) ถํ้าหุบผาสวรรค ในถํ้ามีหินงอกหินยอยซึ่งเม่ือทําการเคาะแลวจะเกิดเสียงดังกองกังวานคลายของเสียงระฆัง โดยสาเหตุของเสียงน้ันเกิดขึ้นมาจากโครงสรางของหินที่มีลักษณะกลวงภายใน 11) เสน ทางเดนิ ปานํ้าตกผาดอกเสยี้ ว การเดินทางภายในเสนทางศึกษาน้ันเราจะไดพบกับน้ําตกผาดอกเส้ียว มีท้ังหมด 10 ชั้น โดยชั้นท่ีชมไดสะดวกคือ ช้ันท่ี 6, 7, 8, 9, 10 เปนสถานท่ีทองเท่ียวที่เหมาะสําหรับการศึกษาในเร่ืองของสังคมปาเต็งรังผสมปาสน คุณประโยชนของปาวิถีชวี ิตชาวปกาเกอญอ นาขนั้ บรรได และชมนํา้ ตกผาดอกเสี้ยว 12) เสนทางศึกษาธรรมชาติก่ิวแมปาน เปนเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติระยะสั้นเปนวงรอบระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร ตลอดเสนทางเดินทผ่ี า นแบง ออกไดเปน 4 ระยะ ชวงแรกเปนปาดบิ ชน้ื มีมอส และเฟรนข้นึ อยอู ยางหนาแนน ตามลาํ ตนของไมใ หญทแี่ ขงขันกนั เติบโตเพอื่ รับแสงอาทิตยหลงั จากผา นดงทึบของปา ดิบเขา จงึ เขาสชู วงของทุงหญาขนาดใหญที่คอยเปล่ียนสจี ากสเี ขยี วขจใี นชวงฤดูฝนสลบั กบั สีนํ้าตาลออ นอยางพรั่งพรอมในชว งฤดูแลง เห็นไอหมอกเมฆไหลมาอยูเบื้องหนาซ่ึงคาดไมถึงเลยวาจะอยหู ลงั มา นอนั หนาทบึ หากสังเกตดๆี ตามทางเดินจะพบมูลหรอื รอยขุดคยุ หาอาหารของสัตวป าเมอ่ื เราออกเดนิ ทางตอ จะพบกบั ตนกุหลาบพันปแดงขึ้นอยูตามหนา ผาเปนดงกวา งจาํ นวนมากและมขี นาดใหญ จะพากันผลดิ อกเบง บานในชว งเดือนมกราคม-มนี าคม พนั ธุไ มชนดิ น้ีถือเปนลกั ษณะเดน ของเสนทางศกึ ษาธรรมชาติกวิ่ แมปานแหง นี้ แลว จงึ วกกลับเขา สปู าดบิ เขาอีกครัง้ หนึง่ เปนการเดินชวงสดุ ทาย จะตอ งเดนิ ลงสลู ําหวยแมป าน ท่ีไหลลดเลยี้ วมาจากบริเวณทข่ี ามมาในชวงตน เสนทางเดินศึกษาธรรมชาตกิ วิ่ แมป าน สามารถวนรอบไปกลับในวันเดียว ตามหนทางจะผานไปสูปาดงดิบริมธารนาํ้ ขึ้นเนินผานปาที่หอยระยาดวยมอส ฝอยลม ในยามหนาฝนจะถูกปกคลุม ศูนยศ กึ ษาและวิจยั อุทยานแหง ชาติ จังหวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมินมลู คาส่ิงแวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-5เพื่อการจัดการอุทยานแหง ชาติดอยอินทนนท จงั หวดั เชียงใหม บทท่ี 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ งดว ยหมอกขาวและอากาศทห่ี นาวเย็น สุดปลายทางท่ีทุงหญาบนเนินที่ดารดาษ ดวยดอกไมตามพ้ืน เชนหนาดเขาสขี าวเปน ตุม ๆ สมแปะ และดอกไมป า สเี หลือง มวง ขาว อีกหลายชนิด เชน บัวทองอินทนนทไวโอเลต็ เปน ตน 13) เสนทางศกึ ษาธรรมชาติพันชุลี มีระยะทางประมาณ 203 เมตร ที่ระดับความสูงจากระดบั น้ําทะเลปานกลาง 1,700 เมตร เปนปาดิบเขา มีสภาพปา เปนปา เมฆ (cloud forest) เน่อื งจากเปนปาที่อยูในระดับสูงที่มีเมฆหมอกปกคลุมหนาแนนเกือบตลอดท้ังป ทําใหมีอากาศเย็นสบายและชื้นฉํ่าความสูงของพ้นื ที่เปน ปจ จัยท่สี ําคญั ตอการพฒั นาสังคมพชื บนภูเขาสูง ทําใหลักษณะโครงสรางของปาเมฆมเี รอื นยอดชนั้ บนเบยี ดชิดกันแนน เรือนยอดชั้นรองสวนใหญเปนไมพุม และไมคลุมดิน ลําตนของไมปาจะถูกหอหุมอยางหนาแนนดวย ไลเคน มอส เฟรน ไมอิงอาศัย และกลวยไม เชน กลวยไมรองเทานารอี ินทนนท กลว ยไมในสกุล Cymbidium และกลวยไมในสกุล Dendrobium เปนตน พันธุไมเดนในพื้นที่ ไดแก ไมในวงศกอ (FAGACEAE) ไมหอม (LAURACEAE) เหมือด ทะโล ซิบะดุ หรือพันชุลี(Mastixia) ซ่ึงเปนพันธุไมทองถิ่นท่ีมีขนาดใหญท่ีสุดในผืนปาดอยอินทนนทแหงนี้ ดวยพืชพรรณท่ีมีความเฉพาะถ่ินและหลากหลายทางชีวภาพ ทําใหเปนแหลงอาหารทางธรรมชาติท่ีสมบูรณของสัตวปาโดยเฉพาะนกซ่ึงมีมากเกือบ 400 ชนิด จากจํานวนกวา 900 ชนิดในประเทศไทย ไดแก นกหางรําดํานกพญาไฟ นกปก แพรสเี ขียว นกต๊ิดแกม เหลือง นกเดินดงอกลาย นกกระรองทองแกมขาว เปนตน และสตั วปาขนาดใหญ เชน เกง กวาง หมี และพญากระรอก เปน ตน 14) เสนทางศกึ ษาธรรมชาติอางกา เสนทางนี้สํารวจวางแนวและออกแบบเสนทางเดินโดย คุณไมเคิล แมคมิลแลน วอลซ นักสัตววิทยาและอาสาสมัครชาวแคนาดาประจําอุทยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท ซึง่ เปน ผูหนึง่ ท่ที ํางานทุมเทใหกบั อนิ ทนนท และไดเสียชีวิตที่นี่ ดวยโรคหัวใจ เสนทางน้ีมีระยะทาง 1,800 เมตร พืน้ ทน่ี ้ีเปนหนองน้ําซบั ในหุบเขา จุดเดนที่นา สนใจ คือ ปา ดิบเขาระดับสูง ลักษณะของพรรณไมเขตอบอุนผสมกับเขตรอนท่ีพบเฉพาะในระดับสูง การสะสมของอินทรียวัตถุในปาดิบเขาลกั ษณะอากาศเฉพาะถิน่ พืชที่อาศัยเกาะติดตนไม ลักษณะของตนนํ้าลําธาร และลักษณะของตนไมบนดอยอา งกา เชน ตนขา วตอกฤาษที ข่ี ้ึนตามพน้ื ดนิ (ขา วตอกฤาษี เปน พชื ทต่ี อ งการความอุดมสมบูรณสูง จะขึน้ ในที่สงู กวา 2,000 เมตรเทาน้ัน และเจริญเติบโตไดดีในพ้ืนท่ีชุมช้ืนอากาศเย็น) กุหลาบพันป เปนตนยงั มีเสน ทางศึกษาธรรมชาตอิ ีกหลายเสนทาง เชน เสนทางศึกษาธรรมชาติกิโลเมตรท่ี 38 และ เสนทางศึกษาธรรมชาติกลุมน้ําตกแมปาน เปนตน แตละเสนทางใชเวลาในการเดินตางกันตั้งแต20 นาที - 7 ชวั่ โมง และเหมาะที่จะศึกษาสภาพธรรมชาติท่ีตา งกันดวย 15) ดอยหัวเสือ-แมกลางหลวง ดอยหัวเสือเปนยอดท่ีสูงเปนอันดับท่ี 4 ของอินทนนทมคี วามสงู ถงึ 1,881 เมตร จากระดับนํ้าทะเล สภาพปาบริเวณนี้จะเปนปาสนสลับปาดิบเขา และจะพบกหุ ลาบพันปสามสภี ูกระดึง ในชว งเดือนพฤษภาคมถึงมถิ ุนายน วานมียับซ่ึงเปนพืชลมลุก นอกจากสภาพปาที่สมบูรณยังสามารถมองเห็นวิวทิวทัศนท่ีมองไดเกือบ 360 องศา เน่ืองจากสภาพคอนขางโลงแตตองระมดั ระวังพ้ืนที่จะคอนขางลาดชนั จากจุดชมวิวสามารถมองเห็นดา นลา งซึ่งเปนหมูบานกะเหร่ียง ศูนยศึกษาและวจิ ยั อุทยานแหง ชาติ จังหวัดเชียงใหม, 2554

รายงานการประเมินมลู คาส่ิงแวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-6เพอ่ื การจดั การอทุ ยานแหง ชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม บทท่ี 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วของในอําเภอแมแ จม และยอดเทือกเขาดอยอินทนนนท ทางซา ยเปนอําเภอจอมทอง สําหรับยอดหัวเสือจะมีจดุ ชมววิ อยหู ลายแหง จุดแรกจะสามารถมองขน้ึ มาเห็นยอดหวั เสอื ในสวนทเ่ี รยี กวา จมูกเสือ จุดชมวิวตรงจมูกเสือเปนลานสนามหญาและมีกอนหินขนาดใหญเปนที่น่ังพักไวอยางดี และเดินเลยขึ้นไปอีกตรงยอดหวั เสือ 16) ยอดดอยอินทนนท บนยอดดอยอินทนนท มีผืนปาดิบดึกดําบรรพอันกวางใหญสมบรู ณป กคลุม ซ่งึ นอยคนนกั จะไดสมั ผสั ธรรมชาตทิ แ่ี ทจ รงิ ของภูเขาทสี่ งู ทส่ี ุดของประเทศ ในอดตี มีเพียงเสนทางเลก็ ๆ ตดั ขน้ึ ไปสปู าลึกอันชุมชนื้ และหนาวเย็น จึงจะไดพบเห็นกลวยไมและพันธุไมปาที่สวยงามและหายากยง่ิ นับแตรองเทานารีอินทนนทที่คนพบเปนแหงแรกบนดอยน้ี เอื้องกําเบอ ซึ่งเปนกลวยไมจาํ พวกซมิ บเิ ดียม มสี เี หลืองทอง ยังมกี หุ ลาบพันปที่มีลาํ ตน สงู ใหญก วา กุหลาบแดงบนภหู ลวงและภกู ระดึงมากมายนกั อกี ท้งั ดอกไมปา อกี หลายชนิดทข่ี ้ึนดารดาษทั่วหุบเขา สลบั กับพันธุไมจําพวกเฟรนออสมันดาและอื่นๆ เทือกเขาสูงมิไดมีเพียงยอดสูงสุด คือ ดอยอางกาหลวงเทาน้ัน ทวาเทือกเขาดอยอินทนนทน้ันคือแนวทิวเขาสลับซับซอนตอนหนึ่งของเทือกเขาถนนธงชัยอันพาดผานชายแดนตะวันตกเฉียงเหนอื ลงไป มยี อดดอยอนิ ทนนทเปนยอดสูงสุด สูงถึง 2,565 เมตร จากระดับนํ้าทะเลปานกลาง เปนที่ประดิษฐานกูพระอัฐิของพระเจาอินทวิชานนท ผูครองเชียงใหมองคที่ 7 และเปนท่ีต้ังของสถานเี รดารข องกองทัพอากาศไทย อากาศเยน็ ตลอดป ราว 5 -18 องศาเซลเซยี ส 17) ผาแงมนอย “แงม” เปนภาษาประจําถ่ินของภาคเหนือ มีความหมายเชนเดียวกับคําวา “งาม” ในภาษาไทย เปนคํานามใชเรียกลักษณะหรือสิ่งท่ีแยกออกเปน 2 หรือ 3 ผาแงมนอยเปนหิน 2 แทง ตั้งอยูคูกันริมเสนทางเดินชมธรรมชาติกิ่วแมปาน หินที่ประกอบขึ้นเปนผาแงมนอยไดแ ก หินแกรนิตเน้ือปานกลางยคุ ไทรแอสซิก มีอายุประมาณ 200 ลานปมาแลว หินแกรนิตในบริเวณนี้เกิดจากหินหลอมเหลวท่ีดันตัวตัดผานหินไนส ที่มีอายุเกาแกมากกวา 530 ลานป ยุคพรีแคมเบรียนเมอื่ หินหลอมเหลวท่ียังอยูใตผิวโลกเยน็ ตัวลง มวลของหนิ แกรนติ มีการหดตัวและปรากฏรอยแตกบริเวณขอบของมวลหิน เมื่อเวลาผานไปเปลอื กโลกมกี ารเปลีย่ นแปลงอยางตอ เนื่อง ปรากฏการณท ีส่ าํ คญั เกิดข้นึคือ กระบวนการกอเทือกเขา ทาํ ใหผ วิ โลกมีการยกตวั ขน้ึ เปน ภูเขา ปรากฏการณที่สําคัญตอมาหลังจากที่หินปรากฏบนผิวโลกคอื การผพุ งั อยูกบั ท่ี และการกัดกรอน หินแกรนิตเกิดจากแรประกอบหินหลายชนิดเชน ควอรตซ เฟลดสปาร ไบโอไทต และมัสโคไวท แรประกอบหินแตละชนิดมีอัตราการผุพังท่ีตางกันเชน แรเฟลดสปาร จะผุพังงาย และเร็วกวาแรควอรตซ ผาแงมนอยเปนหินแกรนิตเชนเดียวกับหินที่อยูขา งเคยี ง แตเ นื้อหินของผาแงมนอยมีปริมาณแรควอรตซมากกวาหินท่ีอยูขางเคียง และหินขางเคียงก็มีปริมาณแรเฟลดสปารที่มากกวาหินสวนที่เปนหนาผา ผาแงมนอยจึงเปนผลลัพธของความตางของอัตราเร็วในการผุพัง โดยสวนที่เปนผาแงมนอยมีความทนทานตอการผุพังมากกวาหินท่ีอยูขางเคียงนอกจากน้อี าจเกี่ยวขอ งกับความถข่ี องรอยแตกท่ีหนิ ขา งเคยี งมีมากกวา หินสวนทเ่ี ปนผาแงม นดี้ ว ยศนู ยศึกษาและวิจยั อุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มลู คาส่งิ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-7เพ่ือการจดั การอุทยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จังหวดั เชยี งใหม บทที่ 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวของ 18) พระมหาธาตุนภเมทนีดลและพระมหาธาตุนภพลภูมิสิริ เปนพระธาตุที่ทางกองทัพอากาศรวมกับพสกนิกรชาวไทยทั่วประเทศ รวมใจสรางถวายแดองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่ทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา เมื่อปพุทธศักราช 2530 และเทิดพระเกียรติแดสมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินนี าถ เนือ่ งในมหามงคลสมยั ทท่ี รงเจริญ พระชนมพรรษาครบ 5 รอบเมอ่ื วนั ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2535 โดยรอบบริเวณพระมหาธาตุเจดียทั้ง 2 องค สามารถมองเห็นทิวทัศนของดอยอนิ ทนนทโ ดยรอบไดอยา งชัดเจน พระมหาธาตทุ งั้ 2 องคน้ี มีรปู ทรงคลายคลึงกัน คือ มีฐานเปนรูป 12 เหล่ียม มรี ะเบียงแกว โดยรอบเปน 2 ระดับ เปน ทปี่ ระดิษฐานพระบรมสารรี กิ ธาตแุ ละพระพทุ ธรูปบชู า (ศนู ยศ กึ ษาและวจิ ยั อทุยานแหงชาติ จงั หวัดเชียงใหม, 2553) ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้จะทําการเก็บขอมูลจากนักทองเที่ยวชาวไทยท่ีเขาไปใชประโยชนหรือเท่ียวชมธรรมชาติในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม ตามสถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติ จํานวน 7 แหง ไดแก 1) น้ําตกแมยะ 2) น้ําตกแมกลาง 3) น้ําตกวชิรธาร4) ท่ีทําการอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท และลานกางเตนทดงสน 5) เสนทางเดินปานํ้าตกผาดอกเสย้ี ว 6) เสนทางศึกษาธรรมชาติก่ิวแมปาน และ 7) ยอดดอยอินทนนท ซ่ึงเปนแหลงทองเท่ียวสาํ คญั ๆ ทีน่ ักทองเที่ยวนิยมเขาไปใชประโยชน (หรือใชบริการ) มากเปนพิเศษในชวงเทศกาลปใหมและเทศกาลสงกรานต รวมท้ังจะทําการสัมภาษณเพิ่มเติมเพ่ือเปนการสอบทานหรือยืนยันขอมูลจากเจาหนา ทอี่ ุทยานแหง ชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวดั เชยี งใหมศนู ยศึกษาและวิจยั อุทยานแหงชาติ จงั หวัดเชียงใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มูลคา ส่ิงแวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-8เพื่อการจดั การอุทยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนท จงั หวดั เชยี งใหม บทที่ 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ียวขอ ง ตัวอยางแผนท่ีแหลงทองเที่ยวสําคัญและบริเวณเก็บแบบสัมภาษณในพ้ืนท่ีอุทยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวัดเชียงใหม แสดงใน ภาพที่ 2.1ภาพที่ 2.1 แผนที่แสดงแหลง ทองเท่ียวสําคญั และบริเวณทเ่ี กบ็ แบบสัมภาษณในพ้ืนที่ที่มา: อุทยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนท จังหวัดเชยี งใหม ดดั แปลงจากสาํ นักอุทยานแหงชาติ กรมอทุ ยานแหง ชาติ สัตวปา และพนั ธพุ ชื , 2554 ศนู ยศ กึ ษาและวิจยั อุทยานแหงชาติ จังหวดั เชียงใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มูลคา ส่ิงแวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-9เพื่อการจดั การอทุ ยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวัดเชยี งใหม บทท่ี 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ งภาพที่ 2.2 จํานวนนักทองเท่ียวที่เขาไปทองเที่ยวในเขตของอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2554 (เดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 – เดือนกันยายน พ.ศ. 2554) แยกเปนรายเดอื นท่ีมา: ศนู ยศึกษาและวจิ ัยอทุ ยานแหงชาติ จังหวัดเชยี งใหม, 2554 ปรับปรงุ ขอมลู จาก ฝายระบบฐานขอมลู สวนศกึ ษาและวจิ ัยอุทยานแหง ชาติ สาํ นักอทุ ยานแหง ชาติ จากผลสํารวจจํานวนนกั ทอ งเท่ยี ว ตัง้ แตป พ.ศ. 2553-พ.ศ. 2554 จากภาพที่ 2.2 เดือนตุลาคมพ.ศ. 2553 ถงึ เดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2554 แยกตามรายเดือน พบวา นกั ทอ งเท่ียวสวนใหญม ักจะมาเท่ียวในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม ในชวงฤดูหนาว ตั้งแตเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 ถึงเดือนกมุ ภาพันธ พ.ศ. 2554 และเดือนเมษายน 2554 ซ่งึ ในชว งเดือนธันวาคม 2553 จะมีนักทองเที่ยวเขามาใชบริการในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท เปนจํานวนมากที่สุด โดยมีปริมาณนักทองเที่ยวรวมตลอดท้ังปงบประมาณ พ.ศ.2554 จํานวน 437,914 คน สาเหตุท่ีนักทองเที่ยวเลือกมาเที่ยวในชวงน้ีเนอื่ งจากอทุ ยานแหงชาตินีม้ ที ัศนยี ภาพทางธรรมชาติท่ีสวยงาม และมีความหลากหลายของระบบนิเวศและเปนที่รจู ักของนักทอ งเทย่ี วท่ังชาวไทยและชาวตางประเทศ อาทิ ดอยอนิ ทนนท เสนทางเดินปาน้ําตกผาดอกเสีย้ ว เสน ทางศึกษาธรรมชาตกิ ่ิวแมปาน น้าํ ตกแมกลาง น้ําตกแมยะ และดอยหัวเสือ – แมกลางหลวง เปน ตน ศนู ยศ ึกษาและวจิ ัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมินมลู คาส่ิงแวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-10เพอื่ การจดั การอทุ ยานแหงชาตดิ อยอนิ ทนนท จังหวัดเชยี งใหม บทที่ 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวของ 2.1.4 ความสาํ คญั ของอุทยานแหงชาติ 1) ดานการอนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาติ ปจจุบันสถานการณปาไม โดยเฉพาะในประเทศกําลังพัฒนาถูกทําลายอยางมากเนื่องจากความตองการท่ดี นิ เพ่ือการเกษตร การประกาศจดั ตงั้ พนื้ ท่ีเปนอทุ ยานแหง ชาตกิ ็เพอ่ื ชว ยคมุ ครองทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญไว เปนมาตรการหน่ึงท่ีมีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีกฎหมายที่เขมงวดมบี ทลงโทษทร่ี ุนแรง มีการบริหาร มอี ตั รากาํ ลัง และงบประมาณท่ีจะดแู ลไดอยา งใกลชิด 2) ดา นเศรษฐกิจ อุทยานแหงชาติ มีวัตถุประสงคหลักอยางหนึ่งคือ เพื่อการทองเท่ียวและพักผอนหยอนใจ ทําใหเกิดธุรกิจทองเที่ยวและบริการ ซึ่งเปนที่มาของรายไดของราษฎรในทองถิ่น และเกิดอุตสาหกรรมการทองเท่ียวท่ีมีการใชแรงงานในทองถิ่นเปนหลัก ทําใหมีการกระจายรายได นอกจากนี้พนื้ ท่ีอุทยานแหงชาตยิ ังเปน แหลงอนุรักษพนั ธกุ รรมด้ังเดิมทสี่ ามารถนาํ ไปใชในการ ผสมพันธุพืชและสัตวเพ่อื ใหไ ดพ ันธแุ ททีท่ นทานตอโรคและแมลง และใหผ ลผลติ สูง ทง้ั ชว ยรักษาสภาพแวดลอ มใหเ หมาะสมตอการเกษตร บางแหง เปนตนน้ําที่สําคญั ท่ีระบายนํา้ ลงสูล าํ ธารตอนลา ง 3) ดา นการศกึ ษา คนควา วจิ ัย อทุ ยานแหง ชาติ เปนพืน้ ท่ีท่ีไมถูกรบกวน จึงเปนพื้นท่ีท่ีนักวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะอยางยิ่งทางดานนิเวศวิทยา ตองการเพื่อการศึกษาวิจัยทางธรรมชาติ และเลือกพ้ืนที่อทุ ยานแหงชาติเปน สถานวี จิ ยั ในโครงการวจิ ยั ท่ีสําคัญๆ ระดับชาติ และระดบั โลก 4) ดานสังคมและวัฒนธรรม อทุ ยานแหงชาติ เปน แหลงท่มี ีคณุ คา ทางดานนันทนาการที่ประชาชนสามารถใชเวลาวา งเท่ียวพักผอ น ทาํ ใหรา งกายและจิตใจดขี นึ้ เปน ทีม่ าของสติปญ ญา ทําใหมีประสิทธิภาพในการทํางานซงึ่ เปน แนวทางในการพฒั นาสังคมไปในทางทดี่ ี ดังจะพบวา นักประพันธ นักกวี นักแตงเพลง หรือแมแตพระพทุ ธเจาไดใชปาเปนแหลงผลิตผลงานอันอมตะ อุทยานแหงชาติไดนําความเจริญสูพ้ืนท่ีใกลเคียงมีถนน ไฟฟา ประปา อีกทั้งอุทยานแหงชาติยังเปนแหลงอนุรักษโบราณวัตถุและโบราณสถานใหคงอยูเพื่อเตือนใจประชาชนใหเห็นความสําคัญและบทเรียนตางๆ ที่เกิดข้ึนในอดีต นอกจากนี้กิจกรรมการทองเที่ยวยังชวยเผยแพรวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของทองถิ่นใหแพรหลาย ทําใหประชาชนสาํ นกึ ถงึ ความสําคัญของขนบธรรมเนียมประเพณีด้ังเดิม บางครั้งการทองเท่ียวมีสวนชวยเปลี่ยนวิถีชีวิตของประชาชนในพนื้ ทจ่ี ากการเกษตรมาเปนการคา ขาย และนาํ เทีย่ วมากขึ้น 5) ดา นสง่ิ แวดลอ ม อุทยานแหงชาติ ถูกจดั ข้นึ เพื่อรักษาสภาวะแวดลอ มใหอ ยูในสภาพธรรมชาติเดิมมากทส่ี ุดอทุ ยานแหงชาติ จึงเปนพื้นท่ีท่ีชวยรักษาสมดุลของส่ิงแวดลอม จึงเกิดความม่ันคง แกกระบวนการทางอุทกวิทยา ชวยปองกันการพังทลายของดิน ชวยควบคุมสภาพภูมิอากาศ ชวยรักษาคุณภาพศนู ยศกึ ษาและวิจยั อุทยานแหง ชาติ จงั หวดั เชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมินมลู คา สง่ิ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-11เพ่ือการจดั การอทุ ยานแหงชาตดิ อยอินทนนท จงั หวัดเชยี งใหม บทที่ 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวของสิง่ แวดลอมใหเ หมาะสมตอส่ิงมีชีวิต ชวยคุมครองรักษาประสิทธิภาพของระบบนิเวศใหไดผลผลิตย่ังยืนตลอดไป และเปน แหลง ชว ยพัฒนาจิตของมนุษยสงผลให ลดปญหาสิง่ แวดลอ มทางดานสังคม 6) ดานความมัน่ คงของประเทศ พืน้ ทอี่ ุทยานแหง ชาติ เหมอื นคลงั มหาสมบัติของประเทศ บางแหง ประกอบดว ยปาไมและแรธาตุอยา งสมบูรณ ในยามวิกฤตเิ ม่ือชาตติ องการใชท รพั ยส ินดงั กลาวเพื่อความอยูรอดของประเทศก็สามารถนํามาใชไ ด2.2 แนวคดิ และทฤษฎกี ารประเมินมูลคาสิ่งแวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2.2.1 แนวคดิ การวัดมูลคา ส่ิงแวดลอมทางเศรษฐศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอมใหประโยชนกับสงั คมในหลายรูปแบบ ดังน้ันในการประเมนิ มลู คา ส่งิ แวดลอมตองคํานึงถึงประเภทของประโยชนของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมท่ีตองการประเมิน โดยมูลคารวมทางเศรษฐศาสตรของสิ่งแวดลอม (Total Economic Value)ประกอบดว ย 7 สว น ไดแก 1) มลู คา ทีเ่ กดิ จากการใช (Use Value) คอื การท่ีสง่ิ แวดลอ มใหป ระโยชนทีเ่ ปนรปู ธรรมกับประชาชนซ่ึงแบงเปน 2 ประเภท ไดแ ก 1.1) มูลคาท่ีเกิดจากการใชโดยตรง (Direct Use Value) คือ การท่ีประชาชนในฐานะ ผบู รโิ ภคไดรับประโยชนโดยตรงจากสิ่งแวดลอม เชน การเขาชมอุทยานแหงชาติ ผลกระทบของคุณภาพอากาศตอสุขภาพระดบั กลิน่ และเสยี งบรเิ วณที่อยอู าศัย หรอื ความเสีย่ งตอสุขภาพจาก ระดบั กลิ่นและเสียงบริเวณทอ่ี ยอู าศัย หรอื ความเสีย่ งตอ สุขภาพจากการทิง้ สารเคมีผดิ วิธี เปนตน 1.2) มูลคาที่เกิดจากการใชทางออม (Indirect Use Value) คือ การที่ส่ิงแวดลอมทําหนาที่เปนปจจัยการผลิตอยางหน่ึงและใหประโยชนตอประชาชนโดยผานกระบวนการผลิต เชนคณุ ภาพนํา้ ในแมนํ้าทีส่ ะอาดชวยลดตนทุนการผลติ นาํ้ ประปาทาํ ใหคา นาํ้ ประปาลดลง หรือคุณภาพน้ําท่ีมีผลตอ การเลี้ยงกุง เปน ตน 2) มูลคาจากการมิไดใช (Non-Use Value) คือ การที่สิ่งแวดลอมใหประโยชนกับประชาชนในรูปของการสรา งความรสู กึ ท่ดี ีเม่อื ทราบวาสงิ่ แวดลอมอยูในสภาพดี โดยท่ีประชาชนไมไดรับประโยชนจ ากการใชส ิ่งแวดลอมนั้นเลย 3) มูลคาของการดํารงอยู (Existence Value) คือ การที่ประชาชนไดประโยชนจากส่งิ แวดลอมเมอ่ื ทราบวา ส่งิ แวดลอมยังอยใู นสภาพทดี่ ี เชน การอนุรักษเตาทะเลชาง หรือสัตวสงวนอื่น ๆเปนตน 4) มลู คาของการเปนมรดกตกทอด (Bequest Value) คือ การท่ีประชาชนไดประโยชนเมื่อทราบวา สง่ิ แวดลอ มยงั อยูในสภาพท่ีดีเพราะลกู หลานหรอื ประชาชนรนุ หลังจะสามารถใชประโยชนไดในอนาคต ศูนยศกึ ษาและวิจยั อุทยานแหงชาติ จังหวดั เชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มูลคา สงิ่ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-12เพื่อการจดั การอทุ ยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จังหวดั เชยี งใหม บทที่ 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วของ 5) มูลคาเผอ่ื จะใช (Option Value) คือ การท่ปี ระชาชนไมไ ดป ระโยชนจากส่ิงแวดลอมเลยไมว าจะในรปู แบบมลู คาจากการใชหรือมูลคาจากการมไิ ดใชใ นขณะน้ี แตคิดวา จะมโี อกาสใชป ระโยชนในอนาคต ดังน้ันการอนรุ กั ษส ง่ิ แวดลอ มไวขณะนี้ประชาชนอาจไดร ับประโยชนเพราะเปนการเปดโอกาสใหส ามารถใชประโยชนจากสง่ิ แวดลอ มในอนาคตไดถา ตอ งการ 2.2.2 แนวคดิ การประเมนิ มูลคา สิ่งแวดลอมทางเศรษฐศาสตร วิธีการประเมนิ มลู คา สงิ่ แวดลอมประกอบดวย 5 วิธี ไดแ ก 1) วิธีการประเมนิ ผลกระทบสิง่ แวดลอมทางตรง (Direct Methods) วธิ กี ารน้ีเปน วธิ กี ารประเมินมูลคาสิ่งแวดลอมโดยการสัมภาษณจากประชาชนโดยตรง วิธีการน้ีแบงออกเปน 2 วิธี คือContingent Valuation Methods (CVM) วิธีการน้ีเปนการถามคําถามใหประชาชนบอกถึงผลกระทบส่ิงแวดลอมท่ีกําลังศึกษาอยูวามีมูลคาเทาไร หรือมูลคาท่ีประชาชนยินยอมจายเพ่ือปองกันผลกระทบส่ิงแวดลอมที่กําลังจะเกิดขึ้น อีกวิธีหนึ่งคือ CVM ที่ตั้งคําถามแบบเปดใหประชาชนตอบ(state preference methods) ดวยเหตุท่ีส่ิงแวดลอมเปนสินคาที่ไมมีกลไกตลาดท่ีจะสามารถกําหนดราคาหรือทําใหกลไกราคาทํางานได อันเนื่องมาจากปญหาผลกระทบภายนอก (Externalities) และปญหาสินคาสาธารณะ (Public good) วิธีการสมมติเหตุการณใหประเมินคา หรือ CVM นี้เปนวิธีการหนึ่งท่ีเปนเครื่องมือวัดมูลคาทางเศรษฐกิจของส่ิงแวดลอมได วิธีการนี้ตองมีการสอบถามเก็บความคิดเห็นของประชาชนที่ถกู เลือกใหเปน กลุมตวั อยา ง โดยถามจาํ นวนเงินที่ผูตอบคําถามวา มีความเต็มใจท่ีจะจายเงินเพื่อสนับสนุนโครงการหรือเหตกุ ารณสมมติที่จะแกไขปญหาคุณภาพสงิ่ แวดลอ ม ซึ่งคาที่ไดออกมาจะเปนคาทสี่ ะทอ นใหเ ห็นมลู คา ของสง่ิ แวดลอ ม วิธี CVM นี้เปนวิธีที่มีความคลองตัวมากและสามารถนํามาใชกับการประเมินมูลคาไดทุกประเภท ข้ึนอยูกับลักษณะการตั้งคําถามที่จะสัมภาษณประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากการเปล่ยี นแปลงสิ่งแวดลอ มทก่ี าํ ลังจะเกิดข้ึนหรือดวยการสรางสถานการณสมมติ (Hypothetical Market)โดยการถามคาํ ถามในลกั ษณะของความเต็มใจท่ีจะจาย (Willingness to Pay: WTP) หรือความเต็มใจท่ียอมรับเงินชดเชย (Willingness to Accept Compensation: WTAC) 2) วธิ ีการประเมนิ ผลกระทบสงิ่ แวดลอ มทางออม (Indirect Methods) วิธีการทางออมเปนการศกึ ษามูลคา สิง่ แวดลอ มทไ่ี มมีการซ้ือขายโดยตรงแตมูลคานี้อาจซอนอยูในมูลคาของสินคาอ่ืน ๆไดแก วิธี Travel Cost Methods (TCM) เปนการศึกษาท่ีนิยมใชเพื่อประเมินมูลคาสิ่งแวดลอมในเชิงนนั ทนาการ โดยใชค า ใชจายในการเดนิ ทางและตนทุนคาเสียโอกาสของเวลาของนักทองเที่ยวเปนขอมูลบอกมูลคาเชิงนันทนาการของสถานที่น้ัน และวิธี Hedonic Price Methods (HPM) เปนการประเมินมลู คาผลกระทบสง่ิ แวดลอมศูนยศกึ ษาและวิจยั อุทยานแหง ชาติ จงั หวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมินมูลคาส่งิ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-13เพือ่ การจัดการอทุ ยานแหง ชาตดิ อยอินทนนท จังหวดั เชยี งใหม บทที่ 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วของ 3) วิธีดา นคุณภาพสงิ่ แวดลอมท่ีเกี่ยวของกับปจจัยการผลิต (Environmental Qualityas a Factor Input) วธิ ีการนเี้ ปน วธิ ีการประเมนิ เฉพาะกรณที ่ีส่ิงแวดลอมทําหนา ทเี่ ปน สวนหน่งึ ของปจ จยัการผลิต ซ่ึงสามารถกระทําผาน Production Function หรือ Cost Function เพ่ือการศึกษาถึงการเปลีย่ นแปลงสวสั ดกิ ารของผผู ลิตหรอื ผูบริโภคที่เปลย่ี นแปลงไป โดยใชข อมลู ในระบบตลาดทีเ่ กยี่ วของกับสินคา เอกชนเพ่ือนํามาประเมินมูลคาสินคา/บริการดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมที่เกี่ยวของเชน นาํ้ เสยี ทาํ ใหต นทุนในการผลติ นํ้าประปาสูงขน้ึ การสูญเสียปาชายเลนทาํ ใหจาํ นวนลกู ปลาลดลง ซ่ึงในท่ีสดุ กจ็ ะสง ผลใหปรมิ าณปลาลดลงดวย เปน ตน 4) มูลคาตลาด (Market Valuation) ส่ิงแวดลอมท่ีเปล่ียนแปลงไปยอมทําใหคาใชจายของผูบริโภคเปล่ียนไป เชน กรณีอากาศเปนพิษในกรุงเทพฯ ทําใหผูโดยสารตองตัดสินใจเลือกการใชบริการรถโดยสารประจําทางปรบั อากาศแทนรถธรรมดา ทาํ ใหผ ูโดยสารตองจายมากข้ึน วิธีการ Marketvaluation สามารถวัด use value ไดทั้ง Direct use value และ Indirect use value วธิ ีการนี้สามารถประมาณมูลคาสิ่งแวดลอมได 3 วิธีคือ 1) วิธีการประมาณจากคาใชจายท่ีเปล่ียนแปลง (Avertingexpenditure approach) 2) วิธีการที่ประมาณการจากจํานวนเงินที่ตองจายเพ่ือการทดแทนความเสยี หายอนั เกิดจากคณุ ภาพสิ่งแวดลอ มเปลย่ี น และ 3) วิธีการท่ีศึกษาความสัมพันธระหวางคุณภาพของสงิ่ แวดลอม ผลกระทบทางกายภาพและคา ใชจ า ยที่เกิดขน้ึ (Dose response approach) 5) วิธีการโยกยายผลประโยชน (Benefit Transfer Approach) วิธีการน้ีเปนการประเมนิ ผลกระทบสง่ิ แวดลอมโดยใชมูลคาสิ่งแวดลอมท่ีมีผูอ่ืนประเมินไวแลวจากสถานท่ีอ่ืนมาปรับคาตามความแตกตางของสภาพแวดลอ มหรอื สภาพทางสังคมเปน วธิ ที ีส่ ามารถนาํ มาใชใ นการประเมินมูลคาไดทกุ ประเภท เพราะวธิ นี ไ้ี มตองทําการสํารวจหรือเก็บขอ มูลภาคสนาม จงึ เปน วิธีทมี่ ปี ระโยชนในกรณีท่ีเกิดปญ หาสง่ิ แวดลอมอยา งกะทนั หันและตองการขอ มลู อยา งเรงดว นในการตัดสินใจดาํ เนนิ การ และไมมีเวลามากพอในการศึกษาประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอมดวยวิธีทางตรง ซ่ึงตองใชเวลาและงบประมาณที่สูงกวา มาก ในการศึกษาวิจัยครั้งน้ีจะใชวิธีการประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอมทางตรง คือวธิ ีการสมมตเิ หตกุ ารณใหประเมินมลู คา ส่งิ แวดลอ ม (Contingent Valuation Method: CVM) เพื่อประเมินคาความเต็มใจท่ีจะจายในดานการคุมครองพ้ืนที่ ปรับปรุงและพัฒนาแหลงทองเที่ยวรวมท้ังศึกษาวิจัยทรัพยากรและแหลงเรียนรูทางธรรมชาติในอุทยานแหงชาติ ของนักทองเท่ียวชาวไทยท่ีเขา ไปใชประโยชนห รอื เท่ยี วชมธรรมชาติในอทุ ยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จังหวัดเชียงใหมเพื่อใชเปนแนวทางในการจดั การอทุ ยานแหง ชาตดิ อยอินทนนท จงั หวดั เชียงใหม ตอ ไปในอนาคตศนู ยศ กึ ษาและวิจัยอุทยานแหง ชาติ จงั หวดั เชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมินมลู คาส่งิ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-14เพือ่ การจัดการอุทยานแหง ชาติดอยอินทนนท จงั หวดั เชยี งใหม บทที่ 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ยี วของ 2.2.3 วิธีการประเมินมูลคาสิ่งแวดลอมโดยวิธีการสมมติเหตุการณใหประเมิน(Contingent Valuation Method: CVM) วิธีการนี้เปนวิธีการประเมินมูลคาสิ่งแวดลอมโดยการสัมภาษณจากประชาชนโดยตรงเปนการสงั เกตการบนพน้ื ฐานของการเลอื กท่ีเปน จรงิ โดยประชาชนผแู สวงหาอรรถประโยชนสูงสุดภายใตขอจาํ กดั ของเร่อื งท่ศี กึ ษาและเปนผูท่ีมอี ิสระทจ่ี ะเลอื กจาํ นวนของสินคา ณ ราคาท่ีกําหนด ขอมูลท่ีแสดงออกมาโดยตรงในรูปของตวั เงิน เนือ่ งจากเปน การเลือกบนพื้นฐานของราคา (Freeman, 1993) วิธีการน้ีสามารถวัดมูลคาของส่ิงแวดลอมไดทุกประเภทไมวาจะเปน มูลคาที่เกิดจากการใช (Use value),มูลคา จากการไดใ ช (Non use value) หรือ มูลคาเผ่ือจะใช (Option value) ขึ้นอยูกับลักษณะของการตั้งคําถามที่จะสัมภาษณประชาชนเปาหมาย วิธีการทางตรงน้ีเปนวิธีท่ีไดจากการสํารวจทัศนคติของประชาชน ดังนั้นจึงตองมีการออกแบบสอบถาม ทดสอบแบบสอบถาม ทําการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนตามการสุมตัวอยาง แลวจงึ นําผลที่ไดจากการสํารวจมาทําการวเิ คราะหด ว ยเคร่ืองมือทางสถติ ิ ในกรณีของส่ิงแวดลอม ผูตอบแบบสอบถามจะถูกรองขอใหประเมินมูลคาของการเปล่ียนแปลงในปริมาณหรือคุณภาพของส่ิงแวดลอม ซ่ึงมูลคาของการเปล่ียนแปลงที่ไดจาก CVMน้ีจะสะทอนถึงความพอใจที่จะจาย (Willingness to Pay: WTP) หรือความพอใจท่ีไดรับการชดเชย(Willingness to Accept Compensation: WTAC) ขึ้นอยูกับวาผูตอบแบบสอบถามมีกรรมสิทธ์ิ(Property Right) ในสนิ คาและบรกิ ารนัน้ ๆ หรอื ไม กรณีท่ีผตู อบแบบสอบถามมิไดมีกรรมสิทธิ์ในสินคาและบริการนั้น ๆ มูลคาท่ีไดจากการประเมินจะสะทอนใหเห็นถึงความพอใจ ท่ีจะจายสําหรับการเปลย่ี นแปลงในปริมาณหรอื คณุ ภาพของสินคา นัน้ ๆ ในทางกลับกัน หากผูต อบแบบสอบถามเปน ผมู ีกรรมสิทธในสนิ คา และบริการนั้น ๆ มลู คา ท่ีไดจากการประเมินจะสะทอนใหเห็นถึงความพอใจที่จะไดรับการชดเชย (WTAC) สําหรับการเปลี่ยนแปลงในปริมาณหรือคุณภาพของสินคานั้น ๆ ซึ่งวิธีนี้สามารถท่ีจะนํ า ม า ป ร ะ ยุ ก ต ใ ช กั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ป ร ะ โ ย ช น ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ใ น ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ส ว น เ กิ น ข อ ง ก า ร บ ริ โ ภ ค(Consumer Surplus) ได วิธกี ารนเี้ ปน ท่นี ิยมใชก ันมานานแลว พัฒนามาโดยนกั เศรษฐศาสตรช ือ่ Carson มวี ธิ เี ปนการทดสอบโดยมองพฤตกิ รรมของผูถ ูกสมั ภาษณ ซ่งึ ขอมูลท่ไี ดม าจะเปน การแสดงความคดิ เห็นแบบปด ท่ีใหตอบ yes หรือ no หรือแสดงความคิดเห็นแบบเปดก็ได วิธีน้ีมีความไดเปรียบในการใชวัดมูลคาของสง่ิ แวดลอมอยา งมาก มีการแสดงใหเห็นถึงเง่ือนไขตาง ๆ ที่เกิดข้ึน เชน ราคา รายได สิ่งแวดลอม สิทธิฯลฯ ของผูถกู สัมภาษณแ ตละคนท่ีประสบมา เปน การถามถงึ การเปลย่ี นแปลงสภาพแวดลอมใหดีข้ึนของสถานท่ีนั้นๆ 1) วิธีการออกแบบสอบถามเพื่อหาคาความเต็มใจที่จะจาย (WTP) ตามวิธีการแบบCVM สามารถแบง ออกเปน 2 วธิ ีหลกั คอืศนู ยศึกษาและวิจัยอุทยานแหง ชาติ จงั หวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมินมูลคา ส่ิงแวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-15เพอื่ การจดั การอทุ ยานแหง ชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวดั เชยี งใหม บทที่ 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ียวของ 1.1) รูปแบบ CV ท่ีตอเนื่อง (Continuous contingent valuation format)โดยมีอยู 2 วิธีหลักๆ คือ คําถามแบบปลายเปด (Open-ended question) และรูปแบบบัตรรายจาย(Payment card format) ในคาํ ถามแบบปลายเปด เปนการถามปลายเปดโดยไมไดระบุทางเลือก หรือจํานวนเงินที่ผูถูกถามควรจะตอบ เชน ทานมีความยินดีท่ีจะจายเงินเทาไหรสําหรับการเปล่ียนแปลงคุณภาพสงิ่ แวดลอมท่ีทําการศึกษา โดยคําถามแบบปลายเปดน้ีมักเกิดปญหา Strategic bias เนื่องจากคําถามไมสอดคลองกับสถานการณที่แทจริงท่ีผูตอบคําถามเผชิญ ดังน้ันผูตอบอาจตอบสูงหรือตํ่ากวาความเปนจริง รวมท้ังอาจมีปญหา Outlier ทําใหคาความแปรปรวนของ Mean of MWTP สูงมาก(Michell and Carson,1989) สวนรูปแบบบัตรรายจาย เปนเทคนิคที่ชวยใหผูสัมภาษณสามารถสรางภาพสถานการณท สี่ มมตขิ ้นึ ใหผูถ ูกสัมภาษณไดเ หน็ ภาพท่ชี ัดเจนและเปนไปในทางเดียวกัน และชวยใหผูถกู สมั ภาษณส ามารถท่จี ะระบุความเตม็ ใจทีจ่ ะจา ยออกมาไดง ายขึ้น อยา งไรกต็ าม PC format ก็มจี ดุ ออ นที่เกิดจากความเอนเอียงของระดับราคาท่ีใชจะไปมีอิทธิพลกับการเลือกมูลคา สวนขอดีของ CVแบบตอเนือ่ งนี้ คือ คาเตม็ ใจทีจ่ ะจาย (WTP) สูงสุดจะถูกวัดออกมาโดยตรง 1.2) รูปแบบ CV ที่ไมตอเน่ือง (Discrete contingent valuation format)โดยวธิ หี ลักที่ใชคือ คําถามแบบปลายปด (Close-ended question) ในคําถามแบบ CE น้ี ผูถูกสัมภาษณเพียงถูกถามวา จะจา ยหรือไมเมื่อกาํ หนดราคามาให วิธีการน้ีจะมีความคลายคลึงกับการซ้ือขายสินคาในตลาดจริงมาก ดงั นน้ั วิธกี ารน้จี งึ ไดรบั ความนยิ มอยา งมาก โดยการกาํ หนดราคาที่แตกตางกัน สดั สวนของผูถูกสัมภาษณที่เต็มใจจายจะถูกคํานวณออกมาและคูณสัดสวนของจํานวนน้ีกับจํานวนผูถูกสัมภาษณจะสามารถประมาณเสนอปุ สงคอ อกมาไดอ ยา งไรก็ตาม คําถามแบบ CE นกี้ ม็ ีขอดอ ยดวย คือ WTP สูงสุดจะไมไดถูกหาออกมาโดยตรง ดังนั้นคําตอบท่ีไดจากวิธีน้ีจึงตองการความถูกตองทางสถิติมากกวาวิธีContinuous จึงทําใหคําถามแบบ CE คอนขางจะขาดประสิทธิภาพ นอกจากนี้สําหรับการคํานวณคาWTP ตองการการคาดการณลวงหนาเก่ียวกับ Valuation function ยิ่งกวาน้ันผูถูกสัมภาษณบอยครั้งจะเลือกตอบเพียง ใช/ไมใช ซึ่งเรียกวิธีนี้วา Dichotomous choice (DC) อยางไรก็ตามจากการศึกษาพบวาวธิ ีการนีจ้ ะนําไปสคู า WTP ท่สี ูงกวา มลู คา จริง ๆ ในตลาดการอธิบายที่เปนไปไดอยางหน่ึงของการประมาณคาสูงเกินจริงของคา WTP โดยวิธีการ DC คือการเกิดการตอบเพียงใช เชน ผูถูกสัมภาษณจะแสดงออกถงึ การสนับสนุนโครงการตา ง ๆ โดยไมค ํานึงถึงราคา สวนวิธีการ Dissonance-Minimizing(DM) จะหลีกเลี่ยงการตอบเพยี งใช โดยจะยอมใหผ ถู กู สัมภาษณสนับสนนุ โครงการโดยไมคาํ นงึ ถึงราคา ในการศกึ ษาวจิ ัยครงั้ น้ีจะใชว ธิ ีการออกแบบสอบถามตามรูปแบบ เทคนิคการกําหนดราคา (CV) ที่ตอ เนื่อง โดยวิธีการตั้งคําถามแบบปลายเปดในการประเมินคาความเต็มใจที่จะจายในดานการคุมครองพื้นท่ี ปรับปรุงและพัฒนาแหลงทองเท่ียว รวมทั้งศึกษาวิจัยทรัพยากรและแหลงเรียนรทู างธรรมชาตใิ นอทุ ยานแหงชาตขิ องนกั ทอ งเที่ยวชาวไทยที่เขาไปใชประโยชนหรือเที่ยวชมธรรมชาติในอทุ ยานแหง ชาตดิ อยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม ตามสถานที่หรือแหลงทองเที่ยวทาง ศนู ยศ ึกษาและวิจัยอุทยานแหง ชาติ จังหวดั เชียงใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มลู คาสิ่งแวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-16เพ่ือการจัดการอุทยานแหง ชาตดิ อยอินทนนท จังหวดั เชียงใหม บทท่ี 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กย่ี วขอ งธรรมชาติท่ีสําคัญๆ จํานวน 7 แหง ไดแก 1) นํ้าตกแมยะ 2) นํ้าตกแมกลาง 3) น้ําตกวชิรธาร4) ที่ทําการอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท และลานกางเต็นทดงสน 5) เสนทางเดินปานํ้าตกผาดอกเสี้ยว 6)เสนทางศึกษาธรรมชาติกิ่วแมปาน และ 7) ยอดดอยอินทนนท เพื่อใชเปนแนวทางหนึง่ ในการจดั การอุทยานแหง ชาติดอยอนิ ทนนทต อ ไปในอนาคต 2) เทคนิคการกําหนดราคา (CV) ที่สาํ คัญมี 3 วธิ ีคือ 2.1) Bidding game เปนเทคนิคที่ไดรับความนิยมนํามาใชในงานวิจัยอยางแพรหลายเปนวิธีการท่ีอาศัยเทคนิคการตอรอง เชนเดียวกับการตอรองราคาสินคาท่ัว ๆ ไปในตลาดกลาวคอื ในการตั้งคาํ ถามจะตองมีการตัง้ ราคาสินคา โดยราคาท่ีกําหนดขึ้นนี้ผูใหสัมภาษณสามารถที่จะตอ รองราคาไดจ นกระท่ังไดร าคาทีผ่ ูใหสมั ภาษณยนิ ดที จี่ ะจา ยให เทคนคิ นส้ี ามารถแบงไดเปน 2 ประเภทคือ การใชการตอรองคร้ังเดียว (Single bid game) และการใชการตอรองหลาย ๆ คร้ัง (Iterative bidgame) 2.1.1) การใชการตอรองคร้ังเดียว (Single bid game) ทําไดโดยทําการทดสอบเบือ้ งตน (Pretest) การกําหนดจํานวนเงนิ เรมิ่ ตน ก็เพ่อื เปนแนวทางใหผถู ูกสัมภาษณพ ิจารณาและตัดสินใจวาจํานวนเงินดังกลาวผูใหสัมภาษณยินดีที่จะจายหรือยินดีท่ีจะไดรับการชดเชยหรือไมจากเหตุการณท ีผ่ สู มั ภาษณสมมตขิ ึ้น 2.1.2) การใชการตอรองหลาย ๆ คร้ัง (Iterative bid game) วธิ ีนเ้ี ปน การตอรองหลายคร้ังจนไดคําตอบโดยจะอาศัยหลักการเบ้ืองเชนเดียวกับวิธี การใชการตอรองคร้ังเดียว(Single bid game) กลาวคือ ผูส ัมภาษณจะตอ งกาํ หนดจาํ นวนเงนิ เรมิ่ ตนจํานวนหนึ่งซ่ึงอาจมีคาสูงหรือตา่ํ กไ็ ด และใชคาํ ถามในทํานองเดยี วกันกับวิธีการตอรองคร้ังเดียวแตจะตางกันตรงท่ีวาในกรณีท่ีจํานวนเงินเริ่มตน มคี าสูง ถา ผใู หสัมภาษณตอบคาํ ถามวา ไมย ินดีจายในจํานวนเริ่มตนน้ี ใหผูส มั ภาษณถ ามคาํ ถามเดิมตอ ไปโดยคอยๆ ลดจาํ นวนลงเรื่อย ๆ จนกระท่ังถงึ จํานวนเงินหน่ึงที่ผูใหสัมภาษณตอบวา “ยินดีท่ีจะจายเงินจํานวนน”้ี ใหผูส ัมภาษณจดบันทกึ คาํ ตอบนไ้ี ว สาํ หรบั กรณที ่ีผูใหสัมภาษณใชเงินจํานวนเร่ิมตนมีคาต่ํา ถาผูใหสัมภาษณตอบวา “ยินดีจายเงินจํานวนน้ี”ใหผูสัมภาษณถามคําถามเดิมตอไป โดยคอย ๆเพิ่มจํานวนเงินสูงข้ึนเรื่อย ๆ จนกระทั่งผูใหสัมภาษณตอบวา “ไมยินดีท่ีจายเงินจํานวนดังกลาว”ผสู มั ภาษณทําการจะบนั ทกึ ขอมลู ครง้ั สุดทา ยทผี่ ใู หส ัมภาษณตอบ “ยินดที จ่ี ะจาย” เอาไว 2.2) Payment Card เปน เทคนิคทพ่ี ัฒนาโดย Mitchell และ Carson วิธีน้ีจะใหผูตอบแบบสอบถามกาํ หนดราคากันเอง ซ่ึงเหมาะสมกบั เงินหรอื รายไดท ตี่ นเองมีอยู โดยกําหนดใหเงินท่ีมีอยูและเต็มใจท่ีจะจายในครั้งน้ีมีคาเทากับ 0 และตีมูลคาสถานที่ทองเที่ยวเพ่ิมข้ึนจนเหมาะสมกับบริการที่ไดรับ ใหใชวิธี Payment card แสดงการประมาณรายไดในคาใชจายของนักทองเที่ยวในการเลือกบริการสาธารณะในแตละป อีกทั้งยังเปนการอธิบายถึงพฤติกรรมและทัศนคติในการใชจายจะพจิ ารณาขอ มลู ท่ีไดม าของสถานทีท่ องเท่ียววา ดีเหมาะสมกับรายไดท่ีไดมาและเสียเงินไป จะคิดหนาศนู ยศ กึ ษาและวจิ ัยอุทยานแหง ชาติ จงั หวดั เชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มลู คา สง่ิ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-17เพือ่ การจัดการอทุ ยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนท จงั หวัดเชยี งใหม บทท่ี 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วขอ งคดิ หลังเปรยี บเทยี บความไดเ ปรียบหรอื เสยี เปรยี บกับการจายเงินใหแกการบรกิ ารสาธารณะจากขอมูลที่ไดรบั ทราบมา เมอ่ื ผูสมั ภาษณแสดงขอมลู ใหเ ห็น 2.3) Dichotomous choice เทคนคิ นใ้ี ชค ร้งั แรกโดย Bishop และ Heberleinเปนการวิเคราะหการประมาณคาของเครื่องอํานวยความสะดวกของสิ่งแวดลอม การวิเคราะหวิธีDichotomous choice เปนการประเมินมูลคา และการแสดงทัศนคติในการตอบสนองสินคาและบริการการตอบสนองนจี้ ะถามถงึ การยอมรับและการปฏเิ สธถึงมลู คาของสิง่ แวดลอ มในการเต็มใจที่จะจายเงินใหเพือ่ แลกกับการไดรับบริการ โดยจะไมนําเงินเขามาเกี่ยวของดวย ซ่ึงเปนการตอบสนองคําถามทางดานyes หรือ no ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้จะใชเทคนิคการกําหนดราคา (CV) โดยวิธี Bidding gameการตอ รองครงั้ เดยี ว (Single bid game) ในการประเมนิ คาความเต็มใจท่ีจะจายในดานการคุมครองพนื้ ที่ ปรับปรงุ และพัฒนาแหลง ทอ งเท่ยี ว รวมท้ังศึกษาวิจัยทรัพยากรและแหลงเรียนรูทางธรรมชาติในอุทยานแหงชาติ ของนักทองเท่ียวชาวไทยที่เขาไปใชประโยชนหรือเท่ียวชมธรรมชาติในอทุ ยานแหงชาตดิ อยอนิ ทนนท จงั หวัดเชียงใหม 2.2.4 จดุ ออนในการใชว ิธกี ารประเมินมูลคา สงิ่ แวดลอ มตามแบบ CVM จุดออนสาํ คัญซงึ่ มกั จะเปน จดุ ออ นของวิธีการ CVM สวนมากจะมากจากวิธีการหาขอมูลซึ่งเปนปญหาต้ังแตการต้ังคําถามและการสัมภาษณเพ่ือการเก็บขอมูล Freeman (1994 อางถึงในสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2543) สรุปความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นใน CVM แบงออกเปน3 ประเภทคอื 1) Scenario misspecification เปนความผิดพลาดหลายสาเหตุ เชน ความผิดพลาดทางทฤษฎี (Theoretical misspecification) เปน ความผิดพลาดจากการอธบิ ายทีผ่ ิดพลาดไป จากความเปนจริงหรือทฤษฎีเศรษฐศาสตรความผดิ พลาดจากวิธีการ (Methodological misspecification) ความผดิ พลาดท่เี กดิ จากผวู ิจัยไมส ามารถทําใหผ ถู ูกสมั ภาษณเ ขาใจไดอยา งถกู ตองตามท่นี กั วจิ ัยตองการได 2) Implied value cues เกิดจากการท่ีผูใหสัมภาษณไมคุนเคยคําถามหรือปญหาที่ถกู ถามไมชัดเจน จึงพยายามหาสัญญาณท่ีจะชวยใหเขาสามารถเลือกมูลคาไดลูกตอง เชน ในกรณีของbidding game ท่ีเกดิ ปญหาความเบีย่ งเบนอนั เนื่องมาจากจุดเริ่มตน (Starting point bias) เพราะตองตอบจดุ เร่มิ ตนของความเตม็ ใจทจ่ี ะจายทีถ่ กู ถามครั้งแรก เปนตน 3) Incentive to misrepresent value เกิดจากเร่ืองราวท่ีกําหนดขึ้นมาเพ่ือหามูลคาความเต็มใจท่ีจะจายไมกอใหเกิดแรงจูงใจที่จะตอบความเปนจริง เชน ลักษณะของการเกิดStrategic bias ท่ีเกิดจากผูถ กู สมั ภาษณเ กรงวา ผลของคาํ ตอบตนเองจะเกิดผลกระทบทางลบตอ ตนเองศนู ยศ กึ ษาและวจิ ยั อุทยานแหงชาติ จังหวดั เชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มลู คาสิง่ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-18เพื่อการจัดการอุทยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวัดเชียงใหม บทที่ 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยที่เกีย่ วของ ดงั นนั้ การใชวธิ ีการ CVM ประเมินมลู คาส่ิงแวดลอ มจําเปนตองระมัดระวังเรื่องของการเก็บขอมูลเปนอยางยิ่ง นับต้ังแตตองมีความชัดเจนวา ตองการขอมูลคาสิ่งแวดลอมใด ลักษณะการใชภาษาและลักษณะการต้ังคําถาม และตองตระหนักถึงความเบี่ยงเบนท่ีอาจจะเกิดข้ึนตลอดเวลาในกระบวนการเกบ็ ขอมลู การสาํ รวจทศั นคติของประชาชนโดยท่ัวไปแลว ตองระมัดระวังปญหาการตอบเพื่อแสดงคนเปนคนทีร่ ักสิ่งแวดลอม (Warm glow) การใหขอมลู ที่เหมาะสมถกู ตอ งชดั เจนทําใหผูตอบเขาใจไดงาย การต้ังสถานการณที่สมมติใหประเมินคาที่ดีควรจะมีความสามารถในการแยกแยะใหเห็นความแตกตางหรือระดับคณุ ภาพของสงิ่ แวดลอ มใหช ดั เจน (Embedding issue) 2.3 แนวคดิ เกีย่ วกบั การจัดการอทุ ยานแหงชาติ 2.3.1 ความหมาย อุทยานแหงชาติ ความหมายตามพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ.2504 หมายถึง“ทีด่ ินซ่ึงรวมความทงั้ พ้ืนทดี่ ินทวั่ ไป ภเู ขา หวย หนอง คลอง บงึ บาง ลํานํา้ ทะเลสาบ เกาะ และ ท่ีชายฝงท่ไี ดร ับการกําหนดใหเปนอุทยานแหงชาติ ลักษณะที่ดินดังกลาว เปนที่มีสภาพธรรมชาติเปนท่ีนาสนใจและมไิ ดอยใู นกรรมสิทธห์ิ รือครอบครองโดยชอบดว ยกฎหมายของบคุ คลใดซึ่งมิใชทบวงการเมือง ทั้งน้ีการกําหนดดังกลาวก็เพ่ือใหอยูในสภาพธรรมชาติ เพ่ือสงวนไวใหเปนแหลงศึกษา และความรื่นรมยของประชาชนสืบไป” 2.3.2 วตั ถุประสงคการจัดตง้ั อุทยานแหง ชาติ อุทยานแหงชาติ เปนพ้ืนท่ีคุมครองที่ไดจัดต้ังข้ึนตามพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504 โดยมีวตั ถปุ ระสงคห ลกั 3 ประการ คอื 1) เพ่ืออนุรักษท รพั ยากรธรรมชาติของประเทศใหคงอยูตลอดไป โดยเฉพาะอยางยิ่งท่ีปา ตนน้ําลําธาร พ้ืนท่ีท่ีมีสภาพปาสวยงาม ตลอดจนปรากฏการณธรรมชาติที่เปนเอกลักษณเดนและนา อัศจรรย 2) เพื่อเปนแหลงคนควาศกึ ษาทางวชิ าการในเรือ่ งของธรรมชาตวิ ิทยา และระบบนิเวศ 3) เพอื่ เปนแหลง พกั ผอนหยอ นใจของประชาชน ท้ังในปจ จบุ ันและอนาคตอยางตอเนื่อง และถาวร ตลอดจนสง เสริมใหประชาชนเขา ถงึ ความสําคัญและคณุ คา ของทรัพยากรธรรมชาติ 2.3.3 การจดั การอุทยานแหงชาติ อุทยานแหงชาติ เปนพื้นท่ีคุมครองประเภทหนึ่งของแนวทางการคุมครองรักษาทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย โดยมีเปาหมายหลักในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติความหลากหลายทางชีวภาพ เปาหมายในลําดับถัดไปเปนการศึกษาวิจัย และการพักผอนหยอนใจของประชาชน จากเปา หมายดังกลาวทาํ ใหเ หน็ วา การจัดการอุทยานแหงชาติจะตองกอใหเกิดความสมดุลในการอนุรักษและการใชประโยชนท่ีควบคูกันไป เม่ือพิจารณาแลวจะเห็นวาทั้งสองเร่ืองเปนสิ่งท่ีอยู ศูนยศกึ ษาและวิจยั อุทยานแหงชาติ จงั หวัดเชียงใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มูลคาสงิ่ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-19เพอ่ื การจัดการอทุ ยานแหง ชาติดอยอนิ ทนนท จังหวดั เชยี งใหม บทที่ 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กยี่ วของตรงกนั ขาม จึงทําใหก ารจัดการพ้นื ทีอ่ ทุ ยานแหงชาติจะตองมีความระมัดระวังอยางมาก เพื่อใหสามารถบรรลเุ ปา หมายทง้ั สองดงั กลา ว ประกอบกับการจดั การพ้นื ทีอ่ ทุ ยานแหงชาติจะตอ งใชความรูท่หี ลากหลายสาขา อาทเิ ชน การจัดการทรัพยากรปาไม สตั วป า พืช และสตั วช ั้นตํา่ การวางผัง การปรับสภาพภูมิทัศนการตลาด สังคม เศรษฐกิจ การวางแผน การจัดการการทองเที่ยวและนันทนาการ เปนตน จึงเห็นไดวาผูจัดการพื้นท่ีอุทยานแหงชาติ จะตองมีการศึกษาและหาความรูในสาขาที่เก่ียวของที่จะชวยเสริมสรางความรใู นการบริหารจดั การอุทยานแหงชาติใหม ากท่สี ดุ ประกอบกับปจจุบันการจัดการอุทยานแหงชาติมีความผันแปรไปตามสภาวะทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ทําใหเกิดรูปแบบการบริหารจัดการที่แตกตา งกนั ในแตละยุคสมยั อกี ท้งั การขยายตัวทางดานอตุ สาหกรรมการทองเท่ียวของประเทศ สงผลตอความแออัดของนกั ทองเท่ยี ว กอ ใหเ กิดความเสื่อมโทรม จนกอใหเกิดผลกระทบตอการใชทรัพยากรการทอ งเท่ียวในอทุ ยานแหง ชาติ จงึ จาํ เปน ทจ่ี ะตองหาแนวทางในการกําหนดกรอบการบริหารจัดการท่ีเปนบรรทดั ฐานไว โดยมวี ัตถุประสงค ดังน้ี 1) เพื่อเปนกรอบแนวทางเบ้ืองตนในการจัดการอุทยานแหงชาติใหไดมาตรฐานในระดบั หนึง่ 2) เพื่อเปนคูมือใหแกหัวหนาอุทยานแหงชาติในการจัดการอุทยานแหงชาติใหบรรลุเปา หมายของการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การเปนสถานท่ีพกั ผอ นหยอ นใจ และการศึกษาวิจัย เพื่อหาความรูแกอนุชนรุนตอไป ซ่ึงการจัดการพ้ืนที่อุทยานแหงชาติ แบงตามเน้ือหาหลักออกไดเ ปน 4 กลุม ไดแ ก 2.1) การจัดการดานการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม การจัดการดานอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เปนวัตถุประสงคอันดบั แรกและสาํ คญั ท่ีสุดในการจดั การอทุ ยานแหงชาติ ซ่ึงการจัดการอุทยานแหงชาติจําเปนตองมีการดําเนนิ การทั้งในดานทเ่ี ปนเชิงรกุ และเชิงรับ ข้ึนอยูกับสถานการณของ แตละพื้นท่ี แตละโอกาส เพ่ือใหสามารถรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมไวได ในขณะเดียวกันประชาชนทั่วไปเขาใจถึงวัตถปุ ระสงคใ นการจัดตั้งอทุ ยานแหงชาติและการอนรุ กั ษท รัพยากรธรรมชาติ และเพ่อื ใหผปู ฏบิ ัตงิ านดา นการอนุรักษไดเขาใจแนวทางในการบริหารจัดการพื้นท่ีที่ชัดเจน และสามารถนําไปปฏิบัติใหบรรลุเปาหมายได จึงแยกกิจกรรมทอ่ี ุทยานแหงชาตจิ ะนาํ ไปปฏิบัตดิ งั น้ี - การปองกัน - การปราบปราม - การจดั การและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม - มวลชนสัมพนั ธ - การบรหิ ารงานศูนยศกึ ษาและวจิ ัยอุทยานแหง ชาติ จังหวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มูลคา สง่ิ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-20เพ่อื การจดั การอุทยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จังหวดั เชยี งใหม บทท่ี 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวของ 2.2) การจดั การดา นการทองเทยี่ วและนันทนาการ การใหบริการการทองเที่ยวและนันทนาการแกประชาชนของอุทยานแหงชาติเปนจุดประสงคห ลักอันหน่งึ ท่ตี องการใหป ระชาชนไดใ ชป ระโยชนพ ้ืนท่ีอุทยานแหงชาติ เพือ่ การทอ งเท่ียวและพักผอนหยอนใจ ตลอดจนไดรับความรูดานธรรมชาติและการอนุรักษ การพัฒนาการทองเที่ยวจึงค วร จะ กร ะทํ าเ พื่อ พัฒ นา พื้น ที่ที่ รอ งรั บก าร ใช ประ โย ชน ดา นนั นท นา กา ร แ ละ กา รท อง เท่ี ยว ขอ งนกั ทอ งเทยี่ วทว่ั ไปใหเ หมาะสมและสอดคลอ งกับลกั ษณะทางธรรมชาติที่มีอยู รวมถึงขีดความสามารถในการรองรบั ของพ้ืนท่ี ตลอดจนความตองการของกลุมผใู ชป ระโยชนพ นื้ ที่อทุ ยานแหงชาติ อุทยานแหงชาติ ซ่ึงเปนหนวยงานท่ีรับผิดชอบในการบริหารจัดการพื้นท่ีแหลงทองเท่ียวในแตละแหงนั้น จะมีบทบาทสําคัญเกี่ยวกับการจัดการความสมดุลใหเกิดขึ้นระหวาง 3 องคประกอบหลัก ไดแก 1) การดูแลและจัดการแหลงทองเที่ยว/ทรัพยากรการทองเท่ียวไมเกิดการเสื่อมโทรม 2) การสงเสริมและใหความรูเก่ียวกับธรรมชาติ และ 3) การบริการการอํานวย ความสะดวกและปลอดภัยใหแกน กั ทองเที่ยวท่ีเขา มาดําเนนิ กจิ กรรมการทอ งเที่ยวตางๆในพื้นท่ีอทุ ยานแหง ชาติ จงึ ไดกาํ หนดแนวทางการบรหิ ารจัดการดานการทอ งเที่ยวและนันทนาการไว ดังนี้ - วางแผนพัฒนาขีดความสามารถในการรองรับของพ้ืนที่และควบคุมปริมาณการใชประโยชนพ้นื ที่ - การบริการการทองเท่ยี ว - การจัดการดานการสื่อความหมาย - การจดั การดานการนนั ทนาการและกจิ กรรมการทองเท่ยี ว 2.3) การจัดการดานการศกึ ษาและวจิ ยั การศึกษาและวิจัย เปนการหาขอมูลเพื่อนํามาบริหารจัดการพื้นท่ีอทุ ยานแหง ชาติ ตลอดจนการแกไ ขปญหาท่เี กดิ ข้ึน เพ่ือใหบรรลเุ ปาหมายของวัตถุประสงคของการจดั ต้ังอุทยานแหงชาติงานดานการศึกษาและวิจัย จึงมีความสําคัญมากที่จะนํามาซึ่งขอมูลในการจัดการอุทยานแหงชาติไปใชเปนแนวทางที่สามารถรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และแกไขปญหาของอุทยานแหงชาติไดตรงตามประเด็น ดังนั้นอุทยานแหงชาติทุกแหงควรใหความสนใจในการดําเนินการซึ่งในแนวทางการบริหารจัดการในเรื่องน้ีกําหนดแนวทางการดําเนินการดานการศึกษาและวิจัยไว3 ขนั้ ตอนดงั น้ี - การกาํ หนดกรอบและแผนการวิจยั - การดาํ เนนิ การศกึ ษาวจิ ัย - การนําผลการวิจัยไปสกู ารบรหิ ารจัดการอทุ ยานแหงชาติศูนยศ ึกษาและวจิ ัยอุทยานแหง ชาติ จังหวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมินมลู คา สิง่ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-21เพื่อการจัดการอทุ ยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชยี งใหม บทท่ี 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กยี่ วขอ ง 2.4) การจัดการดานการมีสว นรว มของประชาชน จากหลกั การ 3 ประการ คือ (1) หลกั การมีสวนรวมของประชาชนที่บัญญัติไวโดยรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ซ่ึงใหประชาชนมีสิทธิในการมีสวนรวมในการจัดการการบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม รวมท้ังความหลากหลายทางชวี ภาพอยางสมดลุ และย่ังยืน ผา นกระบวนการและรูปแบบตางๆ (2) หลักเกณฑและวธิ ีการบริหารกจิ การบานเมืองที่ดีท่ีใชรากฐานจากการมีสวนรวมของสาธารณชน เพ่ือใหเกิดผลประโยชนสุขของประชาชนเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ ประชาชนไดรับการอํานวยความสะดวกและไดรับการตอบสนองความตอ งการ และ (3) หลักการวิธีคดิ ทม่ี องพ้นื ที่อนุรักษเ ปน สว นหน่ึงของทอ งถ่นิ ท้ังเชิงพนื้ ทอ่ี าณาบริเวณและเชิงสังคม หลักการทั้ง 3 ประการน้ี จะเปนแนวทางในการประยุกต เพ่ือใหเกิดแนวคิดการบริหารจัดการอยางเปนองครวมเพื่อเปนรากฐานในการเช่ือมโยงการแกปญหาอยางบูรณาการ ผานการสรางความเขา ใจ ความสมั พันธท่ีดี และความเขม แข็งของชุมชน ซึ่งหากมีการประสานความรวมมือและมีการจัดการรวมกัน จะเกดิ เปน ตน ทนุ ทางสังคม ซ่ึงเปนตน ทุนทส่ี ําคัญท่ีสุดในการกอใหเกิดพลังรวมกันในการแกป ญ หาในพน้ื ท่ี ดวยเหตุนจี้ งึ ทําใหเกิดมีแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการดานการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการอุทยานแหงชาติข้ึน โดยกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดใหความสําคัญกับเรื่องดังกลาว โดยไดจัดทําคูมือการมีสวนรวมในการบริหารจัดการอุทยานแหงชาติ และเขตรักษาพันธสุ ตั วป า ขนึ้ เมือ่ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2547 และไดสัง่ การใหห นว ยงานในสังกัดนําไปใชใ นการประกอบการปฏิบตั งิ านในพ้นื ที่ปาอนรุ ักษท่ีอยูในความดูแลรับผิดชอบ ตลอดจนไดมีการจัดทําโครงการนํารองการพัฒนาการมีสวนรวมเพื่อการจัดการอุทยานแหงชาติอยางยั่งยืนข้ึน เพ่ือเปนการทดลองดําเนินการใหประชาชนเขา มามบี ทบาทในการจัดการอุทยานแหง ชาติ และไดร ับการสนับสนุนจากองคกรDanish International Development Assistance (DANIDA) ประเทศเดนมารก ในการจัดทําโครงการจัดการพื้นที่คมุ ครองอยา งมสี วนรว ม โดยโครงการดังกลา วจะสนับสนุนกจิ กรรมที่สาํ คญั ทเี่ ก่ียวขอ งกบั การจดั การพนื้ ทคี่ มุ ครองท่ใี ชแ นวคิดเชิงระบบนิเวศ และแนวคิดการจัดการอยางมีสวนรวม และจากผลการดําเนินโครงการนํารอ งการพฒั นาการมีสว นรวมฯ และโครงการจัดการพืน้ ที่คุม ครองฯ ขางตน จึงอาจเปนตัวอยางในบางประเด็นท่ีอุทยานแหงชาติอื่นๆ จะไดพิจารณาหารือกับอุทยานแหงชาติดังกลาวเพ่ือประกอบการดาํ เนนิ การในเรอ่ื งนี้ได อยา งไรกต็ ามไดมีการสรุปประเดน็ หลกั ในบางเรอื่ ง เพื่อเปนแนวทางใหอทุ ยานแหงชาติไดพจิ ารณาวางแผนการดาํ เนินการของตนเองใหร อบคอบ เพ่ือความเปนไปไดในการใหประชาชนหรือชุมชนเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการพ้ืนที่อุทยานแหงชาติภายใตกฎหมายและสถานการณในปจจุบัน โดยปญหาอุปสรรคท่ีพบวามีผลตอการมีสวนรวมมาก พอสรุปไดเปนประเด็นหลกั 3 ประเดน็ คอืศูนยศกึ ษาและวิจยั อุทยานแหง ชาติ จงั หวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มลู คาสงิ่ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-22เพือ่ การจดั การอุทยานแหง ชาติดอยอินทนนท จงั หวัดเชยี งใหม บทท่ี 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วของ 1. การขาดความรู ความเขาใจเก่ยี วกับกฎหมายที่เก่ยี วของ ซึ่งนับเปนปญหาหรืออุปสรรคหน่งึ ในการทีป่ ระชาชนหรอื ชมุ ชนเขา มามีสว นรว มในการบรหิ ารจัดการพนื้ ที่อุทยานแหงชาติถาไมส ามารถทําความเขา ใจท่ถี ูกตอ งได การเขามามสี ว นรวมก็ไมสามารถทําไดเ ตม็ ทต่ี ามที่ควรจะเปน 2. ปญหาดานขอมลู ขาวสาร ท้งั จากการขาดโอกาส และขาดประสิทธภิ าพท่ีดีในการส่ือสารของพ้ืนที่อุทยานแหงชาติไปสูทองถ่ิน และจากทองถิ่นมาสูพ้ืนที่อุทยานแหงชาติอันนับวาเปนอุปสรรคสําคัญย่ิงของการมีสวนรวมของประชาชนหรือชุมชนในการบริหารจัดการพ้ืนท่ีอทุ ยานแหงชาติ 3. ปญหาดานเศรษฐกิจและสังคม ท้งั น้ีหากประชาชนในทองที่มีฐานะยากจนการเขามามีสวนรวมกับภาครัฐหรือภาคราชการคงกระทําไดยาก โดยเฉพาะบริเวณท่ีอยูใกลเคียงพ้ืนท่ีอุทยานแหง ชาติ ซ่ึงแตเ ดมิ เคยเปนแหลงทํามาหากินหลกั ของเขา ดงั นัน้ หากประชาชนยังคงมีความยากจนอยู ความกดดนั ท่ีจะเขา มาหาประโยชนใ นพืน้ ที่ปา อนรุ กั ษด งั กลา วยอมจะเกดิ ขน้ึ ตอ ไปเร่ือยๆ ในการศกึ ษาวิจยั ครงั้ นี้จะประเมินคาความเต็มใจท่ีจะจายในดานการคุมครองพื้นท่ี ปรับปรุงและพัฒนาแหลงทองเท่ียว รวมท้ังศึกษาวิจัยทรัพยากรและแหลงเรียนรูทางธรรมชาติในอุ ท ย า นแ ห ง ช า ติ ข อ ง นั ก ท อ ง เ ที่ ย ว ช า ว ไ ท ย ที่ เ ข า ไ ป ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ห รื อ เ ท่ี ย ว ช ม ธ ร ร ม ช า ติ ใ นอุทยานแหงชาติ ดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม ตามสถานที่หรือแหลงทองเท่ียวทางธรรมชาติที่สําคัญๆ จํานวน 7 แหง ไดแก 1) นํ้าตกแมยะ 2) นํ้าตกแมกลาง 3) น้ําตกวชิรธาร 4) ท่ีทําการอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท และลานกางเตนทดงสน 5) เสนทางเดินปาน้ําตกผาดอกเสี้ยว6) เสน ทางศึกษาธรรมชาติกิว่ แมป าน และ 7) ยอดดอยอนิ ทนนท และจากเจาหนาท่ีอุทยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวดั เชียงใหม เพ่อื ใชเปนแนวทางหน่ึงในการจัดการอุทยานแหงชาติดอยอินทนนทเชยี งใหม ตอไปในอนาคต2.4 เอกสารและงานวิจัยท่เี กีย่ วของ งานศึกษามูลคา สงิ่ แวดลอมท่ผี านมาในประเทศไทยในกรณที ่ีใชเทคนิค CVM โดยสวนใหญจะแบงการศึกษาออกเปนสองสวน คือ การหาคาความเต็มใจท่ีจะจายในเชิงทัศนคติ โดยไมไดอยูบนพ้ืนฐานทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร และหาคาความเต็มใจที่จะจายตาม Difference utility model ซ่ึงในสวนที่สองนี้ยังมีการใชไมแพรหลายเทาที่ควร เน่ืองจากมีวิธีการและขั้นตอนการคํานวณท่ีซับซอนกวาแบบสอบถามท่ใี ชม กี ารใชแ บบสอบถามทีห่ ลากหลายแตวิธีท่ีนิยมใชคือ Iterative bid game (การเสนอราคาหลายคร้งั )ศนู ยศ กึ ษาและวจิ ัยอุทยานแหง ชาติ จงั หวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมินมูลคาสง่ิ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-23เพ่ือการจัดการอทุ ยานแหง ชาติดอยอนิ ทนนท จังหวัดเชียงใหม บทที่ 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วขอ ง 2.4.1 ตัวอยา งการประเมินมูลคา สิง่ แวดลอมโดยใช CVM ในประเทศ นันทนา ลิ้มประยูร (2537) ประเมินมูลคาของเกาะเสม็ด ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของอุทยานแหง ชาติเขาแหลมหญา -หมูเกาะเสม็ด โดยทําการประเมินมูลคาของอุทยานแหงชาติ 3 สวน คือมูลคาจากการใชป ระโยชนด านการทองเท่ยี วในปจ จุบัน (use value) มูลคาของการสงวนเกาะเสม็ดไวใชประโยชนด านการทองเทีย่ วในอนาคต (option value) และมูลคาความคงอยูตอไป (existence value)ดวยวิธีการศึกษา 2 วิธี คือ วิธีตนทุนการเดินทาง (Travel Cost Method: TCM) และวิธีการประเมินมูลคาจากการสํารวจที่เรียกวา Contingent Valuation Method (CVM) กับกลุมตัวอยางนักทองเที่ยวจาํ นวน 300 ตัวอยาง แบง เปน นกั ทอ งเทย่ี วบนเกาะเสม็ด 150 ตัวอยา ง และนักทองเทยี่ วทไ่ี มเคยเดินทางไปเท่ียวเกาะเสม็ดมากอ น 150 ตัวอยา ง ผลการประเมินมลู คา ของอทุ ยานแหง ชาติเขาแหลมหญา-หมูเ กาะเสมด็ พบวาเฉพาะมูลคา การใชป ระโยชนดานการทองเที่ยวในปจจุบันของอุทยานแหงชาติ จากวิธี TCMมีมูลคาประมาณ 27.15 ลา นบาท/ป และวธิ ี CVM ไดมูลคาประมาณ 23.06 ลานบาท/ป สวนมูลคาการสงวนเกาะเสม็ดไวใชประโยชนดานการทองเท่ียวในอนาคตมีมูลคาประมาณ 108.53 ลานบาท/ป และมลู คาความคงอยตู อ ไปของอุทยานแหงชาติ มีมูลคาประมาณ 3,604.86 ลานบาท/ป ทําใหไดมูลคาทางเศรษฐศาสตรรวมของอุทยานแหงชาติเกาะเสม็ดประมาณ 37,388.88 ลานบาท/ป สวนจํานวนเงินคา ธรรมเนียมท่นี ักทองเที่ยวชาวไทยยินดจี า ยเพ่อื ใชประโยชนจากเกาะเสม็ดในปจจุบันน้ันมีคาประมาณ53.93 บาท/ครั้ง และนกั ทองเที่ยวชาวตางประเทศ ประมาณ 178.86 บาท/คร้งั สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย (2539) ประเมินมูลคาของอุทยานแหงชาติเขาใหญ (พื้นที่ 1,355,397ไร) โดยใชวิธี Individual Travel Cost ในการประเมินมูลคา Use Valueและใช CVM ในการประเมินคา Non-Use Value ผลจากการศึกษาพบวา Use Value เทากับ1,420 บาท/คร้ัง สวนเกินของผูบริโภค (consumer surplus) เทากับ 870 บาท Non-Use Value ในสวนของประชาชนท่ัวไป (non-visitor) เทากับ 183 บาท/คน/ป สวนความยินดีท่ีจะจายคาผานประตูสําหรับนักทองเท่ียวไทยเทากับ 22 บาท/คน/คร้ัง และสําหรับนักทองเท่ียวตางชาติอยูระหวาง50-120 บาท/คน/ครั้ง มูลคาทางเศรษฐศาสตรรวมของอุทยานแหงชาติเขาใหญ (Total EconomicValue) เทา กบั 3,080 ลานบาท/ป สมบัติ แซเฮ (2539) ศึกษาอุปสงคตอการทองเท่ียวชมธรรมชาติและส่ิงแวดลอมกรณีศึกษาอุทยานแหงชาติเขาใหญ โดยวิธีการประเมินคุณคาจากความเปนไปได (ContingentValuation Method: CVM) เก็บรวบรวมขอมูลจากการสํารวจขอมูลปฐมภูมิดวยแบบสอบถามจํานวน625 ตัวอยาง ทําการสุมตัวอยางดวยวิธีการสุมตัวอยางอยางงาย (Simple Sampling) ทําการวิเคราะหโดยใชแ บบจําลองโลจิท (Logit Model) ประมาณคาพารามิเตอรดวยวิธีการภาวะความนาจะเปนสูงสุด(Maximum Likelihood Estimation: MLE) ผลการประมาณการจํานวนนักทองเท่ียวท่ีมีความตองการบริการ ระดับราคาคา บริการท่นี กั ทอ งเทีย่ วยนิ ดีจา ย และระดับรายไดจ ากการจดั บรกิ าร พบวาบริการหา งดูสตั ว บริการสะพานแขวนสาํ หรบั คนดนู ก บริการยานพาหนะนาํ เทยี่ วอุทยานแหง ชาติ บริการอปุ กรณพ กั ศูนยศ ึกษาและวจิ ยั อุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มูลคา สงิ่ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-24เพือ่ การจัดการอุทยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวัดเชยี งใหม บทที่ 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กยี่ วขอ งคา งแรม และบริการเจาหนาท่ีนําทางเดินปา แตละบริการจะมีนักทองเที่ยวที่มีความตองการใชบริการประมาณรอยละ 31.1; 20.6; 14.8; 38.1; และ 36.3 ของจํานวนนักทองเที่ยวทั้งหมด ตามลําดับระดับราคาคาบริการแตละชนิดท่ีนักทองเที่ยวยินดีจายอยูท่ีระดับ 20; 20; 10; 80; และ 50 บาทตามลําดับ และรายไดจากการจัดบริการแตละชนิดประมาณ 6.22; 4.12; 1.48; 30.48 และ 18.15ลา นบาท/ป ตามลําดบั ผการัตน เพ็งสวัสดิ์ (2542) ประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของพื้นที่อุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนตัวเงินใน 3 ดาน คือ 1) มูลคาการใชประโยชนปจจบุ นั 2) มลู คา การสงวนไวใชป ระโยชนในอนาคต 3) มลู คาการคงอยตู อไปดว ยวิธีตน ทนุ การเดนิ ทางและวิธีการสํารวจ ปจ จัยท่ีมีผลตอการประเมินมูลคา และระดับความพึงพอใจของนักทองเท่ียวและประชาชนทม่ี ตี ออุทยานประวตั ิศาสตรฯ ผลการศึกษาพบวามูลคาปจจุบันจากวิธีตนทุนการเดินทางประมาณ 390,660,649 บาท/ป และมูลคาโดยรวมทางเศรษฐศาสตรจากวิธีการสํารวจประมาณ7,591,360,603 บาท/ป และจากการศึกษายังพบอีกวาโครงสรางการอนุรักษและพัฒนานครประวัติศาสตร ควรท่ีจะดําเนินโครงการอยางตอเน่ืองและครอบคลุมพื้นท่ีทั้งหมด เมื่อพิจารณาจากผลประโยชนทางตรงคอื รายไดจ ากการทอ งเทยี่ ว และผลประโยชนทางออม เชนรายไดที่ตกแกทองถ่ินการจางงานในจังหวัดเพิม่ ข้นึ คุณคาทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร เปนตน และขอเสนอแนะอื่นๆ คือหนวยงานท่ีรบั ผิดชอบสามารถเพ่มิ อตั ราคาเขาชมอุทยานประวัตศิ าสตรฯ อีกได คือนักทองเท่ียวชาวไทยประมาณ 13 บาท/ครงั้ และนกั ทอ งเทย่ี วชาวตา งชาติ ประมาณ 57 บาท/ครัง้ สุธาวัลย เสถียรไทย (2542) ประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของปาอุทยานแหงชาติแมยม โดยใชวิธีการประเมินคุณคาทางเศรษฐศาสตร (Economic Valuation) จากมูลคาการใช(Use Value) ประกอบดว ย 3 สว น คอื 1) การเปนแหลงทรัพยากรชีวภาพ ซึ่งแบงเปนแหลงผลิตภัณฑของปาสําหรับชุมชน และเปนแหลงพันธุกรรมไมสัก 2) เปนแหลงดูดซับคารบอน และ 3) การเปนแหลงทอ งเท่ยี วเชิงอนุรกั ษ(เชิงนิเวศ) และ มูลคาทไ่ี มมกี ารใช (Non Use Value) ไดแก มูลคาที่ประชาชนตอ งเกบ็ รกั ษาปาผนื น้ี เพือ่ เปน มรดกของประเทศและเพ่อื ลกู หลานสืบไป วธิ กี ารประเมินคุณคาของปาไมแตล ะดานจะใชว ธิ ีการที่แตกตางกนั ไป อยางไรกต็ าม กรณมี ลู คา การใชจะใชวธิ ีการคํานวณตามราคาตลาดสินคา (Market Price) ทม่ี กี ารซ้อื ขายสินคาชนดิ นน้ั สวนกรณีมูลคาท่ีไมมีการใชจะใชวิธีการคํานวณดวยวธิ ีการตลาดท่ีสมมติ (Hypothetical Market) หรือที่เรียกวา Contingent Valuation Method (CVM)ผลการศึกษาพบวา มูลคาทางเศรษฐกิจของปาไมไมใชมีเพียงการไดประโยชนจากการทําไม (Loggingbenefit) เพยี งดา นเดียว แตเ ม่อื พิจารณาประเด็นดา นสิ่งแวดลอมทอี่ าจจะเกดิ การเปลี่ยนแปลงแลว และคาเสียโอกาสทป่ี าไมไดถ ูกทําลายลงไปแลว จะพบวา ปาไมจะมีมูลคา เพ่มิ สูงข้นึ กวาประโยชนท่ีไดจากการทําไมอยา งเดียว เสาวลักษณ รุงตะวันเรืองศรี (2543) ประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของปาชุมชนในภาคใต : กรณีศกึ ษาปาชุมชนเขาหวั ชา ง ตาํ บลตะโหมด อาํ เภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง การประเมินมูลคา ศนู ยศึกษาและวิจยั อุทยานแหง ชาติ จงั หวดั เชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มูลคา สิ่งแวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-25เพอ่ื การจดั การอทุ ยานแหงชาตดิ อยอนิ ทนนท จงั หวดั เชยี งใหม บทที่ 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วขอ งเผ่อื จะใชใ นอนาคตประเมิน โดยใชเทคนิคการประเมินมูลคา CVM (Contingent Valuation Method)โดยการสอบถามความเตม็ ใจทจ่ี ะจา ยเพอ่ื รักษาปาชุมชนเขาหัวชางไวใ ชป ระโยชนใ นอนาคต ผลการศึกษาพบวา มูลคาเผื่อจะใชประโยชนในอนาคตสําหรับประชากรในเขต 14 จังหวัดภาคใต เทากับ247,008,300.80 บาท/ป และการประเมินมลู คา การคงอยู ประเมนิ โดยใชเ ทคนคิ การประเมินมลู คา CVMเชนเดียวกัน พบวา มลู คาการคงอยูสําหรับประชากร 14 จงั หวดั ภาคใต เทา กับ 139,286,548.80บาท/ป อิศเรศ บุญเดช (2543) ประเมินมูลคาของการอนุรักษเตาทะเลในรูปของตัวเงิน โดยใชContingent Valuation Method (CVM) และใชแบบสอบถาม 5 ประเภท หามูลคาความยินดีท่ีจะจายของประชาชน โดยใช Ordinary Least Square (OLS) วิเคราะหป จจัยตา งๆ ทีม่ ผี ลตอความยินดีทจี่ ะจายใชต วั อยางทง้ั หมด 300 ตวั อยา ง จาก 3 จังหวัด คือกรุงเทพมหานคร ชลบุรี และสระแกว ผลการศึกษาพบวา มลู คาของการอนรุ กั ษเตา ทะเลเฉลย่ี ตอคนตอ ป เทา กับ 263.13 บาท ขอ มูลเกี่ยวกับการอนรุ ักษเ ตาทะเลในประเทศไทย พบวาตัวอยางรอยละ 17 เคยไปแหลงอนุรักษเตาทะเลในประเทศไทย ซ่ึงมีผลตอความยินดีท่ีจะจายของประชาชนที่ระดับความเช่ือมั่นรอยละ 95 ปจจัยตางๆ ท่ีทําการศึกษาสามารถอธิบายไดถึงความยินดีท่ีจะจายที่ระดับความเช่ือมั่นรอยละ 95 มีผลตอคาความยินดีท่ีจะจายเพียงรอยละ 16 นอกจากนี้ยังมีปจจัยอ่ืนๆ ท่ียังไมไดทําการศึกษา เชน ประสบการณตอการเขารวมกลุมอนรุ ักษ ระดบั การเหน็ ความสําคัญของเตา ทะเล เปน ตน ทมี่ ผี ลตอความยินดีทีจ่ ะจา ยอกี ถึงรอยละ 84 โดยมีมูลคาความยินดีที่จะจายเฉล่ียตอคนตอป เพื่อการอนุรักษเตาทะเลของประชาชนในการศึกษาคร้ังน้ีเทากับ 263.13 บาท เมื่อนํามาคูณกับจํานวนประชากรท่ีอยูในวัยแรงงานของประเทศไทยประมาณ32.5 ลานคน ดังนัน้ มลู คาของการอนรุ กั ษเตา ทะเลในประเทศไทย จึงเทา กบั 8,552 ลานบาท/ป กิตติ โอฬารกจิ เจริญ (2544) ศึกษาความเต็มใจที่จะจายคาธรรมเนียมของนักทองเที่ยวเพื่อการใชป ระโยชนของแหลง ทอ งเทย่ี วธรรมชาติ กรณศี ึกษา : แหลงทอ งเท่ียวในจงั หวดั นครนายก ไดแกน้ําตก นางร อง น้ําตก สาลิ กา และอุ ทยาน วังต ะไคร โด ยศึกษาคา ความ เต็ม ใจท่ีจ ะจา ย(Willingness to Pay : WTP) ดวยวิธี Contingent Valuation Method (CVM) และวิธี ContingentRanking Method (CRM) รวมท้งั ศึกษาถึงความสัมพันธของปจจัยตางๆ ท่ีมีผลตอความเต็มใจท่ีจะจายของนักทอ งเทย่ี ว โดยใชแบบสอบถามเปน เคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูลสุมตัวอยางนักทองเที่ยว 400 คนแยกเปนนํา้ ตกนางรอง 150 คน น้าํ ตกสาลิกา 138 คน และอุทยานวังตะไคร 112 คน ผลการศึกษาพบวานกั ทองเที่ยวท่นี ้ําตกนางรองเตม็ ใจที่จะจาย 23.4 บาท/คน โดยวิธี CVM และไดมูลคาของน้ําตกนางรองเทากับ 184.3บาท/คน (กรณีตองการเดินปา) และ 751.3 บาท/คน (ไมตองการเดินปา) โดยวิธี CRMสว นนักทอ งเที่ยวท่ีนํ้าตกสาลกิ าเต็มใจท่ีจะจายคาธรรมเนียม 25.1 บาท/คน โดยวิธี CVM และไดมูลคาของนาํ้ ตกสาลกิ าเทา กบั 662.9 บาท/คน โดยวิธี CRM และนักทอ งเทย่ี วทอี่ ทุ ยานวงั ตะไครเต็มใจทจี่ ะจาย26.4 บาท/คน โดยวธิ ี CVM และมลู คาของอุทยานวงั ตะไคร เทากบั 557.6 บาท/คน การประมาณรายไดของนักทองเที่ยวที่เขาไปใชประโยชนของแหลงทองเท่ียวดวยวิธี CRM คาดวารายไดจากนักทองเท่ียวสําหรับนํ้าตกนางรองจะประมาณ 91.8 ลานบาท/ป (นักทองเที่ยวตองการเดินปา) และ ศนู ยศ ึกษาและวจิ ัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมินมูลคาส่งิ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-26เพ่ือการจัดการอุทยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนท จังหวัดเชยี งใหม บทที่ 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยที่เกย่ี วขอ ง374.2 ลานบาท/ป (ไมตองการเดินปา) น้ําตกสาลิกา จะไดประมาณ 304.5 ลานบาท/ป และอุทยานวงั ตะไครจ ะไดป ระมาณ 210.1 ลา นบาท/ป สว นรายไดท่ีไดจากวิธี CVM ของน้ําตกนางรองจะไดประมาณ 11.7 ลานบาท/ป นํ้าตกสาลิกา ประมาณ 11.5 ลานบาท/ป และอุทยานวังตะไคร ประมาณ9.9 ลา นบาท/ป ประภาพรรณ กําภู (2544) ประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของปากราด ประกอบดวยมูลคาการใชประโยชน และมูลคาการมิไดใชประโยชน ซึ่งมูลคาการใชประโยชนทางตรงจากปากราดไดแก 1) มูลคา ปริมาณไม ประกอบดวย มูลคา ไมใ หญ ทําการประเมนิ ดว ยวธิ รี าคาตลาด และมูลคาลูกไมและกลาไม ทําการประเมินดว ยวธิ รี าคาทนุ ทดแทน 2) มูลคาผลผลติ ในรปู ของปา ทําการประเมินดวยวิธีราคาตลาด และ 3) มูลคาการศึกษาวิจัย ทําการประเมินจากคาใชจายทั้งหมดที่เกิดข้ึน มูลคาการใชประโยชนทางออมจากปา กราด ในดา นการดูดซบั กา ซคารบ อนไดออกไซด ทําการประเมนิ จากคาใชจา ยในการปองกัน (Preventive Expenditure) สวนมูลคาเผื่อจะใชประโยชนในอนาคตจากปากราด ทําการประเมินดว ยวิธี Contingent Valuation Method (CVM) โดยใชคําถามแบบเปด สําหรับมูลคาการมิไดใชประโยชนจ ากปา กราด ทาํ การประเมินเฉพาะมลู คา การคงอยู พบวา การใชประโยชนจากปากราดดานปริมาณไม ในป พ.ศ. 2543 กรณีไมใหญ มีมูลคาสุทธิเทากับ 286,698,370.61 บาท กรณีลูกไมและกลาไมมีมูลคา เทากับ 47,109,707.11 บาท การใชประโยชนในดานผลผลิตในรูปของปา มีมูลคาผลประโยชนสุทธิรายปเทากับ 675,045.01 บาท/ป การใชประโยชนดานการศึกษาวิจัยมีมูลคาเทากับ791,813.82 บาท มูลคาการใชประโยชนในดานการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด มีมูลคาเทากับ3,615,945.36 บาทตอป สวนมูลคาเผ่ือจะใชมีมูลคาความเต็มใจที่จะจายเฉล่ียเทากับ 141.77 บาทตอ คน/ป และมูลคาการมิไดใชประโยชน กรณีมูลคาการคงอยูมีมูลคาความเต็มใจที่จะจายเฉล่ียเทากับ128.23 บาทตอ ป จรลั คุมพนั ธ (2547) ประเมินคาอุทยานแหง ชาติภูหินรองเกลา จังหวัดพิษณุโลก โดยใชZonal Travel Cost Method (ZTCM) และ Open-ended CVM ประเมินมูลคานันทนาการของอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา จากการศึกษาพบวา มูลคาประโยชนทางนันทนาการของภูหินรองกลามีมูลคา เทา กับ 55,450,717.50 บาท/ป (ราคาป 2546) เม่ือประเมินดวยวิธี ZTCM และมีมูลคาเทากับ2,334,536.82 บาท/ป (ราคาป 2546) เม่อื ประเมินดวยวธิ ี CVM ศูนยศ ึกษาและวจิ ยั อุทยานแหงชาตจิ งั หวัดเชียงใหม (2553) ประเมินมลู คาทางส่งิ แวดลอมเพ่ือการบริหารจัดการอุทยานแหงชาติหวยน้ําดัง จังหวัดเชียงใหม และจังหวัดแมฮองสอน โดยการถามคาํ ถามในลักษณะของความเต็มใจที่จะจาย (Willingness to Pay: WTP) หรือความเต็มใจที่ยอมรับเงินชดเชย (Willingness to Accept Compensation: WTAC) ใน 3 ทางเลือก ไดแก วิธีการปองกันวิธีการฟนฟู และวิธีการศึกษาวิจัยทรัพยากรในอุทยานแหงชาติ ไดผลดังน้ี วิธีการปองกัน วิธีท่ี 1(การสงเสรมิ การทองเท่ยี วเชงิ นเิ วศในอุทยานแหง ชาติหวยน้ําดัง โดยไมรบกวนเบียดเบียนพรรณพืชและพันธุสัตวปา หรือไมทําลายธรรมชาติและระบบนิเวศ) มีมูลคาสิ่งแวดลอมทางเศรษฐศาสตรเทากับ ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหง ชาติ จังหวัดเชียงใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มูลคา สิง่ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-27เพื่อการจดั การอุทยานแหง ชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวัดเชยี งใหม บทที่ 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยท่ีเกย่ี วของ56,383,367.10 บาท/ป วิธีการปองกันวิธีที่ 2 (การคุมครองปองกันหรือดูแลรักษาทรัพยากรปาไมและสตั วปา และลดการเกดิ ปญหาไฟปาในอุทยานแหงชาติหวยน้ําดัง โดยการออกตรวจลาดตระเวนปองกันรักษาปาและดับไฟปา ประชุมฝกอบรมสัมมนาและศึกษาดูงาน ผลิตสื่อและประชาสัมพันธในรูปแบบตางๆ) มีมูลคาส่ิงแวดลอมทางเศรษฐศาสตรเทากับ 32,692,746.28 บาท/ป วิธีการฟนฟูวิธีที่ 1(การฟนฟูสภาพธรรมชาตขิ องแหลงทองเท่ียวตา งๆภายในอุทยานแหงชาติหวยนํ้าดงั โดยการสรางเสน ทางศึกษาธรรมชาติ สรางฝาย ปลกู แฝก ปลกู หวาย ปลูกตนไม เปนตน เพ่ือเพิ่มพ้ืนท่ีปาและจัดการคุณภาพส่ิงแวดลอมและระบบนิเวศใหที่ดีย่ิงข้ึนกวาเดิม) มีมูลคาส่ิงแวดลอมทางเศรษฐศาสตรเทากับ37,179,602.03 บาท/ป วิธีการฟนฟูวิธีท่ี 2 (การจัดใหมีรถบริการนําเที่ยวตามแหลงทองเท่ียวสําคัญๆภายในอทุ ยานแหงชาตหิ วยนาํ้ ดัง แทนการอนุญาตใหนักทองเทย่ี วนาํ พาหนะสวนบุคคลเขาไปเอง เพื่อลดปญหามลพิษทางเสียงและมลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะในชวงเทศกาลปใหมซึ่งจะมีนักทองเที่ยวจํานวนมากหลง่ั ไหลเขาไปใชประโยชนห รอื เทยี่ วชมธรรมชาติในอุทยานแหงชาติหวยน้ําดัง รวมไปถึงการพัฒนาและปรับปรุงหรือเพิ่มส่ิงอํานวยความสะดวกตามแหลงทองเที่ยวตางๆ ภายในอุทยานแหงชาติหวยนาํ้ ดงั เพื่อไวสําหรบั บรกิ ารและอํานวยความสะดวกแกน กั ทองเทย่ี ว เชนที่นง่ั พักผอน ถังขยะ หองน้ํารานอาหาร รานขายของที่ระลึก จุดบริการนักทองเท่ียว) มีมูลคาส่ิงแวดลอมทางเศรษฐศาสตรเทากับ28,479,566.63 บาท/ป และวธิ กี ารศึกษาวิจัย (การศึกษาวิจัยและสํารวจรวบรวมขอมูลทรัพยากร และความหลากหลายทางชีวภาพในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท เพื่อเปนฐานขอมูลในการบริหารจัดการพ้นื ท่ี รวมถงึ การสํารวจตดิ ตามการเปลย่ี นแปลง และประเมนิ สถานภาพของทรัพยากรในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท เพื่อการการคมุ ครอง ปรับปรุงพัฒนา และปองกนั ผลกระทบทอี่ าจจะเกิดขึ้น ทั้งท่ีเกิดจากการกระทําของมนุษยเอง หรือจากธรรมชาติ พรอมทั้งใหบริการในดานการศึกษากับสถาบันการศึกษาหรือสถาบันตางๆ เพ่ือการศึกษาคนควาดานวิชาการตางๆ เชน การบรรยาย ฉายวีดีทัศน แจกเอกสารเผยแพร จัดนิทรรศการ และบริการหองสมุด เปนตน) มีมูลคาสิ่งแวดลอมทางเศรษฐศาสตรเทากับ40,116,685.21 บาท/ป ศูนยศ กึ ษาและวจิ ยั อทุ ยานแหง ชาตจิ ังหวัดเชยี งใหม (2554) ประเมินมูลคาทางสงิ่ แวดลอมเพอื่ การจัดการอทุ ยานแหง ชาตดิ อยสเุ ทพ – ปุย จังหวัดเชียงใหม พบวา กลุมตัวอยางซ่ึงเปนนักทองเท่ียวชาวไทยมีความเต็มใจท่ีจะจายเพ่ือการจัดการอุทยานแหงชาติดอยสุเทพ – ปุย จังหวัดเชียงใหมในภาพรวม เทา กับ 428.29 บาท/ป และมีมูลคาสิ่งแวดลอมทางเศรษฐศาสตรเทากับ 108,040,435.40บาท/ป โดยปจ จัยท่ีมีอทิ ธพิ ลตอความเตม็ ใจท่ีจะจายในทุกดาน ไดแก อายุ ระดับการศึกษา รายไดเฉล่ียตอเดอื น จาํ นวนสถานทท่ี นี่ กั ทอ งเที่ยวเคยไป จาํ นวนครง้ั ที่เขา รว มกิจกรรมเกี่ยวกบั การอนรุ กั ษสง่ิ แวดลอมและความพึงพอใจท่ีมีตอการจัดการอุทยานแหงชาติ โดยสามารถแยกแตละดานไดดังตอไปนี้1) นกั ทองเท่ียวชาวไทยมคี วามเต็มใจท่ีจะจายเพ่ือการจัดการอุทยานแหงชาติดอยสุเทพ – ปุย ดานการคมุ ครองพ้นื ที่ (วธิ กี ารปอ งกันหรือดแู ล) เทากับ 157.46 บาท/ป และมีมลู คาส่ิงแวดลอ มทางเศรษฐศาสตรเทา กับ 39,645,181.60 บาท/ป โดยปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอความเต็มใจที่จะจายในกรณีน้ี ไดแก เพศ อายุ ศูนยศกึ ษาและวจิ ัยอุทยานแหงชาติ จังหวดั เชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมินมลู คา สิ่งแวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-28เพื่อการจัดการอทุ ยานแหง ชาติดอยอินทนนท จังหวดั เชียงใหม บทที่ 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เก่ยี วขอ งระดับการศกึ ษา รายไดเฉลย่ี ตอ เดือน จํานวนสถานท่ีที่นักทองเที่ยวเคยไป จํานวนครั้งท่ีเขารวมกิจกรรมเก่ยี วกบั การอนุรกั ษสง่ิ แวดลอ ม และความพงึ พอใจทม่ี ตี อการจดั การอทุ ยานแหงชาติ 2) มคี วามเต็มใจที่จะจายเพ่ือการจัดการอุทยานแหงชาติดอยสุเทพ – ปุย ดานการคุมครองพ้ืนท่ี (วิธีการฟนฟู) เทากับ141.86 บาท/ป และมีมูลคาส่งิ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร เทากับ 35,785,603.60 บาท/ป โดยปจจัยท่ีมีอทิ ธิพลตอ ความเต็มใจท่ีจะจายในกรณีนี้ ไดแ ก อายุ ระดบั การศึกษา รายไดเฉล่ียตอ เดือน จํานวนสถานที่ท่ีนักทองเที่ยวเคยไป จํานวนครั้งท่ีเขารวมกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษสิ่งแวดลอม ความตองการที่จะกลับมาเท่ียวอุทยานแหงชาติใหมอีกคร้ัง และความพึงพอใจท่ีมีตอการจัดการอุทยานแหงชาติ3)มีความเต็มใจท่ีจะจายเพื่อการจัดการอุทยานแหงชาติดอยสุเทพ – ปุย ดานการปรับปรุงและพัฒนาแหลงทองเทย่ี ว เทา กบั 106.92 บาท/ป และมีมลู คาสิ่งแวดลอ มทางเศรษฐศาสตร เทากบั 26,971,639.20บาท/ป โดยปจจยั ที่มีอิทธพิ ลตอความเต็มใจท่ีจะจายในกรณีน้ี ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายไดเฉลย่ี ตอเดือน จํานวนสถานท่ที นี่ ักทองเท่ียวเคยไป และความพึงพอใจที่มีตอการจัดการอุทยานแหงชาติและ4) มีความเต็มใจท่ีจะจายเพ่ือการจัดการอุทยานแหงชาติดอยสุเทพ – ปุย ดานการศึกษาวิจัยทรัพยากรและแหลงเรียนรูทางธรรมชาติ เทากับ 140.33 บาท/ป และมีมูลคาสิ่งแวดลอมทางเศรษฐศาสตร เทากับ 35,399,645.80 บาท/ป โดยปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอความเต็มใจท่ีจะจายในกรณีนี้ไดแก อายุ ระดบั การศึกษา รายไดเฉลี่ยตอ เดอื น และจํานวนสถานท่ที นี่ ักทอ งเทย่ี วเคยไป 2.4.2 งานวิจัยทีเ่ กี่ยวของกับการประเมนิ มลู คา สิ่งแวดลอมในตางประเทศ การประเมินมูลคาส่ิงแวดลอมปรากฏขึ้นเม่ือประมาณ 50 ปท่ีผานมา โดย HaroldHotelling ไดเสนอวิธกี ารประเมินมูลคา เชงิ นันทนาการของอุทยานแหงชาติตอฝายอุทยานแหงชาติของสหรัฐอเมริกา ชวง ศ.ศ. 1930 โดยใชการศึกษาระยะการเดินทางของนักทองเทยี่ วแตละคนเดนิ ทางมาจากที่ใดบา ง ซ่งึ ตอมาชว ง ค.ศ. 1950 Marion Clawson ไดพ ัฒนาขอเสนอของ Hotelling ข้ึนจนเปนวิธีการประเมินมูลคาสิ่งแวดลอมในนามของ Travel Cost Model สวนการประเมินมูลคาสิ่งแวดลอมโดยการสมั ภาษณประชาชนไดเ ริ่มข้นึ ในป ค.ศ. 1963 เม่ือ Davis (1963 อางถึงใน อดิศร อิศรางกูล ณ อยุธยา,2542) ไดทําการประเมินมูลคาดานนันทนาการที่มลรัฐ Maine และมูลคาของการลาสัตว ประเทศสหรฐั อเมริกา ตอ มา Robert Mitchell and Richard Carson ไดพัฒนาเทคนิควิธีการสัมภาษณจนวิธีน้ีกลายเปนท่ีรูจักแพรหลายในนาม Contingent Valuation Method และในชวง ค.ศ. 1980s และ1990s ไดมีการศกึ ษาและพฒั นาการวิธีการประเมินมูลคาส่ิงแวดลอมใหมีความหลากหลายและแมนยํามากยิ่งขึ้น และมีการนําเอาวิธีการเหลานี้ไปใชในการประเมินมูลคาสิ่งแวดลอมในสถานการณตาง ๆหลากหลายยิ่งขึ้น ประเทศสหรัฐอเมริกามีการใช CVM (รวมถึงเทคนิคอื่นๆ ดวย) เพ่ือหามูลคาของส่ิงแวดลอมในทุกระดับ ต้ังแตระดับรัฐบาลกลาง (Federal Government) ระดับมลรัฐ(State) ระดับปจ เจกบุคคล และระดับองคกรตางๆ ทั้งสวนท่ีเปนทางการและไมเปนทางการมารวมสองศตวรรษแลว ศนู ยศ ึกษาและวจิ ัยอุทยานแหงชาติ จงั หวดั เชียงใหม, 2554

รายงานการประเมินมลู คาสงิ่ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-29เพ่อื การจดั การอทุ ยานแหงชาตดิ อยอินทนนท จังหวดั เชียงใหม บทที่ 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กยี่ วขอ งซึ่งในสมัยประธานาธิบดีเรแกน โดยความพยายามขององคกรปองกันสิ่งแวดลอมของสหรัฐอเมริกา(The US Environmental Protection Agency: EPA) ไดประกาศคําสง่ั ใหใชเทคนิค CVM เปน สว นหนงึ่ในการวิเคราะหตนทุน-ผลประโยชน (Cost Benefit Analysis) นอกจากน้ีสภาคองแกรสของส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ไ ด อ นุ มั ติ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ช ด เ ช ย แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ เ กี่ ย ว กั บ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม(The Comprehensive Environmental Response, Compensation and Liability: CERCLA)ในป ค.ศ. 1980 โดยใชเทคนิคการประเมินคาสิ่งแวดลอม เชน CVM และ TCM ในการประเมินมูลคาความเสียหายทีเ่ กดิ ขน้ึ จากความสูญเสียช่วั คราวและถาวรในพื้นที่ที่มีของเสียเปนพิเศษหรือวัตถุอันตรายโดยยอมรบั วาเทคนิคดงั กลา วมคี วามนา เชือ่ ถอื และเปนเทคนิคทดี่ ีท่ีสดุ ในขณะน้นั ทจ่ี ะวดั มูลคา สง่ิ แวดลอ มเปนตัวเงนิ ได (สถาบันวิจยั เพื่อการพฒั นาประเทศไทย, 2543) Baldares, Manuel and Laarman (1991 Quoted in Thailand DevelopmentResearch Institution and Harvad Institute for International Development, 1995) ศึกษาเพ่ือหาความเปน ไปไดของการเพ่มิ รายไดสาํ หรบั อทุ ยานแหง ชาติ โดยผา นการเกบ็ คาธรรมเนยี มการเขา ชมของนักทองเที่ยวในทองถ่ิน และนักทองเที่ยวตางชาติ การศึกษาใชการสัมภาษณกลุมตัวอยาง 860 รายถงึ ความยนิ ดีจายในการเขา ชม (WTP) ซ่งึ พบวา ปจจัยทเ่ี ปนตวั กาํ หนด WTP ของคาธรรมเนียมในการเขาชมข้ึนอยกู บั ประเภทของนักทองเทยี่ วระหวางนกั ทองเที่ยวในทองถ่ินและนักทองเท่ียวตางชาติ ลักษณะของพ้ืนที่ท่ีตองการปกปองวาเปนของเอกชนหรือของรัฐ จุดประสงคการเขาชมความพึงพอใจท่ีไดรับจาํ นวนครงั้ การเทีย่ วชมกอ นหนา จํานวนครั้งการเทีย่ วสถานอ่ืนๆ ระยะเวลาการเท่ียวชม และปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม ไดแก ระดับการศึกษา ระดับรายได จํานวนสมาชิกในครอบครัว เปนตนผลการศึกษาพบวา รายได และอายุ มีความสัมพันธท างบวกกบั คา WTP ในกลมุ นักทอ งเท่ียวชาวตางชาติท่มี จี ุดประสงคของการเขาชมเพื่อทําการวิจัยทางวิทยาศาสตรจะใหคา WTP ที่สูงมาก สาเหตุเน่ืองจากกลุมตัวอยางนไี้ ดร บั การอนุญาตใหเขารับชมพนื้ ท่ีของอุทยานแหงชาติท่ีถูกจํากัดไวสําหรับคนท่ัวไป และจากการศกึ ษาไดแ นะนําใหทาํ การเก็บคาธรรมเนียมแตกตางกันระหวางกลุมนักทองเที่ยวในทองถ่ินและนกั ทอ งเทย่ี วตางชาติ Green and Tunstall (1991) ศึกษาคา ความยนิ ดีจาย (WTP) เพอื่ ฟน ฟคู ณุ ภาพแมน้ําท่ีไหลผานอังกฤษ โดยใช CVM ตัวอยาง จํานวน 386 ตัวอยาง และใชเทคนิค iterative bidding โดยตั้งคําถามที่จุดเร่ิมตนที่ 50 เพนส 1 ปอนด และ 6 ปอนด ผลการศึกษาไดคา WTP เม่ือจุดเริ่มตน50 เพนส เทากับ 135 ปอนดตอเดือน จุดเร่ิมตน 1 ปอนด เทากับ 166 ปอนด ตอเดือน จุดเริ่มตน6 ปอนด เทา กบั 100 ปอนดต อเดือน Sukharomana (1998 อางถึงใน เรณู สุขารมณ, 2541) ใช CVM โดยการใชแบบจาํ ลอง ของ Cameron ซงึ่ ใชว ิธีการตง้ั คาํ ถามแบบ Double bounded approach ประเมนิ คา ความเตม็ ใจจะจา ยเพื่อลดมลพษิ ในนา้ํ ใตดิน รฐั เนบราสกา ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยแบงระดับการลดมลพิษสองระดับ คือ ระดับท่ีมีการลดปริมาณสารไนเตรทกับระดับท่ียอมใหมีปริมาณสารปนเปอนทุกชนิด ศนู ยศึกษาและวิจยั อุทยานแหง ชาติ จงั หวดั เชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มลู คาส่งิ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-30เพอ่ื การจดั การอทุ ยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวัดเชยี งใหม บทท่ี 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วของตลอดจนแบคทเี รีย แตอ ยูในระดบั ทไ่ี ดม าตรฐานตามที่ทางการกาํ หนดท้ังสองระดับ จากการศึกษาพบวาไดค าเฉล่ยี WTP สาํ หรับระดบั การลดปริมาณสารไนเตรทในน้ํา เทากับ US$ 9.50 และระดับที่ยอมใหมีสารปนเปอ นทุกชนิดตลอดจนแบคทเี รยี ไดค า เฉล่ยี WTP เทา กบั US$ 9.72นนั ทนาการในเมือง Yaping (1998) ศึกษามูลคาของการปรับปรุงคุณภาพน้ําสําหรับการ East Lake เมืองWuhan ประเทศจีน โดยใชเ ทคนคิ CVM และ TCM ผลการศึกษาพบวา มูลคาที่วัดจาก CVM มีมูลคาสูงกวาวิธี TCM โดยเฉพาะกรณีการปรับปรุงคุณภาพนํ้าใหอยูในระดับท่ีสามารถเดินเรือไดสูงกวาถึงรอ ยละ 72.62 Hai and Thahh (1999 อางถึงใน นพดล จันระวัง, 2545: 53) ศึกษาหามูลคาทางนนั ทนาการของอทุ ยานแหงชาติ Cue Phuong โดยใชวธิ ี TVM ในรูปแบบของ function form สองแบบในการประมาณคาคือ linear form และ semi-lob พบวาคาท่ีไดจาก correlation แบบ linear formดกี วาแบบท่สี อง จงึ ไดเ ลอื กเอาฟง กช ั่นฟอรมแบบ linear ในการประมาณการแบบจําลอง TCM ท่ีอยูในรายงานของสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย (2543) มีอยู 5 แบบ คือ 1) linear 2) log-linear3) double log 4) negative exponential และ 5) hyperbolic และพบวา รูปแบบ log linear(log=a+bP) เปนรูปแบบท่ีนิยมใช เพราะเม่ือทําการ derive และ estimate หา Consumer surplus(CS) จะได CS= -q เม่ือ q คือจํานวนคร้ังท่ีเดินทางมาทองเท่ียว แสดงใหเห็นถึงจํานวนคร้ังที่เปนfinite number ท่ีมาเท่ียวสถานท่ีน้ี เม่ือไมมีการเก็บคาผานประตูและคาพยากรณของจํานวนคร้ังที่มาเท่ยี วสถานท่แี หงนจ้ี ะไมเ ปน ลบ แมจะมกี ารเรียกเกบ็ คา ธรรมเนียมผา นประตูทีส่ ูงมากก็ตาม2.5 ตวั แปรทีเ่ กีย่ วขอ ง 2.5.1 เพศ มิ่งสรรพ ขาวสะอาด และคณะ (Kaosa-ard et al., 1995:33) ไดศึกษาเร่ือง กรีนไฟแนนซ: กรณีศึกษาอุทยานแหงชาติเขาใหญ (Green Finance: A case study of Khao Yai) พบวาเพศมีผลตอความเต็มใจที่จะจายท่ีมีตออุทยานแหงชาติเขาใหญ กลาวคือ เพศชายมีแนวโนมเต็มใจท่ีจะจายสูงเมือ่ เทยี บกับเพศหญงิ อยา งมนี ยั สําคัญทางสถิติทร่ี ะดบั 0.5 ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม (2553) ไดประเมินมูลคาสิง่ แวดลอม เพอื่ การบริหารจดั การอทุ ยานแหงชาตหิ ว ยนา้ํ ดัง มีความสัมพันธใ นทศิ ทางบวกกับความเต็มใจท่จี ะจายทร่ี ะดบั นยั สําคัญทางสถิติ 0.10 ซ่ึงอธิบายไดว า ถา นกั ทอ งเทย่ี วเปน เพศชาย จะมีความเต็มใจท่จี ะจายจะเพ่มิ ข้ึน ทงั้ น้ีเนื่องจาก เพศหญิงจะมีความรอบคอบในการใชจายมากกวาเพศชาย และสวนใหญเพศหญงิ ตองจัดการกบั ภาระคา ใชจ ายภายในบา น ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม (2554) ไดประเมินมูลคาส่ิงแวดลอม ทางเศรษฐศาสตรเพ่ือการจัดการอุทยานแหงชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหมความสัมพันธในทิศทางบวกกับความเต็มใจที่จะจายที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.10 อธิบายไดวา ศูนยศึกษาและวิจยั อุทยานแหง ชาติ จังหวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มูลคา ส่งิ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-31เพื่อการจดั การอุทยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนท จังหวดั เชียงใหม บทที่ 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวของถา นักทองเที่ยวเปนเพศชายจะมีความเต็มใจที่จะจายจะเพ่ิมข้ึน เนื่องจากเพศหญิงจะมีความรอบคอบในการใชจ า ยมากกวาเพศชาย และสว นใหญเพศหญิงตอ งจักการกบั ภาระคาใชจา ยภายในครอบครัว 2.5.2 อายุ ผการตั น เพ็งสวสั ดิ์ (2542: 325) ไดศกึ ษาเรื่อง การประเมนิ มูลคาทางเศรษฐศาสตรของอุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา พบวา อายขุ องนักทองเท่ยี วชาวตางชาติมีความสัมพันธเชิงบวกกับความเต็มใจที่จะจายเพื่อการคงอยูตอไปของอุทยานประวัติศาสตรฯ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่รี ะดบั 0.05 วสิ ุทธิ์ ใสสะอาด (2546: 90) ไดศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวไทยตอการจา ยคาธรรมเนียมการใหบริการและทรพั ยากรนันทนาการที่อทุ ยานแหง ชาติเวียงโกศัย พบวา นกั ทองเท่ียวทีม่ ีอายแุ ตกตา งกนั มีความพึงพอใจตอความเต็มใจท่จี ะจายเงินคาธรรมเนยี มแตกตางกัน อยางมีนยั สําคัญทางสถิติท่รี ะดบั 0.05 ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม (2553) ไดประเมินมูลคาส่งิ แวดลอม เพอื่ การบริหารจดั การอุทยานแหง ชาติหวยนํ้าดัง มคี วามสมั พันธในทิศทางบวกกับความเต็มใจที่จะจายที่ระดับนยั สาํ คญั ทางสถติ ิ 0.10 ซึง่ อธิบายไดว า ถา นกั ทองเทีย่ วอยูใ นวัยทํางานจะมคี วามเต็มใจที่จะจา ยมากกวาวยั เด็กและชรา ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม (2554) ไดประเมินมูลคาสิ่งแวดลอ มทางเศรษฐศาสตรเ พอ่ื การจัดการอุทยานแหง ชาตดิ อยสเุ ทพ-ปยุ จังหวดั เชยี งใหม ความสัมพันธในทิศทางบวกกบั ความเต็มใจที่จะจายท่ีระดับนยั สาํ คัญทางสถิติ 0.01 อธิบายไดวาถานักทองเท่ียวอยูในวยั ทาํ งานจะมคี วามเตม็ ใจที่จะจายมากกวา วัยเด็กและวยั ชรา 2.5.3 สถานภาพสมรส ศนู ยวิจัยเศรษฐศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2541: 91) ไดศึกษาเร่ืองโครงการประเมินคณุ คาทรพั ยากรในพน้ื ท่ีปา อนุรกั ษ กรณศี ึกษาในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขงพบวา สถานภาพสมรสของประชาชนท่วั ไปทไ่ี มเคยเขาใชประโยชนในพ้ืนที่มีความสัมพันธในทิศทางตรงขามกับความเตม็ ใจท่จี ะจายเพือ่ การอนุรักษทรพั ยากร ฯ อยา งมนี ัยสาํ คัญทางสถิติทรี่ ะดับ 0.1 2.5.4 จาํ นวนสมาชกิ ในครอบครัว วชริ าภรณ ทองสุขนาม (2550: 103) ไดศึกษาเร่ือง การประเมนิ มูลคา สิ่งแวดลอมในการอนุรักษอุทยานแหงชาติลําน้ํากก ในจังหวัดเชียงราย พบวา ตัวแปรจํานวนสมาชิกในครอบครัวมีความสัมพันธเ ชิงลบตอความเต็มใจที่จะจายในการปองคุมครองดูแลสัตวปา รวมกับการทําใหธรรมชาติตามลาํ นํ้ามีความอุดมสมบรู ณ เพื่อลดการเกิดไฟปา และการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ อยางมีนัยสําคัญทางสถติ ทิ ี่ระดับ 0.1 ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม (2553) ไดประเมินมูลคาสง่ิ แวดลอ ม เพอ่ื การบริหารจัดการอทุ ยานแหง ชาตหิ วยน้ําดงั มคี วามสมั พนั ธในทิศทางบวกกบั ความเตม็ ใจที่จะจา ยทร่ี ะดับนยั สาํ คัญทางสถิติ 0.10 ซ่งึ อธิบายไดว า ถา นกั ทอ งเที่ยวมีจาํ นวนสมาชกิ ในครอบครัวมากศูนยศ กึ ษาและวิจัยอุทยานแหง ชาติ จังหวดั เชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมินมูลคาสง่ิ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-32เพ่ือการจัดการอทุ ยานแหงชาตดิ อยอนิ ทนนท จังหวดั เชียงใหม บทท่ี 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกยี่ วขอ งขึ้นจะมีความเต็มใจท่ีจะจายจะเพิ่มขึ้นท้ังนี้เนื่องจากการมีสมาชิกในครอบครัวมากจึงอยากใหสภาพธรรมชาตคิ งความสวยงามด้ังเดมิ เพ่ือเกบ็ ไวใ หลกู หลานไดมาสัมผสั ในอนาคต 2.5.5 ระดับการศกึ ษา ฉวีวรรณ สุขมงคลรัตน (2543: 113) ไดศึกษาเร่ือง ความเต็มใจท่ีจะจายเพื่อการใชประโยชนทรัพยากรปะการังดานการทองเท่ียว กรณีศึกษาอุทยานแหงชาติหมูเกาะชาง พบวา ระดับการศกึ ษาของกลุมผปู ระกอบการทอ งเทยี่ วทใ่ี หบ ริการอปุ กรณแ ละ/หรอื เรือเพอ่ื การเขาชมปะการังในเขตอุทยานแหงชาติฯ มีความสัมพันธเชิงลบกับความเต็มใจท่ีจะจายเพ่ือใหทรัพยากรปะการังคงอยูตอไปอยางมนี ัยสําคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ 0.05 ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม (2553) ไดประเมินมูลคาสง่ิ แวดลอม เพอื่ การบรหิ ารจัดการอทุ ยานแหงชาตหิ วยน้าํ ดัง มีความสัมพนั ธในทศิ ทางบวกกับความเต็มใจท่จี ะ จา ยที่ระดับนัยสําคญั ทางสถิติ 0.10 ซ่ึงอธิบายไดวา ถานักทองเที่ยวมีระดับการศึกษาที่สูงข้ึน จะมีความเต็มใจที่จะจายจะเพิ่มขน้ึ ทง้ั นเ้ี นอื่ งจากผูท ่มี รี ะดับการศึกษาสงู จะมีความรคู วามเขา ใจและตระหนักถงึ คณุ คา และประโยชนที่ไดจากการอนรุ ักษอุทยานแหงชาติ ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม (2554) ไดประเมินมูลคาสิ่งแวดลอม ทางเศรษฐศาสตรเพื่อการจัดการอุทยานแหงชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหมความสัมพันธในทิศทางบวกกับความเต็มใจที่จะจายที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 อธิบายไดวาถานักทองเท่ียวมีระดับการศึกษาท่ีสูงขึ้นจะมีความเต็มใจที่จะจายจะเพ่ิมขึ้น เน่ืองจากผูท่ีมีระดับการศึกษาสูงจะมีความรูความเขาใจและตระหนักถึงคุณคาและประโยชนที่ไดจากการอนุรักษอทุ ยานแหงชาติ 2.5.6 รายได สมบตั ิ แซแฮ และคณะ (2541: 50) ไดศึกษาเร่ือง การตีคาบริการดานสิ่งแวดลอมของอุทยานแหงชาติ กรณีศึกษาดอยอินทนนท พบวา รายไดของนักทองเที่ยวมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกบั ความเต็มใจท่ีจะจา ยคาธรรมเนยี มฯ อยางมีนัยสาํ คญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ 0.01 ธานินทร ไชยเยชน (2546: 57) ไดศ ึกษาเร่ือง การประเมินมูลคา ทางเศรษฐศาสตรใ นการอนุรักษแ ละฟนฟสู ่งิ แวดลอ มศิลปกรรมชุมชน บริเวณคลองอัมพวา พบวา รายไดข องกลุม ประชาชนทั่วไปที่ไมไดใชประโยชน และกลุมประชาชนท่ีอาศัยอยูชุมชนบริเวณคลองอัมพวา มีความสัมพันธในทิศทางเดยี วกบั ความเตม็ ใจที่จะจายเพื่อการอนรุ ักษและฟน ฟูฯ อยางมนี ยั สาํ คญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ 0.05 อรรถกร (2548) ไดศึกษาเรื่อง การประเมินมูลคาความสูญเสียทางทัศนียภาพของโบราณสถานในเขตเทศบาลนครเชียงใหม พบวา รายไดข องประชาชนทม่ี ภี ูมลิ าํ เนาอยูในเขตเทศบาลนครเชียงใหม มคี วามสัมพันธในทิศทางเดียวกับความเต็มใจที่จะจายเพ่ือปรับปรุงทัศนียภาพโบราณสถานฯอยา งมีนัยสาํ คัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ 0.05 ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม (2553) ไดประเมินมูลคาสิ่งแวดลอ ม เพ่ือการบริหารจัดการอุทยานแหงชาติหวยนํ้าดงั มีความสมั พันธในทศิ ทางบวกกบั ความเต็มใจศนู ยศ ึกษาและวจิ ัยอุทยานแหงชาติ จงั หวดั เชียงใหม, 2554

รายงานการประเมินมลู คาสง่ิ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 2-33เพอื่ การจดั การอทุ ยานแหง ชาติดอยอนิ ทนนท จังหวัดเชียงใหม บทที่ 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวของทจ่ี ะจา ยทรี่ ะดับนยั สําคัญทางสถติ ิ 0.01 ซ่งึ อธบิ ายไดว า ถา นักทอ งเทยี่ วมรี ะดับรายไดเ พิ่มข้นึ 5,000 บาทตอ เดอื น จะทําใหค วามเตม็ ใจท่ีจา ยเพิม่ ขนึ้ ทง้ั น้ีเน่ืองจากผูที่มีรายไดสูงจะมีอํานาจซื้อหรือกําลังซ้ือมากทาํ ใหมีความสามารถในการจบั จายใชสอยมากกวา ผทู ี่มรี ะดับรายไดต ํา่ กวา ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม (2554) ไดประเมินมูลคาส่งิ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตรเ พอื่ การจัดการอทุ ยานแหงชาตดิ อยสุเทพ-ปยุ จงั หวัดเชยี งใหม ความสัมพันธในทิศทางบวกกับความเต็มใจที่จะจายที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 อธิบายไดวา ถานักทองเท่ียวมรี ะดบั รายไดเพ่ิมข้นึ 5,000 บาทตอเดือน จะทําใหความเต็มใจท่จี ายเพิ่มขึน้ เนือ่ งจากผทู ม่ี ีรายไดสูงจะมีอํานาจซือ้ หรือกําลงั ซื้อมากทําใหมคี วามสามารถในการจับจายใชสอยมากกวาผูที่มีระดบั รายไดต ่ํากวา 2.5.7 จํานวนสถานท่ที น่ี กั ทอ งเทยี่ วเคยไป วชริ าภรณ ทองสขุ นาม (2550: 103) ไดศึกษาเรื่อง การประเมนิ มลู คา สง่ิ แวดลอมในการอนรุ กั ษอ ุทยานแหงชาติลาํ นา้ํ กก ในจงั หวัดเชยี งราย พบวา ตัวแปรจํานวนสถานท่ีท่ีนักทองเท่ียวเคยไปมีความสัมพนั ธเชิงบวกตอ ความเตม็ ใจที่จะจา ยในการปอ งคุมครองดูแลสัตวปา รวมกับการทําใหธรรมชาติตามลาํ น้าํ มคี วามอดุ มสมบูรณ เพื่อลดการเกิดไฟปา อยา งมนี ยั สําคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั 0.05 ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม (2553) ไดประเมินมูลคาสงิ่ แวดลอม เพอื่ การบริหารจัดการอุทยานแหง ชาติหว ยนํา้ ดงั มคี วามสัมพันธใ นทศิ ทางลบกับความเต็มใจที่จะจา ยที่ระดับนยั สําคัญทางสถติ ิ 0.10 ซึ่งอธิบายไดวา ถานกั ทองเท่ียวเคยไปแหลงทองเท่ียวอ่ืนท่ีอยูในเขตพื้นที่อทุ ยานแหง ชาตหิ วยนา้ํ ดงั ต้งั แต 3 แหง ขึ้นไป จะมีความเต็มใจท่ีจะจา ยจะลดลง ทั้งนีแ้ สดงใหเหน็วานักทองเที่ยวมีความช่ืนชอบการทองเท่ียวทางธรรมชาติ แตการตระหนักรูถึงคุณคาและประโยชนที่ไดรับจากการทองเทย่ี วในเชงิ อนรุ ักษยงั มีนอยมาก ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม (2554) ไดประเมินมูลคาส่ิงแวดลอ มทางเศรษฐศาสตรเพอ่ื การจัดการอุทยานแหงชาตดิ อยสเุ ทพ-ปยุ จังหวดั เชียงใหม ความสมั พันธในทิศทางลบกบั ความเตม็ ใจท่จี ะจายทร่ี ะดับนยั สาํ คัญทางสถิติ 0.05 อธิบายไดวา ถานักทองเที่ยวเคยไปแหลงทองเท่ียวอ่ืนท่ีอยูในเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม ตั้งแต 3 แหงข้ึนไปจะมคี วามเต็มใจท่ีจะจา ยจะลดลง แสดงใหเ ห็นวานักทองเทีย่ วมีความชือ่ ชอบการทองเที่ยวทางธรรมชาติแตก ารตระหนกั รถู งึ คุณคา และประโยชนท ่ีไดรับจากการทองเท่ยี วในเชิงอนรุ กั ษยงั มนี อยมาก 2.5.8 การเขา รว มกิจกรมเกีย่ วกับการอนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม (2554) ไดประเมินมูลคาสง่ิ แวดลอมทางเศรษฐศาสตรเ พื่อการจัดการอุทยานแหง ชาตดิ อยสเุ ทพ-ปยุ จงั หวัดเชยี งใหม ความสมั พันธใน ทศิ ทางบวกกับความเตม็ ใจที่จะจายท่รี ะดับนยั สําคญั ทางสถิติ 0.05 อธบิ ายไดวา ถานักทองเท่ียวเขารวมกิจกรรมการอนุรักษส่ิงแวดลอม 1คร้ังขึ้นไป จะมีความเต็มใจท่ีจะจายมากกวานักทองเที่ยวทไี่ มเคยเขา รวมกจิ รรมการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมศนู ยศึกษาและวจิ ยั อุทยานแหง ชาติ จงั หวัดเชยี งใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มลู คาสิง่ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตร 2-34เพ่ือการจดั การอุทยานแหง ชาติดอยอนิ ทนนท จงั หวัดเชียงใหม บทท่ี 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กยี่ วของ 2.5.9 ความตองการท่ีจะกลับมาเที่ยวอุทยานแหงชาตใิ หมอีกครัง้ ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม (2554) ไดประเมินมูลคาสง่ิ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตรเ พ่อื การจดั การอุทยานแหงชาตดิ อยสุเทพ-ปยุ จังหวัดเชยี งใหม ความสมั พันธในทิศทางลบกบั ความเต็มใจทจ่ี ะจายทรี่ ะดบั นยั สาํ คญั ทางสถติ ิ 0.10 อธบิ ายไดวา ถานักทองเท่ียวตอ งการที่จะกลบั มาเที่ยวอกี ครง้ั จะมคี วามเตม็ ใจที่จะจา ยลดลง 2.5.10 ความพึงพอใจตอการจัดการอุทยานแหง ชาติ ศูนยศึกษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม (2554) ไดประเมินมูลคาสง่ิ แวดลอ มทางเศรษฐศาสตรเ พือ่ การจัดการอทุ ยานแหงชาตดิ อยสเุ ทพ-ปยุ จังหวดั เชียงใหม ความสมั พันธในทศิ ทางบวกกับความเต็มใจท่ีจะจา ยทีร่ ะดับนัยสาํ คัญทางสถติ ิ 0.05 ถา นกั ทอ งเท่ียวมีความพึงพอใจตออุทยานแหงชาติอยูในระดับมากจะมีความเต็มที่จะจายจะเพิ่มข้ึน ความพึงพอใจพิจารณาจากความสะดวกของเสนทางในการเดินทาง ทัศนียภาพภายในอุทยานแหงชาติ ความสะอาดภายในอทุ ยานแหงชาตแิ ละในพ้ืนทโี่ ดยรอบ การอํานวยความสะดวกของเจาหนา ที่ ความเพยี งพอของสถานที่พักความเพียงพอของรานอาหาร ความเพยี งพอของหองนา้ํ และ สง่ิ อํานวยความสะดวกอื่น ๆ เชน โทรศัพทสาธารณะ ทจี่ อดรถ ทนี่ ่งั พักจุดชมววิ เปนตน ดังนน้ั หากอุทยานแหงชาติมกี ารเตรยี มพรอมส่งิ เหลานอ้ี ยางเพยี งพอ จะมสี วนชวยใหนกั ทองเที่ยวรูสึกสะดวกสบายและสงผลตอ การตระหนกั รูถ งึ คุณคา และประโยชนท่ีไดร บั จากการทอ งเท่ียวอทุ ยานแหงชาติศูนยศกึ ษาและวิจัยอุทยานแหงชาติ จงั หวัดเชียงใหม, 2554

รายงานการประเมนิ มูลคาสง่ิ แวดลอมทางเศรษฐศาสตร 3-1เพอ่ื การจดั การอุทยานแหง ชาติดอยอินทนนท จังหวดั เชียงใหม บทที่ 3 ระเบียบและวธิ กี ารศกึ ษา บทท่ี 3 ระเบยี บและวิธีการศึกษา โค ร ง กา ร ป ร ะ เ มิ นมู ล ค าส่ิ ง แ ว ดล อ ม ท า ง เ ศร ษ ฐ ศา ส ต รเ พ่ื อ ก าร จั ด กา ร อุ ท ย า น แห ง ช า ติ ดอยอนิ ทนนท จงั หวัดเชียงใหม ไดกําหนดระเบียบและวธิ กี ารศึกษา ดังน้ี 1. ระเบียบวธิ ีวิจยั ประกอบดวย การเกบ็ รวบรวมขอมลู และเครื่องมอื ทใี่ ชวัดประชากรเปาหมาย หนวยวเิ คราะห การสมุ ตวั อยา ง และการวิเคราะหขอ มูล 2. ขอบเขตของโครงการวจิ ัย 3. ระยะเวลาทที่ ําการวิจัย และสถานทว่ี ิจัย/เกบ็ ขอ มูล 4. แผนดาํ เนนิ การตลอดโครงการวิจัย 3.1 ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั การศึกษาวิจัยครั้งน้ี เปนการวิจัยเชิงสํารวจ โดยใชแบบสัมภาษณกับกลุมตัวอยางเปาหมาย โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี 3.1.1 การเก็บรวบรวมขอ มลู และเคร่ืองมือท่ีใชว ดั ทําการเก็บรวบรวมขอ มลู จาก 2 แหลง คือ ขอมูลทุติยภูมิ จากเอกสารวิชาการตางๆ ที่มี อยใู นหนว ยงานเกี่ยวของ เชน กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กรมปาไม และขอมูลปฐมภูมิ จากการสัมภาษณแบบเจาะลึก โดยใชแบบสัมภาษณกับกลุมตัวอยางเปาหมาย เพื่อใหไดขอมูลท้ัง เชงิ คุณภาพและปริมาณ 3.1.2 ประชากรเปาหมาย ประชากรเปาหมาย คือ นักทอ งเทีย่ วชาวไทยที่เขาไปใชประโยชนหรือเทยี่ วชมธรรมชาติในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม ตามสถานท่ีหรือแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติท่ีสําคัญๆจํานวน 7 แหง ไดแก 1) น้ําตกแมยะ 2) น้ําตกแมกลาง 3) น้ําตกวชิรธาร 4) ที่ทําการอุทยานแหงชาติดอยอนิ ทนนท และลานกางเตนทดงสน 5) เสนทางเดินปานํ้าตกผาดอกเส้ียว 6) เสนทางศึกษาธรรมชาติกว่ิ แมปาน และ 7) ยอดดอยอินทนนท ซึ่งทําการเกบ็ ขอ มูลเปน จาํ นวนท้ังสิ้น 600 ตัวอยา ง รวมถงึ เจาหนา ที่อทุ ยานแหงชาตดิ อยอนิ ทนนท จังหวดั เชยี งใหม ดว ยศูนยศ กึ ษาและวจิ ยั อุทยานแหงชาติ จังหวดั เชียงใหม, 2554


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook