Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือการเลี้ยงกุ้ง

หนังสือการเลี้ยงกุ้ง

Published by วป. ติณสูลานนท์, 2021-03-08 09:55:56

Description: หนังสือการเลี้ยงกุ้ง

Search

Read the Text Version

การเลย้ี งกงุ รหสั วิชา 2601-2104 สมชาติ ชมู าก ครูชาํ นาญการ วท.บ. การประมง แผนกวิชาเพาะเลีย้ งสตั วนาํ้ วทิ ยาลัยประมงติณสลู านนท สํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร



คํานาํ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการเลี้ยงกุง ไดจัดทําเรียบเรียงขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือให นักเรียนไดใชประกอบการเรียนรูดวยตนเองอยางครบถวนท้ังทฤษฎีและปฏิบัติ ท้ังมีเน้ือหารวมทั้งหมด 9 บท ไดแก หลักการเลี้ยงกุง การเตรียมบอ การคัดเลือกพันธุ อาหารและการใหอาหาร การจัดการคุณภาพน้ํา โรคและการปองกันรักษา การเก็บเก่ียวผลผลิต การบันทึกขอมูล และการคํานวณตนทุนการผลิต การตลาด และการจําหนาย นอกจากน้ีนักเรียนสามารถคนควาเทคนิคการเล้ียงกุงในปจจุบันเพ่ิมเติมไดจากสื่อโซเซียล ตางๆได เพอ่ื พัฒนาประยกุ ตใ หท ันสมัยยงิ่ ขนึ้ ผเู ขยี นขอขอบคุณ ศ.ดร ชะลอ ลม่ิ สวุ รรณ ทร่ี วบรวมเทคนิคประสบการณก ารเล้ยี งกงุ ซ่ึงผเู รียบเรียง ไดนํามาประยุกตใชใ หเ หมาะสมกับพ้ืนท่ี เพ่ือเปนแนวทางในการพัฒนาการเรยี นการสอนผูเขียนเรียบเรียงแลว วาเอกสารเลมนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอน และบูรณาการกับประกอบอาชีพดานการเพาะเล้ียง สัตวนาํ้ ตอไป สมชาติ ชมู าก พฤศจิกายน 2561

สารบัญ หนา บทท่ี 1 หลักการเลย้ี งกุง 1 บทปฏิบตั กิ ารท่ี 1 21 บทท่ี 2 การเตรียมบอ 23 บทปฏบิ ัตกิ ารท่ี 2 35 บทที่ 3 การคดั เลอื กพันธุก ุง 36 บทปฏิบัตกิ ารที่ 3 42 บทที่ 4 อาหารและการใหอาหาร 43 บทปฏิบตั กิ ารท่ี 4 51 บทที่ 5 การจัดการคุณภาพนํ้าในบอ เลยี้ งกุง กลุ าดํา 52 บทปฏิบตั ิการที่ 5 60 บทท่ี 6 โรคและการปอ งกันรักษา 62 บทปฏิบัติการท่ี 6 70 บทท่ี 7 การเก็บเกี่ยวผลผลติ 72 บทปฏบิ ัตกิ ารท่ี 7 74 บทท่ี 8 การบันทึกขอมลู และการคํานวณตน ทุนการผลติ 76 บทที่ 9 การตลาดและการจําหนายตลาดตางประเทศทไี่ ทยสงออกกุง 79 อางองิ 81

บทท่ี 1 หลบกั ทกทาี่ 1รเลีย้ งกุ้ง หลกั การเลี้ยงกงุ ความเปนมาของการเลยี้ งกงุ การเลีย้ งกุงในประเทศไทย ชวงแรกเปนการทํานากุงแบบธรรมชาติ โดยสูบนํ้าทะเลเขา สบู อขนาดใหญ ขนาด 50-100 ไร กักเก็บไวประมาณ 20-30 วันแลวเก็บและเก็บเก่ียวผลผลิต นับต้ังแตกรมประมงไดประสบ ผลสาํ เรจ็ ในการเพาะพันธกุ งุ แชบว ยในป พ.ศ. 2515 จากน้ันไดส ง เสริมใหเกษตรกรเล้ยี งปลอ ยเสรมิ ใหเ กษตรกร เลยี้ งทําใหผ ลผลติ เพิ่มข้ึน จากนั้นกไ็ ดพ ัฒนารูปแลลการเลยี้ งจนถึงปจ จุบนั สาํ หรบั รปู แบบการเลีย้ งจากอดีตถึง ปจจุบันสามารถสรุปได 3 รูปแบบ 1. การเล้ียงแบบธรรมชาติ (intensive Farm) เปนการเลี้ยงกุงโดยอาศัยธรรมชาติ การขึ้นลงของ น้ําทะเล อาศัยลูกกุงจากธรรมชาติ ไมมีการใหอาหารเสริม ปลอยใหกุงหากินเอง จากธรรมชาติ โดยเลี้ยงไว ในบอ ขนาดใหญสกั ชว งหนึง่ กท็ าํ ใหก ารเก็บเกยี่ วผลผลติ ผลผลติ ท่ีไดก ไ็ มม ากนัก 2. การเล้ียงแบบกึ่งธรรมชาติ (Semi-intensive Farm) เปนการเล้ียงแบบอาศัยลูกกุงจากธรรมชาติ และมีการปลอยเสริมบาง มีการใหอาหารเสริมบางบางชวง ชนิดพันธุสัตวนํ้าท่ีจับไดก็ยังมีหลา กหลาย อยูเ หมือนกนั แตผลผลิตกุง กไ็ ดป ริมาณมากข้ึน 3. การเลี้ยงแบบพัฒนา (Development intensive Farm) เปนการเล้ียงสัตวแบบชนิดเดียวคือ กงุ อาศัยลูกพนั ธุจากโรงเพาะฟกมีการใหอาหารเสริมตลอดการเลีย้ ง และมกี ารใหอากาศอยางเพียงพอ ผลผลิต ท่ีไดมากข้ึนหลายเทาตัว เน่ืองจากเปนการเล้ียงที่ใชหลักวิชาการ พัฒนาปรับปรุงประยุกตใหทันกับเหตุการณ ตลอดเวลา ทั้งในเรื่องการสรางบอ การทําฟารมที่ทันสมัย ทําใหเกิดนวัตกรรมใหม ๆ เกิดขึ้นเสมอในการเลี้ยง กงุ แบบพัฒนา ประวัติการเลย้ี งกุง การเลี้ยงกุงเกิดขึ้นครงั้ แรกในป ค.ศ. 1930 เมื่อ Motosaku Fujinaga จบการศึกษาจากมหาวิทยาลยั โตเกียว สามารถทําใหกุงคูรุมา (Penaeus japonicus) มีการวางไข ฟกเปนตัว และเลี้ยงจนไดขนาดที่ตลาด ตองการไดในหองปฏิบัติการและสามารถทําเปนการคาในปริมาณมากๆ ได ฟูจินากาจึงไดทดลองและเผยแพร ผลงานของตัวเอง ใน ค.ศ. 1935, 1941, 1942 และ1967 จนไดรับรางวัลจากพระจักรพรรด์ิญี่ปุนวาเปนบิดา ของการเลี้ยงคูรุมา (Father of Inland Japonicus Farming) ป ค.ศ. 1954 ไดรับปรญิ ญาเอกจาก Research Bureau of the Japanese Fisher Agency ดร.ฟูจินากา จึงลาออกและไปทําฟารมเลี้ยงกุง และไดรับเกียรติ ใหเปน บิดาแหงการเลยี้ งกุง \"Father of Modern Shrimp Farming\" และในป ค.ศ. 1960 ฟารมเลยี้ งกงุ คูรุมา เกิดขึ้นท่วั ไปในประเทศญ่ปี นุ ป ค.ศ. 1950 ถึง 1965 (พ.ศ. 2493-2508) ป ค.ศ. 1950 ประเทศสหรัฐอเมริกาไดตั้งหองปฏิบัติการท่ี Galveston มลรัฐเท็กซัสและกลายเปน สถานที่ท่ีเปนผูนําทางดานเทคนิคการเพาะลูกกุง การเล้ียงแพลงกตอน และในป ค.ศ. 1958 ไดเปนผูนํา ทางดานโรงเพาะฟก จนเกิดเทคโนโลยีดานการเพาะและอนุบาลกุงช่ือวา \" Galveston Hatchery Technology\"

2 การเล้ียงกุง้ 2 ป ค.ศ. 1965 ถึง 1975 (พ.ศ. 2508-2518) นักวิทยาศาสตรจากประเทศฝรั่งเศส จีน ไตหวัน เร่ิมสนใจการทํานากุงตั้งแตปลายป ค.ศ. 1960 ถึง 1970 โดยนักวิจัยชาวฝรั่งเศสที่ Centre Oceanologique Pacifique ในตาฮิติ ซ่ึงอยูทางมหาสมุทรแปซิฟก ตอนใต ทาํ การวิจัยเก่ียวกับกุงพีนิอิดหลายชนิด เชน Penaeus japonicus, Penaeus monodon, Penaeus stylirostrisและ Penaeus vannamei จนประสบความสําเร็จในการผสมพันธุกุงในบอเล้ียง ทําให General Charles Charles De Gaulle ท่ีเปนประธานาธิบดีของฝร่ังเศสในขณะนั้น เปนผูตัดสินใจจัดหาอุปกรณ การเล้ยี งกงุ ใหตาฮิติ สวนประเทศจนี ในระยะแรกการเลย้ี งกงุ ยังไมคอยเปนทสี่ นใจ จนกระทง่ั ค.ศ. 1980 สถานี ประมงท่ี Yellow Seas Fishery Research Station ไดคนพบวิธีการเลี้ยงกุงขาวจีน Penaeus chinensis ใหได ปริมาณมากโดยเลี้ยงแบบก่ึงหนาแนน (Semi-intensive) ทางตอนเหนือของจีน การเล้ียงกุงของจีนจึงมี การพัฒนานับแตนั้นมา นอกจากนี้นักวิจัยชาวไตหวันของ Tungkang Marine Laboratory ไดทดลองเลี้ยงกุง กุลาดําในบอขนาดเล็ก และมีการปรับปรุงเทคนิคเปนการเล้ียงแบบพัฒนาดวยระบบการเลี้ยงแบบหนาแนน (intensive) ตอมาในประเทศสหรัฐอเมริกา Department of Commerce's (DOC) National Marine Fisheries Service ซึ่งควบคุม Galveston Lab และ DOC ใหทุนกับนักวิจัยของ National Sea Gram College Program เพื่อวิจัยเกี่ยวกับการทําฟารมกุงหลายมหาวิทยาลัยที่ต้ังอยูบริเวณชายฝง รวมท้ังมหาวิทยาลัย Texas A&M จึงทําใหสหรัฐอเมริกาเปนผูนําทางวิชาการในการเลี้ยงกุงขาวตะวันตก และการวิจัยเก่ียวกับไวรัส ที่มหาวิทยาลัยอริโซนา เทคโนโลยี เกี่ยวกับการทําฟารมกุง (Shrimp Farming) คอยๆ มีความคืบหนา และมีความรวมมือกันมาก และมีบริษัทผลิตอาหารเปนผูนําเทคโนโลยีไปสูประเทศในกลุมลาตินอเมริกา ประเทศ ฮอนดูรัส ปานามา และประเทศเอกวาดอร และมีนายทุนทองถ่ินเขารวมในการสรางฟารมกุง โรงเพาะฟก โรงงานผลิตอาหารและหองเย็น จากน้ันงานวิจัยเก่ียวกับฟารมกุงก็มีการแพรหลายไปทั่วโลก สวนมากเปนกุง ในกลุมพีนีอิค เร่ิมตั้งแตการผสมพันธุ (Breeding) วางไข (Spawning) อนุบาลเลี้ยงในบอดิน (Growout) อาหารโภชนาการ และเรอื่ งโรคมาเกือบ 3 ทศวรรษ ป ค.ศ. 1975 ถงึ 1985 (พ.ศ. 2518-2528) ประมาณกลางป ค.ศ. 1970 เกษตรกรสามารถผลิตลูกกุงใหฟารมกุงเพิ่มมากข้ึน และรูวาการเพ่ิม ออกซิเจนเปนอุปกรณสําคัญใหผลผลิตเพิ่มขึ้น ทําใหเกิดโรงงานทําอุปกรณตีน้ําขึ้น จากน้ันการทําฟารมกุง จึงแพรหลายอยางรวดเร็ว บางรายเม่ือทําแลวเกิดความคุมทุนในการเล้ียงเพียงแครุนเดียว หรือ 2 รุน ในระยะเวลา 1 ป มีคนรวยเพราะการทาํ ฟารมกุงมาก เชน เดยี วกบั ในประเทศไตหวนั มีการทําฟารมแบบพัฒนา ขนาดเล็ก สวนประเทศจนี ก็มีการทาํ ฟารมแบบก่งึ พฒั นารอบๆ อาวโบไฮ (Gulf of Bohai) มีรายงานวาผลผลติ กุงในป ค.ศ. 1975 มีปรมิ าณ 50,000 เมตรกิ ตนั เพม่ิ ขึ้น 2.5 เปอรเ ซน็ ตข องผลผลิต รวมที่ 20,000 ตนั และในป ค.ศ. 1975 ขณะทป่ี ระเทศสหรัฐอเมริกาเปน ผูนาํ ทางเทคโนโลยีฟารมกุง ประเทศ เอกวาดอรก็กลายเปนประเทศผูนําทางผลผลิตในกลุมประเทศทางตะวันตกหรือประเทศฝงตะวันตก (West Hemisphere) และนาเกลือรอบๆ Gulf of Guayaquil เปลีย่ นเปน ฟารม กุง ปจจุบนั ประเทศเอกวาดอร ก็ยังคงเปนประเทศที่มีผลผลิตกุงขาวตะวันตกมากมาเกือบ 3 ทศวรรษ กลุมประเทศตะวันออก (Eastern Hemisphere) เชน ประเทศไตหวันและจีนเปนผูนําในการทําฟารมกุง แตจริงๆแลว ประเทศ ฟลิปปนส ประเทศไทย และประเทศอินโดนีเซีย มีการเลี้ยงกุงแบบธรรมชาติมาเกือบศตวรรษแลว โดยมี การทดลองเล้ียงกุงแบบชนิดเดียวเลี้ยงแบบก่ึงพัฒนา และขยายพื้นท่ีมากข้ึนทําใหระหวางป ค.ศ. 1975 ถึง 1985 มีผลผลิตรวมเติบโตข้ึนถึง 50,000 ถงึ 200,000 เมตรกิ ตัน

การเลีย้ งกุ้ง 3 3 ป ค.ศ.1985 ถึง 1995 (พ.ศ. 2528-2538) ป 1985 ผลผลิตรวมจํานวน 200,000 เมตริกตนั ประมาณ 10% ของผลผลิตทว่ั โลก 75% มาจากกลุม ประเทศในเอเซีย และคาดวาผลผลิตจะเพิ่มข้ึนเปน 300,000 เมตริกตันในป ค.ศ. 1986 และป ค.ศ. 1988 ผลผลิตท้ังหมด จํานวน 450,000 ตัน ประเทศที่ผลิตไดมาก คือประเทศจีน เอกวาดอร และประเทศไตหวัน เปน ผนู าํ สว นประเทศไทย อินโดนเี ซีย และประเทศฟล ปิ ปน สก ําลังเริม่ ตน อุตสาหกรรมฟารมกุง เร่ิมสะดุดในป ค.ศ. 1987 ถึง 1988 ในประเทศไตหวันเกิดการระบาดของโรค ไวรัสในกุงท่ีเล้ียง ทําใหอัตราการตายของกุงสูงมากเกือบทุกๆฟารม และเกิดอยางกะทันหันไมสามารถแกไข ไดทัน ทําใหผลผลิตรวม 100,000 เมตริกตัน ลดลงเหลือเพียง 20,000 เมตริกตัน แมตอมาเกษตรกรไดเปลี่ยน มาเลย้ี งกงุ ครู ุมาของญป่ี นุ กย็ ังประสบปญหาเชน เดมิ เม่ือเกดิ โรคระบาดในประเทศไตหวัน ในป ค.ศ. 1987 ถึง 1988 ทําใหเ กษตรกรไตหวันก็ไดเปลย่ี นฐาน การผลิตกุง โดยนําเทคโนโลยีไปยังประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชีย ไดแก ประเทศอินโดนีเซีย ฟลิปปนส และ ประเทศไทย และไปยงั ประเทศตะวันตก เชน ประเทศบราซิลจึงเกิดเทคนคิ แบบไตห วันข้ึน ในป ค.ศ. 1989 (พ.ศ. 2532) ไดเกิดเหตุราคากุงตกลงเทาตัว จากราคาประมาณ 8.5 เหรียญสหรัฐ ตกลงมาเหลอื เพยี ง 4 ถึง 5 เหรียญสหรฐั อนั เนือ่ งมาจากการเสดจ็ สวรรคตของพระจักรพรรด์ิของประเทศญ่ีปุน และจํานวนประชากรลดการบรโิ ภคกุง เพราะถอื วา เปนของฟุมเฟอย เปน ระยะเวลา 1 ป ซง่ึ ในขณะนน้ั ประเทศ ญ่ีปุนเปนตลาดใหญที่สุด ทําใหประเทศญ่ีปุนมีการปรับกระบวนการการผลิตและการตลาดกันใหมทั่ว โลก ป ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535) ในประเทศไทยก็มีการทําฟารมกุงกันอยางแพรหลาย ท้ังขนาดเล็กและ ขนาดใหญเปน จาํ นวนนับพนั ราย ประเทศไทยจงึ กลายเปนประเทศผูนําในเอเชีย ป ค.ศ. 1993 (พ.ศ. 2536)ประเทศจีน ซ่ึงมีผลผลิตตอเฮกเตอรเพ่ิมข้ึนจาก 100 ตันในป ค.ศ. 1988 เปน 200 ตัน ในป ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535)และผลผลิตรวมเปน 50,00 ตนั ในป ค.ศ. 1993 (พ.ศ. 2536) และ ป ค.ศ. 1994 (พ.ศ. 2537) ไดเกิดโรคไวรสั ในประเทศจนี เนื่องจากพ้ืนทใ่ี นการเลย้ี งมรี ะดับต่ํา ทาํ ใหร ะบายนํ้า ลําบาก และอาหารท่ีใชคือหอยซ่ึงเปนของเหลือจากการประมง เปนสาเหตุทําใหเกิดโรคจากไวรัส และฆากุง เกือบท้ังหมดเกือบทุกประเทศท่ีทําฟารมกุงแบบพัฒนา และไดเกิดปญหาแบบเดียวกันในประเทศ จีน เม่ือป ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) โดยเจาของกิจการจํานวนมากตองหยุดและเลิกกิจการฟารมกุงไป โดยเฉพาะ ใน 3 จังหวัด คือ จังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม และไมสามารถจะมีผลผลิตกุง ไดเลย สวนทางตอนเหนือของชวาหรือประเทศอินโดนีเซีย ในขณะน้ันสามารถผลิตกุงไดผลผลิตสูง ดังน้ัน จะเห็นไดวาในประวัติการเล้ียงกุงที่ผานมากกวา 2 ทศวรรษ และเกิดปญหาเดียวกันในตางพื้นท่ีและตางเวลา เก่ียวกบั เรื่องนํา้ ซ่ึงเกษตรกรไมมที างเลือก นอกจากปม นํ้าจากธรรมชาติเขามาเพ่ือการทําฟารมกุงซึ่งมีไวรัสอยู และสงผลไปทําลายกุงเหมือนกนั ในแถบทวีปเอเชีย ในป ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) มีประเทศใหมๆ ทําฟารมกุง เชน ประเทศเวียดนาม อินเดีย ประเทศบังคลาเทศ ก็กลายเปนผูผลิตรายใหม เชนเดียวกับประเทศเม็กซิโก ฮอนดูรัส โคลัมเบีย ในซกี โลกตะวนั ตก ป ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535) ผลผลิตกุงจากฟารม เพ่ิมข้ึนเปน จํานวน 700,000 เมตริกตัน และอยูใน ระดบั นจ้ี นถึงป ค.ศ. 1995 คดิ เปนประมาณ 25 เปอรเ ซ็นตของผลติ ผลทว่ั โลก ป ค.ศ. 1995 ถึง 2005 (พ.ศ. 2538-2548) ตัง้ แตป  ค.ศ. 1995 (พ.ศ. 2538) โรคทีเ่ กดิ จากเช้อื ไวรัสและแบคทเี รีย ทําใหจํานวนฟารมกงุ ลดนอ ยลง ในแถบทงั้ ในทวีปเอเชียและตะวันตก มกี ารปรบั เปล่ียนเทคนิคการเลี้ยงเพอื่ ใหไดมาตรฐานโลกเกย่ี วกบั คุณภาพ ผลผลิตและสภาพแวดลอม ดังนั้นการเล้ียงกุงของประเทศไทยนาจะมีการเตรียมปรับกลยุทธในการเล้ียงและ

4 การเลีย้ งกุ้ง 4 วางแผน การผลิตเพื่อใหสอดคลองกับความตองการของผูบริโภคและสอดคลองกับมาตรฐานของฟารมกุง ท่วั โลกดวย การเลีย้ งกงุ ของไทย การเล้ียงกุงของไทยในชวงเร่ิมตนเปนการทํานากุงแบบธรรมชาติ โดยการสูบนํ้าทะเลเขาสูบอ ขนาดใหญประมาณ 50-100 ไร กักเก็บไวประมาณ 20-30 วัน แลวเก็บเก่ียวผลผลิตโดยใชถุงอวนก้ันในขณะที่ ปลอยน้ําออก ผลผลิตท่ีไดมีทั้งกุง ปลา และสัตวอื่นๆ ไดผลผลิตประมาณ 40-50 กิโลกรัม/ไร ท้ังน้ีนับตั้งแต ป พ.ศ. 2515 ทก่ี รมประมงประสบผลสาํ เรจ็ ในการเพาะพนั ธุก งุ แชบว ยไดในโรงเพาะฟก จึงสงเสรมิ ใหเกษตรกร ที่ทํานากุงธรรมชาติ นําลูกกุงท่ีไดจาการเพาะฟกไปปลอยเสริม ทําใหผลผลิตของนากุงธรรมชาติเพ่ิมเปน 200 กิโลกรัม/ไร จากนั้นการเล้ียงกุงไดเริ่มพัฒนาจากนาธรรมชาติมาสูระบบการเล้ียงแบบพัฒนาเต็มรูปแบบ ในป พ.ศ. 2525 โดยใชบอขนาดเล็กลงเหลือขนาด 4-6 ไร ใชพันธุกุงจาโรงเพาะฟกเพียงอยางเดียว และมีการ ใหอาหาร และมีการขยายตัวอยางรวดเร็วในป พ.ศ. 2528-2531 โดยมีการขยายตัวในจังหวัดทางภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใตฝ งอา วไทย ซงึ่ การเลยี้ งกงุ เชงิ พาณชิ ยข องภาคใตน ยิ มเล้ยี งกุง 2 ชนิด คอื กงุ ขาวแวนาไม กุงขาวแปซิฟก (Litopenaeus Vannamei) หรือ Pacific white Shrimp หรือที่เรียกกันท่ัวไปวา White Leg sShrimp เปนกุงพื้นเมืองในทวีปอเมริกาใต พบอยูทั่วไปในบริเวณชายฝงของมหาสมุทรแปซิฟก ตะวันออก จากตอนเหนือของประเทศเม็กซิโกจนถึงตอนเหนือของประเทศเปรู กุงชนิดนี้มีการเลี้ยงกันมาก ในประเทศเอกวาดอร เม็กซิโก เปรู ปานามา ฮอนดูรัส โคลัมเบีย และประเทศบราซลิ ซง่ึ ประเทศบราซิลเปน ประเทศ ท่ีเริ่มเลี้ยงกุงขาวไมกี่ปมานี้ แตมีผลผลิตเปนจํานวนมาก เนื่องจากรัฐบาลประเทศบราซิลใหการสนับสนุน การเล้ียงกุงขาวแปซิฟกอยางจริงจัง ทําใหผลผลิตของประเทศบราซิลเพิ่มอยางรวดเร็วจนเปนอันดับ 1 ของ ประเทศในทวีปอเมริกาใตในขณะนี้ เนื่องจากกุงขาวแปซิฟกที่เกษตรกรในประเทศไทยนิยมเรียกวากุงขาวแวนนาไม หรือเรียกกันวา “กุงขาว” เปนกุงท่ีเล้ียงงาย มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว เนื่องจากพอแมพันธุไดรับการพัฒนาสายพันธุ มาเปนเวลาชานาน และทําใหมีการนําเขาไปเลี้ยงในหลาย ๆ ประเทศ และกุงชนิดน้ีไดมีการนําเขามาเล้ียง ในทวีปเอเชียครั้งแรกในประเทศไตหวัน ป พ.ศ. 2539 และตอมาไดนําเขาไปในประเทศจีนในป พ.ศ. 2541 สําหรับประเทศไทยไดมีการนํากุงขาวเขามาทดลองเล้ียงในป พ.ศ. 2541 แตการทดลองในคร้ังนั้นไมประสบ ความสําเร็จมากนัก จนกระท่ังเดือนมีนาคม พ.ศ. 2545 กรมประมงไดอนุญาตใหนําพอแมพันธุที่ปลอดเชื้อ (Specific Pathogen Free, SPF) จากตางประเทศเขามาทดลองเลี้ยง ระยะเวลาการนําเขาพอแมพันธุ ที่ปลอดเชื้อจากจากเดือนมีนาคม พ.ศ. 2545 ถึงเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2546 ซ่ึงเปนชวงเวลาเดียวกันที่ การเล้ียงกุงกุลาดําในประเทศไทยกําลังประสบปญหาในเรื่องกุงโตชา โดยเฉพาะในขณะท่ีจับกุงจะพบวามีกุง ขนาดเล็กน้ําหนักประมาณ 3 ถึง 5 กรัมเปนจํานวนมาก ทําใหเกษตรกรสวนใหญประสบปญหาภาวะ ขาดทุน ในขณะเดียวกันเกษตรกรบางสว นไดทดลองเลี้ยงกุงขาว ซึ่งสวนใหญใหผลคอนขางดี และจากกระแส การเล้ียงกุงขาวท่ีไดผลดีกวากุงกุลาดํา สงผลใหเกษตรกรจาํ นวนมากหันมาเลย้ี งกุงขาวกันมากข้ึน แตเน่ืองจาก กุงขาวเปนกุงชนิดใหมท่ีไมเคยเลี้ยงในประเทศไทยมากอน รายละเอียดเกี่ยวกับพฤติกรรม การเลี้ยง การให อาหาร ตลอดจนปจจัยอื่น ๆ ที่มีผลเก่ียวกับการเลยี้ งยงั ไมมีการศึกษามากอน ทําใหเกษตรกรบางสวนมีปญหา ในเรอื่ งของกงุ เปนโรค ในเร่อื งของลกู พนั ธุทมี่ ีคณุ ภาพไมด ีหลงั จากเลยี้ งไปแลวมีปญหากุงโตชา และมลี ักษณะ ผดิ ปกติบางอยา งเกดิ ขน้ึ เนื่องจากกุง ขาวเปนกงุ ท่ีมีการเลี้ยงอยา งแพรหลายทัว่ โลกมากกวา 30 ประเทศ ดังนน้ั ในอนาคตการผลิตกุงขาวออกสูตลาดโลกจะมีปริมาณมาก โดยเฉพาะในป พ.ศ. 2546 ประเทศจีนซึ่งเปน

การเล้ยี งกงุ้ 5 5 ประเทศท่ีมีการผลิตกุงมากที่สุดในโลกถึง 400,000 ตันตอป พบวาจํานวนมากกวาครึ่งหนึ่งของผลผลิตจะมา จากกุงขาว สวนในประเทศไทยเม่ือป พ.ศ. 2545 มีการผลิตกุงขาวประมาณ 20,000 ตัน แตในป พ.ศ. 2546 ประเทศไทยสามารถผลิตกุงขาวไดจํานวนประมาณ 170,000 ตัน จะเห็นไดวามีปริมาณเพิ่มขึ้นมาก และ ในขณะนีป้ ระเทศไทยเปน ประเทศท่ผี ลติ กงุ ขาวไดมากเปน อนั ดับสองรองจากประเทศจนี ลักษณะเฉพาะของกุงขาวท่ีสามารถสังเกตเห็นเดนชัดคือ บริเวณฟนกรี (หนาม) ดานบนจะหยัก และถี่ ปลายกรีจะตรง โดยท่ีฟนกรีดานลาง 2 อันและดานบน 8 อัน ความยาวของกรีจะยาวกวาลูกตาไมมาก และท่สี ังเกตเหน็ ไดชัดคือ จะเห็นลําไสกงุ ชนิดนชี้ ัดกวา กุงขาวอนื่ ๆ ขณะทีโ่ ตเต็มวัยสมบูรณเต็มที่ของกุงชนิดน้ี จะมคี วามยาวทั้งหมด (Total Length) 230 มลิ ลิเมตร (9 นว้ิ ) กุงกุลาดาํ เร่ิมตนจากการท่ีกรมประมงประสบความสําเร็จในการเพาะขยายพันธุกุงไดในโรงเพาะฟก ต้ังแต ประมาณ พ.ศ. 2515 ทําใหเกษตรกรเริ่มมีการนําลูกกุงไปปลอยเลี้ยงในบอกุง หรือนากุงธรรมชาติเพื่อเพ่ิม ผลผลิตจากระดับ 40 ถึง 50 กิโลกรัมตอไร มาเปนมากกวา 200 กิโลกรัมตอไรตอปตามลําดับ และไดพัฒนา ตอมาจนเปนการเล้ียงกุงโดยใชพันธกุ ุงจากโรงเพาะฟกอยางเดียวในชว งประมาณ พ.ศ. 2525 โดยในระยะนัน้ ยังคงเปนการปลอยกุงแบบไมหนาแนนมากนัก (ประมาณ 15 ถึง 20 ตัวตอตารางเมตร) ซ่ึงไดผลผลิตสูง เกษตรกรมีรายไดเพ่ิมข้ึนจากการเลี้ยงกุงแบบเดิมอยางเห็นไดชัด ประกอบกับมีเทคโนโลยีจากประทศไตหวัน เขามาสนับสนุนในการผลิต และการสงออกกุงมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว ราคากุงที่ขยับสูงขึ้นทําให ผลประกอบการของแตละหนวยธุรกิจที่เก่ียวของสูงขึ้นมาก จึงมีการขยายตัวอยางรวดเร็วมากในระหวาง ป พ.ศ. 2528 ถึง 2531 ซ่ึงนับวาเปนยุคทองของการเล้ียงกุงในระยะที่ 1 โดยมีการขยายตัวในจังหวัดทาง ภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคใตฝ งอา วไทย ซึ่งจากการขยายตัวอยางรวดเร็วของฟารมเลี้ยงทําใหมีผลผลิตออกมามาก จนทําใหไมสามารถ หาตลาดสงออกไดทัน เน่อื งจากโรงงานแปรรปู และหองเย็นยังขยายตัวตามไมทัน สง ผลใหเกดิ ภาวะกงุ ราคาตก เปนครั้งแรกในชวงป พ.ศ. 2532-2533 เกษตรกรประสบกับปญหาการขาดทุนในแทบทุกพ้ืนท่ีโดยเฉพาะ ฟารมขนาดกลางถึงขนาดใหญ เน่ืองจากมีการลงทุนสรางระบบฟารมสูงมากหลังจาก ภาวะกุงราคาตกต่ํา ไดไมนาน เกษตรกรก็ประสบปญหาการเกิดโรคไวรัสหัวเหลืองระบาดในพ้ืนที่ภาคกลาง โดยเฉพาะบริเวณ “สามสมุทร” คือสมุทรสาคร สมุทรสงคราม และสมุทรปราการ และไดขยายไปภาคตะวันออกและภาคใต ตามลําดับ ทําใหเกษตรกรขาดทุนและปดฟารมขายอุปกรณการเลี้ยงกุงเพ่ือชดใชหน้ีสินกันมากในชวงต้ังแต ประมาณป พ.ศ. 2533-2535 ในระยะน้ีภาควิชาการก็ไดเขามามีบทบาทมากในการพัฒนาระบบและวิธีการ เลี้ยงตางๆ เพ่ือลดปญหาในเร่ืองโรคระบาด โดยเริ่มมีการเล้ียงกุงระบบปด หรือระบบถายน้ํานอย การจัด การฟารมเริ่มเปลี่ยนมาเปนการใชยาและเคมีภัณฑในการแกปญหามากขึ้น รวมถึงมีการพัฒนาการเลี้ยงกุง ในระบบปด บริเวณพ้นื ท่ีความเค็มตา่ํ เกดิ ขน้ึ มามาก โดยเฉพาะแถบลุมนํา้ บางปะกง ในปถัดมาก็เกิดปญหาการระบาดของโรคไวรัสชนิดใหมคือ โรคดวงขาว (ตัวแดงดวงขาว) ข้ึนอีกซ่ึง โรคนไ้ี ดทาํ ความเสยี หายเปนบรเิ วณกวางครอบคลุมในทุกพืน้ ท่ีการเลยี้ ง ทง้ั เขตความเค็มตํ่าจนถึงความเค็มสูง ซ่ึงโรคนี้ก็ยังคงทําความเสียหายใหกับการเลี้ยงกุงจนถึงในปจจุบัน ในชวงดังกลาว (พ.ศ. 2536) จนถึงปจจุบัน ระบบการเลี้ยงแบบตางๆ ไดมีการพัฒนาหลากหลายมากขึ้น แตสวนมากยังคงเปนการเลี้ยงกุงแบบปดหรือ แบบถายนํ้านอย ยกเวนในพื้นที่ภาคใตฝงทะเลอันดามัน การเล้ียงกุงแบบระบบปดโดยใชน้ําหมุนเวียนเร่ิมมี มากขนึ้ โดยเฉพาะในเขตพ้ืนทคี่ วามเคม็ ต่ํา และไดเ ริ่มมกี ารพฒั นาระบบการเล้ียงแบบอิงธรรมชาติเกิดขนึ้ ตอมาในป พ.ศ. 2540-2541 ซึ่งเปนชวงหลังจากคาเงินบาทลดตํ่าทําใหราคากุงสูงข้ึนมาก เกษตรกร มีรายไดสูงขึ้น ประกอบกับการเล้ียงกุงในเขตพื้นท่ีความเค็มตํ่าประสบความสําเร็จสูง จึงมีการขยายตัวของ

6 การเลี้ยงกุ้ง 6 การเล้ียงกุงเขตพื้นที่ความเค็มตํ่าหรือพ้ืนที่น้ําจืดจนเกิดกระแสตอตาน จนกระทั่งรัฐบาลประกาศหามการเลย้ี ง กุง กลุ าดาํ ระบบความเคม็ ต่าํ ในพ้นื ท่ีนาํ้ จืดข้นึ ในป พ.ศ. 2541 การขยายตัวของการเลี้ยงกุงตั้งแตป พ.ศ. 2541 ไดเพิ่มข้ึนอยางมากในหลายๆ ประเทศทั่วโลก เน่ืองจาก ราคากุงและผลตอบแทนที่สูงมาก แตอยางไรก็ตามไดเกิดโรคไวรัสดวงขาวระบาดข้ึนในกลุมประเทศอเมริกา กลางและอเมริกาใต สงผลใหผลผลิตกุงจากกลุมประเทศดังกลาวลดลงมากกวา 50 เปอรเซ็นต ทําใหราคากุง ในประเทศไทยยังคงสูงตอเนื่องจากในระยะป พ.ศ. 2540 จนถึง พ.ศ. 2543 ทําใหเกษตรกรยังคงมีการขยาย พน้ื ทกี่ ารเลย้ี ง และพยายามเพ่ิมผลผลติ ตอ พื้นที่มากข้นึ แตอยางไรก็ตามหากยอนมาดูประสิทธิภาพการผลิตกุงในระยะต้ังแตป พ.ศ. 2540 เปนตนมา จะพบวาขนาดของกงุ ทีจ่ ับขายหนา ฟารม จะเลก็ ลงเร่ือยๆ ทง้ั น้ีอาจเน่อื งมาจากเปนกุงทไี่ ดจากการเลี้ยงในระบบ ปดท่ีมีการปลอยลูกกุงในความหนาแนนสูง ประกอบกับภาวะราคากุงที่ยังคงสูงตอเน่ือง เกษตรกรก็ยังคงได กําไรแมว าจะจับกุงขนาดขนาดเล็กก็ตาม นอกจากนั้นผลผลิตตอพ้ืนท่ีการเลี้ยงก็เร่ิมลดลงตามมาดวย เพราะอัตรา รอดของกุงเมื่อจับขายก็มีแนวโนมต่ําลงจาก 80-90 เปอรเซ็นต จนเหลือประมาณ 50-60 เปอรเซ็นต โดยสาเหตุ หน่ึงท่ีทําใหอัตรารอดตายของกุงต่ําลงก็คือปญหาในเร่ืองโรค และคุณภาพของลูกกุงที่ลดลงจากราคาลูกกุง ทตี่ ํ่าลงดวย จากเหตุผลที่กลาวมาขางตน ทําใหเกษตรกรสวนใหญเริ่มปรับเปลี่ยนวิธีการเลี้ยงเขาสูระบบปด มากข้ึน และมีการปลอยลูกกุงหนาแนนมากข้ึนเพ่ือชดเชยกับอัตรารอดท่ีตํ่าลง ซึ่งถือไดวาเปนจุดเปล่ียนแปลง อีกครั้งหนึ่งในระยะป พ.ศ. 2543 โดยมีการใชยาและเคมีภัณฑในการแกปญหาการเล้ียงมากข้ึน แตอยางไร ก็ตามเกษตรกรก็ยังคงมีกําไร ถึงแมตนทุนการผลิตจะสูงข้ึนก็ตาม เพราะราคาขายยังคงสงู และยังคงผลิตกุงได มากกวา ปละ 300,000 ตัน จนกระท่ังป พ.ศ. 2544 ราคากุงเร่ิมลดต่ําลงเร่ือยๆ จากผลผลิตกุงที่เพิ่มขึ้นทั่วโลกและผูซื้อเร่ิมใช มาตรการการตรวจสอบสารตกคางในผลิตภณั ฑกุงทําใหแนวโนม ราคาตํ่าลงประกอบกับประสิทธิภาพการเลี้ยง ทล่ี ดต่าํ ลงดว ย (ชลอ และนติ ิ, 2553) พ.ศ. 2545 เกษตรผูเลีย้ งกุงตอ งประสบปญหากงุ กุลาดี่โตชา แตกไซด จนประสบกับปญหาการขาดทุน และเริ่มเปลี่ยนมาเล้ียงกุงขาวเพ่ิมขึ้น เพราะในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2545 กรมประมงไดอนุญาตใหนําพอแมพันธุ ท่ีปลอดเชื้อ (Specific Pathogen Free, SPF) จากตางประเทศเขามาทดลองเล้ียง นอกจากนี้กุงขาว ยังสามารถปลอยในอัตราหนาแนน สูง ทาํ ใหไ ดผลลิตสูงกวากุงกุลาดํา 2-3 เทา ดังนั้นผลผลิตกุงขาวจึงเพิ่มมากขึ้น ทุกป ปจ จบุ นั ผลลิตกงุ สวนใหญป ระมาณ 96 % จึงเปนกงุ ขาว พ.ศ. 2551 การเลี้ยงกุงขาวเร่ิมประสบปญหาในเร่ืองโรคข้ีขาว ทําใหตนทุนสูงข้ึนและผลผลิตลดลง เกษตรกรบางสวนเรมิ่ กลบั มาเล้ียงกุงกุลาดาํ ในขณะที่บางสว นเริม่ นํากุง นํา้ เงินเขา มาเล้ยี ง ความสําคัญทางเศรษฐกิจ กุงไทยเปนสินคาท่ีมีศักยภาพการแขงขันในตลาดโลกสูงมาก ชวง 5 ปท่ีผานมาการสงออกกุงของไทย เตบิ โตเฉล่ยี ราว 12% ตอ ป สูงกวา อัตราการเติบโตเฉลีย่ ของโลกท่ี 4% ตอ ป ปจ จบุ ันประเทศไทยผลิตกงุ ไดราว 500,000 ตันตอป ผลผลิตสวนใหญ 80% หรือ 400,000 ตัน ใชเพื่อการสงออก สามารถสรางรายได เขาประเทศไดปละกวา 90,000 ลานบาท สงผลใหไทยเปนประเทศผูผลิตและสงออกกุงรวมถึงผลิตภัณฑ แปรรูปใหญเปนอันดบั 1 ของโลกโดยในป\" 52 กงุ และผลติ ภัณฑแ ปรรูปของไทยครองสวนแบง ในตลาดโลกสูงถึง 23.9% โดยมีปริมาณการสงออก 389,999 ตัน คดิ เปนมูลคา 94,149 ลานบาท หรือสูงราว 12.23% ของมลู คา สงออกสินคาอาหารท้ังหมดของไทย ตลาดสงออกกุงของไทยที่สําคัญอันดับ 1 ไดแก สหรัฐอเมริกา 48.9% รองลงไปคอื ญป่ี นุ 20.4% สหภาพยุโรป 12.5% แคนาดา 5.6% ออสเตรเลยี 2.4% และเกาหลีใต 2.1%

การเล้ียงกุ้ง 7 7 มูลคา สินคาเกษตรสง ออกทส่ี ําคัญ พ.ศ. 2552-2553 รายการสินคา 2552 2552 2553 อัตราการเพ่ิม/ลด (ม.ค. - พ.ค.) (ม.ค. - พ.ค.) (%) 1. ยางธรรมชาติ 146,264 49,365 94,508 91.45 2. ขาวและผลิตภัณฑ 183,422 71,772 70,596 -1.64 3. นํ้าตาลและผลิตภัณฑ 68,748 27,282 47,526 74.20 4. ปลาและผลิตภัณฑ 97,585 38,817 38,999 0.47 5. มนั สําปะหลงั และผลิตภณั ฑ 51,641 15,843 33,880 113.84 6. กงุ และผลติ ภณั ฑ 94,149 30,278 33,785 11.58 7. ผลไมและผลิตภัณฑ 60,757 23,765 26,393 11.05 8. ไมและผลิตภัณฑ 41,549 14,791 20,272 37.05 9. ไกแปรรปู 47,456 19,069 18,459 -3.20 10. ผกั และผลติ ภัณฑ 19,483 8,058 8,329 3.36 ความสาํ คญั ทางสงั คม การเลี้ยงกุงนับเปนอาชีพท่ีกอใหเกิดธุรกิจตอเนื่องมากมาย อาทิเชน โรงเพาะฟกกุง โรงงานท่ีผลิต อาหารกุง บริษัทยาและสารเคมีที่ใชในการเล้ียงกุง แพจับกุง โรงงานแปรรูป (หองเย็น) จึงนับเปนอาชีพท่ีมี การกระจายรายไดไปสูคนในสังคมในวงกวา ง มคี นท่ีเก่ียวขอ งกบั ธุรกจิ นหี้ ลายแสนคน ขอคิดในการเลีย้ งกุงอยา งยง่ั ยืน เราไดไดฟงกันอยูเสมอและบอยคร้ังวา เราตองเลี้ยงกุงเพ่ือมุงสูความย่ังยืน (sustainability) และเรา พอเขาใจกันวา ความยั่งยืนคือการท่ีเราเล้ียงกุงไดผลผลิตจากการเลี้ยงกุงตอเนื่องและยาวนานไปเร่ือย โดยที่ การเล้ียงกุงของเราตองไมสงผลเสยี หาตอสง่ิ แวดลอมและสังคมแตใ นเรอ่ื งของระยะเวลาเลีย้ งสูความยั่งยนื แลว คงเปนเรื่องท่ีบอกไดยากมากกวาการเล้ียงกุงของเรายั่งยืนแลวหรือยัง ถายังอาจตองใชเวลาอีกนานกวาท่ีเรา คาดหลัง เชน อีก 20 ป หรอื 50 ป แตใ นชว ง 10 กวา ปท่ผี า นมาผลผลิตการเล้ียงกุงของเราสวนมากยังประสบ ปญ หาลุม ๆ ดอนๆ ไมส ามารถทําผลผลติ ไดมากเหมอื นที่เคยทาํ ได แมว าจะปลอยหนาแนน มากข้นึ เลี้ยงแลวจับ ออกหลายคร้ังหรือพาเซี่ยล (partial harvest) ขุนลูกกุงเพื่อเลี้ยงใหมากรอบข้ึนในรอบป ลงทุนเพ่ิมเพ่ือ ปรับเปลี่ยนระบบนํ้าใช ระบบทําความสะอาดพ้ืนบอ ใสเพ่ิมจุลินทรียมากข้ึน ใสเติมแรธาตุสารเคมี แมกระท่ัง ใชยาฆาเช้ือบางประเภทอยางมากมาย ผลผลิตท่ีเราคาดวาจะกลับมาและมุงสูความยั่งยืนก็ยังไมเกิดข้ึนใหเห็น อยางจริงจังแตอ ยางใด เราลองมาดูและทําความขาใจกับคําวา ความย่ังยืน (sustainability) จากวิกิพีเดียสารสุกรมเสรี ท่ีให ความหมายไวว า “ในวิชานิเทศวิทยา ความย่ังยนื คือความสามารถในการคงทน เปน วธิ ีระบบชวี ทิ ยายงั คงความ หลากหลายและมผี ลผลิต (productive) ไดไมจ ํากดั พื้นทีช่ ุมนาํ้ และปาท่ีอยูนานเปนตัวอยางของระบบชวี วิทยา ท่ียั่งยืน ในคําท่ีใชทั่วไปมากกวาความย่ังยืนคือ ความคงทนของระบบและกระบวนการ หลักการการจัดความ ยั่งยืน คือ การพัฒนาอยางยั่งยืน ซ่ึงรวมส่ีโดเมน (Domain) ที่เชื่อมสัมพันธกัน คือ นิเวศวิทยา เศรษฐศาสตร การเมืองและวฒั นธรรม” ในบทความน้ีจะพูดถึงความย่ังยืนในเชิงนิเวศวิทยาโดยทั่วไป ซ่ึงมีประเด็นสําคัญคือ ยังคงความ หลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity หรือ Biological Diversity) หมายความถึงตองมีความหลากหลายของ

8 การเลยี้ งกงุ้ 8 สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศน พอจะกลาวไดคือ ในระบบนิเวศนน้ันตองมีสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดอาศัยอยูรวมกัน อยางเหมาะสม ในชนิดหรือประเภทของสายพันธและปริมาณแมแตในบอเล้ียงกุงที่เราเขาใจวามีแตกุงท่ีเปน สิ่งมีชีวิตใดเพียงสายพันธุเดียวที่อยูไดในระบบนิเวศนบอเลี้ยงที่เราจัดเตรียมใหในสภาพเพื่อรองรับการเติบโต และผลผลิตกุงท่ีเลี้ยงดวยความหนาแนนแตกตางกันไป ความเปนจริงแลวในระบบนิเวศนของบอเลี้ยงกุงนั้นมี ส่ิงมีชีวิตอื่น เชน แพลงกตอนพืช แพลงกตอนสัตว สาหรายขนาดเล็ก สัตวหนาดิน แบคทีเรียกลุมตางๆ อาศัย อยูรวมกันเพ่ือใหระบบนิเวศกน้ันเกิดสมดุลในระดับที่กุงปลอยลงเลี้ยง สามารถเติบโตและใหผลผลิตภายใน ระยะเวลาการเล้ียงชวงหน่ึง และโดยมากส่ิงมีชีวิตอ่ืนในบอกุงมักไมไดรับความสนใจจากผูเล้ียงกุงแตอยางใด มกั โดนทาํ ลายหรือกําจัดทงิ้ เพราะกลวั วา จะเปนผลเสียตอการเลี้ยง ทง้ั ๆ ที่สง่ิ มีชีวิตตา งๆ เหลาน้ีรว มกนั ชวยค้ํา จุนการเล้ยี งกงุ ของเราใหยั่งยนื ได เปนสงิ่ จาํ เปนทเี่ ราตอ งคงความหลากหลายไว ประเดน็ ตอ มาคือ การมีผลผลติ ไมจํากัด (productive) เมื่อระบบนิเวศกคงความหลากหลายไดก็จะให ผลผลิตไมจํากัดตามมา เห็นไดชัดเจนในระบบนิเวศกของพื้นท่ีชุมน้ํา พ้ืนท่ีปาชายเลน เปนตน เพราะส่ิงมีชีวิต หลากหลายท่ีอยูรวมกันในระบบนิเวศนที่ยั่งยืนนั้นจะชว ยกันสรางผลผลิตออกมาอยางตอเน่ืองไมจํากัดเพ่ิมพูน ข้ึนเรื่อยๆ ใหเราเห็นในรูปของความอุดมสมบูรณน่ันเอง แตในบอเล้ียงกุงเปนระบบนิเวศกท่ีมีความลากหลาย ของส่ิงมีชีวิตมีต่ํากวาระบบนิเวศนของแหลงน้ําตามธรรมชาติอยูมากผลผลิตกุงท่ีเลี้ยงจึงเปนไปตามขอจํากัด ของความสมารถของบอในการรองรับผลผลิต (carrying capacity) ในระยะเวลาชวงหนึ่ง (90-120 วัน) ท่ีผู เล้ียงคาดหวังวาในการเก็บเกี่ยวผลผลิต (harvesting) และในระยะเวลาท่ีเล้ียงกุงนั้น สิ่งมีชีวิตอ่ืนในบอก็สราง ผลผลิตไมจํากัดเชนกัน เราจะเห็นผลผลิตของส่ิงมีชีวิตอ่ืนในนิวศนบอกุงปรากฏในสภาพของสีนํ้าท่ีเขมขึ้นจน เขมจัด เปนผลผลิตจากแพลงกตอนพืชและสาหราย และปรากฏในสภาพพื้นบอท่ีเกิดการหมักหมมจนมีสีดํา และกลิ่นเหม็นจากผลผลิตของแบคทีเรียท่ียอยสลายของเสียที่เกิดข้ึนในบอ เปนตน ผลผลิตจากสิ่งมีชีวิตที่ หลากหลายรวมทั้งกุงหากอยใู นสภาวะสมดุลก็สง เสริมใหกุงท่ีเราเลย้ี งเตบิ โตตอไปไดจนถงึ เวลาเก็บเกีย่ วผลผลิต หากผลผลิตจากสง่ิ มีชวี ติ อ่ืนและกุงดวยเชนกัน เชน กุงเกิดความเครียด ไมกินอาหาร ติดเชื้อ ออนแอ และตาย ในท่ีสุดการบริหารจัดการลดผลผลิตที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตอื่นในนิเวศนบอกุงจึงเปนเรื่องจําเปน เพื่อสราง สภาพแวดลอ มทสี่ มดุลตอการอยอู าศยั ของกุงและสามารถเติบโตตอไปจนไดข นาดจบั ขาย ท้ังสองประเด็นหลักที่กลาวมาแลวจึงเปนสวนหนึ่งของคําตอบวา เราจะเลี้ยงกุงมุงสูความย่ังยืนได อยา งไร เราคงเคยไดฟงทานผูรูในวงการเลี้ยงกุงแนะนํากันมากมายในภาพรวมวา ถาอยากใหธุรกิจการ เพาะเลีย้ งสัตวนํา้ ดาํ เนนิ ตอไปไดอ ยางยั่งยนื น้ัน คงจะตอ งใชส ภุ าษิตที่วา “สูงสุดคืนสสู ามัญ” เม่ือการเลีย้ งกุงใน ตอนเริ่มแรกเราใชทรัพยากรธรรมชาติมากเกินไป ไดแก การเลี้ยงกุงแบบหนาแนน เนนผลผลิตสูงๆ ดึงส่ิงดีๆที่ มีอยูในธรรมชาติไปใช นําส่ิงแปลกปลอมใสลงในธรรมชาติ เลยทําใหสภาพของดินนํ้าในธรรมชาติเกิดมลพิษที่ ไมเหมาะสมตอการเล้ียงกุงในรุนตอไป เรียกวาไมสามารถเลี้ยงใหไดผลผลิตดีเหมือนรุนแรกท่ีเร่ิมขุดบอเลี้ยง ใหมๆ ส่งิ ที่เราปฏิบตั ิกนั ไดคอื การคืนธรรมชาตใิ หกับส่งิ แวดลอมและไมทาํ ใหสภาพแวดลอมเสียหายเพิ่มมากขึ้น อยางตอเนื่องอีก อาจเร่ิมจากการทําบอบําบัดนํ้าท่ีใชเลี้ยงกุง บอบําบัดตะกอนเลนของเสีย การบําบัดทั้งนํ้าท่ี ผา นการเลี้ยงกุง จับกุง และตะกอนเลนของเสียกอนะบายออกสูแหลงนํ้าภายนอก จะชวยรกั ษาสภาพแวดลอม ของแหลง น้าํ ไมไดเสื่อมโทรมอยา งรวดเร็วได รวมถงึ การเริ่มชว ยกันปลูกตน ไมในบริเวณบอกุงและบรเิ วณรอบๆ บอกุง และการลดความหนาแนนในการเลี้ยง การเนนความสะอาดหรือสุขอนามัยทุกดานในพื้นที่เล้ียง เพ่ือ ปองกันการแพรระบาดของโรค เปนตน ส่ิงเหลานี้ตองเนนทํารวมกันอยูเสมอ ไมใชเนนแตผลผลิตกุงมากๆ เพียงอยางเดยี ว

การเลยี้ งกุ้ง 9 9 เรามองขาม การฟน ฟู (regeneration) การฟนฟู (regeneration) หมายถึง การเกดิ ใหม การสรางใหมเพื่อทดแทนของเดิมเพื่อใหร ะบบน้ันได กลับมาทํางานไดเต็มที่หรือกลับมาอยูในภาวะสมดุลใหมอีกคร้ังไดตามธรรมชาติ ตัวอยางเชน เราปลูกปาชาย เลนข้ึนมาใหมเพ่ือทดแทนพ้ืนที่ปาชายเลนที่ถูกทําลายโดยกิจกรรมของมนุษยและนําพ้ืนที่ปาชายเลนบางสวน ไปใชเลี้ยงกุง การปลูกปาชายเลนทดแทนเพ่ือฟนฟูความสมบูรณของระบบนิเวศนปาชายเลน และความเปน ธรรมชาติของปาชายเลนใหกลับคืนมาใหม (แตตองใชเวลานานมากทีเดียว) เม่ือระบบนิเวศนปาชายเลนถูก ฟน ฟูแลว ความหลากหลายทางชีวภาพของสิง่ มีชีวติ ท่ีอาศัยในปา ชายเลนก็จะเกิดขน้ึ ผลผลิตตามธรรมชาติจาก นิเวศนป า ชายเลนกจ็ ะเกดิ ขนึ้ แบบไมจ าํ กัดตามมา ดงั นิยามที่พดู ถงึ ขางตน บทความ ในการเล้ียงกุงเปนเวลานานหลานรุนหลายป พบวาผลผลิตกุงที่ไดจากบอมีแนวโนมจะลดลงจนถึงไม สามารถเลี้ยงตอได ย่ิงเกษตรกรมีการใชสารปรับสภาพดิน สูตรปรับสภาพนํ้า ท่ีมีวางขายเกลื่อน ตลาดเพื่อให เลี้ยงกุงตอไปไดน้ัน เปนการแกปญหาปลายเหตุในบอเลี้ยงกุง ซึ่งมักไมไดผลดีตามตองการ และไมใชแนว ทางการจัดการทีด่ สี คู วามยั่งยนื การฟนฟูเปนเร่ืองสําคัญตอการเลี้ยงกุงที่มุงสูความยั่งยืน โดยเฉพาะอยางย่ิงการฟนฟูแหลงน้ําใช คุณภาพดินพื้นบอ ผานกระบวนการบําบัดทางชีวภาพ (Biological Treatment) ทั้งนํ้าและดินกอนนํามาใช ใหมหรือระบายทิ้งออกสูแหลงนํ้าภายนอกฟารม และการฟนฟูสภาพแวดลอมของชุมชนทีอยูในพ้ืนที่เล้ียงกุง เดยี วกนั เพ่ือลดความแปลกแยกในชุมชน การฟน ฟูแหลงนํา้ ใช (Water Resource Regeneration) เกษตรกรเล้ียงกุงไทยสว นมากใชนํ้าเพื่อการเลย้ี งกุงจากแหลง นา้ํ ธรรมชาติท่ีอยูในพื้นทไ่ี มไกลจากทีต่ ้งั ฟารม หรืออยูในชุมชนที่มีฟารมเล้ียงกุงต้ังอยู เปนแหลงนํ้าธรรมชาติที่ชมุ ชนใชรว มกันในกิจกรรมตางๆ แหลง น้ําธรรมชาติมักถูกใชประโยชนดานเดียวอยูตลอด ขาดการพื้นฟู บําบัด ปรับปรุงสภาพแวดลอมแหลงนํ้าและ คุณภาพของแหลงนํ้าใหดีข้ึน สวนมากสภาพและคุณภาพแหลงน้ําใชตามธรรมชาติของชุมชนจึงมักเส่ือมโทรม จากการใชประโยชนจากกิจกรรมของชุมชนมากเกินไป ความคิดสวนใหญของชุมชนมองวาแหลงน้ําตาม ธรรมชาติ นอกจากถูกสูบข้ึนมาใชประโยชนแลว ยังเปนแหลงระบายหรอื รองรับน้ําทง้ิ นํ้าเสียจากบอเล้ียงสตั ว น้ําและของชุมชน เพราะเขาใจวาปริมาณนํ้าท้ิง นํ้าเสียที่ตัวเองระบายลงไปมีปริมาณไมมาก แหลงนํ้านั้น สามารถปรับสภาพตัวเองใหดีข้ึนได แตในความเปนจริงแลวชุมชนและเกษตรกรชวยกันระบายน้ําทิ้งนํ้าเสียใน แตล ะครั้งรวมกนั แลวปริมาณมากจนแหลงนาํ้ ไมสามารถฟอกตวั (purification) ใหก ลบั มาสะอาดเหมอื นเดิมได ในเวลาอันน้ัน และที่เกิดปญหาหนักจนแกไขไดยากคือ ขยะและดินตะกอนของเสียจากบอกุงที่ระบายทิ้งลงไป ทําใหแหลงนํ้านั้นตื้นเขินเร็วข้ึน ไปขวางทางระบายนํ้าทําใหเกิดนํ้าทวมขังในชุมชนเปน เวลานานเม่ือเกิดฝนตก หนกั เพราะนาํ้ ฝนทต่ี กลงมาระบายลงสูแหลงนา้ํ แลว ไมส ามารถจะระบายไหลออกสแู หลง น้าํ ที่ลึกกวา ได ผลเสียที่ขาดการฟนฟูแหลงนํ้าใชตอเกษตรกรเลี้ยงกุงคือ เวลาสูบน้ํามาใชหรือเก็บพักไวในบอพักนํ้า มักไดปริมาณนํ้านอยลง มีขยะและตะกอนปนมากับน้ํามากข้ึน คุณภาพนํ้าแยลงมากตองนําไปพักนานข้ึน กวาเดิม หรือผานกระบวนการบําบัดนํา้ กอนใช ซึ่งโดยสวนมากนิยมใชสารเคมีเพราะสะดวกและรวดเร็ว ทําให สิ้นเปลืองคาใชจายและพลังงานในการบําบัดนํ้าที่สูบเขามากอนใชเลี้ยงกุง ตางกับในอดีตมักไมมีคาใชจายใน การบาํ บดั นํ้ามากนัก ในกรณีเกษตรกรรายยอยทีไ่ มมีบอพักน้าํ มักจะเสียคาใชจ ายเพิ่มมากขน้ึ ในการซื้อสารเคมี หรือน้ํายาปรับสภาพนํ้าทีโ่ ฆษณาขายกันทว่ั ชุมชน เพื่อใหม่ันใจวาซ้ือมาใชแลวจะไดคุณภาพน้ําเหมาะสมและดี พอนํามาใชเลี้ยงกุงในบอของตน ทั้งท่ีสารเคมีหรือนํ้ายาปรับสภาพนํ้าไมมีประสิทธิภาพเพียงพอจะบําบัดหรือ ฟอกน้าํ ใหสะอาดอยางที่โฆษณาและเปน การแกปญหาทีป่ ลายเหตุ

10 การเล้ียงกุง้ 10 การฟน ฟแู หลง นํ้าใช ตองเริม่ จากสรา งจติ สํานึกรวมกันในการไมท้ิงนํ้าใชแลว ซึง่ เปน นํ้าเสียทิง้ ขยะ และ ถายตะกอนของเสียลงในแหลง นํ้าเปน อันดบั แรก รวมถึงน้าํ ใชแ ลวหรอื ผา นการเลีย้ งกุงหรือจับกุงแลวตองบําบัด กอนเสมอใหคุณภาพดีกอนระบายท้ิงออกนอกฟารม มีพนที่เก็บขยะเปนสัดสวนที่งายตอการกําจัดหรือทําลาย บนดิน ไมใชท้ิงลงแหลงน้ํา ตะกอนของเสียจากบอกุงตองถายหรือระบายลงในบอเก็บตะกอนในฟารม และหา วิธีการบําบัดรวมทั้งนํามาใชประโยชนดานปุยสําหรับปลูกพืช เนื่องจากตะกอนเลนข้ีกุงมีธาตุอาหารสวนเกิน มาก โดยเฉพาะไนโตรเจนฟอสฟอรัส เกลือ และอินทรียวัตถุ อาจตองมีพ้ืนท่ีมากพอทําเปนลานตากและลาง ดวยน้ําจืดหรือนํ้าฝนใหหมดความเค็มกอนนํามาใชเปนปุย เปนตน นอกจากน้ันการใชระบบน้ําหมุนเวียนแบบ ปด (Recirculating Aquaculture System หรือ RAS) จะชวยใหเราประหยัดการใชนํ้าจากแหลงน้ําธรรมชาติ ไดมาก และยังชวยปองกันโรคกุงท่ีมากับแหลงน้ําภายนอกอีกดวย ระบบ RAS น้ีเริ่มใชกันอยางแพรหลายใน สหรัฐอเมริกา ยุโรป และในเอเชียบางประเทศท่ีเลี้ยงกุง และเม่ือจับกุง นํ้าในบอเลี้ยงยังคงถูกระบายไปเก็บไว อีกบอหนึ่งเพื่อทําการบําบัดใหม ีคุณภาพดี ดวยกระบวนการทางชีวภาพและฟสิกสเคมี เพ่ือนําน้ําน้ันกลับมาใช ใหมหรือระบายท้ิงลงแหลงนํ้าธรรมชาติ ลดการแบกรับภาวะ (loading) ของแหลงน้ําธรรมชาติในการบําบัด หรอื ฟอกตัวเองจากนํ้าท้งิ ของบอกุงของเราไดมาก วิธีการบําบัดน้ําที่ผานการเลี้ยงกุงหรือจับกุงแลว (Waste Water Treatment before Discharging) ที่ดีท่ีสุด มีประสิทธิภาพ และคาใชจายตํ่า รวมทั้งเพิ่มรายไดเสริมคือ ใชกระบวนการบําบัดทางชีวภาพ (Biological Treatment) ไดแก การบําบัดน้ําทิ้งผานสาหรายหอย ปลากินพืชเศรษฐกิจ รวมทั้งใชจุลินทรีย การจะเลือกใชสาหราย หอย หรือปลา และรวมกับจุลินทรีย ข้ึนอยูกับคุณภาพของน้ําท่ีจะบําบัด ไดแก ความ เค็ม ความขุน ของนา้ํ ปริมาณน้าํ ขนาดพ้นื ทบี่ อ บาํ บัด เปน ตน รายละเอียดในเรอ่ื งนสี้ ามารถหาอานไดท ่วั ไป การฟน ฟคู ณุ ภาพดนิ ในบอ (Pond Soil Regeneration) ดินในบอท่ีผานการเล้ียงกุงมานานหลายรุนหลายรอบการเล้ียงและหลายป คุณภาพดินน้ันจะเส่ือม คุณภาพ เพราะเกิดการหมักหมกของเศษซากตะกอน อาหารเหลือท่ีสะสมอยูพื้นบอและไมสามารถกําจัดออก ไดหมด โดยเฉพาะสารอาหารเหลือกจากการเล้ียงกุงท่ีสะสมตัวและมีปริมาณเพิ่มมากข้ึนในดินช้ันลาง แมจะมี การดูดเอาตะกอนขี้เลนที่พื้นบอออกเปนระยะตลอดรอบเวลาการเลี้ยงก็ตาม หลังจับกุงแลว ควรมีการลางบอ ดวยนํ้าจืดเปนเวลานานเปนอาทิตยเพื่อใหเช้ือวิบริโอกอโรคท่ีชอบความเค็มไดถูกกําจัดออกไปกับนํ้าจืด ถาน้ํา จดื หายากอาจใชน าํ้ ฝนแทนได โดยชุดบอเกบ็ นํ้าฝนไวใชลางบอหลงั จับกงุ หรอื ใชเพ่อื กจิ กรรมอืน่ ในฟารม หลังจับกุงแลวบอมักถูกสูบน้ําใหแ หง ใสปูนขาวเพ่ือปรับความสมดุลของดิน ตากแดด และจําเปนตอง มีการปบพลิกหนาดินใหดินดานลางไดสัมผัสอากาศบาง บอเล้ียงกุงท่ีปูพื้นดวยพีอีที่เล้ียงไปนานๆ จําเปนตอง ลางพื้นบอไดพีอีดวยนํ้าจืดหรือนํ้าฝน แลวตากบอใหแหง พรอมพลิกหนาดินใหดินชั้นลางไดโดนแดดและ อากาศเชน กัน เพ่อื ลดปญ หาของเสียและแกส ท่ีอาจสะสมตัวเพ่ิมปริมาณไดพน้ื บอท่ปี ดู ว ยพีอเี ปน เวลานานๆ การเล้ียงกุงของไทยในชวงหลังเกิด EMS ระบาดจนผลผลิตกุงไทยหายไปเกินคร่ึงจากที่เคยผลิตไดน้ัน เกษตรกรสวนใหญหันมาใหความสําคัญกับการระบายขี้กุงตะกอนเลนของเสียที่พื้นบอออกกันมากข้ึนใน ระหวางการเลี้ยง ขี้กุงตะกอนเลนของเสียที่ระบายออกมาตองมีบอหรือพ้ืนที่เก็บกักไวในฟารมเสมอ ไมใช ระบายท้ิงโดยตรงลงสูแหลงนํ้าธรรมชาติหรือนอกฟารม บางรายแอบตักใสรถบรรทุกไปท้ิงในพื้นท่ีปาชายเลน อยางท่ีเคยเปนขาวเมื่อหลายปกอน ซึ่งเปนการสรางความเสียหายใหกับระบบนิเวศนของแหลงน้ําธรรมชาติ และพื้นท่ีชายฝง การมีพื้นที่เก็บกักข้ีกุงตะกอนเลนของเสียยังไมเพียงพอ ตองมีวิธีการบําบัดหรือลดความเปน ของเสียใหนอยลงดวย เชน ใชจุลินทรียชวยในการยอยสลาย ปลอยปลานิล ปลาหมอเทศชวยกรองกินตะกอน รวมถึงการใหเวลาพักนานข้ึนเพ่ือใหตกตะกอนในบอหรือพ้ืนที่เก็บกักกอน น้ําท่ีปนอยูกับตะกอนชั้นบนจึงถูก สูบไปบําบัดตอไป เพ่ือนําไปหมุนเวียนใชตอหรือบําบัดจนคุณภาพดีพอแลว จึงระบายท้ิงออกลงแหลงน้ํา

การเลีย้ งกงุ้ 11 11 ธรรมชาตินอกฟารมได สวนตะกอนอาจนํามาลางดวยน้ําจืดหรือน้ําฝน ผ่ึงลม ตากแดด เพื่อใหธาตุอาหาร สว นเกนิ หรือสารอนิ ทรยี ไดถ กู ยอ ยสลายไปบาง หรอื นํามาเปนปุยปลูกพชื ในฟารม ตอไป ตองไมร ะบายข้ีกงุ ตะกอนเลนลงสูแ หลงนํ้าสาธารณะโดยตรง เพราะมผี ลเสียทําใหแหลงน้ําต้ืนเขินและ ขวางการไหลเวียนของน้ํา เพิ่มภาระความสกปรกใหแหลงนํ้าตองใชเวลาฟอกตัวเองนานมากขึ้น ระหวางน้ัน คุณภาพของน้ําในแหลงนํ้าจะเส่ือมสภาพลงไปจากความสกปรกที่แบกรับอยู นอกจากน้ันข้ีกุงตะกอนเลนยัง เปน แหลงสะสมเชอ้ื โรคมากมาย ท่ีเออ้ื ตอการเกดิ โรคระบาดในพนื้ ท่ีเล้ียงกุงที่ใชแหลงนํา้ ธรรมชาติรว มกนั ได การฟนฟูแหลงนํ้าธรรมชาติและคุณภาพดินในบอ รวมถึงพื้นที่เล้ียงดังกลาว เกษตรกรอาจขอ คําแนะนํา เขาไปดูและศึกษาหลักการทําของเสียเปนศูนย หรือ ZERO WASTE ที่พันธุโพธิ์ฟารม อ.กะเปอร จะ.ระนอง ซึ่งคุณอดุลย พันธุโพธิ์ ใชวิธีการลดของเสียจากการเล้ียงกุงเปนศูนยไดจริง นําข้ีกุงตะกอนเลนไป เปนปยุ ปลกู ขาวไรซเ บอรรี มะพราวนํา้ หอม ขา วโพดหวาน พืชผกั สวนครัวอ่ืนๆ และตน ปาลมนํา้ มัน และบาํ บัด นํ้าหลังจับกุงจนมีคุณภาพดีพอกอนระบายลงสูคลองตามแนวปาชายเลนธรรมชาติขางฟารมที่ไหลออกสูทะเล ทําใหคลองบริเวณน้ันมีลูกพันธุสัตวน้ําซุกชุมและอุดมสมบูรณ รวมถึงชวยรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ของคลองปาชายเลนธรรมชาติไดมาก ทําใหชาวบานในชุมชนที่ฟารมต้ังอยูไดอาศัยจับสตั วน้ําคลองปาชายเลน ธรรมชาตเิ ปนการยังชีพและเพม่ิ รายไดข องครัวเรอื นอกี ดว ย การฟนฟสู ภาพแวดลอมของชมุ ชน (Community Regeneration) ฟารมหรือบอเล้ียงกุงเปนสวนหนึ่งของชุมชน เดิมอาจเปนพ้ืนที่ปาหรือพ้ืนที่วางของชุมชนเม่ือเปล่ียน มาเปนบอเล้ียงกุง จึงกลายเปนพ้ืนท่ีโลงและอาจดูแปลกแยกจากชุมชนอยูบางโดยเฉพาะไมมีตนไมใหความรม ร่ืน มีแตรั้วลอมรอบ เต็มไปดวยเครื่องตนี ํ้า บางแหงดูแหงแลงและบางรายท่เี ลิกเลี้ยงกุง ปลอยพ้ืนท่ีรางไมนาดู สงผลตอสภาพแวดลอมของชมุ ชนดวยเชนกัน การปลูกตนไมในฟารม และพ้ืนท่วี างตางๆในฟารม ชวยใหฟารม กุงดูรมรืน่ ไมแหง แลงตนไมช ว ยคลุมดิน ปองกันการพังทลายของดินตามแนคันบอและถนนในฟารมได เม่ือเกิดฝนตกหนักและลมแรงอยูเสมอ นอกจากนั้นหากเลือกปลูกตนไมท่ีใหดอกผลที่บริโภคได ก็ชวยลดคาใชจายดานซื้อหาอาหารในฟารมไดมาก บางแหงอาจขายผลผลติ จากตนไมท่ีปลูกไวใ นฟารม เปน รายไดเสริมไดอีกดวย การท่ีฟารมกุงชวยกันฟนฟูความรมร่ืน สวยงาม สบายตา ใหกลับคืนสูชุมชน เสมือนหนาบานนมอง และในบานเชียวรมร่ืน สะดาดตา ไรขยะ มลพิษของเสียตางๆ ทําใหฟารมกุงดูเปนมิตรกับส่ิงแวดลอมมากขึ้น และสรา งภาพพจนท่ีดใี นสายตาผูสงออก ผูน ําเขา และผบู ริโภคกุง ทงั้ ในประเทศและตางประเทศวา กงุ ทบี่ ริโภค ถกู ลี้ยงมาจากบอทีส่ ะอาด ผานการเลี้ยง การบําบัดทีด่ ี ไรม ลพิษ สงิ่ ปนเปอ น และสารเคมีใดๆ เกษตรกรเอาใส ใจตอสภาพแวดลอมอยางแทจริงชวยเปลี่ยนภาพพจนจากฟารมเลี้ยงกุงที่มีร้ัวรอบขอบชิด มีน้ําเนานํ้าเสีย ดิน ตะกอนเลนดําๆ ขยะเกล้ือนพ้ืนที่ แหงแลง ไมมีตนไม ขาดความรมรื่น มาเปนฟารมเล้ียงกุงสีเขียวสะอาดตา (Clean-Green Shrimp Farm) ได การฟน ฟูชวยสรา งความตา งใหกงุ ไทย และมุงสูความยัง่ ยืนได Differentiation to Sustainability) บริษัทเลี้ยงกุงรายใหญของมาเลเซียไดเนนกระบวนการบําบัดน้ําท้ิงจากโรงเพาะฟกลูกกุงและบอเลีย้ ง กงุ รวม 264 บอ กอ นนําไปหนุนเวยี นใชใหมหรอื ระบายทิ้งลงสูแหลงน้ําธรรมชาตกิ ระบวนการบาํ บัดดังกลาวใช เวลา 12 วัน มีพ้ืนท่ีบําบัด เคร่ืองมือ และบุคลากรพรอม เพื่อใหไดคุณภาพทิ้งจากโรงเพาะฟกกุง (ถือวาเปน แหงแรกของโลก) และบอกุงตามมาตรฐานของกรมควบคุมส่ิงแวดลอมมาเลเซีย โดยเนนวาการดําเนินงาน ดังกลาวเปนยกระดับมาตรฐานการเล้ียงกุงของมาเลเซีย (Raising the bar in Malaysia) เปนไปตามคําขวัญ ของบริษัท “Quality/Safety/Ecology” เพื่อสรางคุณคาท่ีเหมาะสมอยางยั่งยืน (sustainability ticket) และ

12 การเลยี้ งก้งุ 12 เนนสรางภาพพจนอุตสาหกรรมการเลี้ยงกุงของมาเลเซียวาใหความสําคัญและใสใจตอสิ่งแวดลอมสงผลให ผลผลิตกุงสง ออกเปน ทย่ี อมรับในระดบั สากล สําหรับไทยเราเอง จําเปนที่เราตองบําบัดและฟนฟูท้ังนํ้า และดิน รวมทั้งสภาพแวดลอมฟารมอยาง จริงจังและตอเนื่อง เพ่ือใหคุณภาพกุงของเราท่ียอมรับกันทั่วโลกวามีคุณภาพดีนั้น มีความแตกตาง (differentiation) ชัดเจนจากประเทศคูแขงขันท่ีผลิตกุง ก็เช่ือวาการเล้ียงกุงของเราจะยั่งยืนตอไปได กุงไทย ยงั คงเปน อาหารทะเลฟรีเม่ียมสนองความตองการของผูบริโภคทีม่ ีกําลังซื้อทั้งในประเทศและตา งประเทศไดอีก ยาวนาน โดยเฉพาะกุงไทยท่ีผานกระบวนการฟนฟูดังกลาวนอกจากไดสรางความแตกตางเฉพาะตัว ไมเ หมือนกบั กงุ ทัว่ ไปของประเทศอื่นแลว ยงั ชวยเพิ่มและตอกยํ้าภาพพจนท ่ดี ีสําหรบั กงุ ไทยใหม ากขน้ึ อกี ดว ย การฟนฟูสภาพแวดลอมของฟารมในชุมชน ยังชวยสรางและรักษาความรักในอาชีพเลีย้ งกุงท่ีเปนมติ ร กับส่ิงแวดลอมของเกษตรกรอยางตอเนื่อง และสงเสริมการไดมีสวนรวมในการชวยกันพัฒนาชุมชนในพ้ืนที่ เลี้ยงกุงนั้น โดยไมถือวาฟารมเล้ียงกุงเปนพื้นท่ีแปลกแยกของชุมชนและสรางความนาอยูรวมกันในชุมชนที่ รักษาไวซง่ึ ความเขียวสะอาดจากตน ไมท รี่ วมดว ยชว ยกันปลกู และดูแลรักษาอยูต ลอดไป

การเลี้ยงกุง้ 13 13 ชนดิ ของกุง 8 ชนิดทีส่ ําคญั ทางเศรษฐกจิ กุงขาววานาไม อนุกรมวธิ าน ชื่อวทิ ยาศาสตร : Litopenaeus vannamei Phylum Arthropoda Class Crustacea Subclass Malacostraca Superorder Eucarid Ecarida Order Decapoda Suborder Natantia Section Penaeidea Family Penaeidae Genus Penaeus Litopenaeus Species vannamei ชือ่ วิทยาศาสตรข องกุงขาววานาไม กุงขาวลิโทพีเนียส แวนนาไม เปนสายพันธุกุงทะเลท่ีมีการเพะเล้ียงกันอยางแพรหลายในหลายประเทศ เชนสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก กัวเตมาลา นิคารากัว คอสตาริกา ปานามา โคลัมเปย อิควาดอร เปรู กุงสายพันธนุ ี้ เปนสัตวท่ีมีความแข็งแรงและทนทานจึงมีการขยายพันธุตามธรรมชาติไดกวางไกล ในแถบแนวชาย ฝง ตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟก ต้ังแตเม็กซิโกถึงเปรู เน่ืองจากภูมิภาคในแถบน้ีท่ีระดับความลึกจากเสนแนว ชายฝงลงไปประมาณ 72 เมตร หรือ 235 ฟุต มีพ้ืนทองทะเลเปนเหมือนโคลนท่ีเหมาะสมแกการเจริญเติบโต และเปนแหลงอาหารท่ีอุดมสมบรู ณ ประเทศอิควาดอรเปนประเทศผูผลิตรายใหญที่มีฟารม เพาะเล้ียงกงุ ลูกกุง พอ -แมพ นั ธุ ลกั ษณะของกุง ขาววานาไม ลักษณะท่ัวไปของกุงขาวลิโทพีเนียส แวนนาไม ลําตัวมี 8 ปลองและมีสีขาว หนาอกใหญ การเคลื่อนไหวเร็ว สวนหัวมี 1 ปลอง มีกรีอยูในระดับยาวประมาณ 0.6 เทาของความยาวเปลือกหัวสันกรีสูง ปลายกรีแคบ สวนของกรีมีลักษณะเปนสามเหลี่ยมมีสีแดงอมน้ําตาล กรีดานบนมี 8 พัน กรีดานลางมี 2 ฟน รองบนกรี มองเห็นไดชัด เปลือกหัวสีขาวอมชมพูถึงแดง ขาเสนมีสีขาวเปนลักษณะท่ีโดดเดน หนวดแดง 2 เสนยาว ตาแดงเขม สวนตัวมี 6 ปลอง เลือกตัวสีขามอมชมพูถึงแดง เปลือกบาง ขาวายนํ้า 5 คู มีสีขาวขางในท่ีปลายมี สีแดง สวนหางมี 1 ปลอง ปลายหางมีสีแดงเขม แพนหางมี 4 ใบ และ 1 กรีหาง ขนาดตัวท่ีโตสมบูรณเต็มท่ี

14 การเลย้ี งกุ้ง 14 ของกุงสายพันธุนี้จะมีขนาดที่เล็กกวา กุงกุลาดํา หากินทุกระดับความลึกของนํ้า ขอบวายลองนํ้าแกงลอกคราบ เร็วทุก ๆ สัปดาหไมห มกตวั แหลง ทอี่ าศัย กุงขาวแปซิฟกเปนกุงท่ีเล้ียงไดท้ังระบบธรรมชาติ และระบบกึ่งหนาแนน ลักษณะพิเศษของกุง สายพันธุน้ีคือสามารถสรางความคุยเคยหรือปรับลักษณะนิสัยภายใตระบบการเพาะเล้ียงได เชน สามารถทํา การเพาะเล้ียงไดท้ังในนํ้าท่ีมีระดบั ความเค็มท่ี 5-35 สวนในพันสวน และระดบั ความเค็มต่ํา 0-5 สว น แตระดับ ความเค็มท่สี ามารถเจริญเติบโตไดดี คือ 10-22 สว นในพนั สวน สวนอุณหภมู ิทีส่ ามารถเจริญเติบโตดีคือ 26-29 องศาเซลเซียส กงุ กลุ าดาํ อนกุ รมวธิ าน กุงกุลาดาํ หรอื กุงมา ลาย (อังกฤษ: Tiger prawn; ช่อื วทิ ยาศาสตร: Penaeus monodon[2]) เปน กุง ทะเล ขนาดประมาณ 18 - 25 เซนตเิ มตร มขี นาดใหญทสี่ ดุ ในวงศ Penaeidae มีอนกุ รมวธิ าน ดงั นี้ Phylum - Arthropoda Class - Crustacia Subclass - Malacostraca Order - Decapoda Suborder - Dendrobranchiae Superfamily - Penaeoidea Family - Penaeidae ชอื่ วิทยาศาสตรข องกุงกลุ าดํา กุงกุลาดําเปนกุงทะเลที่มีขนาดใหญท่ีสุดในตระกูล Penaeidae มีชื่อทางวิทยาศาสตรแตกตางกัน หลายช่ือตามนักวิทยาศาสตรที่คนพบ แตที่เปนท่ียอมรับกันทั่วไป คือ Penaeus Monodon Frabricius และ มีชื่อภาษาอังกฤษท่ีองคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) ใชอยูคือ Giant Tiger Prawn สวนแหลงกําเนิดด้ังเดิมอยูในทะเลแถบอินโดแปซิกฟกตะวันตก อัฟริกาตะวันออกและตะวันตกเฉียงใต และ คาบสมุทรอินเดีย ลักษณะของกุงกุลาดําวัยรุนอาศัยตามปากแมนํ้า และเม่ือเต็มวัยชอบอาศัยในทะเลที่มีพื้นท่ี มีโคลนปนทราย ระดับความลึกไมเกิน 110 เมตร กุงกุลาดําชอบฝงตัวในเวลากลางวันและหากิน ในเวลากลางคนื วางไขไดตลอดท้ังป แตว างไขชุกชมุ ระหวางเดือนพฤษภาคมถงึ เดอื นธันวาคม ในแถบนํา้ กรอย กินอาหารไดทั้งพืชและสตั วมคี วามแขงแรงและทนทาน

การเลีย้ งก้งุ 15 15 ลกั ษณะของกุงกงุ ลาดํา กุงกุลาดํามีหนวดลายจางมากไมเดนชัด แกมอยูในแนวระนาบ และสันท่ีอยูสองขางโคนกรี ยาวเกือบ ถึงฟนกรีอันหลังสุด ซึ่งมีสันแนวขางเฉียงช้ีไปทางนัยนตา นอกจากนี้มีลักษณะอื่น ๆ ท่ีเดนชัดคือ ลําตัวสีแดง อมน้ําตาลถึงน้ําตาลเขม เปนเปลือกเกลี้ยงไมมีขน มีลายพาดขวางดานหลังประมาณ 9 ลาย และสีออกน้ําตาล เขมขางแถบสีขาว ดานบนของกรีมีฟน 6-8 ซี่ ดานลางมี 2-4 ซ่ี ขอบปลายหางและขาวายน้ํามีขนสีแดง และมี ขนาดตัวประมาณ 18 - 25 เซนติเมตร สันกรียาวเกือบถึงคาราเปส มีสันตับ (Hepatic Crest) ยาวตรงขนาน ไปกับลําตัว หนวดยาวสีดําไมมีลายชัดเจน ขาเดินมีสีแดงปนดํา ขาวายนํ้ามีสีนํ้าตาลปนน้ําเงิน โคนสีขาว ขาเดนิ คูทหี่ า ไมม ี exopod แหลงทอ่ี ยอู าศยั กุงกุลาดําอาศัยอยูทั่วไปในทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบแพรกระจายท่ัวไปในอาวไทย แตจะพบมาก บริเวณเกาะชาง บริเวณนอกฝงจังหวัดชุมพรถึงจังหวัดนครศรีธรรมราชและทางฝงมหาสมุทรอินเดีย (ทะเลอันดามัน) บริเวณนอกฝงของจังหวัดภูเก็ต และจังหวัดระนอง ชอบอาศัยอยูในบริเวณท่ีมีพ้ืนดินเปนทรายปนโคลน สวนแหลงกําเนิดด้ังเดิมอยูในทะเลแถบอินโดแปซิกฟกตะวันตก อัฟริกาตะวันออกและตะวันตกเฉียงใต และ คาบสมุทรอินเดีย ลักษณะของกุงกุลาดําวัยรุนอาศัยตามปากแมน้ํา และเม่ือเต็มวัยชอบอาศัยในทะเลที่มีพื้นท่ี มีโคลนปนทราย ระดับความลึกไมเกิน 110 เมตร กุงกุลาดําชอบฝงตัวในเวลากลางวันและหากินในเวลาคืน วางไขไดตลอดทั้งป แตวางไขชุกชุมระหวางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม ในแถบน้ํากรอยกินอาหารได ทงั้ พืชและสัตวมีความแขง็ แรงและทนทาน กุงลอ็ บสเตอร อนกุ รมวิธาน Phylum Arthopoda Subphylum Crustacea Clas Malacostraca Order Decapoda Suborder Astacidea Family Nephropidae ชีววิทยา ลอ็ บสเตอร (Lobster) เปน สตั วทะเลน้ําเค็มขนาดใหญ ลกั ษณะลาํ ตัวจะมสี ีดาํ ปนแดง[1]ช่ือของกุงชนิด นี้มาจากคําในภาษาอังกฤษสมัยโบราณวา Loppestre เปนคําสมาสของคําภาษาละตินวา Locusta แปลวา ตั๊กแตน และ Loppe ในภาษาอังกฤษ ท่ีแปลวา แมงมุม ล็อบสเตอรเปนสัตวขาปลอง สายพันธุที่เปน ที่รูจักกันดีท่ีสุดคือล็อบสเตอรย ุโรปกับล็อบสเตอรอเมริกา เจริญเติบโตดวยการลอกคราบ เน่ืองจากฟนที่ใชบด อาหารในกระเพาะอาหาร เปนสวนหน่ึงของโครงกระดูกภายนอก จึงจําเปนตองดึงเอาเน้ือเยื่อของลําคอ กระเพาะ และทวารหนกั ออกมาดว ย แตไมใชทุกตัวทจี่ ะรอดชวี ิตจากกระบวนการลอกคราบน้ี[2] นอกจากนแี้ ลว ล็อบสเตอรย งั ถอื วาไดว า เปนครสั เตเชยี นท่มี ีอายยุ นื ยาวท่ีสดุ ดว ย มีอายุขัยโดยเฉล่ีย 100 ป[ 3]

16 การเลยี้ งกุง้ 16 กุง เครยฟ ช กุงกามแดง อนกุ รมวิธานของกงุ เครยฟ ช Phylum Arthopoda Subpylum Crustacea Class Malacostraca Order Decapoda Suborder Pleocyemata Family Astacoidea Parastacoidea ชวี วิทยาของกงุ เครยฟช เครยฟช หรอื หรือ ล็อบสเตอรนาํ้ จดื (องั กฤษ: Crayfish, Crawfish, Freshwater lobster, Crawdad, Mudbug, Freshwater yabby) เปนกุงนํ้าจืดจําพวกหน่ึง มีรูปรางโดยรวมลําตัวใหญ เปลือกหนา กามใหญ แลดูแข็งแรง มีถ่ินกําเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ, ทวีปยุโรป, โอเชียเนียและบริเวณใกลเคียง เชน อีเรียนจายา และ เอเชียตะวันออก ปจจุบันมีการอนุกรมวิธานเครยฟชไปแลวกวา 500 ชนิด ซ่ึงกวาครึ่งนั้นเปนเครยฟชท่ีมี ถิ่นกําเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ แตก็ยังมีอีกหลายรอยชนิดท่ียังไมไดรับการอนุกรมวิธาน อีกทั้งหลายชนิดยังมี ความหลากหลายทางสสี ันมากอีกดว ย ลกั ษณะท่วั ไปของกุงเครยฟ ช รางกายเครยฟชนั้นแบงออกไดเปน 3 สวน คือ สวนหัว สวนกลาง หรือ ทอแร็ก คือสวนท่ีมีขา ใชสําหรับเดิน สวนสุดทายคือ สวนทองซึ่งเปนสวนท่ีมีเนื้อเยอะมากท่ีสุด ซึ่งสวนหัวกับสวนกลางนั้นเช่ือมติด รวมกันเปนช้ินเดียว เรียกวา เซฟาโลทอแร็ก (ขอมูลบางแหลงอาจระบุวาเครยฟชนั้นมีลําตัวเพียง 2 สวนก็ได) ทั้งตัวน้ันจะถูกหุมดวยเปลือก หรือ คาราเพซ ซึ่งทําหนาท่ี 2 อยาง คือ ใชสําหรับปกปองลําตัว และเปนท่ีตั้ง ของอวัยวะหายใจ คือ เหงือกที่มีลักษณะคลายขนนกอยูใกลบริเวณปาก ซึ่งเปนสวนสําคัญในระบบหายใจ คือ เปนทางผานของน้าํ เพอื่ ใหนาํ้ ไหลผา นชอ งเหงือกน่นั เอง การกําเนดิ หลักฐานของซากดึกดําบรรพของเครยฟชมีมาอยางยาวนานมากกวา 30 ลานป ลวนแตเปนของ หายาก แตโพรงซากดึกดําบรรพมีการตรวจพบจากช้ันหินเกาแกจากยคุ ปลายพาเลโอโซอิกหรือตน ยุคมโี ซโซอิก หลกั ฐานเกาแกท ่ีสดุ ของวงศ Parastacidae พบในออสเตรเลียมคี วามเกา แกก วา 115 ลานป

การเล้ยี งกุ้ง 17 17 กงุ กามกราม อนกุ รมวิธาน กุงกามกรามหรือ กุงกามคราม (อังกฤษ : Giant Malaysian prawn; มีช่ือทางวิทยาศาสตรวา Macrobrachium rosenbergiide Man เปนกุงนํา้ จดื ชนดิ หนึ่ง อยใู นวงศ Palaemonidae มอี นุกรมวธิ านดงั นี้ Phylum Arthropoda Cass Crustacean Order Decatoda Trbe Caridea Family Palaemonidae Genus Macrobrachium Species Macrebrachium rosenbergii (de Man) ชวี วิทยาของกุงกามกราม กุงกามกรามมีชื่อเรียกหลายชื่อเชนกุงนาง, กุงหลวง, กุงกามเกลี้ยง, กุงแห, กุงใหญเปนสัตวท่ีอยูใน phylumArthropoda Class Crustacea SubclassMalacostraca มีชื่อทางวทิ ยาศาสตรวา Macrobrachium rosenbergii De man มีชอ่ื สามญั เรยี กวา Giant Freshwater Prawn กุงกามกรามเปน กุงนํ้าจดื ที่มีขนาดใหญ ของประเทศไทย ตัวโตที่สุดเทาท่ีเคยพบมีความยาวจากหัวถึงหางประมาณ 25 เซนติเมตร หนัก 470 กรัมพบ ทจ่ี ังหวดั พระนครศรีอยุธยา ลักษณะทัว่ ไป ลักษณะภายนอกโดยท่ัวไปของกุงกามกราม กุงกามกรามมีลําตัวเปนปลอง สวนหัวและอกคลุม ดวยเปลือกชิ้นเดียวกัน สวนของลําตัวมีลักษณะเปนปลองๆมี 6 ปลองกรีมีลักษณะโคงขึ้นมีลักษณะหยัก เปนฟนเล่ือยโดยดานบนมีจํานวนระหวาง 13 - 16 ช่ีดานลางมีจํานวนระหวาง 10-14 ชี่โคนกรีกวางและ หนากวา ปลายกรียาวถึงแผนฐานหนวดคูที่ 2กุงกามกรามมีหนวด 2 คู หนวดคูแรกสวนของโคนหนาแบงเปน 3 ขอปลอง ปลองท่ี 3 แยกเปนเสนหนวด 2 เสน หนวดคูท่ีสองยาวกวาหนวดคูที่หน่ึงแบงเปน 5 ขอปลอง ความยาวของแผนฐานหนวดคูท่ีสองยาวเปน 3 เทาของความกวางแผนฐานหนวดคูท่ีสองขาเดินของ กุงกามกรามมี 5 คู โดยขาคูหนึ่งและที่สอง ตรงปลายมีลักษณะเปนกาม สวนคูที่สามสี่ หาตรงปลายมีลักษณะ เปนปลายแหลมธรรมดา ขาเดินคูที่สองที่มีลักษณะเปน กามน้ันถาเปน กุงตัวผูจ ะมีลักษณะใหญมากโดยทั่วๆ ไป สวนของกามทําหนาที่ในการจับอาหาร ปอนเขาปากและปองกันศัตรู ขาวายของกุงกามกรามมี 5 คูสวน แพนหางมีลักษณะแหลมตรงปลายดานขางเปนแพนออกไป 2 ขาง ลักษณะของสี สีของกุงกามกรามโดยท่ัวไป มีสีนํ้าเงินอมเหลืองโดยเฉพาะขาเดินคูท่ีเปนกามและสวนของลําตัวมีสีนํ้าเงินเขม ปลายขามักเปนชมพูอมแดง แพนหางตอนปลายมีสชี มพอู มแดงทวั่ ๆ ไป

18 การเลีย้ งก้งุ 18 แหลงที่อยูอาศัย กุงกามกรามอาศัยในแหลงน้ําจืด ซ่ึงมีทางน้ําไหลติดตอกับนํ้าทะเล จึงสามารถดํารงชีพไดทั้งใน น้ํากรอยและนํา้ จดื เคยมีชุกชมุ ในแมนํา้ เจาพระยา แมน าํ้ ทา จีน แมน้าํ บางปะกง ทางภาคใตพบทแ่ี มนํ้าปตตานี แมน้ําตาป โดยเฉพาะในทะเลสาบสงขลาและพัทลุง มชี กุ ชุมมากที่สุด ความอุดมสมบูรณของกุงกามกราม ในแหงน้ําธรรมชาติมีจํานวนลดลง เนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ เชน การทําการประมงมากเกินควร การทําการประมงผิดวิธี ปญหาจากมลภาวะตางๆ การเพิ่มข้ึนของประชากรดังน้ัน การเพาะเล้ียงเพ่ือชดเชย จากธรรมชาติ ไดพ ฒั นาการขึ้นมาตามลําดบั ทาํ ใหการเลีย้ งกงุ กามกรามเปนอาชพี หน่ึงซ่งึ ทํารายได กงุ แชบว ย อนุกรมวธิ าน กุงแชบวย (อังกฤษ: Banana shrimp; ชื่อวิทยาศาสตร: Fenneropenaeus merguiensis อดีตใช Penaeus merguiensis) เปนกุงธรรมชาติ ที่เติบโตในทะเล แตสามารถกักเก็บไดตามริมชายฝง เราเรียกวา วังกุง บริเวณ มหาชยั แมก ลอง สมุทรปราการ เปนตน กินแพลงตอนเปน อาหาร และมอี ุกรมวธิ านดังน้ี Phylum Arthopoda Subphylum Crustacea Order Decapoda Suborder Dendrebranchiata Family penaeidae Genus Fenneropenaeus Species F.merguiensis ชวี วทิ ยาของกุงแชบวย กุงแชบวย มีลําตัวคอนขางเรียวยาว หัวคอนขางเล็กความยาวของหัวประมาณคร่ึงหนึ่งของ ลาํ ตัว นยั นต าโต กรมี ีปลายเรียวแหลมโคนกรีมลี กั ษณะเปนรูปสามเหล่ียม ปลายกรจี ะยาวเลยปลายกา นหนวด คูท ี่ 1 เล็กนอ ย ขอบบนและลา งหยกั เปนฟน เล่ือย ขอบดา นบนมีฟน 7-8 ซ่ี ขอบดา นลางมฟี น 4-5 ซ่ี ลาํ ตัวมสี ขี าว อมเหลืองออน และมีจุดสีนํ้าตาล สีเขียวแกและเขียวออน กระจายอยูทั่วไปสันบนปลองทองและกรีมีสีน้ําตาล ปนแดง โคนกรีมีสีดํา หนวดคูท่ี 2 มีสีนํ้าตาลแดงไมมีลาย ขาเดินและรยางควายน้ํามีสีเหลืองออกน้ําตาล ปลายของขาวายน้ําสีแดงเร่ือๆ แพนหางใหญมีสีแดง แหลงอาศัยมักอยูบริเวณพ้ืนทะเลท่ีเปนดินโคลน ความลึกของนา้ํ ระหวาง 16-25 เมตร

การเลีย้ งกงุ้ 19 19 ลกั ษณะของกงุ แชบวย กุงแชบวย มีลําตัวคอนขางเรียวยาว หัวคอนขางเล็กความยาวของหัวประมาณคร่ึงหนึ่งของลําตัว นัยนตาโต กรีมีปลายเรียวแหลมโคนกรีมีลักษณะเปนรูปสามเหลี่ยม ปลายกรีจะยาวเลยปลายกานหนวดคูที่ 1 เล็กนอย ขอบบนและลางหยักเปนฟนเลื่อย ขอบดานบนมีฟน 7-8 ซ่ี ขอบดานลางมีฟน 4-5 ซ่ี ลําตัวมีสีขาว อมเหลืองออน และมีจุดสีน้ําตาล สีเขียวแกและเขียวออน กระจายอยูท่ัวไปสันบนปลองทองและกรีมีสีนํ้าตาล ปนแดง โคนกรีมีสีดํา หนวดคูท่ี 2 มีสีนํ้าตาลแดงไมมีลาย ขาเดินและรยางควายน้ํามีสีเหลืองออกนํ้าตาล ปลายของขาวายน้ําสีแดงเรื่อ ๆ แพนหางใหญมีสีแดง แหลงอาศัยพักอยูบริเวณพื้นทะเลท่ีเปนดินโคลน ความลกึ ของนํา้ ระหวา ง 16-25 เมตร แหลง ท่อี ยอู าศยั บริเวณพื้นทะเลท่เี ปน ดนิ โคลน ความลึกของนํา้ ระหวา ง 16-25 เมตร กุงตะกาด ชื่อสามัญ GREASY –BACK SHRIMP ชอื่ วทิ ยาศาสตร: Metapenaeus affinis อนกุ รมวธิ านของกุงตะกาดหิน Phylum Arthopoda Subphylum Crustacea Class Malacostraca Order Decapoda Suborder Dendrobranchiata Family penaeidae Species M.affinis ชีววิทยาของกุงตะกาดหนิ กุงตะกาด (ช่ือวิทยาศาสตร: Metapenaeus affinis) อยูในวงศ Penaeidae เปนกุงขนาดกลาง กรยี าวตรง มีฟนดานบน 8-9 อัน ดานลางไมมีฟน สันทา ยกรยี าวประมาณรอ ยละ 75 ของเปลอื กหัว สันทป่ี ลอง ทองตั้งแตปลองท่ี 4-6 สวนกลางของอวัยวะเพศเมียรูปวงรี ดานขางโคงและยกตัวสูงขึ้นสี น้ําตาลออน กรีและ รยางคต าง ๆ สนี ้ําตาลแดง บางตัวมสี แี ดงบรเิ วณดา นลา งของสว นหวั รยางคแ ละแพนหางสีแดงคลา้ํ

20 การเล้ยี งกุ้ง 20 ลักษณะท่ัวไป ลักษณะของกุงตะกาดหิน ลําตัวยาวมีสีเทาออน มีจุดสีน้ําเงินกระจายอยูขางตัว กรีและเปลือกหัว มีสีจางโคนกรีมีสัณฐานเปนสามเหลี่ยมดานบนของกรีมีฟน 8-10 ซี่ ดานลางเรียบ หางสีฟาเขียวปนแดง สวนลักษณะที่นับวา แตกตางจากุงตะกาดในสกุลเดียวกัน คือ กรีของกุงตะกาดหินจะมีลักษณะเรยี วยาวเชดิ ขน้ึ เลก็ นอ ย หางไมม หี นาม และสันทอ่ี ยจู ากโคนกรีจะเปนสีขาวจรดขอบหลงั ถ่ินอาศัยแหลงทพ่ี บ พบชุกชมุ ในแมน าํ้ -ลาํ คลองแทบทุกจงั หวัดในเขตอา วไทย ทง้ั ในนา้ํ จืดและนา้ํ กรอย กงุ้ เหลอื งหา้ งฟ้ า ชือ่ สามัญภาษาองั กฤษ BLUE TAIL YELLOW SHRIMP ชือ่ วิทยาศาสตร Penaeus latisulcatus ชวี วิทยาของกุงเหลืองหางฟา กุงทะเลชนดิ Penaeus latisulcatus ในวงศ Penaeidae ขนาดเลก็ กวา กุงกลุ าดาํ ลาํ ตัวสีเหลืองปน น้ําตาล ขอบของสวนทองสีมวง แพนหางสีฟา, กงุ เหลอื งหางฟา ลกั ษณะทั่วไป ลักษณะของกุงเหลืองหางฟา เปนกุงทะเลท่ีมีลําตัวสีเหลือง โคนขาวายน้ํามีลายสีนํ้าตาลแดงเปน แถบ สั้น ๆ อาจมีจุดสีแดง 3 จุด อยูดานขางของลําตัว ปลายแพนหางสีฟา กรีมีฟนดานบน 10-11 ซ่ี ดานลาง 1 ซี่ มรี อ งขางกรีและท่ีโคนกรเี หน็ ไดช ัดเจน กุงเหลอื งเปนกุงที่มีขนาดใหญ ถ่ินอาศยั แหลง ทีพ่ บ กุงเหลือหางฟาเปนกุงที่ชอบอาศัยอยูตามพ้ืนทรายหรือทรายปนโคลน และตามโขดหิน ชุกชุมทาง ฝง ตะวันออกของอาวไทย

การเล้ยี งก้งุ 21 21 บทปฏบิ ตั ิการที่ 1 เรอ่ื ง ชีววทิ ยาของกุง และการวางผังฟารม กุงเปนส่ิงมีชีวิตที่อาศัยอยูในน้ําจืดถึงน้ํากรอยและนํ้าเค็มซ่ึงและนํ้าท่ีกุงอาศัยอยูจึงมีอิทธิพลตอ การสรา งวางผังรูปแบบของฟารม เพื่อใหเ หมาะสมกบั ชวี วิทยาของกุง จุดประสงค 1. เพอื่ ศึกษาชวี วทิ ยาภายนอกภายในของกงุ 2. เพื่อศกึ ษาการวางผงั ออกแบบการทําฟารม เลีย้ งกุง อปุ กรณ 1. ตัวอยางกงุ น้ําจดื น้าํ เค็ม 2. กลอ งสํารวจ 3. สายวดั วธิ กี าร 1. ใหนกั เรยี นแบง กลุม ๆ ละ 3-4 คน 2. ใหน กั เรียนแตละกลุมสํารวจพ้ืนทบ่ี อ เล้ยี งกงุ ในสถานศกึ ษา จดบันทกึ ขอมูลลกั ษณะของบอ พรอ มวาดภาพประกอบ 3. ใหนกั เรียนวาดภาพชีววทิ ยาภายนอกของกงุ พรอมวาดภาพประกอบ บอ ที่ แบบรายงานการสํารวจพนื้ ที่ทําฟารม รูปแบบของบอ กลุมที.่ ..........ชน้ั .........วันที.่ ............................................. ขนาดของพน้ื ท่/ี บอ ภาพบอ สว นภายนอกกงุ สวนประกอบ

22 การเลยี้ งกงุ้ 22 ภาพวาด คําถามทายบท 1. บอกหลกั การเลีย้ งกงุ 2. อธบิ ายความหมายและหนาทีข่ องคําตอไปน้ี 2.1 Carapace คอื ........................................................................หนาท.่ี .......................................... .............. 2.2 Pleopod คอื ........................................................................หนาท.ี่ ........................................................ 2.3 Uropod คอื ........................................................................หนาท.่ี ........................................................ 3. อธบิ ายความสมั พันธการออกแบบฟารมกับการอนุรักษส่ิงแวดลอ ม ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................

บทที่ 2 การบเตทรทยี่ี 2มบอ่ การเตรยี มบอ การเตรียมบอกอนปลอยลูกกุงสําหรับบอใหมเพื่อการเล้ียงครั้งแรกหรือการเตรียมบอหลังจากจับกุง ในแตละครั้ง เพ่ือใหพ้ืนกนบอสะอาดเหมาะสมกับการเล้ียงในครั้งตอไป แตละฟารมและแตละพื้นท่ีจะมี การเตรียมบอท่ีแตกตางกันออกไปขึ้นกับ ลักษณะของดินพื้นบอ เชนดินเปนกรด ดินทราย ดินลูกรัง หรือ ดินเหนยี วแขง็ และความสะดวกดา นอื่นๆ ดวย หลังจากจับกุงแตละรอบสวนใหญจะมีการตากบอใหแหงแลวใชรถตักดินกลางบอออกไป โดยอาจจะ เอามาอัดไวท่ีมุมบอ บนคันบอหรือเก็บไวในพ้ืนท่ีเก็บเลนภายในฟารมแลวปรับระดับบอใหเรียบเตรียมพรอม สาํ หรับการเลี้ยงตอ ไป บางพ้ืนที่ไมใชการตากบอ แตใชวิธีการฉีดเลนหลังจากจับกุงเสร็จเรียบรอยแลวโดยไมตองรอให พื้นบอแหง ท่ีเห็นไดบอย คือ พ้ืนท่ีทางภาคระวันออกในจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด รวมทั้งพื้นที่อื่นๆ ที่อยูในบรเิ วณปาชายเลนทางภาคใตการเตรยี มบอในลักษณะเชนนีส้ ิ้นเปลืองเวลานอยและประหยดั แตผ ลเสีย จะเกิดตามมามาก ถาหากมีการฉีดเลนและปลอยของเสียงสูแหลงน้ําสาธารณะจะทําใหคุณภาพน้ําเนาเสีย ในเวลาตอมามีผลตอการเล้ียงกุงในบริเวณนั้นดวย ดังน้ันการเตรียมบอโดยวิธีการฉีดเลนจะตองมีพื้นท่ีบอ เก็บเลนภายในฟารม อยางเพียงพอ การเตรียมบออีกแบบหนึ่งไมมีการนําเลนออกจากบอแตจะมีการไถพรวนใหดินที่อยูชั้นล างข้ึนมา สมั ผสั อากาศและแดดเปน เวลานานพอเพียงท่จี ะทําใหด ินชั้นลา งเปลย่ี นจากสดี ําเปนสปี กติแลวมกี ารปรับระดับ อดั ดินใหแนนตามเดมิ พรอมสาํ หรับการเลีย้ งครงั้ ตอ ไป มคี วามจําเปน หรือไมท ี่จะตอ งเตรียมบอทกุ คร้ังโดยเอาเลนออกหรือฉีดเลนหลงั จับกุงแลว เปนคําถามท่ีเกษตรกรสวนใหญยังของใจวา ถาไมเตรียมบอหรือไมเอาเลนออกจะเล้ียงกุงไดระยะ เวลานานตามปกตปิ ระมาณ 120 วันหรือไม กอนอ่ืนตองมาพิจารณาวาเลนกลางบอหลังจากจับกุงจะมีมากบางนอยบางขึ้นอยูกับลักษณะของ ดินกนบอ ถาเปนดินที่มีการพังทลายจากขอบบอและคันบอจากแรงของกระแสน้ําจากการเปดเคร่ืองใหอ ากาศ จะทําใหดนิ เลนกลางบอมปี ริมาณมาก แตถ า เปน ดนิ ลูกรังหรือดนิ เหนียงแข็ง ปรมิ าณเลนกลางบอจะมีนอยมาก สําหรบั ดนิ ทรายตะกอนจากซากแพลงกตอน เศษอาหารและสานอินทรยี ต า งๆ จะแทรกตวั อยใู ตพ ื้นบอในระดับ ที่ลึกมากกวาบอที่มีพื้นแข็ง การเลี้ยงกุงมักจะมีปญหาตองจับกุงกอนกําหนด เนื่องจากพ้ืนบอเนาเสีย ในระดับ ลางลงไปจะมสี ดี าํ มาก แตเมอ่ื จับกุงจะไมพบเลนกลางบอมาก เพราะการแทรกตวั อยใู ตท รายพ้ืนบอโดยทว่ั ไป จากการวิเคราะหเ ลนกลางบอซึ่งมักจะมสี ดี ํา พบวา มสี วนประกอบของดนิ ทราย ดนิ รวนและดินเหนียว ในเปอรเซ็นตที่แตกตางกันไป ซึ่งรวมกันแลวประมาณ 98 เปอรเซ็นต สวนสารอินทรียจะมีประมา ณ 1-2 เปอรเซ็นต เทานั้นเอง ซึ่งไมไดแตกตางจาการนําเอาดินปกติมาวิเคราะหมากนัก แตดินเลนเหลาน้ีมีสีดํา เนื่องจากอยูในภาวะขาดออกซิเจนและมีกลิ่นเหม็น เน่ืองจากใชเครื่องใหอากาศเพื่อทําความสะอาดพื้นบอ ความแรงของน้ําจะกัดเซาะขอบบอ และพ้ืนบอใหดินตะกอนตางๆหลุดออกมารวมกันกลางบอ หลังจากตาก บอใหแหงจนดินเลนเหลานี้แตกระแหง อากาศแทรกตัวเขาไปในดินเลนไดดินเลนเหลานี้จะมีสีจางลงจนเปน สีของดินปกติ เกษตรกรมักจะคิดวาดินเลนกลางบอคือข้ีกุงเปนสวนใหญ แตความจริงแลวขี้กุงและสารอินทรีย ตางๆ มีในปรมิ าณที่เพ่มิ ข้ึนจากดินปกติเพยี งเลก็ นอยเทานั้น หลังจากจับกุงถาเปนพ้ืนบอแข็ง เชน ดินลูกรังหรือดินเหนียว พื้นบอในแนวหวานอาหารสะอาด เปนบริเวณกวางและปริมาณเลนกลางบอมีไมมาก ไมมีความจําเปนที่ตองตักเอาเลนออกทุกคร้ัง เพียงแตตาก บอใหแหงเทาน้ันก็พรอมท่ีจะเตรียมน้ําสําหรับปลอยลูกกุงตอไปได แตถามีฝนมากไมสามารถจะตากบอให

24 การเลี้ยงกงุ้ 24 แหงได หลังจากจับกุงเสร็จแลวเติมน้ําเขาไปในบอไมตองเต็มบอ เติมจุลินทรียในบริเวณเลนกลางบอเพ่ือ ยอยสลายสารอินทรียตางๆท่ีหลงเหลืออยูโดยเปดเครื่องใหอากาศเต็มท่ีอยางตอเน่ืองประมาณ 2 สัปดาห เม่ือคุณภาพนํ้าอยูในระดับปกติ คือสีน้ําไมเขม แอนโมเนียอยูในระดับปกติก็พรอมท่ีจะเตรียมนํ้าสําหรับปลอย ลูกกุงตอ ไป แตควรจะปลอยลูกกงุ ในปรมิ าณท่ีนอ ยกวาเลยี้ งรอบทีผ่ า นมา ประโยชนของการไมเอาเลนออก คือ ไมตองเสียเวลานานในการเตรียมบอประหยัดคาใชจายสีนํ้า จะเกิดเร็วขึ้นและนิ่งเร็วกวาการเอาเลนออกทุกคร้ัง สามารถลดการใชวัสดุปูนและปุยได นอกจากน้ําจะทําให คา อลั คาไลนอ ยใู นระดบั ทีส่ งู ตะกอนแขวนลอยตางๆลดลง บอที่มีตะกอนกระจายท่ัว บอแล ะมีปริมาณเลนมากเนื่ องจากลั กษณะของดินพ้ืนบอไมแนนหรือ เน่ืองจากเคร่ืองใหอากาศไมสามารถรวมเลนตะกอนตางๆ ได ผลการเลี้ยงมักจะไดผลไมดี หลังจากจับกุงแลว ควรจะทําการปรับปรุงสภาพพ้ืนบอโดยการตากบอใหแหงเอาเลนที่กระจัดกระจายออกปรับระดับพื้นบอใหม ควรจะนําเลนกลางบอลบมุมบอใหปานมากข้ึนเพื่อจะทําใหการใชเคร่ืองใหอากาศมีประสิทธิภาพมากข้ึน รวมเลนไดดขี ึ้นดวย บอท่ีมีเลนพื้นบอมาก เพราะคันบอดินไมแนน เม่ือปดเครื่องใหอากาศจะชะเอาดินขอบบอโดยรอบ เขามากระจายในบอทําใหพ้ืนบอมีเลนมาก อาจจะตองปลูกหญายึดเกาะดินปองกันการพังทลายกัดเซาะดิน ลงมาในบอ บางฟารมมีการนําพลาสติกมาปูคลุมเฉพาะบริเวณขอบบอ ปองกันการพังทลายแลถูกกระแสนํ้า กดั เซาะดินลงไปในบอ ก็สามารถลดปริมาณตะกอนและเลนในบอ ไดม าก การเตรียมบอท่ีเหมาะสมกบั สภาพพนื้ ดนิ อาจจะเลือกโดยใชวิธีการดงั น้ี ดินเหนียวแข็ง หลังจากจับกุง เลนรวมดกี ลางบอ เลนมีไมมาก ตากบอแหงกเ็ พยี งพอ ดินเหนียงปนทราย เลนออก ตากบอใหแหง ปรับระดับใหม บดอัดใหแนนหรือใชวิธีการฉีดเลนโดยมี บอเกบ็ กักเลน ดินลูกรังพ้ืนแข็ง ตากบอใหแหงไมตองเอาเลนออกเลี้ยงตอไปไดเลย หรือจะใชการฉีดเลนเอาตะกอน ทีช่ น้ั ลางออกไป โดยมบี อ เก็บเลน ดินทราย ไถพรวนทั้งบอใหลึกลงไปจนถึงระดับท่ีมีสีดํา ตากบอใหแหง ปรับระดับบอใหมและอัดบด ใหแนน หรือจะใชว ธิ ีการฉดี เลนใหต ะกอนสีดาํ ท่อี ยูใ นระดับลางออกไปและเกบ็ ไวใ นบอเกบ็ เลน การเตรียมบอท่ีกลาวมาทั้งหมดนี้มักจะพบไดท่ัวไปในหลายพ้ืนท่ี นอกจากนั้นบางฟารมจะมี การดดั แปลง นอกเหนอื จากทก่ี ลาวไปแลว คือ ขุดกลางบอเปนแองกระทะไวรวมเลน ขอควรระวังอยาใหแองลึกเกินไป ตองประเมินใหความลึกและ ขนาดของแองพอดีกับตะกอนเลนทีมารวมกันเมื่อตอนจับกุง ถาแองลึกหรือมีขนาดใหญเกินไป เม่ือจับกุงเลน ยงั ไมเ ตม็ แอง กุงจะคา งอยูในแองเปน จาํ นวนมากตองเสยี เวลาสูบน้าํ ออกเพื่อจบั กงุ การเตรียมวัสดุอปุ กรณ วสั ดอุ ปุ กรณสําคัญท่ีใชใ นการเลีย้ งกุงในปจ จุบนั หลกั ๆ มีดังน้ี 1. วสั ดุปูน 2. เคมภี ณั ฑเ ตรียมน้ํา 3. เครื่องใหอากาศ

การเลี้ยงก้งุ 25 25 วสั ดปุ นู ท่ีนาํ มาใชใ นการเลีย้ งกงุ วสั ดปุ นู เปน สารประกอบออกไซด (O) ไฮดรอกไซด (OH) และคารบอเนต (CO3) ของธาตุ Ca และ Mg สามารถแบงเปน กลุม ไดด งั น้ี 1. ปนู เผากลุม ออกไซด เกดิ จากการเผาปูนชนิด CO3 ท่ีอณุ หภูมิประมาณ 900 ๐C ปฏกิ ิริยาท่เี กิดขึ้น จะเปน ดังนี้ เผา CaCO3 CaO + CO2 900 ๐C เผา CaMg (CO3)2 CaO + CO2 + MgO 900 ๐C 2. ปนู เผากลุม OH เปน ปูนกลุม O ผสมกบั นาํ้ ทาํ ใหเกิดปฏิกริ ยิ าท่รี ุนแรง ควรใชอยา งระมดั ระวงั 3. ปนู กลุม CO3 ปูนกลุม นี้ ไดแ ก ปนู แคลไซด (CaCO3) ปนู โคโลไมท (CaMg(CO3)2) บดละเอียด แต การสลายตวั ชา มาก โดยเฉพาะปนู โดโลไมท หรอื อาจจะเรยี กวาปนู เยน็ ดังนัน้ การใชป นู ใหถ ูกตองตามความตอ งการนับวาสําคัญอยา งย่งิ สําหรับการเลี้ยงกุง การทีแ่ นะนาํ ใหใช ปูนเผาหรอื ปนู รอนมีเหตผุ ลอยู 2 ประการคอื 1. ปูนเผา (Burnt lime) มีอํานาจการทําลายความเปนกรดไดดีกวา ปูนบด (ปูนเย็น) ดูไดจากตาราง ที่ 3.1 ดังนนั้ จึงสามารถปรบั สภาพดินพ้ืนบอ หรอื นา้ํ ที่เปนกรดไดดีกวา เร็วกวา 2. เม่ือปูนเผาละลายในน้ําจะใหคา pH ของน้ําท่ีสูงข้ึนมาก (ระดับ 11-12) ซ่ึงคา pH จะคงอยูใน ระดบั สงู ประมาณ 2-3 วัน เทาน้นั กจ็ ะลดลงเปนปกติ ขอ ควรจาํ การทํา pH ของดินใหอยูระดับ 7 น้ัน จะทําใหสารอินทรียยอยสลายไดโดยงาย และวัสดุปูนถือเปน สงิ่ จําเปนในการสรา งคา pH ของดนิ และนํ้า ตารางท่ี 3.1 คา ทาํ ลายความเปนกรด (% เมอ่ื เทียบกบั ปูนขาว) ชนิด 100 179 หินปนู บด (CO3) 136 ปนู เผา CaO 109 ปูนขาว (CaCOH2) 80 ปนู โดโลไมท (CaMg(CO3)2) ปูนมารล (CaCO3) ผสมดนิ เหนียว

26 การเลย้ี งก้งุ 26 ตารางที่ 3.2 แสดงปริมาณปนู ขาวที่ใชปรบั ระดับความเปน กรดของดนิ pH ของ ปริมาณปูนขาว (กิโลกรัม/พืน้ ท่ี 1 ไร) กอ นการใช พเี อส (pH) ของดนิ หลงั การใชป นู ปนู ขาว 7.9 7.8 7.7 7.6 7.5 7.4 7.3 7.2 7.1 7.0 5.7 145 130 115 100 88 75 58 44 30 15 5.6 200 180 160 140 120 100 80 40 40 20 5.5 325 260 258 220 195 160 130 97 65 33 5.4 465 420 370 325 278 323 186 140 93 47 5.3 545 490 436 380 327 273 217 164 110 55 5.2 712 562 500 438 375 312 250 188 125 63 5.1 705 635 565 490 424 353 283 210 142 70 5.0 806 326 645 656 484 403 323 242 162 81 4.9 1,050 956 840 735 630 525 420 315 210 105 4.8 1,075 968 862 752 645 538 430 323 215 108 4.7 1,130 1,026 907 790 678 565 452 340 226 113 คณุ สมบัตบิ างประการของเคมีภัณฑที่นยิ มใชในการเลย้ี งกุง กลุ าดํา คลอรีน เปนสารเคมีท่ีมีคุณสมบัติในการออกซิไดสท่ีดีและยังสามารถฆาเช้ือโรคไดดวยรูปสารประกอบของ คลอรีนที่ใชก นั คอื 1. คลอรีนผง หรือ แคลเซยี มไฮโปคลอไรท (Ca(OCl)2) 2. คลอรนี แกส 3. คลอรนี นา้ํ แคลเซยี มไฮโปคลอไรท 4. โซเดยี มไฮโปคลอไรท (Na(OCl)2) 5. คลอรนี ไดออกไซด (ClO2) รปู ท่ีเหมาะในการใชในบอกุงอยูในรูปแคลเซียมไฮโปคลอไรท และโซเดยี มไฮโปคลอไรท ซงึ่ จะเปนผงสี ขาวละเอยี ดละลายนํ้าได เมอ่ื คลอรนี ผงทง้ั สองรปู ละลายน้ําจะเกดิ การแตกตัวตามสมการเคมีตอไปนี้คือ (Ca(OCl)2) + 2H2O 2HOCl + Ca(OH)2 (Na(OCl) + H2O HOCl + NaOH Cl2 + H2O HOCl + H+ + Cl- HOCl H+ + OCl- รปู คลอรนี ทที่ ําหนา ท่ใี นการออกซไิ ดซไดคอื รปู ไฮโปรคลอรัสแอซิด (HOCl) สว นรูปท่ีจะฆา เชือ้ ไดสงู กวา HOCl และ OCl- แตรูปของ HOCl จะฆาเช้ือไดสูงกวา OCl- 80 เทา การใชคลอรีนในสภาพที่เปนกรดสูง (พีเอช ต่ํากวา 7) จะเกิดรูป HOCl มากกวา OCl- คลอรีนออกฤทธ์ติ อ สิ่งตา งๆ ไดอ ยางรนุ แรงโดยเฉพาะสารอนิ ทรยี ในนาํ้ คลอรีนทาํ ลายสิ่งมีชีวิตตางๆไมว าจะเปน ไขปลา ไขหอย โปรโตซวั เชอ้ื รา แบคทเี รยี ไวรัส ปจจุบันเกษตรกรทั่วไปนิยมใชคลอรีนในอัตรา 30-50 กิโลกรัมตอไรที่น้ําลึก 1 เมตร ซ่ึงเทียบได ประมาณ 15-20 พีพีเอ็ม ระดับความเขมขนนี้มีผลตอการทําลายส่ิงมีชีวิตและเชื้อโรคในนํ้า ถานํ้านั้นไมมี ตะกอนแขวนลอยมากหรือสารอินทรยี ม าก

การเลยี้ งกงุ้ 27 27 ใชค ลอรีนผงทรตี น้าํ กอนปลอยกุง คลอรีนออกฤทฺธ์ิไดดี ที่พีเอชต่ํา 7-8 ในชวงเวลาที่มีแสดงแดดนอ ย พีเอชสูงไมควรใชคลอรนี เน่ืองจาก คลอรีนมีคุณสมบตั เิ ปนสารออกซิไดซอยางแรง ดงั นน้ั จงึ สามารถออกซไิ ดซสารไดหลายชนดิ -ถาใชคลอรีนในน้ําท่ีมีแอมโมเนีย (NH3) คลอรีนจะออกซิไดซแอมโมเนียใหอยูในรูปของคอมไบน คลอรีนหรือเรียกวา คลอรามนี NH2Cl , NHCl2 NCl3 ซ่งึ มคี วามเปนพษิ กบั สัตวนํ้าและกงุ ถา นํ้ามีความกระดาง นอย และพเี อชตาํ่ จะทําใหค วามเปนพิษของคลอรามนี มคี วามรนุ แรงมากขึน้ -คลอรนี สามารถออกซิไดซโฮโดรเจนซลั ไฟด (แกสไขเ นา) ไดด งั สมการ H2S + Cl2 + 2H2O 2Cl- + 4H+ + S + 2OH- -คลอรนี จะออกซิไดซเหลก็ อิออนบวกสอง Fe2+ ไดเ ปน Fe3+ ซึ่งเปน รูปทไ่ี มค อ ยไปเกิดปฏิกิริยา กับสารตวั อื่นใหเ ปน พษิ ตอสตั วนาํ้ -คลอรนี จะออกซไิ ดซ ไซยาไนท (CN-) เปนสารไมมพี ษิ ดงั สมการ CN- + Cl2 + H O 2HCl + CNO- -คลอรีนจะออกซิไดซสารอินทรียพวกข้ีกุงหรือเศษอาหาร โดย HOCl จะออกซิไดซสารอินทรีย จนสุดทา ยไดเปนคารบ อนไดออกไซด (CO2) นอกจากความสามารถในการออกซิไดซสารตางๆแลว คลอรีนยังสามารถฆาเชื้อแบคทีเรียปรสิตตางๆ ท้ัง ส่ิงมีชีวิตขนาดเล็กเชนแพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตวรวมท้ังพาหะตางๆท่ีนําเชื้อไวรัส หากใชคลอรีน ในการปรับปรุงคุณภาพนํ้าในบอพักนํ้าจะสามารถฆาเช้ือตางๆในนํ้า ทําใหน้ําท่ีใชเล้ียงกุงมีความปลอดภัยตอ การเกดิ โรคตางๆได ปริมาณการใช ในกรณีเพ่อื ทรีตน้ําสําหรับโรงเพาะฟกจะใชคลอรีนผง Ca(OCl2) 60 มิลลิกรมั ตอ นาํ้ 1 ตนั สําหรับการใชในบอเลี้ยงกุงน้ันจะใชประมาณ 30-50 กิโลกรัมตอไรเพ่ือเตรียมน้ําและกําจัดพาหะ นําเช้ือดวงขาวและหัวเหลอื ง ซ่ึงเกษตรกรผูที่ใชคลอรีนในการเตรียมบอน้ันตองพักน้ําไวอยางนอย 7 วัน จึงจะ ปลอยลูกกุง ได อีกทั้งยังใชคลอรีนผงในปริมาณ 100 กรัมถึง 500 กรัมตอไร (1-5 –ขีดตอไร) เพ่ือลดปริมาณแพลงก ตอน (ความเขมของสีนา้ํ ๗ ในบอ ขณะมกี ุงแลว ฟอรมาลิน เปนสารเคมีท่ีใชกันมานานในการเพาะเล้ียงสัตวนาํ้ และกุงของประเทศไทย สําหรบั กาํ จัดปรสิตจําพวก โปรโตซวั หลายชนดิ ฟอรมาลินประกอบดวยสวนผสมของฟอรมาลดีไฮด (CH2O) ความเขมขน 37-40% ผสมอยูกับเมทธา นอล 12-15% เพื่อปองกันการเปล่ียนรูปเปนพาราฟอรมาลดีไฮตสีขุนขาวซ่ึงมีพิษมากกวาฟอรมาลินและไมใช

28 การเลย้ี งกุ้ง 28 ใสในน้ําท่ีมีสัตวน้ําอยู ฟอรมาลินเปนสารท่ีอยูในรูปสารละลานใส ไมมีสีสังเกตไดเพราะมีกล่ินฉุนทําใหเกิด การแสบจมกู และตาไดเม่ือสัมผัสกับไอของสาร ในปจ จุบันนฟี้ อรมาลินสามารถนํามาใชในการปอ งกนั และแกปญ หาตา งๆในการเลย้ี งกงุ กุลาดาํ คอื -กรณีบอเล้ียงท่ีมีสีน้ําเขมและนํ้ามีพีเอชสูง สามารถใสฟอรมาลิน 3 ลิตรตอไร ในชวงเย็นประมาณ 5 โมงเยน็ ในบรเิ วณทายลม แลวใสอ กี ชว งหนงึ่ ตอน 1-2 ทมุ เกษตรกรสมารถใสฟอรม าลนิ ได 2-3 วนั ติดตอกัน สีน้าํ จะจางลงและพเี อชน้ําจะลดลงตามตองการ -กรณีกําจัดซูโอแทมเนียมในโรงเพาะฟก โดยใสฟอรมาลินดวยความเขมขน 40 พีพีเอ็ม กอนการแพ็ค ลูกกงุ ขาย 6-12 ชัว่ โมง จะสามารถลดปริมาณซโู อแทมเนียมได -กรณีตองการคัดลูกกุงออนแอออก กอนปลอยลูกกุงในบอเลี้ยงจะใชฟอรมาลิน 60 ซีซีตอน้ํา 400 ลิตร แชลกู กงุ นาน 30 นาที -สําหรับการใชฟอรมาลินเพ่ือกระตุนใหกุงปวยท่ีเปนโรคดวงขาวลอยข้ึนมา หรือลดปญหาซูโอแทม เนียมบนตัวกุง รวมทั้งการควบคุมปริมาณแบคทีเรียในนํ้า การใชฟอรมาลินในปริมาณที่แนะนําคือ 25 สวน ในลา นสว น(พีพีเอม็ ) หรอื ปรมิ าณ 40 ลิตรตอ ไรน า้ํ ลกึ 1 เมตร ใชไดเ ฉพาะในบอ ท่ีมนี ้าํ ความเคม็ ปกตมิ ีเคร่ืองให อากาศเต็มที่ ตองเปด เครื่องใหอากาศติดตอกันอยางนอย 48 ช่ัวโมง ในกรณฉี ุกเฉินตองมนี ํ้าไวเติมดว ย หา มใช ความเขมขน สงู ระดบั นใี้ นบอกุงท่ีเล้ยี งดวยความเค็มตํ่าหรอื บอท่ีมีเคร่ืองใหอากาศนอ ย โพวโิ ดนไอโอดนี โพวิโดนไอโอดีน มีลักษณะเปนผงสีนํ้าตาลแดงละลายน้ําจะไดสารละลายสีเดียวกันหรือออกเหลือง ถามคี วามเขมขน ตํา่ มีการใชโ พวิโดนไอโอดนี ในวงการแพทยม าเปน เวลานานตลอดมาเพื่อฆาเชื้อโรคที่ตดิ ตอกับ เครื่องมือแพทยหรือเพ่ือฆาเชื้อทั่วไป รวมท้ังมีการใชในวงการเลี้ยงสัตวบกและสัตวปก เร่ิมมีการนําเขามาใช ในวงการเพาะเลย้ี งกุง กลุ าดาํ หลงั เบนซัลโคเนยี มคลอไรดเ ล็กนอ ย โพวิโดนไอโอดีนมีฤทธิ์ในการฆาเชื้อโรคท่ัวไป โดยเฉพาะไดมีการใช ทําความสะอาดบอกอนการเลี้ยง คอนขางแพรหลาย ปริมาณท่ีใช คือ 0.6 ถึง 1 พีพีเอ็ม หรือประมาณ 1 ถึง 1.6 กิโลกรัม ของโพวิโดนท่ีเปนผง หรอื 1 ถึง 1.6 ลิตร ในกรณีทีเ่ ปนสารละลาย ในบอ เน้ือที่ 1 ไร นํา้ ลกึ 1 เมตร ซาโปนิน (Saponin) และกากชา ซาโปนินเปนสารเคมีท่ีพบในพืชประมาณ 400 ชนิด ที่กระจายอยูทั่วโลก พืชบางชนิดสะสมซาโปนิน ที่เปลือกบางชนิดสะสมมากท่ีเมล็ด ในประเทศไทยมีการใชชาโปนินจากกากเมล็ดชาสําหรับกําจัดปลาในบอ เล้ียงกุงทะเลอยางไดผล และใชกันอยางแพรหลาย เนื่องจากซาโปนินมีความเปนพิษตอปลามากกวากุงทะเล หลายเทาจึงสามารถใชชาโปนินกําจัดปลาในบอที่มีกุงอยูโดยไมเปนอันตรายตอกุงท่ีเลี้ยง ชาโปนินเปนสาร ท่ีสลายตัวงาย และจะเสื่อมพิษภายใน 7-15 วัน ซาโปนินความเขมขนระดับ 25-100 พีพเอ็ม ซ่ึงสามารถ ฆา ปลาไดโ ดยไมเ ปน อันตรายตอ กงุ ทเี่ ลย้ี ง ซาโปนินมีคุณสมบัติท่ีเปนพิษตอสัตวเลือดเย็นมากกวาสัตวเลือดอุนและจะเปนพิษกับสัตวท่ีมี เลือดแดง มากกวาสตั วท่ีมีเลือดสีน้าํ เงนิ ประสิทธิภาพของกากชาในประเทศไทยมักใชในรูปของกากชา ซึ่งกากชาจะมีชาโปนินอยู 12-15 เปอรเ ซน็ ต ประสิทธิภาพของกากชาและชาโปนินจะลดลงตามความเค็มของนํ้าท่ีลดลงอัตราการใชกากชา คือ 20-30 กโิ ลกรัมตอไร น้าํ ลึก 1-2 เมตร ถาความเค็มตาํ่ กวา 15 พีพีที

การเลี้ยงกงุ้ 29 29 เม่อื เกษตรกรจะใชก ากชาในการเบอ่ื ปลาหรอื ฆา ปลาในบอนั้น ควรนํากากชามาแชใ นนา้ํ เค็มประมาณ 6 ชวั่ โมง เพ่อื ใหชาโปนนิ ออกมากอนทีจ่ ะไปใสใ นบอกงุ เพ่ือฆา ปลา คอปเปอร คเี ลทติ้ง เปน ผลติ ภัณฑของคอปเปอรที่ถูกคเี ลทใหอ ยูในรปู ของคอปเปอรอ ัลคาโนลามีนคอมแพล็กซ ทาํ ใหมี ความคงตัวสงู และใหผ ลในการใชไ ดดี ไมกอใหเ กิดมลภาวะ ลักษณะทีน่ ํามาใชในบอ เลี้ยงกงุ -ใชกําจัดสาหราย ตะไครนํ้าท่ีมีมากเกินไป ซึ่งจะเปนตัวกอใหเกิดการขาดออกิเจนในบอหรือเขาไป เกะตามเหงอื ก รยางค และตัวกงุ ทาํ ใหก งุ ออ นแอ ลอกคราบไมออก -ใชคมุ สนี ํ้าปองกนั การเกิดน้ําเขยี วเขมจดั ชว ยกระตนุ การลอกคราบ ขนาดและวิธใี ช -กําจดั สาหรายขนาดเล็กและแพลงกต อนพชื ที่แขวนลอยในนา้ํ ใช 0.2-0.5 พพี ีอ็ม -กําจดั สาหรายขนาดใหญแ ละสาหรายเสน ใย 0.5-1.0 พพี เี อ็ม วิธีการใชสารเคมีดังกลาว ผูใชควรนํายา 1 สวน มาเจือจางโดยนํามาละลายในนํ้า 10-20 สวน กอน แลว จงึ นําไปสาดใหทวั่ บอ เปด เคร่อื งใหอากาศทิ้งไวเพ่ือใหต ัวยากระจายท่ัวถึง โดยใชในชวงเชา ในวนั ท่มี ีแดดจา ขอควรระวังหลังจากการใชในแตละคร้ังควรเปดเคร่ืองใหอากาศเต็มท่ีติดตอกันเพื่อใหแนใจวาไมมี ปญหาการขาดออกซิเจนเนื่องจากแพลงกตอนไมสังเคราะหแ สง แตสีนํ้ายังเปน ปกตกิ ุงที่อยูในระยะใกลจับขาย ไมค วรใชส ารเคมีในบอ การเตรยี มบอ ดวยวสั ดุปูพ้นื พีอี 100% การซอมแซมผายางพีอที ี่ชํารดุ

30 การเลี้ยงกุ้ง 30 ฉีดนํา้ ทาํ ความสะอาดพนื้ บอ ใชว สั ดุปูนซีเมนตเททบั รอยขาดตามแนวพน้ื บอกรณีทีชํารุดมากๆ เพอื่ ประหยดั คาใชจา ยในการซลี

การเล้ยี งก้งุ 31 31 การเตรยี มและประกอบเครื่องใหอ ากาศสําหรบั บอ เล้ียงกุง

32 การเลีย้ งกุง้ 32 นาํ นาํ้ ท่ีผา นการฆา เชอ้ื เขาบอเลยี้ งระดบั ความลกึ ประมาณ 1 เมตร ถงึ 1.2 เมตร

การเล้ยี งก้งุ 33 33 ลักษณะหลุมกลางบอดักจับของเสียของการเล้ยี งกงุ ในปจจบุ นั

34 การเล้ยี งกุง้ 34 บทปฏบิ ตั ิการท่ี 2 เร่ือง การเตรียมบอ และวสั ดอุ ปุ กรณการเลีย้ งกงุ บอท่ีใชในการเลี้ยงนั้น มขี นาดรูปรา งแตกตางกันไปตามความเหมาะสมของพ้นื ที่ และความพรอมของ ผูทําฟารม เพื่อใหเหมาะสมกับวัสดุอุปกรณท่ีมีอยู ฉะน้ันผูเรียนตองเขาใจหลักการปฏิบัติที่ถูกตองเหมาะสม และตองฝกฝนปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ใหเกดิ ทกั ษะในการทํางานอยา งเปนขัน้ เปน ตอน จดุ ประสงค 1. บอกลักษณะรปู แบบทีเ่ หมาะสมของบอเลยี้ งกงุ ได 2. บอกอุปกรณท ี่ใชในการเลยี้ งกงุ ได 3. เตรยี มบอ และตดิ ตง้ั อุปกรณภ ายในบอเลี้ยงได อุปกรณ 1. บอเลยี้ งขนาด 1.5 ไร 1 บอ 2. อปุ กรณตีนาํ้ 3. เคร่อื งสูบนํ้า 4. มอเตอร 3 HP 5. ตูควบคุมระบบไฟฟา 6. เครื่องมือชา ง วธิ ีการ 1. นักเรียนรว มกับปฏิบัตกิ ารเตรียมบอ กอ นปลอ ยกุง 2. นักเรยี นแบง กลมุ กันปฏิบัติการเตรยี มอปุ กรณทใ่ี ชเ ล้ยี ง 3. นกั เรยี นรว มกันปฏบิ ตั ิประกอบอปุ กรณต ีน้าํ โดยใชเครอ่ื งชา ง 4. นกั เรียนรวมกันประกอบเครอ่ื งสบู น้ํา โดยใชเคร่อื งมอื ชาง 5. นกั เรียนรว มกันปฏบิ ัตศิ ึกษาระบบตคู อนโทรลมอเตอร

การเลีย้ งกุ้ง 35 35 แบบบนั ทึกการปฏบิ ัติงาน 1. วัสดทุ ใ่ี ชใ นการเตรียมบอ 1.1 1.2 1.3 1.4 2. ลักษณะของบอเล้ียง ขนาดพ้ืนที่ กวา ง..........................ม. ยาว............................ม. ลกึ .............................ม. รปู รา งของบอ................................................................................... 3. บนั ทกึ ขั้นตอนการทาํ งาน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. ส่ิงที่ตองระวังเกี่ยวกบั ความปลอดภัยในการปฏิบัติ .............................................................................................................................................. ................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ........................................... 5. เครอื่ งมือทใ่ี ชใ นการปฏบิ ตั งิ าน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................... ......... คาํ ถามทา ยบท 1. บอกขนาดมอเตอรทีใ่ ชในการประกอบเคร่ืองตนี ํ้า 2. จะคาํ นวณหาขนาดพื้นทข่ี องบอ 3. อธิบายขน้ั ตอนการเตรียมบอ 4. ขอ ควรคาํ นึงถึงความปลอดภัยในฟารม มีอะไรบาง

36 บทท่ี 3 การคบัดทเลท่ีอื 3กพันธ์กุ ้งุ การคดั เลอื กพนั ธกุ งุ ลกู กงุ จาการทร่ี าคากงุ ตลอดป 2543 นอี้ ยูในระดับสูงมาก เมอื่ เปรียบเทยี บกบั ปกอนๆและธรุ กิจอน่ื ๆประสบ ปญหาการขาดทุน ทําใหฟารมเลีย้ งกุงกลุ าดํามีการขยายตัวมาก เกิดปญ หาลกู กงุ ขาดแคลนเน่ืองจากแมพันธุกุง มีจํานวนไมเพียงพอในขณะที่มีการปลอยลูกกุงกันอยางหนาแนน เน่ืองจากราคากุงขนาดเล็กมีราคาสูง ปญหา ทพ่ี บโดยทวั่ ไปในป 2543 คอื 1. ลูกกุงมีอตั ราลอดตํา่ ปลอยแลวกงุ ไมตดิ พบโดยทว่ั ไปแทบทุกแหง 2. กุงโตชา โดยสภาพรวมแลว แทบทุกพื้นที่กุงโตชา ในปจจุบันนี้ตอ งยอมรบั วา ลูกกุงมีคุณภาพไมดีเหมือนเม่ือสิบกวาปที่แลว ทําไมจึงเปนอยางน้ัน สาเหตุ มาจากหลายๆอยา งทเี่ ก่ียวของกันพอจะอธบิ ายไดด งั น้ี ในยุคแรกๆที่มีการเล้ียงกุงกุลาดําแบบพัฒนา ไมมีไวรัสเอ็มบีวี(MBV) และไวรัสเอชพีวี(HPV) ไวรัส สองชนิดน้ีอยูเซลลตับและตับออน มีผลการทํางานของตับและตับออนทําใหอัตรารอดและการเจริญเติบโต ของกุงลดลง สิบกวาปที่แลวแมพันธุกุงราคาตัวละ1,000 บาท อารมีเมียโหลละ 2,000 บท แตลูกกุงตัวละ 30 สตางค (ลูกกุงพี 17-20) ปลอยลูกกุง 100,000 ตัว เลี้ยงนานประมาณ 120 วัน จะจับกุงไดขนาดประมาณ 30-35 ตวั /กก. และผลผลติ ประมาณ 2,500 กิโลกรัม ปจจุบันนี้แมกุงตัวละ 5,000-8,000 บาท อารทีเมียโหลละกวา 20,000 บาท แตลูกกุงตัวละ 14 สตางค (พี12-13) ปลอยลูกกุง 100,000 ตัว เลี้ยงนาน 120 วัน จะจับกุงไดขนาดประมาณ 50-60 ตัว/กก. และผลผลิตประมาณ 500-1,000 กโิ ลกรมั คงจะเห็นความแตกตางแลว ถาผลผลิตการเลี้ยงยังอยูในลักษณะเชนน้ีตอไปเม่ือไรราคากุงลดลง มามาก เกษตรกรผูเลี้ยงกุงจะตองประสบปญหาการขาดทนุ อยางแนน อนธุรกิจนี้จะเปนอยางไร ทําอยางไรจะทําใหลูกกุงมีคุณภาพใกลเคียงกับแตกอน เปนคําถามที่ผูเกี่ยวของทุกฝายโรงเพาะฟก ผูเ ลยี้ งและหนวยงานวจิ ยั ตางๆ ตอ งเรง หาทางแกไข กอ นทอ่ี ตุ สาหกรรมกุง ของไทยจะเกิดปญหา โรงเพาะฟกจะผลิตลูกกุงคุณภาพไดเหมือนเดิมหรือไม ถึงไมไดเหมือนเดิมแตขอใหดีกวาที่เปนอยู ในขณะนี้ก็จะทําใหทุกอยางดีข้ึนแตผูเล้ียงกุงตองยอมรับวาราคาลูกกุงที่ผานมาในบานเราถูกมาก จนโครงเพาะฟก ไมสามารถผลิตลูกกุงคุณภาพได ถาทาํ ใหล ูกกุงคุณภาพดีขน้ึ ราคาก็ตอ งยตุ ธิ รรมตอโรงเพาะฟก ดวย ลูกกุงนับเปนปจจัยท่ีมีความสําคัญอยางยิ่งตองปลอยอยางหนาแนนเผื่อตายมาก เพราะลูกกุงคุณภาพดี อัตรารอดจะสงู การเจริญจะเปน ปกติ การเล้ียงกไ็ มใชเวลานานมากจะเปน การลดตนทนุ ไดมากกวา การใชล ูกกุง ราคาถกู แตหาความแนนอนไมไดทาํ ใหการวางแผนการผลติ ทําไดย าก ปน้ีเร่ิมมีการพูดถึงปญหาตางๆจากลูกกุงมากกวาทุกป ผูประกอบการเองก็ไมไดน่ิงนอนใจ จะเห็นได จากมกี ารสมั มนาและจดั ตงั้ ชมรมขน้ึ มาเพื่อระดมความคิด หาทางแกไขเก่ียวกบั คุณภาพลกู กงุ และอนบุ าลลูกกุง ทะเลจงั หวัดฉะเชิงเทรา คอื คุณบรรจง นสิ ภาวณิชย มคี วามตงั้ ใจจรงิ ท่ีจะทําใหอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงกุง กุลาดําไทยยั่งยืน ความรูประสบการณดานการเพาะฟกลูกกุงมาเปนเวลาชานาน และถือไดวา เปนมือหนึ่งของ วงการเพาะลูกกุงของเมืองไทย จะทําใหผูประกอบการโรงเพาะฟกตางๆใหความรวมมืออยางจริงจังท่ีจะมี การพฒั นาคุณภาพลูกกุงใหด ขี ้ึนในขณะที่ผเู ลี้ยงเองกต็ องยอมรับราคาทสี่ มเหตสุ มผลดว ย ควรมีการวิจัยถึงการใชอาหารชนิดอ่ืนทดแทนอารทีเมียหรือสดั สวนที่เหมาะสมของอารทีเมียท่ีจําเปน จรงิ ๆ ในการนุบาลลกู กงุ

การเลี้ยงกุ้ง 37 37 ในอนาคตอันใกลงานวิจัยตางๆท่ีกําลังมีการวิจัยกันอยางจริงจังในขณะน้ีเพ่ือท่ีจะนําเอาแมพันธุท่ีมา จากการคัดพันธใหไดสายพันธุท่ีโตเร็วและปลอดเชื้อไวทดแทนแมกุงจากธรรมชาติ โดยเฉพาะในชวงที่แมกุง ชาดแคลนและในระยะท่ีมีปญหาโรคดวงขาวใชวงปลายปของทุกป หวังวาแมกุงจากโครงการวิจัยตางๆ จะสามารถทดแทนแมกุงจากธรรมชาติเปน จํานวนมากเหมือนกบั ท่ีเปนอยใู นขณะนี้ หลักในการเลอื กซอ้ื ลูกกุง 1. เกษตรกรควรเดินทางไปโรงเพาะฟกดวยตนเอง เลอื กดคู วามสะอาดของโรงเพาะฟกน้ันๆ เพราะถา โรงเพาะฟกแหงน้ันมีความสะอาดถูกสขุ ลักษณะลูกกุงที่ไดจากการผลติ ของฟารมเพาะนี้ก็นาจะมีสุขภาพดีและ ความสะอาดเชน กนั แตถ าฟารมเพาะน้ันมีความสกปรกมากแลวเราจะมนั่ ใจไดอยา งไรวา กงุ ที่มาจากฟารมเพาะ ดังกลา วน้ันจะใหลูกกงุ ท่ดี ีกับเรา 2. เครอื่ งมือทีใ่ ชใ นการเพาะอนบุ าลตองมคี วามสะอาด 3. เปดบอเพาะลูกกุงแลวดูวามีลูกกุงตายอยูท่ีกนบอหรือไม ถามีลูกกุงตายที่กนบอความหมายคือ ลกู กุง บอ นีอ้ อ นแอ ไมค วรเอา 4. ใหเกษตรกรสังเกตสีของสายใหอากาศในบอเพาะ วาสายอากาศสวนที่อยูเหนือน้ํากับใตน้ํา สีเดียวกันหรือไม ถาพบวาสายอากาศเสนเดียวกันสีของสายเหนือนํ้ากับใตน้ําไมเหมือนกันเชนเหนือน้ําสีขาว แตในน้ํามีสีมวงหรือแดง หรือสีน้ําเงินเปนตน แสดงวาลูกกุงบอน้ีไดถูกใชยาบอย (ดองยา) บอดังกลาวเราจะ ไมเอาเปน อนั ขาด 5. ตกั ลกู กงุ ใสแกว ดูลักษณะดังตอไปนี้ -ลูกกุงในแกวตองวานนํ้าแบบกุงคือทุกตัวตองวายนาํ้ ปกติ(ควํ่าหนาวาย) ถากุงท่ีตักมาพบวามีการ วา ยแบบนอนหงาย(กรรเชยี ง)หรอื วาพลกิ ตวั ไปพลิกตัวมาแสดงวากงุ ในบอ ออนแอ -ลําตัวลูกกุงตองสะอาด มีอาหารเตม็ ลําไส 6. ดูหนวดคูหนาของลูกกุงถาแข็งแรงตองหุบชิดกัน แตถากุงมีปญหาหรือออนแอหนวดคูดังกลาว จะแยกออก 7. ทดสอบความแข็งแรงลูกกุงโดยการดักเฉพาะลูกกุงมา 20-30 ตัวมาใสภาชนะท่ีบรรจุน้ําจืดไว เชนชามหรอื กะละมงั เล็ก ทิ้งไวป ระมาณ 30 นาที (ครงึ่ ชั่วโมง) แลวดูลูกกงุ นั้นหากตายมากกวา 10 เปอรเซ็นต แสดงวาไมแ ข็งแรง 8. หากสามารถดูพอแมก ุงได แมก งุ ทใี่ ชเพาะฟกควรมีขนาด 10 น้วิ ขนึ้ ไป โดยวดั จากปลายกรีถังปลายหาง หมายเหตุ ควรจะปลอยลูกกุงอยางนอยพี 15 สําหรับผูที่จะเลี้ยงที่ความเค็มต่ํา หรือลูกกุงมีขนาดความยาว 1.3-1.5 เซนติเมตรหรือแพนหางแตก 5 แฉก อัตรารอดจะสุงกวาลูกกุงขนาดเล็กเชน พี8-10 แตสําหรับผูที่ ปลอยลูกกุงมีความเค็มสูงปกติ ลูกกุงเล็กกวาพี 15 ก็พอใชไดและอัตรารอดก็จะสูงกวาปลอยลูกกุงดังกลาวที่ ความเค็มต่าํ แตอ ยางไรก็ตามไมควรซื้อลกู กุง พี8-10 ไปเลีย้ งเพราะอัตรารอดจะต่ํากวาลูกกุงท่ใี หญก วา น้ี การจดั การกอ นการบรรจุถุง -กอนที่จะนําลูกกุงมาบรรจุถุง 6-12 ชั่วโมง ควรใสฟอรมาลิน 40 พีพีเอ็ม(40 ซีซีตอนํ้า 1 ตัน) เพ่ือกาํ จดั ลูกกงุ ทีอ่ อนแอออกและเปนวธิ ีท่ีสามารถฆาซูโอแทมเนียมจากบอเพาะฟก -ควรเตรียมนํ้าใหมเพ่ือใสถุงบรรจุลูกกุง ไมควรใชน้ําเกาที่เลี้ยงเพราะจะทําใหสุขภาพลูกกุงออนแอลง เน่ืองจากนา้ํ เกามีของเสยี จากกุง เศษอาหารท่ีเหลอื ซูโอแทมเนียมที่ฆา ทิ้ง การใชน า้ํ ใหมตอ งคํานึงถงึ -ควรผสมน้าํ ใหไดร ะดบั ความเค็มตรงตามความตอ งการ กอน 6 ชม. หรอื 1 วนั -ควรเชค็ พเี อช โดยอยางนอ ยพีเอชตอ งมากกวา 8.5 เพราะเม่ือบรรจุถงุ แลพเี อชจะลดลง

38 การเล้ยี งกุ้ง 38 การจดั การลําเลียงลูกกงุ ควรใชกระสอบพรมน้าํ แผน โฟม แผนยางกนั ความรอนกรุกนั ความรอนไมใหเขามาถงึ ลกู กุงโดยเฉพาะ บริเวณตอนหนาของรถกระบะรถ หรือถาลําเลียงลูกชวงกลางวัน ควรกันไมใหโดนแสงแดดและควรลําเลียง ถึงฟารมเลยไมค วรแวะพัก การตรวจคุณภาพลกู กุง 1. ดลู ักษณะภายนอก ระยางคคูหนา (อวัยวะท่ีอยูปลายตรงสวนหัวของกุง) ลูกกุงที่มีคุณภาพดี ลักษณะของรยางค คูห นาตอ งชิดตดิ กันหรือแยกจากกนั ชวงคราวแลว กจ็ ะปดสนทิ เหมือนเดมิ แพนหาง ลูกกุงคณุ ภาพดีแพนหางตองการแผออก(หางแตก) 2. พฤติกรรมการวายนํ้าของลูกกุง โดยตองทดสอบดวยการดักลูกกุงใสกะละมัง เอามือกวนนํ้า ใหหมุนชาๆ ถาลูกกุงแข็งแรงเม่ือน้ําหมุนชาลงจะกระจายกันไปยึดเกาะติดกับพ้ืน หรือวายทวนกระแสน้ําและ ถาน้ําหยุดหมุนสวนมากจะวายขึ้นไปเกาะท่ีขอบกะละมัง ถาพบวาเม่ือนํ้าหมุนชาลง มีกุงบางตัวท่ียังลอย ไรท ิศทาง หรอื กองอยูก ับกน กะละมงั ลกู กงุ ทวี่ าน้จี ดั เปน กงุ ออนแอ 3. การตดิ เชื้อและความสกปรก การตรวจส่ิงนตี้ อ งอาศัยกลองจุลทรรศน ลกู กุงท่ีดคี วรมีสุขภาพแข็งแรงโดยปราศจากพาราสิต และพวกแบคทีเรียเสนสาย นั่นคือลูกกุงท่ีดีเม่ือนํามาสองกลองจุลทรรศนแลวพบวาไมมีอะไรเกาะตัวกุงเลย เชน ซูโอแทมเนียม อิพิสไตลิส วอรดิเซลลา อะซินีตา เปนตน เน่ืองจากถาเราพบวาลูกกุงมีสิ่งเหลานี้เกาะอยู หมายความวา อาจเปนไปไดทกี่ งุ เริ่มออ นแอ 4. อตั ราสวนความหนาของกลา มเนอ้ื กับทางดนิ อาหารของกุง (MGR) การวัดอัตราสวนดังกลาวทําไดโดยใชกลองจุลทรรศนเชนกัน โดยดูขนาดของกลามเนื้อและ ขนาดของลําไสในปลองกลามเนื้อท่ี6 ของกุง โดยวัดจากขอบเปลือกในดานบน มาส้ินสุดตรงขอบเปลือก ในดานลาง และทางเดินอาหารดานบนสุดและลางสุด เพื่อนํามาหาอัตราสวน หากคา MGR มากกวา 4 : 1 จดั วาลูกกุงชุดนั้นมีสขุ ภาพดี 5. การตรวจสอบความแขง็ แรงของลูกกุงโดยการทําใหลกู กงุ อยใู นสภาวะเครยี ด การตรวจสอบใชฟอรมาลินเขมขน 100 พีพีเอ็ม แชลูกกุงนาน 2 ช่ัวโมง ถาผาน 2 ช่ัวโมง ไปแลวกุงยงั ไมตาย แสดงวาลูกกุง แข็งแรงสุขภาพดี เกณฑในการใหค ะแนนลกู กงุ ลกั ษณะทตี่ รวจ จํานวนลูกกุงทใ่ี ช คะแนนเตม็ เงื่อนไขในการตัดคะแนน ลกั ษณะรยางคค ห นา 200 ตวั 10 พบ2ตัวตดั 1 คะแนน ลกั ษณะหางไมแ ตก 200 ตวั 10 พบ2ตัวตดั 1 คะแนน ลักษณะการลอยของลูกกุงแบบไมมที ศิ ทาง 200 ตัว 10 พบ1ตวั ตดั 1 คะแนน ลักษณะของพาราสิต 50 ตัว 10 พบ1ตวั ตัด 4 คะแนน อัตราสวนของกลามเนื้อปลองท่ี6 ตอลําไส 50 ตัว 20 พบ1ตัวตดั 2 คะแนน นอ ยกวา 4 : 1 การทนตอ สภาพความเครยี ด 150 ตัว 40 ตาย 1 ตวั ใหคะแนน 31 ตาย 2 ตัว ใหค ะแนน 22 ตาย 3 ตัว ใหคะแนน 13 ตาย 4 ตัว ใหค ะแนน 4 ตาย 5 ตวั หรือมากกวา ให 0

การเล้ยี งกุ้ง 39 39 การปลอยลูกกุงลงในบออยางงายๆ ทําไดโดย 1. นํ้าในบอท่ีจะลงลูกกุงเล้ียง เตาตองใหอากาศตีน้ําใหเขากัน โดยเฉพาะชวงอากาศรอนท่ีผิวน้ํา อณุ หภมู จิ ะสูงมาก 2. ปรับอุณหภมู นิ ้าํ ในถุงลูกกุงใหใ กลเ คยี งกบั นํ้าในบอ โดยนําถงุ กงุ ไปแชน้าํ -กรณีท่ีฟารมไมมีอุปกรณ หลังจากที่แชถุงลูกกุงนานพอประมาณก็ใหแกะปากถุงแลวใสนํ้าลงไป เล็กนอยพลิกถุงไปมา แลวจึงปลอยทีละถุง เนนอยาใหถุงบรรจุลูกกุงตากแดด อยาเปดปากถุงแชนํ้าเหมือน แตกอน ปจจุบันน้ีหลังจากนําถุงแชนํ้า โดยไมเปดปากถุงเมื่อคิดวานํ้าในถุงกับนํ้าในบอไมนาจะแตกตางกัน เม่อื เปดถุงไหนรีบปลอ ยถงุ นนั้ ทันที -กรณที ่ีมีอปุ กรณ (ถงุ น็อก ปม ใหอากาศ) นําถงั ขนาด 500 หรอื 1000 ลิตร ใสปมใหอ ากาศ นาํ ถุง กุงเทลงถังประมาณ 100 ลิตร ลูกกุงประมาณ 50,000 ตัว ถาออกซิเจนมากพอก็ใสไดเต็มท่ี 100,000 ตั ว แลวคอยๆสูบนํ้าใส ประมาณ ครึ่งชั่วโมง จะเต็มพอดี ถาไมมีก็ใชกระปองตัก ยกหัวลมออกแลวนําตัวออนแอออก ปลอ ยลกู กงุ แข็งแรงสบู อโดยใชสายยาง ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติการคัดลูกกุงออนแอทิ้ง 1. เลือกลกู กงุ ท่ีตองการปลอยขนาดอายุต้ังแตพี 12 ขน้ึ ไปหรอื ความยาวไมตาํ่ กวา 1.3 เซนติเมตรและ ไดผ า นการตรวจพีซอี ารแ ลวไมต ดิ เชอื้ ดวงขาว 2. หลังจากที่ลูกกุงขนาดอายุไมต่ํากวาพี12 ลําเลียงมาถึงบอในตอนเชามืดหรือตอนเย็นตักน้ําในบอ ที่จะปลอ ยลูกกงุ ใสถงั นอคพอประมาณ พรอมเปด เครอื่ งใหออกซิเจนดว ยตลอดเวลา 3. ปลอยลูกกุงลงไปในถังนอคซึ่งบรรจุลูกกุงไดถังละ 200,000 (สองแสนตัว) ถึง 250,000 (สองแสน หาหมื่นตวั ) แลว เติมนาํ้ ในบอ จนไดร ะดับประมาณ 400 ลิตร 4. เติมอารทีเมียที่ทางโรงเพาะฟกเตรียมมาดวยลงไปในถัง รอนานประมาณ 10-15 นาที ใหลูกกุง แข็งแรงฟนตัวจากการขนสง 5. ใชก ระบอกฉีดยาดูดฟอรมาลิน 60 ซีซี ใสลงไปในถงั ที่มีน้ําจากบอกงุ ประมาณ 5 ลิตร 6. คอ ยๆรนิ น้าํ ในถงั ใสถงั นอคท่ีมีลกู กงุ แลวท้งิ ไวน าน 30 นาที 7. เอาหวั ทรายข้นึ จากถงั นอค ใชมือกวนนํา้ รมิ ขอบถังใหน ํ้าหมนุ 8. รอจนนํ้าน่งิ 9. ตักลูกกงุ ท่ไี มก องพน้ื กน ถงั ดวยสวิงลงปลอยในบอ สว นลูกกุงทกี่ องทีก่ ลางถงึ นาํ ออกทิง้ 10. เอาสายยางดูดลูกกุงกนถังใสในกะละมัง สวนลูกกุงที่เหลือปลอยลงบอเลี้ยง สําหรับลูกกุงที่ดูด ออกมาใสกะละมังจะนํามาคัดอีก 1-2 คร้ัง เอาเฉพาะตัวท่ีตายและตัวที่กองกนกะละมังออกทิ้ง พวกท่ีวายน้ํา แยกตัวออกมาตักออกไปปลอยลงบอได หมายเหตุ ถาลูกกุงที่ขนลําเลียงมาแข็งแรงขนาดอายุไมตํ่ากวาพี 12 ปริมาณลูกกุงท่ีถูกคัดออกท้ิงสวนใหญไม เกนิ 5 เปอรเ ซน็ ต การปลอยลูกกุงตอนเชาออกซิเจนในบอเลี้ยงอาจจะตํ่าควรเปดเคร่ืองใหอากาศ เต็มท่ีตั้งแตกลางคืน กอนวนั ทป่ี ลอยลูกกงุ เพ่ือใหแนใ จวา ออกซเิ จนในชวงทป่ี ลอยลกู กุงตอนเชายังอยูใ นระดับทสี่ ูงและเหมาะสม

40 การเลยี้ งกุ้ง 40 การลําเลยี้ งลกู กุงในปจจุบนั โดยบรรจลุ งถังพลาสตกิ ขนาด 200-400 ลติ ร

การเลี้ยงกุ้ง 41 41 การขนยา ยและการคดั เลอื กพันธุกุง ลงบอเลี้ยง การสุมตรวจนบั จํานวนลูกกุงกอนปลอยเล้ียง

42 การเล้ยี งกุ้ง 42 บทปฏิบตั ิการท่ี 3 เร่ือง การคดั เลอื กพันธุกงุ ในการเลี้ยงกุงในปจจุบันเร่ืองของการจัดหาหรือรวบรวมพันธุกุงที่นํามาใชเลี้ยงถือวาสําคัญอยางยิ่ง เพราะฉะน้นั เจา ของฟารมตอ งมีความรูในการคัดเลอื กลูกพันธุมาเลีย้ ง ตลอดจนทกั ษะการปลอ ยกงุ ลงเลย้ี ง จดุ ประสงค 1. นักเรยี นบอกลักษณะพนั ธุก งุ ท่ีแขง็ แรงสมบูรณได 2. นกั เรยี นบอกข้ันตอนการปลอยลูกกงุ ลงเลยี้ งได 3. นักเรียนขอกขั้นตอนการปลอยลูกกุงมายังบอ เล้ยี งได วิธีการ 1. ใหนักเรยี นแบงกลุมๆ ละ 3 คน ชว ยกนั นบั จํานวนกงุ ตอกุง แลว คาํ นวณกุง ทั้งหมด 2. ใหนกั เรยี นรว มกันปรับสภาพแวดลอ มของกงุ ในถงั กบั สภาพแวดลอมภายในบอเลยี้ ง 3. ใหนักเรียนทําการทดสอบสภาพความแข็งแรงของลูกกุงกอนปลอยเลี้ยง แลคํานวณหาอัตรารอด เบอ้ื งตน 4. ใหนกั เรยี นตวงน้าํ รวมทัง้ ลกู กงุ มาจาํ นวน 1 ลิตร แลวนับจํานวนตวั แบบบันทึกการนับจาํ นวนลูกกุง โดยใชรอยขีด จาํ นวนรอยขดี รวม/ตัว 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ถงั ท1ี่ ถงั ที2่ ถงั ท่3ี คาํ ถามทา ยบท 1. อธบิ ายการคํานวณอตั รารอดเบื้องตน 2. อธิบายการทดสอบความเครยี ดของลูกกงุ

บทท่ี 4อาหาอรแาลหบะาทกรทาแี่ร4ลใหะกอาาหราใหรอ้ าหาร การใหอาหารกุงกุลาดําในการเล้ียงแบบพัฒนาจะแตกตางกันไปในแตละฟารม จากประสบการณ ที่ผานมาและการเก็บขอมูลจากฟารมตางๆ วิธีการใหอาหารและปริมาณอาหารสําหรับกุงแตละขนาด รวมทั้ง ปริมาณอาหารที่ใสในยอไดมีการปรับปรุงแกไขเปลี่ยนแปลงใหดีขึ้นเร่ือยๆ จนอยูในระดับที่นาพอใจท้ังในดาน การผลติ อตั รารอด การเจริญเติบโต และคาอตั ราแลกเน้อื สําหรบั การใหอ าหารกุงกลาดาํ ในปจจบุ ันมีดังนี้ การใหอ าหารกุงระยะแรก หลงั จากเตรยี มสีน้ําไดต ามทตี่ องการและปลอยลกู กุงลงไปแลวเรมิ่ ใหอาหาร ลูกกุงในม้ือถัดมา ปริมาณอาหารท่ีใหสําหรับลูกกุงพี 15 จนลูกกุงที่ปลอยในบอมีอายุประมาณ 1 เดือน จะให อาหารเมด็ ในอตั รา ดงั ตอ ไปนี้ อายุกงุ (วัน) ปลอยลกู กงุ พี 12-15 1-5 ใหอ าหาร 1 กิโลกรัม/100,000 ตัว/วนั 6-13 เพม่ิ 100 กรัม(1 ขดี )/100,000 ตัว/วัน 14-21 เพ่มิ 200 กรมั (2 ขดี )/100,000 ตวั /วนั 22-30 เพ่มิ 300 กรัม(3 ขดี )/100,000 ตัว/วัน กุงควรมีนํ้าหนัก = 1.5-2.5 กรัม หลงั จากน้นั จะเริ่มใชยอและปรบั อาหารตามยอ การใหอาหารลูกกุงในระยะแรก ควรใชอาหารกุงเล็กผสมกับอาหารกุงวัยออนชนิดแผน (Flake) อาจจะใชอาหารสดเสริมบางก็ไดเชนเน้ือหอยแมลงภูปนละเอียดอาจจะใช 1-2 กิโลกรัมตอวันตอลูกกุง 100,000 (หน่ึงแสนตัว) จํานวนมื้อที่ใหอาหารน่ันสวนใหญแลวควรจะใหประมาณ 3-4 ม้ือ การหวานอาหาร ควรผสมอาหารกับนํา้ แลว สาดกระจายใหท วั่ บอ การใหอาหารในระยะแรกในปรมิ าณที่กลาวมาแลวนั้น การเจริญเติบโตของลูกกุงหลังจากอายุ 30 วัน จะขึ้นอยูกับอัตรารอด การควบคุมสีนํ้าความเค็มฤดูกาล ซ่ึงจากอัตราปลอยในระดับความหนาแนน 30-60 ตัว ตอตารางเมตร หลังจาก 30 วนั กงุ จะมนี า้ํ หนักระหวา ง 1.5-2.5 กรมั จากขอมูลในฟารมในรอบ 3 ปท่ีผานมาพบวาการปลอยลูกกุง 100,000 ตัวจับกุงไดนํ้าหนักรวม ประมาณ 1,000 กิโลกรัม เปนสวนใหญ มีเพียงเปอรเซ็นตท่ีนอยมากที่ปลอยลูกกุง 100,000 ตัวไดนํ้าหนักกุง ตอนจับเกิน 2,000 กิโลกรัม เห็นไดชัดเจนวาคุณภาพลูกกุงในชวง 2-3 ปที่ผานมไมดีเทาที่ควรการใหอาหาร มากๆ ตง้ั แตต น ถา หากลูกกุงคุณภาพไมดีจริง พอเร่มิ ปรบั ใชยอกงุ จะกนิ อาหารไมหมดตองลดอาหารลงมามาก ดังนั้นขอใหเกษตรกรเริ่มทดสอบใสอาหารในยอตั้งแตกุงอายุประมาณ 10-14 วัน และตรวจดูทุกวันวาลูกกุง เขามาในยอมากนอยแคไหน กินอาหารในยอหรือเปลา เม่ืออายุประมาณ 20 วัน ถาพิจารณาดูแลวกุงไมได กนิ อาหารในยอเลยกค็ งอาหารไวห รืออาจจะลดลงได ไมจําเปน ตอ งเพ่มิ อาหารตามโปรแกรมท่วี างไว แตในกรณีท่ีบางฟารมมีการใหอาหารในระยะ 7 วันแรกสูงมากเชน 2-3 กิโลกรัมตอ 100,000 ตัว ตอวัน คิดวาเปนอัตราท่ีสูงเกินความจําเปนเพราะถาลูกกุงไมดีจริง หรือมีอัตรารอดสูงมากและโตดีจะทําให คณุ ภาพนา้ํ ในบอ แยล งและมปี ญหาซโู อแทมเนียมสงู มาก เกษตรที่เลี้ยงดวยระบบความเค็มต่ําตองปลอยลูกกุงในคอกพลาสติกนานประมาณ 5-14 วัน พื้นท่ี คับแคบน้ํามีการถายเทไดนอย อัตราการใหอาหารเพียง 500 กรัม(ครึ่งกิโลกรัม) ตอลูกกุง 100,000 ตัวตอวัน ก็เพียงพอแลว ไมจําเปนตองใหมากกวานี้เพราะท่ีแคบๆ ลูกกุงหาอาหารกินไดแน และตลอดเวลาท่ีอยูในคอก ไมต องเพ่ิมอาหารคงไวในระดับเทาเดมิ ตลอด เมอื่ เปด คอกออกมาแลว จึงเร่ิมเพม่ิ อาหาร

44 การเลยี้ งกุ้ง 44 ถาจะใหอาหารมาก 2-3 กิโลกรัมตอ 100,000 ตัวตอวันในระยะแรกตองแนใจวาลูกกุงมีอัตรารอด สูงมากและโตดีจริง แตถาไมแนใจการใหอาหารนอย ในชวงแรกเมื่อปรับยอสามารถเพ่ิมไดตามความเปนจริง กุงก็ไมมีปญหาอะไร ดีกวาใหอาหารมากๆในชวงแรก และพอปรับยอไดตองลดอาหารลงมามาก นอกจาก จะเปน การสิน้ เปลอื งแลว ยังกอ ใหเกดิ ปญ หาเร่ืองพื้นบอและคุณภาพน้าํ ดวย การใหอาหารเมื่อเริ่มใชยอ โดยปกติจะเริ่มใชยอกันอยางจริงจังเม่ือกุงเขายออยางสมํ่าเสมอ ซงึ่ โดยทัว่ ไปแลวเมอ่ื กุงมีอายปุ ระมาณ 1 เดือนหรอื ประมาณ 35 วนั โดยกุง มนี า้ํ หนกั ประมาณ 2 กรมั ควรจะให อาหาร 4 มื้อ จนกระทั่งอายุประมาณ 60 วันแลวเพิ่มเปน 5 ม้ือจนกระท่ังจับขาย สําหรับเกษตรกรที่มี ความชํานาญในการปรับอาหารตามยออาจจะใหอาหารเพียงวนั ละ 4 มื้อ จนถึงจับขายได การใหอาหารจะเริม่ จากประเมินอัตรารอดอยางคราวๆ ของกุงในบอกอนเชน 70 เปอรเซ็นต คํานวณอาหารโดยเริ่มจากกุงขนาด 2 กรัมใหอาหาร 6 เปอรเซ็นตของน้ําหนักตัวตอวัน เช็คอาหารในยอวากุงกินหมดหรือไมตามเวลาที่กําหนดไว แลวปรับอาหารเพิ่มข้ึนหรือลดลง เน่ืองจากในระยะแรกยังไมสามารถประเมินปริมาณกุงอยางแนน อนไดดังนนั้ ควรจะปรับอาหารเพิ่มข้ึนหรือลดลงคร้ังละ 5 เปอรเซ็นตของปริมาณกุง เชนใหอาหารที่ ประเมินกุงไว 70 เปอรเซ็นต กุงกินอาหารหมดก็เพ่ิมอัตรารอดเปน 75 เปอรเซ็นต ถากุงกินอาหารหมดอีกจากการเช็คยอ ในเวลาทก่ี ําหนดไวก ็เพิ่มอัตรารอดเปน 80 เปอรเ ซ็นต ในทํานองเดียวกันถากนิ อาหารในยอไมหมดกล็ ดอาหาร ลงคร้ังละ 5 เปอรเซ็นตของปริมาณกุงการปรับอาหารในระยะแรกเชนนี้จะทําใหทราบปริมาณกุงในบอได อยางรวดเร็วกวาการปรับอาหารคร้ังละนอยเกินไปสําหรับการกินอาหารของกุงในสภาวะปกติตามน้ําหนัก ของตัวกงุ ดงั น้ี เปอรเ ซน็ ตการใหอ าหารตอ น้ําหนกั ตวั และปรมิ าณอาหารในยอ เบอรอาหาร นน.กงุ เฉล่ีย น้าํ หนกั เพมิ่ %อาหาร/นน.ตวั %อาหารในยอ เวลาเช็คยอ (กรมั ) ตอ วนั 2.0 3 ชม. 3 2 0.15-0.2 6 2.4 2.5 ชม. 4S 5 0.2-0.25 5 2.8 2 ชม. 4 10 0.25-0.3 4.0 3.2 2 ชม. 5 15 0.3-0.35 3.0 3.6 2 ชม. 5 20 0.35-0.4 2.5 3.8 1.5 ชม. 5 25 0.4-0.45 2.3 4.0 1.5 ชม. 5 30 0.45-0.5 2.1 4.2 1 ชม. 5 35 0.5 2.0 จากตารางดงั กลา วจะเห็นไดว า อาหารในยอจะเพม่ิ ขึน้ เรอื่ ยๆตามขนาดของกงุ คือ กงุ ขนาดเลก็ เม่อื เริ่ม ใชย อ อาหารในทกุ ยอรวมกนั เพียง 2.0 เปอรเซน็ ตแ ตเวลาเช็คยอนานถงึ 3 ช่วั โมง แตก ุงขนาด 30 กรัม อาหาร ในยอจะมถี ึง 4 เปอรเซน็ ตแตเวลาเช็คยอเพยี ง 1 ชั่วโมงครงึ่ จาํ นวนยอและขนาดของยอ ตามปกติควรจะใชยอ 1 ยอ ตอเนื้อที่บอ 1 ไร เชน บอ 4 ไรใชยอ 4 ยอ บอ 6 ไรใชยอ 6 ยอ แตใน กรณีบอที่มีขนาดเล็กกวา 2 ไร ก็ใชยอ 2 ยอ แตเวลาคํานวณอาหารสําหรับบอที่มีขนาดเล็กกวา 2 ไร เม่ือคํานวณอาหารที่ใสใ นยอทงั้ หมดไดเทา ไหรเอาจาํ นวนไรไปหารไดเ ทาไหรเ อาไปใสในแตล ะยอ

การเลีย้ งกงุ้ 45 45 ตัวอยาง บอเล้ียงกุงขนาด 3 ไร(ใชยอ 3-4 ยอ) ปลอยกุง 150,000 ตัว คาดวาอัตรารอดระหวาง การเลยี้ งประมาณ 65 เปอรเ ซน็ ต เม่ือน้าํ หนักกงุ เฉลย่ี 15 กรัม ใหอาหาร 3 เปอรเ ซ็นตของนํา้ ตัว โดยใหอ าหาร วนั ละ 5 ม้อื แบง อาหารใสยอ 3.2 เปอรเ ซ็นตของอาหารทีใ่ หจะตองใสอาหารยอละเทาไร จาํ นวนกงุ ในบอ 150,000 ตัว อตั รารอด 65 เปอรเซน็ ต นํ้าหนักกงุ เฉลยี่ 15 กรมั นาํ้ หนกั กุงทั้งหมดในบอ เทา กับ 150,000.65/100x15 กรัม = 1,462,500 กรัม หรอื 1,462 กโิ ลกรัม ปรมิ าณอาหารท่ีกงุ ขนาด 15 กรมั เทา กับ 3 เปอรเ ซ็นตข องนา้ํ หนกั ตัว ปรมิ าณอาหารท่ีให = 1,462,500x3/100 = 43.875 กรัม หรอื ประมาณ 44 กิโลกรัม ใหอาหารวันละ 5 ม้ือ (สมมตใิ หอาหารแตล ะมอื้ เทากัน) ปรมิ าณอาหารที่ใหแตละมื้อ = 44/5 = 8.8 กิโลกรัมอาหาร ปรมิ าณอาหารทใ่ี สในยอ 3.2 เปอรเ ซ็นตข องอาหารทใ่ี ห ปรมิ าณอาหารในยอท้งั หมด = 8.8x3.2/100 = 0.28 กโิ ลกรัม = 280 กรัม บอ ขนาด 3 ไร เพราะฉะนน้ั ตองแบงอาหารใสในแตล ะยอเทากบั = 280/3 กรมั = 93 กรัม หลักสําคัญในการคํานวณอาหารที่ใสในแตละยอ คือคํานวณอาหารทั้งหมดท่ีจะใสในยอแลวหาร ดว ยจํานวนไรไ ดเ ทา ไหร คอื ปริมาณทีจ่ ะใสในแตล ะยอ ขนาดขอยอท่ีใชตามปกติอยูระหวาง 70 x 70 ตารางเซนติเมตร ถึง 80x80 ตารางเซนติเมตร สําหรับ บอ ท่มี ขี นาดยอใหญก วานค้ี อื 90x90 ตารางเซนติเมตร หรือ 100x100 ตารางเซนตเิ มตร ควรจะใสอ าหารในยอ มากกวาปกติ ตวั อยางเชน กุง ขนาด 10 กรมั ปรมิ าณอาหารในยอ 2.8 เปอรเ ซ็นตของอาหารท่ใี ห ถา ยอมขี นาดใหญ กวา 80x80 ซม. ควรจะเพมิ่ อาหารในยอขน้ึ มาอกี 1 ระดับ คอื 3.2 เปอรเ ซ็นตข องอาหารทใี่ ห ยอควรจะมีขอบโดยรอบเพอ่ื ปองกนั อาหารกระจาย ตกออกมาจากยอ ตําแหนงการวางยอ มีความสําคัญมากเน่ืองจากการปรับอาหารจะปรับเพ่ิมข้ึนหรือลดลงจาก การตรวจเช็คอาหารในยอ ดังน้ันตําแหนงในการวางยอจึงตองเลือกใหเหมาะสมถูกตองโดยหลีกเล่ียงบริเวณ ตางๆ ตอ ไปนี้คือ บริเวณหนาเครื่องใหอากาศ แรงคลื่นจากน้ําจะพัดพาอาหารในยอปลิวหรือหลุดออกมาจากยอหรือ จะทําใหในยอถกู พัดไปรวมอยูท่ีมุมใดมุมหน่ึงของยอ ทาํ ใหก งุ เขาไปกนิ อาหารในยอลําบากการเช็คอาหารในยอ อาจจะผิดพลาดไดง า ย บริเวณใกลขอบบอมากเกินไป การวางยอใกลขอบบอซึ่งเปนบริเวณลาดเอียงจะทําใหยอเอียงและ โอกาสท่ีอาหารหลุดออกไปจากยอมีมาก และบริเวณใกลขอบบอมาก กุงจะมีปริมาณนอยกวาบริเวณที่ระดับ พน้ื ราบเรยี บ บริเวณที่มีเลนมาก ตามมุมบอท่ีมีการสะสมของเลนซ่ึงเกิดจากตะกอนตางๆ หรือข้ีแดดซึ่งถูกกระแส ลมพัดพามารวมกันท่ีมุมใดมุมหนึ่งจะเกดิ การเนาเสยี ของพืน้ บอทําใหก ุงในบรเิ วณนมี้ นี อยกวา ปกติ ตําแหนงการวางยอที่เหมาะสม ควรจะหางจากขอบบอพอสมควร พนจากระดับขอบบอท่ีความลาด เอียง และไมไดร ับอิทธพิ ลจากเครอ่ื งใหอ ากาศมากจนทาํ ใหอาหารในยอหลุดออกมา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook