Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาบาลี

ภาษาบาลี

Published by วชิรวิชญ์ กวดนอก, 2021-09-15 05:41:39

Description: ภาษาบาลี

Search

Read the Text Version

ทฆี า ชาครโต รตฺต ิ ทฆี ํ สนฺตสฺส โยชนํ ไวยากรณ์บาลเี บื้องตน้ พระมหาธิตพิ งศ์ อุตตฺ มปญฺโ สิงหาคม ๒๕๕๖ ทโี ฆ พาลาน สํสาโร สทธฺ มมฺ ํ อวิชานตํ (ข.ุ ข.ุ ๒๕.๖๐.๒๗) กลางคนื ยาวนานสำ�หรบั คนนอนไม่หลับ ระยะทางเพียง ๑ โยชน์ไกลนักส�ำ หรับคนเดนิ ทางผเู้ หน่ือยล้า สังสารวัฏฏ์ยาวไกลสำ�หรับผู้ไรป้ ัญญาผไู้ ม่เขา้ ใจพระสัทธรรม มหาบาลีวชิ ชาลัย สถาบนั สอนภาษาบาลสี �ำ หรับบคุ คลทั่วไป วดั โมลีโลกยาราม ราชวรวหิ าร ถนนวงั เดมิ แขวงวดั อรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรงุ เทพมหานคร ๑๐๖๐๐ เว็บไซต์ www.mahapali.com อเี มล์ [email protected] วดั โมลีโลกยาราม ราชวรวหิ าร ถนนวังเดมิ แขวงวดั อรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ๑๐๖๐๐ โทร. ๐-๒๔๗๒-๘๑๔๗ แฟกซ์. ๐-๒๔๗๒-๘๑๔๗ มอื ถอื ๐๘๙-๖๖๐๑-๔๖๔ เวบ็ ไซต์ www.watmoli.org อีเมล์ [email protected]

ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น พนื้ ฐานเพือ่ การเรยี นภาษาบาลี เป็นประเพณีของชาวไทย พระมหาธติ พิ งศ์ อตุ ตฺ มปญโฺ  พิมพ์เป็นธรรมทาน



เกี่ยวกบั ผูร้ วบรวมเรยี บเรยี งหนังสือ ไวยากรณบ์ าลีเบื้องต้น ชอ่ื -ฉายา พระมหาธิตพิ งศ์ อุตตฺ มปญโฺ  (เข็มสันเทยี ะ) วัน/เดือน/ปเี กดิ วันอาทิตย์ท่ี ๒๘ เดือนมีนาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๔ สถานท่ีเกดิ บา้ นเลขท่ี ๕๑ หมู่ ๓ ตำ�บลมะค่า อ�ำ เภอโนนไทย จังหวดั นครราชสมี า อปุ สมบท วันท่ี ๒ เดือนพฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๕๓๔ ณ พทั ธสมี าวดั ถนนโพธิ์ ต�ำ บลถนนโพธิ์ อ�ำ เภอโนนไทย จงั หวัดนครราชสีมา การศึกษา เปรยี ญธรรม ๗ ประโยค ชน้ั นกั ศึกษาบาลีใหญ่ (สอบไดล้ ำ�ดบั ที่ ๑) สำ�นกั เรยี นวัดทา่ มะโอ ต�ำ บลเวียงเหนือ อ�ำ เภอเมือง จังหวัดลำ�ปาง ปริญญาพทุ ธศาสตรบณั ฑติ คณะมนษุ ยศาสตร์ (จิตวิทยา) เกยี รตนิ ยิ มอันดบั หน่ึง (มจร.) ปริญญาพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าบาลี (มจร.) ประวตั ิการทำ�งาน ครสู อนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกธรรม-บาลี และบาลีใหญ่ ท่อี ยูป่ จั จุบัน วัดพกิ ลุ ทอง ถนนเทอดพระเกยี รติ ต�ำ บลวัดชลอ อ�ำ เภอบางกรวย จงั หวดั นนทบรุ ี ๑๑๑๓๐ ผลงานหนังสือ ๑. รปู สทิ ธิทปี นี เล่ม ๑ สนธิกณั ฑ์ ๒. รปู สทิ ธิทีปนี เลม่ ๒ นามกณั ฑ์ ๓. รปู สทิ ธิทปี นี เลม่ ๓ การกกัณฑ์ ๔. รปู สิทธิทปี นี เล่ม ๔ สมาสกัณฑ์ ๕. รปู สิทธทิ ีปนี เล่ม ๕ ตัทธติ กัณฑ์ ๖. รูปสทิ ธทิ ปี นี เล่ม ๖ อาขยาตกณั ฑ์ ๗. รปู สิทธทิ ปี นี เลม่ ๗ กพิ พธิ านกัณฑ์ ๘. ไวยากรณ์บาลีเบ้ืองต้น ๙. กัจจายนสุตตปาฐะ แปลสูตรพรอ้ มอทุ าหรณ์ ๑๐. ทักษะการใช้ภาษาบาลี ๑ หลกั การแปลขน้ั พ้ืนฐาน ร่วมกบั คณะ ๑๑. ทักษะการใชภ้ าษาบาลี ๒ หลักการสมั พนั ธ์ ๑๒. ทักษะการใชภ้ าษาบาลี ๓ โครงสร้างลกั ษณะตา่ ง ๆ ของภาษาบาลี ๑ ๑๓. ทกั ษะการใชภ้ าษาบาลี ๔ โครงสร้างลกั ษณะตา่ ง ๆ ของภาษาบาลี ๒ ๑๔. ทกั ษะการใชภ้ าษาบาลี ๕ การแปลอรรถกถา ๑๕. ทกั ษะการใชภ้ าษาบาลี ๖ วธิ ีแต่งประโยคภาษาบาลี

ไวยากรณ์บาลีเบ้อื งต้น พื้นฐานเพอ่ื การเรยี นภาษาบาลี เป็นประเพณขี องชาวไทย พระมหาธิตพิ งศ์ อุตตฺ มปญโฺ  มหาบาลีวิชชาลัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖

ไวยากรณบ์ าลีเบ้ืองต้น พื้นฐานเพ่ือการเรยี นภาษาบาลี เป็นประเพณขี องชาวไทย ผเู้ ขียน พระมหาธติ ิพงศ์ อุตตฺ มปญโฺ  บรรณาธกิ าร ธฤญเดชา ลิภา ออกแบบปก ศักดา วิมลจนั ทร์ รปู เล่ม เฉลมิ ชยั มาลรี อด พสิ จู น์อักษร สุรเชษฐ์ ทองแม้น ภูเมธ ทพิ วนั จดั พิมพโ์ ดย มหาบาลวี ิชชาลัย MAHAPALI VIJJALAYA พิมพค์ รัง้ ที่ ๑ : ๒๕๕๖ จ�ำ นวน : ๒,๐๐๐ เล่ม ข้อมลู บรรณานกุ รมของส�ำ นกั หอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ธติ พิ งศ์ อตุ ฺตมปญโฺ , พระมหา ไวยากรณ์บาลีเบ้อื งตน้ , พนื้ ฐานเพอื่ การเรียนภาษาบาลเี ปน็ ประเพณขี องชาวไทย—กรุงเทพฯ : มหาบาลวี ชิ ชาลยั , ๒๕๕๖. ๓๐๔ หน้า I. ชือ่ เรือ่ ง ISBN : 978-616-335-807-3 พิมพ์ที่ : นิติธรรมการพมิ พ์ ๗๖/๒๕๑-๓ หมทู่ ่ี ๑๕ ต.บางมว่ ง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี ๑๑๑๔๐ โทร. ๐-๒๔๐๓-๔๕๖๗-๘, ๐-๒๔๔๙-๒๕๒๕, ๐๘๑-๓๐๙-๕๒๑๕ e-mail : [email protected], [email protected]

III ค�ำน�ำ คำ� สง่ั สอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา้ ประกอบด้วยองค์ ๙ คอื สตุ ตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อทุ าน อติ วิ ตุ ตกะ ชาดก อพั ภตู ะ และเวทลั ละ ซง่ึ คำ� สง่ั สอนเหลา่ นี้ พระพทุ ธองค์ ทรงสง่ั สอน เวไนยสตั ว์ ด้วยภาษามคธ หรอื ภาษาบาลี ซงึ่ เปน็ ภาษาทีร่ กั ษาพระพุทธพจน์ พทุ ธศาสนกิ ชนผสู้ นใจจะศกึ ษาธรรมะของพระพทุ ธองค์ ซงึ่ ประกอบดว้ ยองค์ ๙ ประการ ดงั กล่าว จงึ จำ� เปน็ อย่างยงิ่ ทจ่ี ะตอ้ งศกึ ษาหลกั การทางภาษาเสยี กอ่ น อนั ไดแ้ กไ่ วยากรณ์ เพอ่ื นำ� ไปเปน็ อปุ กรณส์ ำ� หรบั ศึกษาพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา ฯลฯ ไวยากรณ์บาลนี ้นั แบง่ ออกเป็น ๓ กลมุ่ ได้แก่ (๑) ไวยากรณ์อย่างย่อ เชน่ ไวยากรณ์ บาลสี นามหลวง (๒) ไวยากรณป์ านกลาง เชน่ คมั ภรี ก์ จั จายนะ คมั ภรี โ์ มคคลั ลานะ คมั ภรี ป์ ทรปู สทิ ธิ เป็นตน้ และ(๓) ไวยากรณ์อยา่ งพสิ ดาร เช่น สทั ทนีตปิ กรณ์ การเลือกศึกษาไวยากรณ์ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งนั้น ก็มีความส�ำคัญกับบุคคลแต่ละกลุ่ม ทง้ั ในเรอ่ื งของเนอ้ื หาสาระระยะเวลาเปน็ ตน้ เชน่ การศกึ ษาในกลมุ่ ไวยากรณอ์ ยา่ งยอ่ เหมาะสำ� หรบั ศึกษาในเบื้องต้น เพ่ือปูพ้ืนฐานส�ำหรับในการศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึนไป คือในระดับปานกลาง กับระดบั พิสดาร ไวยากรณ์บาลีเบ้ืองต้นเล่มน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นหนังสือเรียนภาษาบาลีในระดับ พ้ืนฐานส�ำหรับชาวไทย เพ่ือส่งเสริมให้คนไทยได้เรียนภาษาบาลีเป็นประเพณี หวังว่าหนังสือ ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นเล่มน้ีจะช่วยให้คนไทยมีความรู้ภาษาบาลีในระดับพื้นฐานเป็นอย่างดี อนั จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การศกึ ษาภาษาบาลใี นระดบั ทส่ี งู ขนึ้ รวมทงั้ การศกึ ษาคน้ ควา้ พระพทุ ธพจน์ คือพระไตรปิฎก อรรถกถา ฏกี า สืบตอ่ ไป พระมหาธติ พิ งศ์ อตุ ฺตมปญฺโ สิงหาคม ๒๕๕๖

IV อนโุ มทนากถา มหาบาลีวิชชาลัย จัดตั้งข้ึนเพ่ือชวนคนไทยเรียนภาษาบาลีเป็นประเพณี ต้ังแต่ปี พุทธศักราช ๒๕๕๕ เน้นสร้างองค์ความรู้ด้านภาษาบาลีแก่ชาวพุทธทุกระดับทั้งกลุ่มเยาวชน กลุ่มคนท�ำงานและผู้เกษียณอายุ ด้วยเช่ือว่า การเรียนภาษาบาลีจะเป็นพ้ืนฐานช่วยให้ผู้ เรียนสามารถอ่าน เขียนและแปลภาษาบาลีได้อย่างถูกต้อง ท�ำให้ผู้เรียนมีศรัทธาท่ีมั่นคงและ มีพื้นฐานท่ีดีในการศึกษาและปฏิบัติธรรมต่อไป กุศลเจตนาน้ีนับเป็นการสืบสานพระพุทธวจนะ ไดเ้ ป็นอยา่ งดียงิ่ มหาบาลีวิชชาลัยได้ด�ำเนินการเปิดการเรียนการสอนภาษาบาลีส�ำหรับบุคคลทั่วไป หลายหลักสูตรและกลุ่มเป้าหมายตามอัธยาศัยของผู้เรียน ในการเรียนการสอนภาษาบาลีน้ัน จ�ำเป็นต้องมีหลักสูตรและหนังสือเรียนที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน ในวาระโอกาสท่ี มหาบาลีวิชชาลัยชวนคนไทยเรียนภาษาบาลีเป็นประเพณีน้ี พระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญฺโ วดั พกิ ลุ ทอง จงั หวดั นนทบรุ ี ไดใ้ หค้ วามเมตตาตอ่ การดำ� เนนิ งานของมหาบาลวี ชิ ชาลยั โดยอนญุ าต ใหน้ �ำหนงั สอื ไวยากรณบ์ าลเี บ้ืองต้นทที่ า่ นรวบรวมเรียบเรยี งขึน้ เพือ่ ใชเ้ ปน็ หนงั สือเรยี นส�ำหรับ หลกั สูตรภาษาบาลเี บือ้ งต้นของมหาบาลีวชิ ชาลยั ต่อไป ขออนุโมทนาแด่พระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญฺโ ที่มีอุตสาหะรวบรวมเรียบเรียงหนังสือ ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นเล่มน้ี ซ่ึงเป็นหนังสือท่ีมีเน้ือหาพอเหมาะพอควร เหมาะส�ำหรับผู้สนใจ เรยี นภาษาบาลใี นระดับเร่มิ ตน้ เป็นอย่างดียิ่ง ขออนุโมทนาทุกท่านที่สนใจเรียนภาษาบาลีและทุกท่านที่ร่วมท�ำบุญและมีส่วนร่วม ในการจัดพิมพ์หนังสือไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นเล่มนี้ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า หนังสือเล่มน้ีจัก อ�ำนวยหิตประโยชน์แกผ่ ู้สนใจตามสมควรแกฐ่ านะ ขอความสขุ และความเจรญิ ในธรรมจงบงั เกิด มีแกท่ กุ ทา่ นตลอดไป พระเมธีวราภรณ์ (สุทัศน)์ ประธานบริหารมหาบาลวี ิชชาลัย เจ้าอาวาสวัดโมลีโลกยาราม ราชวหิ าร อาจารยใ์ หญ่ส�ำนักเรยี นวดั โมลโี ลกยาราม

V ชาวไทยพงึ เรียนภาษาบาลเี ป็นประเพณี \"เทวฺ เม ภกิ ฺขเว ธมฺมา สทธฺ มฺมสฺส สมโฺ มสาย อนตฺ รธานาย สวํ ตฺตนตฺ ิ. กตเม เทฺว. ทุนฺนิกฺขิตฺตญฺจ ปทพฺยญฺชนํ อตฺโถ จ ทุนฺนีโต, ทุนฺนิกฺขิตฺตสฺส ภิกฺขเว ปทพฺยญฺชนสฺส อตฺโถปิ ทุนฺนโย โหติ. เทฺวเม ภิกฺขเว ธมฺมา สทฺธมฺมสฺส ิติยา อสมฺโมสาย อนนฺตรธานาย สํวตฺตนฺติ. กตเม เทวฺ . สนุ ิกฺขิตฺตญฺจ ปทพยฺ ญชฺ นํ อตฺโถ จ สนุ โี ต, สนุ กิ ขฺ ิตตฺ สสฺ ภกิ ขฺ เว ปทพยฺ ญฺชนสฺส อตโฺ ถปิ สุนโย โหติ.\" (อง.ฺ ทุก. ๒๐/๒๐-๒๑/๕๘ มหาจุฬาฯ) \"ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๒ อย่างเหล่านี้ ย่อมเป็นไปเพ่ือความเสื่อมสลาย เพ่ือ ความอันตรธานไปแห่งพระสัทธรรม ธรรม ๒ อย่างอะไรบ้าง คือ บทพยัญชนะที่น�ำมา ไมถ่ กู ตอ้ ง และเนอื้ ความทเี่ ขา้ ใจไมถ่ กู ตอ้ ง เมอ่ื บทพยญั ชนะนำ� มาไมถ่ กู ตอ้ ง แมเ้ นอ้ื ความ กย็ อ่ มเขา้ ใจไมถ่ ูกต้องเชน่ กัน ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๒ อย่างเหล่าน้ี ย่อมเป็นไปเพื่อความตั้งมั่น ไม่เสื่อมสลาย ไม่อันตรธานไปแห่งพระสัทธรรม ธรรม ๒ อย่างอะไรบ้าง คือ บทพยัญชนะท่ีน�ำมา ถูกต้อง และเน้ือความท่ีเข้าใจถูกต้อง เม่ือบทพยัญชนะน�ำมาถูกต้อง แม้เน้ือความ กย็ ่อมเข้าใจถูกต้องเชน่ กัน\" พระสทั ธรรมคอื คำ� สงั่ สอนของพระพทุ ธเจ้าจะเสอื่ มสลายไป หากไมม่ คี นเรยี นภาษาบาลี ไม่มีคนเข้าใจบทพยัญชนะ ไม่มีคนเข้าใจเนื้อความที่พระพุทธองค์ตรัสบอกไว้ ไม่มีคนสืบต่อ บทพยญั ชนะอย่างถกู ตอ้ ง ในฐานะชาวพทุ ธเราตอ้ งชว่ ยกนั เรยี นรู้ เผยแผแ่ ละรกั ษาพระสทั ธรรม ใหค้ งอยเู่ พื่อประโยชนส์ ขุ แกช่ าวโลกสบื ไปตลอดกาลนาน ด้วยเหตุดังน้ี มหาบาลีวิชชาลัย จึงได้ชวนชาวไทยเรียนภาษาบาลีให้เป็นประเพณี เพ่ือให้เป็นเหตุเป็นปัจจัยให้พระสัทธรรมม่ันคงยาวนาน และในการส่งเสริมให้ชาวไทยเรียน ภาษาบาลีเป็นประเพณีน้ัน มหาบาลีวิชชาลัย ได้เตรียมหนังสือเรียนไวยากรณ์บาลีในระดับ เบื้องตน้ ไว้ ๘ เลม่ ดว้ ยกัน น่นั คือ ๑. ไวยากรณบ์ าลเี บ้ืองต้น ๒. ทกั ษะการใชภ้ าษาบาลี ๑ หลกั การแปลพื้นฐาน ๓. ทกั ษะการใช้ภาษาบาลี ๒ หลักการสัมพนั ธ์

VI ๔. ทกั ษะการใชภ้ าษาบาลี ๓ โครงสร้างลกั ษณะต่าง ๆ ของภาษาบาลี ๑ ๕. ทักษะการใช้ภาษาบาลี ๔ โครงสรา้ งลกั ษณะต่าง ๆ ของภาษาบาลี ๒ ๖. ทกั ษะการใช้ภาษาบาลี ๕ การแปลอรรถกถา ๗. ทักษะการใชภ้ าษาบาลี ๖ วิธแี ตง่ ประโยคภาษาบาลี ๘. ฉันทลักษณ์บาลเี บ้ืองตน้ หนังสือเรียนไวยากรณ์บาลีชุดนี้ ถือได้ว่าเป็นหนังสือเรียนภาษาบาลีที่ดีที่สุดและ มีความเหมาะสมท่ีสุดชุดหน่ึงส�ำหรับชาวพุทธไทย ควรมีไว้ประจ�ำทุกบ้านเรือนทั้งประเทศ เพอ่ื การเรียนภาษาบาลเี ปน็ ประเพณีของชาวไทย กราบขอบพระคุณพระอาจารย์มหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญฺโ พระอาจารย์และคณาจารย์ ทุกท่านทีไ่ ด้รวบรวมและเรียบเรียงหนงั สือเรยี นไวยากรณ์บาลชี ุดน้ี ขออนุโมทนาผู้สนใจเรียนภาษาบาลีทุกท่าน ขอขอบคุณและอนุโมทนาทุกท่านท่ีร่วม ท�ำบุญเป็นเจ้าภาพพิมพ์หนังสือเรียนบาลีชุดน้ีและได้ท�ำบุญอุปถัมภ์การด�ำเนินงานของ มหาบาลวี ชิ ชาลัยตลอดมาและในโอกาสตอ่ ๆ ไป จริ ํ ตฏิ ฺ ตุ สทธฺ มโฺ ม ขอพระสทั ธรรม จงตง้ั อยยู่ งั่ ยนื นาน เพอื่ ประโยชนเ์ พอ่ื ความสขุ แก่ชาวโลกทั้งมวลสืบไป ธฤญเดชา ลิภา บรรณาธิการ

สารบัญ คอนำ�นโุ มำ�ท นากถ า III IV ชาวไทยพึงเรียนภาษาบาลเี ปน็ ประเพณี ....... ....... ....... ....... V บทท่ี ๑ สัญญาวิธาน วา่ ดว้ ยวธิ ีแหง่ ช่ืออกั ษร ....... ....... ....... ....... ๑ บทที่ ๒ สนธวิ ิธาน วา่ ดว้ ยวิธีการเช่ือมต่อบท ....... ....... ....... ....... ๗ ๒.๑ วธิ ีของสรสนธ ิ ....... ....... ....... ....... ๑๑ ๒.๒ วิธขี องปกติสนธ ิ ....... ....... ....... ....... ๑๕ ๒.๓ วิธีของพยัญชนสนธิ ....... ....... ....... ....... ๑๗ ๒.๔ วธิ ขี องนิคหิตสนธิ ....... ....... ....... ....... ๒๐ บทท่ี ๓ นาม ว่าดว้ ยบททปี่ ระกอบด้วยวภิ ตั ตินาม ....... ....... ....... ....... ๒๓ ๓.๑ ปงุ ลิงคนาม ....... ....... ....... ....... ๒๗ ๓.๒ อิตถลี งิ คนาม ....... ....... ....... ....... ๔๒ ๓.๓ นปงุ สกลิงคนาม ....... ....... ....... ....... ๔๙ ๓.๔ สัพพนาม ....... ....... ....... ....... ๕๕ ๓.๕ อพั ยยศพั ท์ ....... ....... ....... ....... ๗๕ ๓.๕.๑ วภิ ัตตปิ จั จยวธิ าน ....... ....... ....... ....... ๗๕ ๓.๕.๒ อปุ สัคบท ....... ....... ....... ....... ๗๗ ๓.๕.๓ นบิ าตบท ....... ....... ....... ....... ๘๖ บทที่ ๔ อาขยาต ว่าดว้ ยการสรา้ งคำ�ศพั ทก์ ิรยิ า ....... ....... ....... ....... ๑๐๔ ๔.๑ ภวู าทคิ ณะ ฉกาลิกวภิ ัตติวธิ าน ....... ....... ....... ....... ๑๑๖ ๔.๒ ภูวาทคิ ณะ วกิ รณวธิ าน ....... ....... ....... ....... ๑๒๔ ๔.๓ รุธาทคิ ณะ ....... ....... ....... ....... ๑๓๐ ๔.๔ ทิวาทิคณะ ....... ....... ....... ....... ๑๓๑ ๔.๕ สวาทิคณะ ....... ....... ....... ....... ๑๓๓ ๔.๖ กยิ าทิคณะ ....... ....... ....... ....... ๑๓๕ ๔.๗ ตนาทิคณะ ....... ....... ....... ....... ๑๓๗ ๔.๘ จรุ าทิคณะ ....... ....... ....... ....... ๑๔๐ ๔.๙ ธาตปุ จั จยันตนยั ....... ....... ....... ....... ๑๔๑

บทท่ี ๕ กิตก์ วา่ ด้วยการสรา้ งคำ�ศพั ท์กริ ิยากติ กแ์ ละนามกติ ก์ ....... ๑๔๘ ๕.๑ กจิ จปจั จยั ....... ....... ....... ....... ๑๕๗ ๕.๒ กิตกปัจจยั ....... ....... ....... ....... ๑๕๙ ๕.๓ อตตี กาลกิ ปัจจยั (ต ปจั จัย) ....... ....... ....... ....... ๑๗๔ ๕.๔ ตเวตนุ าทปิ ัจจัย ....... ....... ....... ....... ๑๗๖ ๕.๔.๑ ตเว และ ตุํ ปจั จยั ....... ....... ....... ....... ๑๗๖ ๕.๔.๒ ตนุ , ตฺวาน และ ตวฺ า ปัจจยั ....... ....... ....... ....... ๑๗๙ ๕.๕ อนฺตมานปจั จยั ....... ....... ....... ....... ๑๘๕ ๕.๖ อนาคตปจั จัย ....... ....... ....... ....... ๑๙๐ ๕.๗ อณุ าทปิ ัจจยั ....... ....... ....... ....... ๑๙๑ บทที่ ๖ สมาส วา่ ด้วยการย่อบทตั้งแต่สองบทขนึ้ ไปเขา้ ดว้ ยกัน ....... ๑๙๗ ๖.๑. อัพยยีภาวสมาส ....... ....... ....... ....... ๒๐๓ ๖.๒. กัมมธารยสมาส ....... ....... ....... ....... ๒๐๖ ๖.๓ ทิคุสมาส ....... ....... ....... ....... ๒๑๗ ๖.๔ ตปั ปุริสสมาส ....... ....... ....... ....... ๒๑๙ ๖.๕ พหุพพีหิสมาส ....... ....... ....... ....... ๒๓๕ ๖.๖ ทวนั ทสมาส ....... ....... ....... ....... ๒๕๐ ๖.๗ สมาสทอ้ ง (คพั ภสมาส) ....... ....... ....... ....... ๒๕๗ บทท่ี ๗ ตทั ธติ วา่ ด้วยการย่อบทกบั ปจั จัยเขา้ ด้วยกนั ....... ....... ....... ๒๕๙ ๗.๑ อปจั จตทั ธิต ....... ....... ....... ....... ๒๖๑ ๗.๒ สังสัฏฐาทิอเนกตั ถตัทธติ ....... ....... ....... ....... ๒๖๒ ๗.๓ ภาวตทั ธิต ....... ....... ....... ....... ๒๗๓ ๗.๔ วเิ สสตทั ธิต ....... ....... ....... ....... ๒๗๘ ๗.๕ อัสสัตถติ ทั ธติ ....... ....... ....... ....... ๒๗๙ ๗.๖ สงั ขยาตัทธติ ....... ....... ....... ....... ๒๘๑ ๗.๗ อัพยยตัทธติ ....... ....... ....... ....... ๒๘๗ เกี่ยวกับมหาบาลวี ชิ ชาลยั ....... ....... ....... ....... ๒๙๐ รายนามผู้รว่ มทำ�บญุ ....... ....... ....... ....... ๒๙๓

บทที่ ๑ สญั ญาวธิ าน วา่ ด้วยวิธีการตงั้ ชื่ออกั ษร บุคคลสามารถที่จะรู้เน้ือความ(อรรถ)ท้ังปวงได้ก็ด้วยอักษร เม่ืออักษรวิบัติแล้วก็เข้าใจ เนอื้ ความได้ยาก อรรถหรอื เน้ือความท่วี ่านัน้ มี ๓ ประการ คือ (๑) โลกิยตฺถ เนอ้ื ความอันเปน็ โลกิยะ ได้แก่ โลกิยจิต ๘๑ เจตสกิ ๕๒ รูป ๒๘ (๒) โลกุตฺตรตฺถ เน้อื ความอนั เปน็ โลกตุ ตระ ได้แก่ มรรค ๔ ผล ๔ นพิ พาน ๑ (๓) โวหารตถฺ หรอื ปญญฺ ตตฺ อิ ตถฺ เนอ้ื ความอนั เปน็ คำ� เรยี ก หรอื เปน็ บญั ญตั ขิ องชาวโลก ได้แก่ มนษุ ย์ เทวดา พรหม ชาย หญิง เปน็ ตน้ อกั ษรภาษาบาลี ๔๑ ตัว คำ� ว่า “อกฺขร” แปลว่า วณั ณะที่ไม่เสยี หายไป อักษร มีวิเคราะห์ว่า “นกฺขรนฺตีติ อกฺขรา” - ช่ือว่าอักษร เพราะไม่เสียหายไป (น + ขร ธาตุ + อ ปัจจยั ) หมายความวา่ อกั ษรในภาษาบาลที ง้ั ๔๑ ตวั เราจะใชอ้ ยา่ งไร กไ็ มเ่ สยี หายไป เพราะเปน็ บญั ญตั ิ ดงั มพี ทุ ธพจนท์ วี่ า่ “รปู ํ ชรี ติ มจจฺ านํ นามโคตตฺ ํ น ชรี ต”ิ - รปู ขนั ธข์ องสตั วท์ งั้ หลาย ยอ่ ม ฉบิ หายไป สว่ นบญั ญตั ิ คอื ชอ่ื และโคตร ยอ่ มไมฉ่ บิ หายไป หรอื คำ� วา่ ไมห่ มดสน้ิ ไป หมายความวา่ เราจะใชอ้ กั ษรมากมายเทา่ ไร อกั ษรกย็ งั คงมอี ยเู่ ทา่ เดมิ คอื ใชไ้ มร่ จู้ กั หมดสนิ้ ไป อกั ษรในภาษาบาลีนนั้ มี ๔๑ ตวั คอื อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ, ก ข ค ฆ ง, จ ฉ ช ฌ ญ, ฏ  ฑ ฒ ณ, ต ถ ท ธ น, ป ผ พ ภ ม, ย ร ล ว ส ห ฬ อํ สระ ๘ ตัว ค�ำว่า “สร” แปลว่า เป็นไปเอง คือออกเสียงได้ด้วยตัวเอง หรือยังพยัญชนะให้เป็นไป คอื ชว่ ยใหพ้ ยญั ชนะออกเสียงไดเ้ ต็มเสยี ง มรี ูปวิเคราะห์วา่ “สรนฺติ คจฺฉนฺตตี ิ สรา” แปลวา่ ยอ่ มเปน็ ไป เพราะเหตุน้ัน จงึ ชอื่ ว่า สระ หมายความวา่ สระทุกตัวสามารถท่จี ะออกเสียงเองได้

2 ไวยากรณบ์ าลเี บ้อื งต้น โดยไมต่ อ้ งอาศยั พยญั ชนะชว่ ยออกเสยี ง หรอื วเิ คราะหว์ า่ “พยฺ ญชฺ เน สาเรนตฺ ตี ปิ ิ สรา” แปลวา่ ยังพยัญชนะท้ังหลาย ย่อมให้เป็นไป เพราะเหตุน้ัน จึงช่ือว่า สระ (สร ธาตุ + อ ปัจจัย) หมายความว่า เป็นท่ีพึ่งพิงของพยัญชนะในด้านการออกเสียง เพราะล�ำพังตัวพยัญชนะเอง มีเสียงเพียงคร่ึงมาตราเท่านั้น ไม่สามารถที่จะออกเสียงได้เต็มที่ด้วยตัวเอง ต้องอาศัยสระช่วย ในการออกเสยี ง สระนนั้ มี ๘ ตัว คอื อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ สระท่ีมเี สยี งสนั้ (มาตราเบา) เรียกว่า รัสสสระ มี ๓ ตวั คอื อ อิ อุ สระท่มี ีเสียงยาว (มาตราหนัก) เรียกว่า ทฆี สระ มี ๕ ตัว คอื อา อี อู เอ โอ สระนนั้ จัดเปน็ คูไ่ ด้ ๓ คู่ คอื อ อา เรยี กว่า อ วณั ณะ, อิ อี เรียกวา่ อิ วัณณะ และ อุ อู เรยี กวา่ อุ วณั ณะ เพราะเกดิ ในฐานเดียวกนั ส่วน เอ กับ โอ เป็น สังยุตตสระ คือประกอบด้วยเสียงสระสองตัว ได้แก่ อ กับ อิ ผสมกนั เป็น เอ และ อ กับ อุ ผสมกันเป็น โอ พยัญชนะ ๓๓ ตัว คำ� วา่ “พยฺ ญชฺ น” แปลวา่ แสดงเนอื้ ความใหป้ รากฏชดั มวี เิ คราะหว์ า่ “พยฺ ญชฺ ยี ติ เอเตหิ อตโฺ ถติ พยฺ ญฺชนา” - ชอ่ื ว่าพยัญชนะ เพราะแสดงเนอ้ื ความ พยัญชนะมี ๓๓ ตัว คือ ก ข ค ฆ ง, จ ฉ ช ฌ , ฏ  ฑ ฒ ณ, ต ถ ท ธ น, ป ผ พ ภ ม, ย ร ล ว ส ห ฬ อํ พยัญชนะ ๓๓ ตวั นี้ จัดเป็น ๒ พวก คือ วรรค และ อวรรค สำ� หรบั พยัญชนะวรรค จดั เป็น ๕ วรรค มี ๒๕ ตวั ดังนี้ (๑) ก ข ค ฆ ง เรยี กวา่ ก วรรค (๒) จ ฉ ช ฌ  เรยี กวา่ จ วรรค (๓) ฏ  ฑ ฒ ณ เรียกว่า ฏ วรรค (๔) ต ถ ท ธ น เรยี กว่า ต วรรค (๕) ป ผ พ ภ ม เรยี กว่า ป วรรค พยัญชนะท้ัง ๒๕ ตวั นี้ เรยี กว่า วรรค เพราะเกดิ ในฐานและกรณเ์ ดียวกนั สว่ นพยัญชนะอกี ๘ ตวั ทเี่ หลอื คอื ย, ร, ล, ว, ส, ห, ฬ, อํ เรยี กวา่ อวรรค เพราะไมเ่ ป็น พวกเดียวกัน ตามฐานและกรณ์ท่เี กดิ พยัญชนะแบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท คือ (๑) ปุพฺพาสยพฺยญฺชน คือพยัญชนะท่ีอาศัยสระข้างหน้าออกเสียง มีหน่ึงตัว คือ อํ (นิคหติ )

3 สญั ญาวิธาน วา่ ด้วยวธิ ตี งั้ ชื่ออกั ษร (๒) ปราสยพยฺ ญฺชน คอื พยัญชนะทอ่ี าศยั สระข้างหลังออกเสียง มี ๓๒ ตวั คอื ก ข ค ฆ ง, จ ฉ ช ฌ , ฏ  ฑ ฒ ณ, ต ถ ท ธ น, ป ผ พ ภ ม, ย ร ล ว ส ห ฬ ฐาน ๖ ค�ำว่า “ฐาน” แปลว่า สถานที่อันเป็นท่ีเกิดของอักษร(เสียง) มีวิเคราะห์ว่า “ติฏฺฐติ เอตฺถาติ านํ” - อักษรย่อมเกิดข้ึนในท่ีนี้ เพราะเหตุน้ัน ชื่อว่า าน (า ธาตุ + ยุ ปัจจัย) มี ๖ ฐาน แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คอื ๑. เอกชฐาน อกั ษรท่เี กิดฐานเดียว มีดงั นี้ (๑) กณฺฐฐาน (คอ) ได้แก่ อ วณั ณะ ก วรรค และ ห อักษร = อวณฺณ กวคฺค หการา กณฺ ชา (๒) ตาลุาน (เพดาน) ได้แก่ อิ วัณณะ จ วรรค และ ย อกั ษร = อวิ ณณฺ จวคคฺ ยการา ตาลุชา (๓) มุทฺธาน (ป่มุ เหงอื ก) ไดแ้ ก่ ฏ วรรค ร อักษร และ ฬ อกั ษร = ฏวคคฺ รการ ฬการา มุทฺธชา (๔) ทนตฺ าน (ฟัน) ไดแ้ ก่ ต วรรค ล อกั ษร และ ส อักษร = ตวคฺค ลการ สการา ทนฺตชา (๕) โอฏฺ าน (รมิ ฝีปาก) ไดแ้ ก่ อุ วณั ณะ และ ป วรรค = อุวณฺณ ปวคคฺ า โอฏฺ ชา (๖) นาสกิ าาน (จมกู ) ไดแ้ ก่ นิคหติ = นคิ ฺคหีตํ นาสกิ ฏฺ านชํ ๒. ทวฺ ิชฐาน อักษรท่เี กดิ สองฐาน มดี งั น้ี เอ อกั ษร เกดิ ที่ คอ และเพดาน เรียกวา่ กณฺตาลุช = เอกาโร กณฺ ตาลุโช โอ อกั ษร เกดิ ที่คอ และรมิ ฝปี าก เรยี กว่า กณฺโฏฺช = โอกาโร กณโฺ ฏฺโช ว อกั ษร เกิดท่ฟี นั และริมฝปี าก เรยี กวา่ ทนโฺ ตฏฺ ช = วกาโร ทนฺโตฏฺ โช ง  ณ น ม อักษร เกิดท่ีฐานของตนและท่ีจมูกเรียกว่า สกฏฺฐานนาสกิ ฏฺฐานช = งณนมา สกฏฺฐานชา นาสิกฏฺฐานชา จ

4 ไวยากรณ์บาลเี บื้องต้น กรณ์ ๔ คำ� วา่ “กรณ”์ แปลวา่ เครอื่ งกระทำ� เสยี ง มวี เิ คราะหว์ า่ “กรยี นตฺ ิ อุจจฺ ารยี นเฺ ต เอเตนาติ กรณํ” - อักษรทงั้ หลาย ย่อมถกู ออกเสียง ด้วยทา่ มกลางลิ้นเปน็ ตน้ น้ี เพราะเหตุนัน้ ทา่ มกลาง ลิ้นเปน็ ต้นนี้ ช่ือว่ากรณ์ (กร ธาตุ + ยุ ปัจจยั ) กรณ์นัน้ มี ๔ อย่าง คือ (๑) ชิวหฺ ามชฌฺ (ทา่ มกลางลนิ้ ) ได้แก่ อกั ษรทเ่ี กดิ ตาลฐุ าน = ชวิ ฺหามชฺฌํ ตาลชุ านํ (๒) ชิวฺโหปคฺค (ใกลป้ ลายลิน้ ) ได้แก่ อักษรท่ีเกดิ มุทธฐาน = ชวิ โฺ หปคฺคํ มทุ ธฺ ชานํ (๓) ชวิ หฺ คฺค (ปลายล้นิ ) ได้แก่ อักษรท่ีเกิดทันตฐาน = ชิวหฺ คคฺ ํ ทนตฺ ชานํ (๔) สกฏฺฐาน (ฐานของตน) ได้แก่ อักษรท่เี หลือ = เสสา สกฏฐฺ านกรณา ปยตนะ ๔ คำ� ว่า “ปยตน” แปลว่า ความพยายามในการเปล่งเสียง มี ๔ อยา่ ง คอื (๑) สํวุตปยตน ความพยายามในการปิดฐานและกรณ์ ได้แก่ อ อักษร = สํวุตํ อการสสฺ (๒) วิวฏปยตน ความพยายามในการเปดิ ฐานและกรณ์ ไดแ้ ก่ สระ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ส อกั ษร และ ห อกั ษร = เสสสรานํ สการหการานญฺจ (๓) ผุฏฺฐปยตน ความพยายามในการท�ำให้ฐานและกรณ์กระทบกันหนักๆ ได้แก่ พยญั ชนะวรรคทง้ั ๒๕ ตัว = ผุฏฺํ วคฺคานํ (๔) อสี ผํ ฏุ ฐฺ ปยตน  ความพยายามในการทำ� ใหฐ้ านและกรณก์ ระทบกนั เลก็ นอ้ ย ไดแ้ ก่ ย ร ล และ ว อกั ษร = อสี ํผุฏฺฐํ ยรลวานํ

5 สัญญาวธิ าน ว่าด้วยวิธีตง้ั ช่อื อกั ษร ค�ำเรียกชอ่ื ของสระและพยัญชนะ (๑) นสิ สฺ ย ได้แก่สระทง้ั ๘ ตวั เพราะสระเป็นทีอ่ าศยั ของพยญั ชนะในการออกเสยี ง (๒) นสิ ฺสิต ได้แก่พยญั ชนะ ๓๓ ตัว เพราะเปน็ ผ้อู าศยั สระในการออกเสยี ง เสียงของอักษร มาตราของอักษร มีดังนี้คือ สระเสียงสั้น มีหนึ่งมาตรา, สระเสียงยาว มีสองมาตรา, พยัญชนะทั้งหมด มกี ง่ึ มาตรา โฆสะ ได้แก่อกั ษรทีม่ ีเสียงกอ้ ง มี ๒๑ ตัว คอื ค ฆ ง, ช ฌ , ฑ ฒ ณ, ท ธ น, พ ภ ม, ย ร ล ว ห ฬ มีบาลีวา่ “วคฺคานํ ตตยิ จตตุ ถฺ ปญฺจมา ย-ร-ล-ว-ห-ฬา จาติ เอกวสี ติ โฆสา” (สำ� หรบั จ�ำ : สาม สี่ ห้า ย-ร-ล-ว-ห-ฬ =โฆสะ) อโฆสะ ไดแ้ กอ่ ักษรทมี่ ีเสียงไม่กอ้ ง มี ๑๑ ตวั คือ ก ข, จ ฉ, ฏ  , ต ถ, ป ผ, ส มีบาลีวา่ “วคคฺ านํ ปมทตุ ยิ า สกาโร จ อโฆสา” (ส�ำหรับจ�ำ : หนึ่ง สอง ส = อโฆสะ) สถิ ลิ ะ ได้แก่อักษรทม่ี ีเสยี งอ่อนนมุ่ เสียงเบา มี ๑๐ ตัว คอื ก ค, จ ช, ฏ ฑ, ต ท, ป พ มบี าลีวา่ “สิถลิ ํ นาม ปญฺจสุ วคเฺ คสุ ปมตตยิ ”ํ อกั ษรตัวท่หี นงึ่ และสามในวรรคทั้งหา้ ชอ่ื วา่ สิถิละ (ส�ำหรับจ�ำ : หนึ่ง สาม = สิถิละ) ธนติ ะ ได้แก่อักษรทม่ี เี สียงแขง็ เสียงดัง มี ๑๐ ตัว คอื ข ฆ, ฉ ฌ,  ฒ, ถ ธ, ผ ภ มบี าลวี ่า “ธนติ ํ นาม เตเสฺวว ทุติยจตุตถฺ ํ” อกั ษรตวั ท่ีสองและสใี่ นวรรคทงั้ หา้ เหล่านน้ั ชอ่ื วา่ ธนิตะ (ส�ำหรบั จ�ำ : สอง ส่ี = ธนิตะ) สงั โยคะ ได้แก่พยัญชนะตั้งแตส่ องตวั ข้ึนไปอยตู่ ดิ กันโดยไมม่ สี ระมาคัน่ มีบาลีว่า “สรานนตฺ รติ านิ พฺยญชฺ นานิ สํโยโค” พยญั ชนะทงั้ หลายที่ไม่มสี ระคั่นในระหวา่ ง เรยี กว่า สังโยค เช่น ทตวฺ า ระหว่าง ตฺ กับ วฺ เป็นสงั โยคกนั

ผังอกั ษรภาษาบาลี 6 ไวยากรณบ์ าลเี บื้องตน้ สระ ๘ (นิสสยะ) พยัญชนะ ๓๓ (นสิ สติ ะ) รัสสะ ทีฆะ วรรค ๒๕ อวรรค ๘ กรณ โฆสะ อโฆสะ วิมุตตะ ฐานเกิดเสียง เครอื งทำาเสยี ง เกิด ๑ หรอื อ วณั ณะ อ อโฆสะ โฆสะ ๖ ๔ ๒ ฐาน สิถลิ ะ ธนติ ะ สถิ ิละ ธนติ ะ วมิ ตุ ตะ ห กัณฐฺ ชะ สกัฏฐานะ ๑ ๒ ๓๔๕ คอ ฐานตน อา ก วรรค ก ข ค ฆ ง อิ วัณณะ อิ อี จ วรรค จ ฉ ช ฌ ญ ย ส ตาลุชะ ชวิ หามชั ฌะ เอกชะ อุ วัณณะ ฏ วรรค ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ฬ เพดาน ทามกลางลิน ทวชิ ะ ต วรรค ต ถ ท ธ น ล มทุ ธชะ ชิวโหปคั คะ ปมุ เหงือก ถดั ปลายลิน อุ อู ป วรรค ป ผ พ ภ ม ทันตชะ ชวิ หคั คะ สังยตุ ตะ เอ ฟนั ปลายลนิ โอฏฐชะ สกฏั ฐานะ โอ ริมฝปี าก ฐานตน ว กัณฐตาลชุ ะ สกฏั ฐานะ คอ+เพดาน ฐานตน กัณโฐฏฐชะ สกฏั ฐานะ คอ+รมิ ฝีปาก ฐานตน ทนั โตฏฐชะ สกัฏฐานะ ฟนั +ริมฝีปาก ฐานตน ตามออำอิ อุ นาสกิ ัฏฐานชะ สกฏั ฐานะ เอกชะ จมูก ฐานตน ปิด ัสฐงา ุวนตกะร ณ อีสงั ผฏุ ฐะ ววิ ฏะ ีอสังผุฏฐะ ฐานกรณ เปิดฐานกรณ ฐานกรณ์กระทบ ักนเล็ก ้นอยกระทบ ววิ ฏะ ผุฏฐะ เลก็ นอ ย เปดิ ฐานกรณ ฐานกรณก ระทบหนกั ปยตนะ ความพยายามในการออกเสียง ๔

บทที่ ๒ สนธวิ ธิ าน วา่ ดว้ ยวิธีการเชอ่ื มบท สนธิ คอื การเชอ่ื มคำ� การตอ่ คำ� (Combination) มวี เิ คราะหว์ า่ “สนธฺ ยิ นตฺ ิ เอตถฺ ปทานิ อกฺขรานิ จาติ สนธฺ ,ิ สหํ ติ ปท”ํ บทและอักษรย่อมถูกเช่อื มในบทนี้ เพราะเหตนุ ้นั บทนี้ ชือ่ วา่ สนธิ ไดแ้ ก่บทท่ีถูกเชอ่ื ม หรือวเิ คราะหว์ า่ “สนฺธียตีติ สนฺธ”ิ - ย่อมถกู ตอ่ ดว้ ยดี เพราะเหตนุ ้นั ชอื่ วา่ สนธิ “สนทฺ ธาตตี ิ สนธฺ ”ิ - ยอ่ มตอ่ ดว้ ยดี เพราะเหตนุ น้ั ชอื่ วา่ สนธิ (สํ + ธา ธาตุ + อิ ปจั จยั ) ศพั ท์ท่ีจะนำ� มาท�ำสนธิกันไดน้ น้ั มี ๒ ประเภท คือ (๑) ศัพทท์ ีม่ ีวภิ ตั ติ เช่น จตตฺ าโร + อเิ ม ต่อสนธิเปน็ จตฺตาโรเม (๒) สนธใิ นบทสมาส เช่น กต + อุปกาโร ต่อสนธิเปน็ กโตปกาโร ส�ำหรบั ประโยชน์ของสนธนิ นั้ เพอ่ื ยน่ อกั ษรใหน้ ้อยลง เป็นอปุ การะในการแต่งฉันท์ และ ท�ำค�ำพดู ให้สละสลวย สนธิ มี ๔ ประเภท (๑) สรสนธิวิธาน คือวิธีของสรสนธิ เป็นการเช่ือมระหว่างสระกับสระหรือเชื่อมใน เพราะสระ มวี เิ คราะหว์ า่ “สรานํ สนธฺ ิ สรสนธฺ ”ิ - บททถี่ กู เชอื่ มระหวา่ งสระกบั สระ ชอ่ื วา่ สรสนธิ หรอื วิเคราะห์วา่ “สเรสุ สนธฺ ิ สรสนฺธ”ิ - บททถี่ ูกเช่อื ม ในเพราะสระทงั้ หลาย ช่อื วา่ สรสนธิ (๒) ปกติสนธิวธิ าน คือวธิ ีของปกติสนธิ เพราะพยัญชนะหรอื สระหลัง สระท้งั หลายมี รปู คงเดมิ (๓) พยัญชนสนธิวิธาน คือวิธีของพยัญชนสนธิ เป็นการเชื่อมระหว่างพยัญชนะ กับสระ หรือในเพราะพยัญชนะ มีวิเคราะห์ว่า “พฺยญฺชนานํ สนฺธิ พฺยญฺชนสนฺธิ” - บทท่ี ถูกเช่ือมระหว่าง พยัญชนะกับสระ ชื่อว่า พยัญชนสนธิ หรือวิเคราะห์ว่า “พฺยญฺชเนสุ สนฺธิ พยฺ ญชฺ นสนฺธ”ิ - บททีถ่ ูกเชือ่ ม ในเพราะพยญั ชนะทง้ั หลาย ช่อื ว่า พยัญชนสนธิ (๔) นิคหิตสนธิวิธาน คือวิธีของนิคหิตสนธิ เป็นการใช้นิคหิตในการเชื่อมบท มี วเิ คราะหว์ ่า นิคคฺ หีตานํ สนฺธิ นิคคฺ หตี สนฺธิ - การเช่อื มแห่งนคิ หติ ทัง้ หลายช่อื ว่า นิคหิตสนธิ สนธิกิรโิ ยปกรณ์ ๘ สนธกิ ริ ิโยปกรณ์ คืออปุ กรณ์หรอื วิธใี นการท�ำสนธทิ ั้ง ๔ ประเภทนัน้ มี ๘ ประการ คอื (๑) โลป การลบ

8 ไวยากรณบ์ าลเี บ้อื งตน้ (๒) อาเทส การแปลงอักษร (๓) อาคม การลงอกั ษรใหม่ (๔) วิการ การเปล่ยี นแปลง การกลบั หนา้ กลบั หลัง (วปิ รตี ะ หรือวปิ รยิ ยะ) (๕) ปกติ การคงอกั ษรไว้ตามเดิม (๖) ทฆี การทำ� สระเสยี งส้ัน ใหเ้ ป็นสระเสยี งยาว (๗) รสสฺ การท�ำสระเสียงยาว ให้เป็นสระเสยี งสน้ั และ (๘) สญโฺ ญค การซ้อนพยญั ชนะ หรือการเทวภาวะ วิธีท�ำสนธิ มี ๘ วิธี โลปาเทโส จ อาคโม วกิ าโร ปกตีปิ จ ทีโฆ รสฺโส สญโฺ ญโคติ สนธฺ ิเภทา ปกาสติ า ประเภทของสนธิ ทา่ นกลา่ วว่ามี ๘ ประการ คอื โลป การลบ, อาเทส การแปลงอกั ษร, อาคม การลงอกั ษรใหม่, วิการ การเปลี่ยนแปลง การกลับหน้ากลบั หลัง (วิปรีตะ หรือวิปริยยะ), ปกติ การคงอักษรไว้ตามเดิม, ทีฆ การท�ำสระเสียงส้ันให้เป็นสระเสียงยาว, รสฺส การท�ำสระ เสียงยาวให้เป็นสระเสียงสน้ั , สญโฺ ญค การซอ้ นพยญั ชนะ หรือการเทวภาวะ ๑. โลปวธิ ิ วิธีการลบ ๑.๑ ปพุ ฺพสฺสรโลป ลบสระหนา้ เช่น โลกคฺคปุคฺคโล โลก + อคคฺ ปุคคฺ โล ๑.๒ ปรสสฺ รโลป ลบสระหลงั เช่น ยสสฺ ทานิ ยสฺส + อทิ าน ิ กตนฺต ิ กตํ + อิต ิ ๑.๓ พยฺ ญชฺ นโลป ลบพยญั ชนะ เชน่ เอวสํ เอวํ + อสสฺ วุตฺยสฺส วตุ ตฺ ิ + อสฺส ๑.๔ นคิ ฺคหีตโลป ลบนิคหติ เช่น ตาสาหํ ตาสํ + อหํ พทุ ฺธาน สาสนํ พุทฺธานํ + สาสนํ ๒. อาเทสวิธิ วธิ กี ารแปลง หรอื อาเทศ ๒.๑ สราเทส แปลงสระ เชน่ มฺยายํ เม + อยํ กวฺ ตโฺ ถ โก + อตฺโถ

สนธวิ ธิ าน วา่ ดว้ ยวธิ กี ารเช่อื มบท 9 พยฺ ญชฺ นํ วิ + อญชฺ นํ ตยิ นตฺ ํ ติ + อนตฺ ํ ควาชนิ ํ โค + อชนิ ํ ปุถุชชฺ โน ปุถ + ชโน โอกาโส อว + กาโส มโนมยํ มน + มยํ ๒.๒ พฺยญชฺ นาเทส แปลงพยัญชนะ เชน่ โนนีตํ นว + นีตํ ชจจฺ นฺโธ ชาติ + อนโฺ ธ นพิ ฺพานํ นิ + วานํ ปลิโพโธ ปริ + โพโธ ทกุ ฺกฏํ ทุ + กตํ นยิ โก นิยโต นิยปํ ตุ ฺตํ นชิ ปํ ตุ ฺตํ กลุ ูปโก กลุ ูปโค ปณธิ านํ ปนธิ านํ ๒.๓ สพฺพาเทส แปลงทั้งตัว เช่น อจฺจนตฺ ํ อติ + อนตฺ ํ อพฺภกขฺ านํ อภิ + อกฺขานํ อชฌฺ คมา อธิ + อคมา ปฏคฺคิ ปติ + อคฺค ิ ๒.๔ นิคฺคหตี าเทส แปลงนิคหติ เชน่ ตณฺหงกฺ โร ตณฺหํ + กโร ปจจฺ ตตฺ ญฺเญว ปจจฺ ตฺตํ + เอว สญโฺ ญโค สํ + โยโค ตมหํ ตํ + อหํ เอวํ วุตฺเต เอวํ + วตุ เฺ ต ๓. อาคมวิธิ วิธีการลงอักษรใหม ่ ๓.๑ สราคม ลงสระอาคม เชน่ เอส ธมฺโม เอโส + ธมฺโม ปโรสตํ ปร + สตํ

10 ไวยากรณ์บาลเี บือ้ งต้น ๓.๒ พยฺ ญชฺ นาคม ลงพยัญชนะอาคม เชน่ ยถยิทํ ยถา + อิทํ ติวงคฺ ลุ ํ ติ + องฺคลุ ํ ลหเุ มสฺสต ิ ลหุ + เอสฺสติ อุทโย อุ + อโย อโิ ต นายติ อิโต + อายติ ตสฺมา ตหิ ตสฺมา + อิห นิรนฺตรํ นิ + อนฺตรํ สฬายตนํ ฉ + อายตนํ อตปิ ฺปโค โข ตาว อติปฺป + โข ตาว สุหชุ ู จ สุ + อุชู จ ปุถเคว ปุถ + เอว ปเคว ปา + เอว ๓.๓ นิคคฺ หตี าคม ลงนคิ หิตอาคม เชน่ จกขฺ ํุ อทุ ปาท ิ จกขฺ ุ + อุทปาทิ ๔. วิการวธิ ิ วิธกี ารวิการ หรือเปลยี่ นอกั ษร (วปิ ริต, วิปรยิ ยะ) ๔.๑ สรวิการ เปลย่ี นแปลงสระ เชน่ โนเปต ิ น + อุเปต ิ อุคคฺ เต อว + คเต ๔.๒ พยฺ ญชฺ นวกิ าร สลบั ท่ีพยัญชนะ เชน่ ปยริ ุทาหาสิ ปรยิ ทุ าหาสิ ๕. ปกตวิ ธิ ิ วิธปี กติ (ไม่เปลี่ยนแปลง คงเดิม) ๕.๑ เพราะสระหลัง ปกติสระหน้า เชน่ จานนทฺ อนจิ ฺจสญฺญา จานนทฺ อนจิ ฺจสญฺญา ๕.๒ เพราะพยญั ชนะหลงั ปกติสระหน้า เชน่ ภาสติ วา กโรติ วา ภาสติ วา กโรติ วา ๖. ทฆี วิธิ วธิ ที ีฆสระ (ท�ำสระเสยี งสั้น ให้เป็นสระเสยี งยาว) ๖.๑ ปพุ ฺพสฺสรทฆี ทีฆสระหนา้ เชน่ กึสธู กสึ ุ + อธิ ๖.๒ ปรสสฺ รทฆี ทีฆสระหลัง เชน่ สทฺธธี สทธฺ า + อิธ ตยฺ าสสฺ เต + อสสฺ

11 สนธิวิธาน ว่าด้วยวิธกี ารเชอื่ มบท ๗. รสฺสวิธิ วธิ รี สั สสระ (ท�ำสระเสยี งยาว ใหเ้ ปน็ สระเสยี งสนั้ ) ๗.๑ ปุพฺพสฺสรรสฺส รัสสสระหนา้ เช่น ยถรวิ ยถา + เอว โภวาทิ นาม โภวาที + นาม ๘. สญฺโควิธิ วิธกี ารซ้อนพยญั ชนะ หรอื เทฺวภาว ๘.๑ สทิสเทวฺ ภาว ซ้อนพยัญชนะตวั ที่เหมือนกนั เช่น อิธปฺปมาโท อิธ + ปมาโท มหพฺพลํ มห + พลํ วิญฺาณํ วิ + าณํ ๘.๒ อสทสิ เทฺวภาว ซอ้ นพยญั ชนะตัวทไ่ี มเ่ หมอื นกนั เชน่ รูปกขฺ นโฺ ธ รูป + ขนโฺ ธ ปคฆฺ รติ ป + ฆรติ ๒.๑ วิธขี องสรสนธิ สรสนธวิ ธิ าน คอื วธิ ขี องสรสนธิ เปน็ การเชอ่ื มระหวา่ งสระกบั สระหรอื เชอื่ มในเพราะสระ มสี ระเป็นนมิ ิต มวี ิเคราะหว์ ่า “สรานํ สนฺธิ สรสนธฺ ”ิ - บททีถ่ กู เชอื่ มระหว่างสระกับสระ ชือ่ ว่า สรสนธิ หรอื “สเรสุ สนฺธิ สรสนฺธ”ิ - บททถี่ กู เช่อื ม ในเพราะสระ ชือ่ วา่ สรสนธิ วิธีของสรสนธิน้ี มี ๖ วิธี คือ (๑) โลปวิธิ วิธีการลบ (๒) อาเทสวิธิ วิธีการแปลง (๓) อาคมวิธิ วิธีการลงอักษรตัวใหม่ (๔) วิการวิธิ วิธีการเปล่ียนอักษร (๕) ทีฆวิธิ วิธีการ ท�ำสระเสียงส้ัน ให้เป็นสระเสียงยาว และ (๖) รสฺสวิธิ วิธีการท�ำสระเสียงยาว ให้เป็นสระ เสยี งสนั้ ดังนี้ ๑. โลปวิธิ วิธกี ารลบ ๑.๑ ปพุ พฺ โลป เพราะสระหลัง ลบสระหน้า เชน่ โลกคคฺ ปคุ ฺคโล มาจาก “โลก + อคคฺ ปุคคฺ โล” ภิกฺขุโนวาโท มาจาก “ภิกขฺ นุ ี + โอวาโท” จกฺขายตนํ มาจาก “จกฺขุ + อายตนํ” ๑.๒ ปรโลป หลงั จากอสรูปสระ ลบสระหลัง เชน่ อติ ิปิ มาจาก “อิติ + อปิ”, จกขฺ นุ ฺทฺริยํ มาจาก “จกขฺ ุ + อนิ ทฺ ฺรยิ ํ” สญฺญาติ มาจาก “สญฺ า + อิต”ิ โสหํ มาจาก “โส + อห”ํ

12 ไวยากรณ์บาลเี บ้อื งตน้ ๑.๓ เพราะสระหลงั ลบสระหนา้ และลง อ อาคม เช่น เอส อตฺโถ มาจาก “เอโส + อตโฺ ถ” เอส อาโภโค มาจาก “เอโส + อาโภโค” เอส อทิ านิ มาจาก “เอโส + อิทานิ” ๒. อาเทสวธิ ิ วิธกี ารแปลงอกั ษร ๒.๑ เพราะสระหลัง แปลง เอ เปน็ ยฺ เช่น มฺยายํ มาจาก “เม + อยํ” ตยฺ าหํ มาจาก “เต + อหํ” ยฺยาสสฺ มาจาก “เย + อสสฺ ” ปพพฺ ตฺยาหํ มาจาก “ปพฺพเต + อหํ” ๒.๒ เพราะสระหลัง แปลง อุ เปน็ วฺ เช่น อนฺวทฺธมาสํ มาจาก “อนุ + อทธฺ มาส”ํ อเนวฺ ติ มาจาก “อนุ + เอต”ิ สฺวาคตํ มาจาก “สุ + อาคต”ํ จกขฺ ฺวาปาถํ มาจาก “จกขฺ ุ + อาปาถํ” ๒.๓ เพราะสระหลัง แปลง โอ เปน็ วฺ เช่น อถ ขวฺ สสฺ มาจาก “อถ โข + อสฺส” เสฺวว มาจาก “โส + เอว” กวฺ ตฺโถ มาจาก “โก + อตโฺ ถ” ยตวฺ าธิกรณํ มาจาก “ยโต + อธิกรณ”ํ ๒.๔ เพราะสระหลงั แปลง อิ เป็น ยฺ เช่น พยฺ ากโต มาจาก “วิ + อากโต”, พฺยญฺชนํ มาจาก “วิ + อญชฺ นํ”, วตุ ยฺ สฺส มาจาก “วตุ ฺติ + อสฺส”, นทยฺ าสนฺโน มาจาก “นที + อาสนฺโน” ๒.๕ เพราะสระหลัง แปลง ติ เป็น จฺ เชน่ อจฺจนตฺ ํ มาจาก “อติ + อนฺต”ํ ปจจฺ โย มาจาก “ปติ + อโย” ปจจฺ ตฺตํ มาจาก “ปติ + อตฺตํ” อิจฺจาทิ มาจาก “อิติ + อาท”ิ

13 สนธิวธิ าน วา่ ด้วยวิธีการเชอื่ มบท ๒.๖ เพราะสระหลงั แปลง อภิ เปน็ อพภฺ ฺ เชน่ อพภฺ กฺขานํ มาจาก “อภิ + อกฺขานํ” อพฺภคุ ฺคจฉฺ ติ มาจาก “อภิ + อคุ ฺคจฉฺ ติ” อพโฺ ภกาโส มาจาก “อภิ + โอกาโส” ๒.๗ เพราะสระหลงั แปลง อธิ เป็น อชฌฺ ฺ เช่น อชฌฺ คมา มาจาก “อธิ + อคมา”, อชโฺ ฌคาเหตวฺ า มาจาก “อธิ + โอคาเหตวฺ า” อชฺฌาหรติ มาจาก “อธิ + อาหรต”ิ ๒.๘ เพราะสระหลัง แปลง ธ เปน็ ท เชน่ เอกมิทาหํ มาจาก “เอกํ + อธิ + อห”ํ ๒.๙ เพราะสระหลัง แปลง เอ เปน็ ริ และรัสสะสระหน้า เช่น ยถรวิ มาจาก “ยถา + เอว” ตถริว มาจาก “ตถา + เอว” ๒.๑๐ เพราะสระหลงั แปลง อิ เป็น อิยฺ เชน่ ติยทธฺ ํ มาจาก “ติ + อทฺธํ” อคฺคิยาคาเร มาจาก “อคคฺ ิ + อคาเร” สตตฺ มิยตฺเถ มาจาก “สตฺตมี + อตฺเถ” ๒.๑๑ เพราะสระหลงั แปลง อุ ทีช่ ่อื ล เปน็ อุวฺ เชน่ ภิกขฺ วุ าสเน มาจาก “ภิกขฺ ุ + อาสเน” ทวุ งฺคิกํ มาจาก “ทุ + องคฺ ิก”ํ ปุถวุ าสเน มาจาก “ปถุ ุ + อาสเน” ๒.๑๒ เพราะสระหลัง แปลง โอ ของ โค ศัพท์ เป็น อวฺ เช่น ควาชนิ ํ มาจาก “โค + อชนิ ํ” คเวฬกํ มาจาก “โค + เอฬกํ” ๓. อาคมวธิ ิ วิธกี ารลงอักษรตัวใหม่ ๓.๑ เพราะสระหลัง ลง คฺ อาคม เช่น ปุถเคว มาจาก “ปถุ + เอว” ปเคว มาจาก “ปา + เอว” ๓.๒ เพราะสระหลงั ลง ยฺ อาคม เชน่ ยถยิทํ มาจาก “ยถา + อิทํ” มายิทํ มาจาก “มา + อิทํ”

14 ไวยากรณ์บาลีเบ้ืองต้น นวยิเม ธมฺมา มาจาก “นว + อเิ ม ธมมฺ า” ปรโิ ยสานํ มาจาก “ปริ + โอสานํ” ๓.๓ เพราะสระหลงั ลง วฺ อาคม เช่น “ติ + องฺคุลํ” ติวงคฺ ุลํ มาจาก “ติ + องฺคกิ ํ” ตวิ งฺคกิ ํ มาจาก “ปาคญุ ฺ + อชุ ุตา” ปาคุญฺญวุชตุ า มาจาก “ป + อจุ จฺ ติ” ปวุจฺจติ มาจาก “อธิ + อาห”ุ ๓.๔ เพราะสระหลัง ลง มฺ อาคม เช่น “ครุ + เอสสฺ ติ” อธิ มาหุ มาจาก “ภทโฺ ร กสา + อวิ ” ครุเมสฺสติ มาจาก “ภายติ + เอว” ภทฺโร กสามิว มาจาก “อุ + อปาทิ” ภายติเมว มาจาก “อุ + อโย” ๓.๕ เพราะสระหลัง ลง ทฺ อาคม เช่น “สกิ + เอว” อทุ ปาทิ มาจาก “เกนจิ + เอว” อทุ โย มาจาก “อโิ ต + อายต”ิ สกเิ ทว มาจาก “จิรํ + อายติ” เกนจิเทว มาจาก “อชฺช + อคเฺ ค” ๓.๖ เพราะสระหลงั ลง นฺ อาคม เชน่ “ยสมฺ า + อิห” อโิ ต นายติ มาจาก “ตสมฺ า + อหิ ” จิรํ นายติ มาจาก “นิ + อนฺตร”ํ ๓.๗ เพราะสระหลัง ลง ตฺ อาคม เช่น “นิ + อาลโย” อชฺชตคฺเค มาจาก “ปาตุ + อโหสิ” ยสฺมาติห มาจาก “ปนุ + เอติ” ตสมฺ าตหิ มาจาก “ฉ + อภิญฺ า” ๓.๘ เพราะสระหลงั ลง รฺ อาคม เช่น “ฉ + อายตน”ํ นริ นตฺ รํ มาจาก นิราลโย มาจาก ปาตรุ โหสิ มาจาก ปุนเรติ มาจาก ๓.๙ เพราะสระหลัง ลง ลฺ อาคม เชน่ ฉฬภญิ ฺญา มาจาก สฬายตนํ มาจาก

15 สนธิวิธาน ว่าด้วยวิธีการเชอื่ มบท ฉฬงฺคํ มาจาก “ฉ + องคฺ ”ํ ฉฬาสตี ิ มาจาก “ฉ + อสตี ิ” ๔. วกิ ารวธิ ิ วธิ กี ารเปลยี่ นแปลงสระ วกิ าร อ,ิ อี เปน็ เอ และ อุ เปน็ โอ ๔.๑ เมอื่ ลบ อสรูปสระหลงั แลว้ วกิ ารสระหน้า เชน่ โสตถฺ ิ มาจาก “สุ + อตถฺ ”ิ ๔.๒ เมอ่ื ลบ อสรปู สระหนา้ แล้ว วกิ ารสระหลงั เช่น อเุ ปกขฺ ติ มาจาก “อปุ + อิกฺขต”ิ ชิเนริตํ มาจาก “ชนิ + อรี ิตํ” จนโฺ ททโย มาจาก “จนทฺ + อทุ โย” ยโถทเก มาจาก “ยถา + อทุ เก” ๕. ทฆี วธิ ิ วธิ กี ารท�ำสระเสยี งสน้ั ใหเ้ ปน็ สระเสยี งยาว ๕.๑ เม่ือลบสระหนา้ แล้ว ทีฆะสระหลัง เช่น พุทธฺ านุสฺสติ มาจาก “พุทธฺ + อนสุ ฺสติ” ยานีธ ภตู านิ มาจาก “ยานิ + อิธ ภูตาน”ิ พหปู การํ มาจาก “พหุ + อุปการ”ํ ๕.๒ เมอื่ ลบสระหลงั แล้ว ทฆี ะสระหนา้ เช่น โลกสฺสาติ มาจาก “โลกสฺส + อิติ” สาธูติ มาจาก “สาธุ + อิติ” เทวาติ มาจาก “เทว + อิติ” สงฆฺ าฏปี ิ มาจาก “สงฆฺ าฏิ + อป”ิ ๖. รสสฺ วธิ ิ วธิ กี ารท�ำสระเสยี งยาว ใหเ้ ปน็ สระเสยี งสน้ั - หลงั จากทฆี ะสระ แปลง เอ เปน็ ริ และรัสสะสระหนา้ เช่น ยถรวิ มาจาก “ยถา + เอว” ตถรวิ มาจาก “ตถา + เอว” - เพราะสระหลงั ลง คฺ อาคม และรสั สะ ปา นิบาต เช่น ปเคว มาจาก “ปา +เอว” ๒.๒ วธิ ขี องปกตสิ นธิ ปกตริ ปู มไี ด้ใน ๓ ฐานะ (๑) ฉนฺทเภทฏฺฐาน ในคาถา เม่ือมีการลบหรือการแปลงเป็นต้นอย่างใดอย่างหน่ึง แล้ว จะท�ำให้ฉันทลักษณะเสียไป ในท่ีเช่นน้ีให้คงไว้ตามปกติได้ เช่นในคาถาว่า “ปีติภกฺขา

16 ไวยากรณ์บาลีเบอ้ื งตน้ ภวิสฺสามิ เทวา อาภสฺสรา ยถา” ตรงค�ำว่า “เทวา อาภสสฺ รา” ถ้าแยก-ลบ-รวมแลว้ จะมรี ปู เป็น “เทวาภสฺสรา ยถา” เหลอื เพยี ง ๗ พยางค์ ท�ำให้อนุฏฐุภาฉนั ทซ์ งึ่ กำ� หนดใหม้ บี าทละ ๘ พยางค์ เสียไป ฉะน้นั จึงต้องคงไว้ตามเดิม (๒) อสุขุจฺจารณฏฺฐาน ในจุณณิยะก็ดี ในคาถาก็ดี เม่ือมีการลบหรือการแปลง อย่างใดอย่างหน่ึงแล้ว ท�ำให้ออกเสียงยาก สวดไม่สะดวก ในท่ีเช่นนี้ให้คงไว้ตามปกติได้ เช่น ในค�ำว่า “คาถา อชฺฌภาสิ” ถ้าแยก-ลบ-รวม เป็น “คาถชฺฌภาสิ” แล้วจะท�ำให้ออกเสียงยาก สวดไม่สะดวก ฉะนนั้ จึงต้องคงไวต้ ามเดิม (๓) สนธิจฺฉารหิตฏฺฐาน ในท่ีไม่ต้องการท�ำสนธิ ก็ให้คงไว้ตามปกติได้ เช่น ในท่ี ตอ้ งการแสดงการตดั บท เปน็ ต้นวา่ “สญฺา อิต,ิ ฉายา อวิ ” และในทต่ี อ้ งการแสดงรปู วิเคราะห์ เป็นตน้ วา่ “ชิตานิ อนิ ฺทรฺ ยิ านิ เยน” ๑. เพราะสระหลัง สระทงั้ หลายมรี ูปเปน็ ปกติ บ้าง (๑) อาลปนนฺเตสุ บทที่มีอาลปนะเปน็ ทีส่ ดุ ให้เป็นปกตสิ นธิ เชน่ กตมา จานนทฺ อนิจฺจสญฺญา = ดูกอ่ นอานนท์ อนจิ จสัญญา เป็นไฉน ? ภกิ ขฺ ุ อโรคํ ตว สลี ํ = ดูก่อนภิกษุ ศีลของเธอ เปน็ สภาพไม่มโี รค (๒) อสมาเส ปทนตฺ ทเี ฆสุ ทฆี ะสระที่เป็นทส่ี ดุ บททไ่ี ม่ใช่สมาส ให้เป็นปกตสิ นธิ เช่น อายสมฺ า อานนโฺ ท = พระอานนท์ผ้มู ีอายุ เอโก เอกาย = สองต่อสอง (ชายกับหญิง) จตฺตาโร โอฆา = โอฆะทัง้ ส ่ี - นิปาเตสปุ ิ แม้ในบทนิบาต กใ็ หเ้ ปน็ ปกติสนธิ เชน่ อโห อจฺฉริโย = โอ นา่ อศั จรรย์ อถ โข อายสฺมา = ครงั้ นน้ั แล ท่านผู้มีอายุ (๓) นามปทนฺตอิการุกาเรสุ = ใน อิ อักษรและ อุ อักษรที่เป็นที่สุดของนามบทท่ีมี อตตี กริ ยิ าอยู่หลัง ใหเ้ ป็นปกติสนธิ เช่น คาถาหิ อชฺฌภาสิ = ไดต้ รัสแลว้ ด้วยคาถาทัง้ หลาย ปุปผฺ านิ อาหรึสุ = น�ำมาแล้ว ซง่ึ ดอกไม้ท้งั หลาย สตฺถุ อทาสิ = ได้ถวายแล้ว แด่พระพทุ ธเจ้า ๒. เพราะพยัญชนะหลงั สระทง้ั หลายมีรูปเปน็ ปกติ ภาสติ วา กโรติ วา = ย่อมกล่าว หรือ หรือว่าย่อมกระท�ำ เวทนากขฺ นฺโธ = เวทนาขันธ์

17 สนธิวิธาน วา่ ด้วยวิธีการเชื่อมบท ๒.๓ วธิ ีของพยัญชนสนธิ พยัญชนสนธิวิธาน คือ วิธีของพยัญชนสนธิ เป็นการเช่ือมระหว่างพยัญชนะกับ สระ หรือการเชือ่ มในเพราะพยญั ชนะ มีพยญั ชนะเปน็ นิมิต มวี เิ คราะห์ว่า “พฺยญชฺ นานํ สนธฺ ิ พฺยญฺชนสนธฺ ”ิ - บททถ่ี กู เชอื่ มระหวา่ งพยญั ชนะกบั สระ ชอ่ื วา่ พยญั ชนสนธิ หรอื วเิ คราะหว์ า่ “พยฺ ญชฺ เนสุ สนฺธิ พยฺ ญชฺ นสนธฺ ”ิ - บทท่ถี กู เชอื่ มในเพราะพยญั ชนะ ชื่อวา่ พยญั ชนสนธิ วิธขี องพยัญชนสนธิ มี ๖ วิธี คือ (๑) โลปวธิ ิ วธิ กี ารลบ (๒) อาเทสวธิ ิ วิธกี ารแปลง (๓) อาคมวิธิ วิธีการลงอักษรตัวใหม่ (๔) ทีฆวิธิ วิธีการท�ำสระเสียงส้ัน ให้เป็นสระเสียงยาว (๕) รสฺสวิธิ วิธีการท�ำสระเสียงยาว ให้เป็นสระเสียงสั้น และ (๖) สญฺโควิธิ วิธีการซ้อน พยญั ชนะ ดังนี้ ๑. โลปวิธิ วิธีการลบสระ - เพราะพยัญชนะ ลบสระหนา้ เชน่ เอส ธมโฺ ม มาจาก “เอโส + ธมโฺ ม” เอส ปตโฺ ตสิ มาจาก “เอโส + ปตฺโตสิ” ส สีลวา มาจาก “โส + สลี วา” ส มนุ ิ มาจาก “โส + มุน”ิ ๒. อาเทสวธิ ิ วธิ กี ารแปลงอกั ษร ๒.๑ แปลง ตยฺ เป็น จ เชน่ ชจฺจนโฺ ธ มาจาก “ชาติ + อนโฺ ธ” ๒.๒ แปลง ลฺย เปน็ ล เชน่ วิปลลฺ าโส มาจาก “วปิ ริ + อาโส” ๒.๓ แปลง นยฺ เปน็  เช่น อญญฺ าโย มาจาก “อนิ + อาโย” ๒.๔ แปลง ทยฺ เปน็ ช เช่น ยชฺเชวํ มาจาก “ยทิ + เอว”ํ ๒.๕ แปลง สยฺ เปน็ ส เช่น โปรสิ ํ มาจาก “ปุริส + ณฺย” ๒.๖ แปลง ก วรรค กับ ย เปน็ ก วรรค เชน่ เนปกฺกํ มาจาก “นปิ ก + ณยฺ ” ๒.๗ แปลง จ วรรค กบั ย เปน็ จ วรรค เชน่ วาณิชชฺ ํ มาจาก “วาณิช + ณยฺ ” ๒.๘ แปลง ป วรรค กบั ย เป็น ป วรรค เช่น อปเฺ ปกจฺเจ มาจาก “อปิ + เอกจเฺ จ” เป็นตน้

18 ไวยากรณ์บาลีเบือ้ งตน้ ๒.๙ แปลง ถฺย เปน็ ฉ เช่น ตจฺฉํ มาจาก “ตถ + ณยฺ ” ๒.๑๐ แปลง ธยฺ เป็น ฌ เชน่ โพชฺฌงฺคา มาจาก “โพธิ + องคฺ า” ๒.๑๑ แปลง ณฺย เปน็  เช่น สามญญฺ ํ มาจาก “สมณ + ณยฺ ” ๒.๑๒ แปลง ว เปน็ พ เชน่ กุพฺพนโฺ ต มาจาก “กุ + วนฺโต” อทุ ยพพฺ ยํ มาจาก “อุทย + วยํ” นิพฺพนิ ทฺ ติ มาจาก “นิ + วนิ ฺทติ” ปพพฺ ชติ มาจาก “ป + วชต”ิ ๒.๑๓ แปลง ร เปน็ ล เชน่ ปลลฺ งกฺ ํ มาจาก “ปริ + องฺก”ํ ปลิโพโธ มาจาก “ปรโิ พโธ” ปลปิ นโฺ น มาจาก “ปรปิ นโฺ น” ๒.๑๔ แปลง ต เป็น ฏ เชน่ ทุกกฺ ฏํ มาจาก “ทุกฺกตํ” สุกฏํ มาจาก “สกุ ตํ” ปหโฏ มาจาก “ปหโต” ปตถฺ โฏ มาจาก “ปตถฺ โต” วิสโฏ มาจาก “วิสโต” ๒.๑๕ แปลง ต เปน็ ก เช่น นยิ โก มาจาก “นยิ โต” ๒.๑๖ แปลง ช เปน็ ย เช่น นิยํปุตตฺ ํ มาจาก “นิชํปุตฺต”ํ ๒.๑๗ แปลง ค เป็น ก เชน่ กลุ ปู โก มาจาก “กลุ ปู โค” ๒.๑๘ แปลง น เปน็ ณ เชน่ ปณธิ านํ มาจาก “ปนิธานํ” ๒.๑๙ เพราะพยญั ชนะ แปลง ปติ เปน็ ปฏิ เช่น ปฏคฺคิ มาจาก “ปติ + อคฺค”ิ ปฏหิ ญญฺ ติ มาจาก “ปติ + หญฺ ต”ิ ปฏปิ ตฺติ มาจาก “ปติ + ปตฺต”ิ

19 สนธิวิธาน วา่ ด้วยวธิ ีการเช่ือมบท ๒.๒๐ เพราะพยญั ชนะ แปลง อ ท่ีสุดของ ปถุ นิบาต เปน็ อุ เช่น ปุถุชฺชโน มาจาก “ปุถ + ชโน” ปถุ ุภตู ํ มาจาก “ปุถ + ภตู ํ” ๒.๒๑ เพราะพยัญชนะ แปลง อว เปน็ โอ เชน่ โอกาโส มาจาก “อว + กาโส” โอวทติ มาจาก “อว + วทต”ิ โอสานํ มาจาก “อว + สานํ” โอนทโฺ ธ มาจาก “อว + นทฺโธ” ๒.๒๒ เพราะพยญั ชนะ แปลง อว เปน็ อุ เชน่ อคุ ฺคเต มาจาก “อว + คเต” อคุ คฺ จฉฺ ติ มาจาก “อว + คจฺฉต”ิ อุคคฺ เหตฺวา มาจาก “อว + คเหตฺวา” ๒.๒๓ แปลง อ เป็น โอ ท่ามกลางสมาสและตัทธิต เช่น เตโชกสณิ ํ มาจาก “เตช + กสณิ ” อโหรตฺตํ มาจาก “อห + รตฺตํ” อาโปธาตุ มาจาก “อาป + ธาตุ” มโนมยํ มาจาก “มน + มย”ํ อโยมยํ มาจาก “อย + มย” ๓. อาคมวิธิ วธิ ีการลงอักษรใหม่ - เพราะพยญั ชนะ ลง โอ อาคม เชน่ ปโรสตํ มาจาก “ปร + สตํ” ปโรสหสฺสํ มาจาก “ปร + สหสฺส”ํ ๔. ทีฆวธิ ิ วิธีการท�ำสระเสยี งส้ัน ให้เป็นสระเสียงยาว - เพราะพยัญชนะ ทฆี ะสระหนา้ เช่น ตยฺ าสสฺ มาจาก “เต + อสฺส” สฺวากฺขาโต มาจาก “สุ + อกขฺ าโต” ขนตฺ ี ปรมํ ตโป ติตกิ ฺขา มาจาก “ขนตฺ ิ ปรมํ ตโป ติตกิ ฺขา” ๕. รสฺสวิธิ วิธีการท�ำสระเสียงยาว ใหเ้ ป็นสระเสียงส้นั - เพราะพยัญชนะ รัสสะสระหน้า เช่น ยิฏฺฐวํ หุตํว โลเก มาจาก “ยิฏฺํ วา หตุ ํ วา โลเก” วสิมฺหิ มาจาก “วสี + อมหฺ ”ิ

20 ไวยากรณบ์ าลเี บือ้ งตน้ ยถาภาวิ คุเณน โส มาจาก “ยถาภาวี คุเณน โส” ๖. สญโฺ ควิธิ วธิ กี ารซอ้ นพยัญชนะ ๖.๑ ซ้อนพยัญชนะตัวท่ีเหมือนกัน เรียกว่า สทิสเทฺวภาว ได้แก่การซ้อน พยัญชนะ ตัวที่ ๑ ข้างหน้าพยัญชนะตวั ที่ ๑ พยญั ชนะตัวที่ ๓ ซ้อนหน้าพยญั ชนะตัวท่ี ๓ และ พยญั ชนะตัวที่ ๕ ซ้อนหนา้ พยัญชนะตัวท่ี ๕ ในวรรคท้ังหา้ เชน่ ยถากกฺ มํ มาจาก “ยถา + กม”ํ อนคุ ฺคโห มาจาก “อนุ + คโห” วญิ ญฺ าณํ มาจาก “วิ + าณ”ํ ๖.๒ ซ้อนพยัญชนะตัวท่ีไม่เหมือนกัน เรียกว่า อสทิสเทฺวภาว ได้แก่การซ้อน พยัญชนะ ตวั ท่ี ๑ ข้างหนา้ พยัญชนะตวั ท่ี ๒ ซ้อนพยัญะตวั ท่ี ๓ ข้างหน้าพยัญชนะตวั ที่ ๔ ใน วรรคทงั้ ห้า เช่น รูปกฺขนฺโธ มาจาก “รูป + ขนฺโธ” ปคฆฺ รติ มาจาก “ป + ฆรต”ิ ๒.๔ วธิ ขี องนิคหิตสนธิ นิคคหีตสนธิวิธาน คือวิธีของนิคหิตสนธิ ใช้นิคหิตในการเช่ือมต่อบท มีวิเคราะห์ว่า “นคิ คฺ หีตานํ สนธฺ ิ นิคฺคหตี สนธฺ ิ - การเช่อื มแหง่ นคิ หิตทั้งหลาย ชอื่ ว่านิคหิตสนธิ” วธิ ีของนคิ หติ สนธิ มี ๓ วิธี คอื (๑) โลปวธิ ิ วธิ ีการลบ (๒) อาเทสวิธิ วิธีการแปลง และ (๓) อาคมวธิ ิ วิธกี าร ลงนคิ หิตอาคม ดงั นี้ ๑. โลปวธิ ิ วธิ ีการลบอกั ษร ๑.๑ เพราะสระหลัง ลบนคิ หติ เช่น ตาสาหํ มาจาก “ตาสํ + อห”ํ อทาสาหํ มาจาก “อทาสึ + อห”ํ เอวาหํ มาจาก “เอวํ + อห”ํ กฺยาหํ มาจาก “กึ + อห”ํ ๑.๒ เพราะพยัญชนะ ลบนคิ หิต เช่น เอตํ พุทธฺ าน สาสนํ มาจาก “เอตํ พุทฺธานํ สาสน”ํ อรยิ สจจฺ าน ทสฺสนํ มาจาก “อริยสจจฺ านํ ทสฺสนํ” คนตฺ กุ าโม มาจาก “คนฺตุํ + กาโม”

21 สนธิวธิ าน วา่ ด้วยวธิ กี ารเชอ่ื มบท ๑.๓ หลงั จากนคิ หติ ลบสระหลัง เชน่ กตนฺติ มาจาก “กตํ + อติ ิ” จกกฺ ํว มาจาก “จกฺกํ + อิว” ตวฺ สํ ิ มาจาก “ตฺวํ + อส”ิ อิทมฺปิ มาจาก “อทิ ํ + อป”ิ สทสิ ํว มาจาก “สทิสํ + เอว” ๑.๔ เมอ่ื ลบสระหลงั แลว้ หลงั จากนคิ หติ ลบพยญั ชนะสงั โยค เชน่ เอวสํ มาจาก “เอวํ + อสสฺ ” ปปุ ฺผสํ า อุปฺปชชฺ ิ มาจาก “ปปุ ผฺ ํ + อสสฺ า อปุ ฺปชชฺ ิ” ๒. อาเทสวธิ ิ วิธีการแปลงนิคหิต ๒.๑ เพราะพยัญชนะวรรค แปลงนิคหติ เป็นทส่ี ุดวรรค เชน่ สงฺคโห มาจาก “สํ + คโห” ชุตนิ ฺธโร มาจาก “ชตุ ึ + ธโร” ธมมฺ ญฺจเร มาจาก “ธมมฺ ํ + จเร” สมภฺ โู ต มาจาก “สํ + ภโู ต” ๒.๒ เพราะ ล แปลงนิคหิต เปน็ ลฺ เชน่ ปฏิสลฺลโี น มาจาก “ปฏิสํ + ลีโน” ปลุ ลฺ ิงฺคํ มาจาก “ปํุ + ลิงคฺ ํ” สลลฺ กขฺ ณา มาจาก “สํ + ลกฺขณา” สลเฺ ลโข มาจาก “สํ + เลข” สลลฺ าโป มาจาก “สํ + ลาโป” ปฏสิ ลฺลาโน มาจาก “ปฏสิ ํ + ลาโน” ๒.๓ เพราะ เอ และ ห แปลงนคิ หติ เป็น ฺ เช่น ปจจฺ ตฺตญเฺ ญว มาจาก “ปจฺจตฺตํ + เอว” ตญฺเว มาจาก “ตํ + เอว” ตญหฺ ิ ตสสฺ มาจาก “ตํ + หิ ตสฺส” เอวญฺหิ มาจาก “เอวํ + ห”ิ ๒.๔ เพราะ ย แปลง นคิ หติ กบั ย เป็น ฺ เชน่ สญโฺ ญโค มาจาก “สํ + โยโค” สญญฺ าจิกาย มาจาก “สํ + ยาจกิ าย” สญฺโญชนํ มาจาก “สํ + โยชน”ํ

22 ไวยากรณ์บาลีเบือ้ งตน้ ๒.๕ เพราะสระหลงั แปลงนิคหติ เปน็ มฺ เชน่ ตมหํ มาจาก “ตํ + อหํ” ยมาหุ มาจาก “ยํ + อาหุ” ธนเมว มาจาก “ธนํ + เอว” กิเมตํ มาจาก “กึ + เอตํ” ๒.๖ เพราะสระหลงั แปลงนคิ หิต เปน็ ทฺ เชน่ เอตทโวจ มาจาก “เอตํ + อโวจ” ยทนจิ จฺ ํ มาจาก “ยํ + อนจิ ฺจํ” ตทนตฺตา มาจาก “ตํ + อนตตฺ า” เอตเทว มาจาก “เอตํ + เอว” ๒.๗ เพราะพยัญชนะ แปลงนิคหติ เปน็ อํ เช่น เอวํ วตุ เฺ ต มาจาก “เอวํ + วุตฺเต” ตํ สาธุ มาจาก “ตํ + สาธ”ุ เอกํ สมยํ ภควา มาจาก “เอกํ + สมยํ + ภควา” ๓. อาคมวิธิ วิธกี ารลงนคิ หิตอาคม ๓.๑ เพราะสระ ลงนคิ หติ อาคม เช่น จกขฺ ํุ อุทปาทิ มาจาก “จกขฺ ุ อุทปาท”ิ ๓.๒ เพราะพยญั ชนะ ลงนคิ หิตอาคม เช่น อวํสิโร มาจาก “อว + สโิ ร” อณถํุ ลู านิ มาจาก “อณุ + ถลู าน”ิ ยาวญฺจิธ ภิกฺขเว มาจาก “ยาว + จ + อิธ ภกิ ฺขเว” ตํขเณ มาจาก “ต + ขเณ” ตสํ ภาโว มาจาก “ต + สภาโว” ตสํ มฺปยตุ ฺตา มาจาก “ต + สมปฺ ยตุ ตฺ า”

บทท่ี ๓ นาม ว่าดว้ ยบททป่ี ระกอบวิภัตตินาม ความหมายของนาม ค�ำว่า “นาม” แปลว่า ชอ่ื (Noun) เปน็ ช่ือของคน สัตว์ ที่ สงิ่ ของ เป็นตน้ มีวเิ คราะหว์ า่ “อตฺถํ นมตตี ิ นามํ - ชอ่ื วา่ นาม เพราะน้อมไปสู่ความหมาย” ตามวิเคราะหน์ ้ี ดงั ตัวอย่าง เช่น ปุริสศัพท์ ย่อมน้อมไปสู่ทัพพะ คือ บุรุษ หมายความว่า เม่ือกล่าวคำ� ว่า “ปุริส” ก็ท�ำให้นึกถึง รปู รา่ ง ลกั ษณะ ของผชู้ าย หรอื วเิ คราะห์วา่ “อตฺตนิ อตถฺ ํ นาเมตีติ นามํ (นมุ+ณ) - ชอ่ื ว่า นาม เพราะยังความหมาย ให้น้อมมาในตน” ตามวิเคราะห์น้ี เป็นการกล่าวกลับกันอีกนัยหน่ึง ดังตัวอย่างเช่น ปุริส ศัพท์นี้ ดึงเอาความหมายของบุรุษมาไว้ในตน หมายความว่า ค�ำว่า “ปรุ สิ ” นี้ สามารถอธบิ ายความหมาย หรือคำ� จำ� กัดความท้ังหมดที่มอี ยใู่ น “ปรุ ิส ศพั ท์” ๑. นามมี ๒ ประเภท คือ (ก)​ อนฺวตฺถนาม คือนามท่ีเป็นไปตามอรรถ หรือตามความเป็นจริง เช่น ปุริโส คำ� ว่า“ปรุ โิ ส”นี้ แปลวา่ “บรุ ษุ ,ผชู้ าย” มีวเิ คราะห์วา่ “มาตาปติ ูนํ หทยํ ปเู รตีติ ปรุ โิ ส - บุคคลใด ย่อมยังใจ ของบิดามารดาให้เต็ม เพราะเหตุน้ัน บุคคลน้ัน ช่ือว่าปุริส (บุรุษ)” จริงอย่างน้ัน พอ่ แมย่ อ่ มอิม่ เอบิ ใจเมือ่ ไดล้ ูกชาย ฉะนัน้ คำ� วา่ “ปรุ ิโส” จึงเปน็ อนวตั ถนาม (ข) รุฬฺหีนาม คือนามท่ีต้ังข้ึนมาส�ำหรับเรียกขานเท่านั้น โดยไม่ค�ำนึงถึงความหมาย เชน่ สิรวิ ฑโฺ ฒ ชอ่ื สิรวิ ัฑฒ์ แปลว่า ผูเ้ จรญิ ด้วยสริ ิ แต่เปน็ ชอ่ื ของคนใช้ ๒. นามมี ๓ ประเภท คอื (ก) ปุลลฺ ิงฺคนาม นามที่บง่ ถึงเพศชายของศพั ท์ เช่น รุกโฺ ข ต้นไม้ (ข) อติ ถฺ ลิ งิ คฺ นาม นามทบี่ ่งถงึ เพศหญิงของศัพท์ เชน่ มาลา ระเบยี บ (ค) นปุงสฺ กลิงฺคนาม นามท่ีไม่ระบเุ พศชายและเพศหญงิ ของศพั ท์ เชน่ ธนํ ทรพั ย์ ๓. นามมี ๓ ประเภท คอื ๓.๑ สุทธฺ นาม หรอื นามนาม คอื นามทล่ี ้วนๆ ที่ใชเ้ ป็นประธานของประโยค มี ๒ อย่าง คอื (ก) สาธารณนาม นามทั่วไปไมเ่ จาะจง เชน่ นครํ เมือง (ข) อสาธารณนาม นามที่ไมท่ ัว่ ไปเจาะจง เช่น สาวตถฺ ี เมืองสาวตั ถี

24 ไวยากรณบ์ าลเี บื้องตน้ ๓.๒ คณุ นาม นามท่แี สดงลักษณะพิเศษของสทุ ธนามหรอื นามนาม ว่าดีหรอื ชว่ั ขาว หรือดำ� เปน็ ตน้ มี ๓ ชนั้ คือ ๓.๒.๑ ชน้ั ปกติ เชน่ ปาโป ผู้ชวั่ ๓.๒.๒ ช้ันวิเศษ เชน่ ปาปตโร, ปาปิโย, ปาปสิ โิ ก ผชู้ ่วั กว่า ๓.๓.๓ ชั้นอติวิเศษ เช่น ปาปตโม, ปาปิฏฺโฐ ผูช้ ่วั ทสี่ ดุ ๓.๓ สพพฺ นาม นามทีใ่ ช้แทนช่ือคน สตั ว์ ที่ สิ่งของทกี่ ล่าวมาแล้ว มี ๒ อย่าง คอื (ก) ปรุ ิสสพฺพนาม นามท่ใี ช้เป็นประธานในประโยคได้ มี ๓ บรุ ษุ คือ ๑) ปฐมบุรษุ หมายถึง บคุ คลที่เรากลา่ วถงึ ไดแ้ ก่ ต ศพั ท์ (เขา, นน้ั ) ๒) มชั ฌมิ บรุ ษุ หมายถงึ บคุ คลทเ่ี ราพดู ดว้ ย ไดแ้ ก่ ตมุ หฺ ศพั ท์ (ทา่ น) ๓) อตุ ตมบรุ ษุ หมายถงึ ตัวเราเอง ได้แก่ อมฺห ศัพท์ (ข้าพเจา้ ) (ข) วเิ สสนสพฺพนาม สัพพนามทท่ี ำ� หน้าท่เี ปน็ ตัวขยายสทุ ธนาม มี ๒๕ ตัว คอื สพพฺ , กตร, กตม, อภุ ย, อติ ร, อญญฺ , อญญฺ ตร, อญญฺ ตม, ปุพพฺ , ปร, อปร, ทกฺขณิ , อุตตฺ ร, อธร, ย, ต, เอต, อิม, อมุ, ก,ึ เอก, อุภ, ทฺว,ิ ติ และ จตุ ศัพท์ [หมายเหตุ :- เฉพาะ ต ศัพท์ เปน็ ไดท้ ง้ั ปรุ สิ สัพพนามและวิเสสนสพั พนาม และ กึ ศัพท์ มีใชเ้ ปน็ ประธานได]้ ๔. นามมี ๔ ประเภท คือ (ก) สามญฺญนาม คอื นามท่มี สี ภาพเหมือนๆ กัน หรือช่อื ทวั่ ไป เช่น รุกฺโข ตน้ ไม้ (ข) คุณนาม คือนามท่ีแสดงลักษณะพิเศษของคน สัตว์ สิ่งของเป็นต้น ในด้าน คุณลกั ษณะบา้ ง เช่น ดี ช่ัว รูปทรงสณั ฐานบา้ ง เชน่ สงู ต่ำ� หรอื สีสัน เชน่ ขาว ดำ� เปน็ ต้น เชน่ นโี ล สีเขยี ว (ค) กิรยิ านาม คือนามท่แี สดงกริ ิยาอาการ เช่น ปาจโก ผหู้ งุ (ง) ยทิจฺฉานาม คือนามที่ต้ังข้ึนมาตามความพอใจ มิได้มุ่งเอาความหมาย เช่น สริ ิวฑโฺ ฒ ชือ่ ทาสรบั ใชว้ ่าสริ ิวัฑฒ์ ลิงค์ ลิงค์ คือเพศของศัพท์ หรอื ปกติศพั ท์ เขา้ ไปอย่ใู นทุกๆ บทท่ีเป็นนาม ดงั มวี ิเคราะห์ว่า “ลงิ เฺ คติ คเมติ โพเธตตี ิ ลิงคฺ ํ” - ย่อมให้รวู้ า่ เปน็ ผ้ชู ายเป็นตน้ เพราะเหตุนัน้ ช่อื วา่ ลิงค์ ลงิ คน์ นั้ มี ๓ ประเภท คือ ๓.๑ ปุงลิงค์ ได้แก่ เพศชาย เชน่ ปุริโส ผู้ชาย เปน็ ต้น ๓.๒ อิตถีลงิ ค์ ไดแ้ ก่ เพศหญิง เชน่ อิตฺถี ผหู้ ญงิ เปน็ ต้น ๓.๓ นปุงสกลิงค์ ไดแ้ ก่ ไมใ่ ชเ่ พศชายไมใ่ ช่เพศหญิง เช่น กลุ ํ ตระกลู เปน็ ต้น

25 นาม วา่ ด้วยบทท่ีประกอบวภิ ตั ตินาม การจดั ลิงคข์ องศพั ท์ มี ๒ เกณฑ์ คือ ๑. ลิงค์ตามความเปน็ จรงิ เช่น ปรุ โิ ส แปลวา่ บรุ ษุ เป็นปงุ ลิงค์ เป็นตน้ ๒ ลิงคโ์ ดยสมมติ เชน่ ทาโร แปลวา่ ภรรยา สมมตใิ หเ้ ปน็ ปุงลงิ ค์, ธนํ ทรพั ย์ สมมตใิ ห้ เป็น นปงุ สกลงิ ค์ เป็นต้น การนั ต์ ค�ำวา่ “การันต์” มาจาก “การ + อนฺต” การ แปลวา่ อักษร อนฺต แปลว่า ทีส่ ดุ ไดแ้ ก่ อักษรท่สี ดุ ของศพั ท์มี ๘ การันต์ คือ (๑) อการนฺต นามทีม่ ี อ อักษรเป็นทส่ี ุด เชน่ ปรุ ิส ศพั ท์ (๒) อาการนฺต นามท่ีมี อา อักษรเปน็ ที่สุด เช่น สา ศพั ท์ (๓) อกิ ารนตฺ นามท่มี ี อิ อักษรเป็นทสี่ ุด เชน่ อคฺคิ ศพั ท์ (๔) อีการนตฺ นามทีม่ ี อี อกั ษรเปน็ ที่สุด เช่น ทณฑฺ ี ศพั ท์ (๕) อกุ ารนฺต นามทม่ี ี อุ อักษรเป็นทส่ี ุด เชน่ ภกิ ฺขุ ศพั ท์ (๖) อกู ารนฺต นามทีม่ ี อู อกั ษรเป็นท่ีสุด เชน่ อภภิ ู ศพั ท์ (๗) โอการนฺต นามที่มี โอ อกั ษรเปน็ ที่สดุ เชน่ โค ศัพท์ (๘) นคิ ฺคหีตนตฺ นามท่ีมี นิคหติ เป็นทส่ี ดุ ไดแ้ ก่ กึ ศัพท์ จัดการันต์ตามลิงคท์ งั้ สาม ดงั น้ี ๑. ปลุ ลิงคนาม มี ๗ การนั ต์ คือ ๑.๑ อ การนั ต์ มี ปุรสิ ศัพท์ เปน็ แมแ่ บบในการแจกปทมาลา เรยี กวา่ ปุรสิ าทิคณ ๑.๒ อา การนั ต์ มี สา ศพั ท์ เป็นแม่แบบในการแจกปทมาลา เรยี กวา่ สาทิคณ ๑.๓ อิ การนั ต์ มี อคคฺ ิ ศัพท์ เปน็ แมแ่ บบในการแจกปทมาลา เรียกว่า อคฺคิยาทคิ ณ ๑.๔ อี การันต์ มี ทณฺฑี ศัพท์ เปน็ แมแ่ บบในการแจกปทมาลา เรยี กวา่ ทณฑฺ ิยาทิคณ ๑.๕ อุ การนั ต์ มี ภกิ ขฺ ุ ศัพท์ เปน็ แม่แบบในการแจกปทมาลา เรียกวา่ ภิกฺขฺวาทิคณ ๑.๖ อู การนั ต์ มี อภภิ ู ศพั ท์ เปน็ แม่แบบในการแจกปทมาลา เรียกวา่ อภภิ าทคิ ณ ๑.๗ โอ การันต์ ได้แก่ โคศพั ท ์ ๒. อติ ถีลิงคนาม มี ๖ การันต์ คอื ๒.๑ อา การันต์ มี กญญฺ า ศัพท์ เปน็ แม่แบบในการแจกปทมาลา เรยี กว่า กญฺญาทคิ ณ ๒.๒ อิ การนั ต์ มี รตฺติ ศัพท์ เปน็ แม่แบบในการแจกปทมาลา เรยี กวา่ รตตฺ ิยาทคิ ณ ๒.๓ อี การันต์ มี อติ ถฺ ี ศพั ท์ เป็นแมแ่ บบในการแจกปทมาลา เรียกว่า อิตฺถยิ าทคิ ณ ๒.๔ อุ การันต์ มี ยาคุ ศัพท์ เปน็ แมแ่ บบในการแจกปทมาลา เรียกว่า ยาคุอาทิคณ ๒.๕ อู การนั ต์ มี ชมฺพู ศัพท์ เปน็ แมแ่ บบในการแจกปทมาลา เรียกวา่ ชมพฺ ูอาทิคณ ๒.๖ โอ การนั ต์ ไดแ้ ก่ โค ศัพท์

26 ไวยากรณบ์ าลีเบ้ืองต้น ๓. นปุงสกลิงคนาม มี ๗ การันต์ คือ ๓.๑ อ การนั ต์ มี จิตฺต ศพั ท์ เปน็ แมแ่ บบในการแจกปทมาลา เรยี กวา่ จิตฺตาทคิ ณ ๓.๒ อา การนั ต์ มี อสสฺ ทธฺ า ศพั ท์ เปน็ แมแ่ บบในการแจกปทมาลา เรยี กวา่ อสสฺ ทธฺ าทคิ ณ ๓.๓ อิ การนั ต์ มี อฏฺ ิ ศัพท์ เป็นแมแ่ บบในการแจกปทมาลา เรยี กว่า อฏฐฺ ยฺ าทิคณ ๓.๔ อี การนั ต์ มี สขุ การี ศพั ท์ เปน็ แมแ่ บบในการแจกปทมาลา เรยี กวา่ สขุ การยิ าทคิ ณ ๓.๕ อุ การันต์ มี อายุ ศพั ท์ เปน็ แม่แบบในการแจกปทมาลา เรียกวา่ อายาทคิ ณ ๓.๖ อู การนั ต์ มี โคตฺรภู ศพั ท์ เปน็ แม่แบบในการแจกปทมาลา เรยี กว่า โคตรฺ ภาทคิ ณ ๓.๗ โอ การนั ต์ ได้แก่ จติ ฺตโค ศัพท์ วิภตั ติ ค�ำว่า “วิภัตติ” แปลว่า จ�ำแนก หรือแจกแจงอรรถของลิงค์[นาม/ปาฏิปทิกบท] มีอรรถกรรม เป็นต้น และความเป็นเอกวจนะ หรือพหูวจนะ มีวิเคราะห์ว่า “กมฺมาทิวเสน เอกตฺตาทิวเสน จ ลิงฺคตฺถํ วิภชนฺตีติ วิภตฺติโย ย่อมจ�ำแนกอรรถของลิงค์ มีกรรมเป็นต้น และมีความเป็นของสิ่งเดียว เป็นต้น เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าวิภัตติ” หรือวิเคราะห์ว่า “ปาฏิปทิกตฺโถ วิภชฺชเต เอตายาติ วิภตฺติ เนื้อความของปาฏิปทิกบท ย่อมถูกจ�ำแนก ด้วยวภิ ัตตนิ ี้ เพราะเหตุน้นั ช่อื ว่า วภิ ตั ติ” ได้แก่ วภิ ตั ตนิ าม ๑๔ ตัว คอื สิ โย, อํ โย, นา หิ, ส นํ, สมฺ า หิ, ส นํ, สฺมึ สุ วภิ ตั ติ ๗ หมวดและค�ำแปล วภิ ตั ต ิ ล�ำดบั ที่ เอกวจนะ พหวุ จนะ อายตนบิ าต (ค�ำแปลซงึ่ เปน็ ค�ำเชอ่ื มตอ่ ศพั ท)์ ปฐมา ที่ ๑ ส ิ โย อันว่า..... (อ.), อันว่า....ท้ังหลาย (อ..... ท.) ทตุ ยิ า ท่ี ๒ อ ํ โย ซง่ึ , ส,ู่ ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ ตตยิ า ท่ี ๓ นา หิ ดว้ ย, โดย, อนั , ตาม, เพราะ, ม,ี ด้วยทง้ั จตตุ ถี ท่ี ๔ ส นํ แก,่ เพ่ือ, ต่อ ปญั จมี ท่ี ๕ สฺมา หิ แต,่ จาก, กว่า, เหต,ุ เพราะ ฉัฏฐี ที่ ๖ ส นํ แหง่ , ของ, เมือ่ สัตตมี ท่ี ๗ สฺม ึ สุ ใน, ใกล้, ท่,ี ครั้นเม่อื , ในเพราะ, เหนอื , บน, ณ อาลปนะ ค�ำร้องเรยี ก ส ิ โย แน่ะ, ดกู ่อน, ขา้ แต่ หมายเหตุ : อายตนิบาตฝ่ายพหุวจนะ ให้เติมค�ำว่า “ท. (ท้ังหลาย).....” ต่อท้ายคำ� แปล เช่น ซึง่ ......ท., ส.ู่ ..........ท. ฯลฯ

27 นาม ว่าด้วยบททป่ี ระกอบวภิ ัตตินาม วจนะ หรือพจน์ ค�ำว่า “วจนะ” หรือ “พจน์” เป็นค�ำพูดท่ีแสดงจ�ำนวนของส่ิงท่ีพูดถึงว่ามีจำ� นวนมาก หรือนอ้ ย มี ๒ อยา่ ง คอื (๑) เอกวจนะ หรอื เอกพจน์ แสดงจ�ำนวนของสง่ิ ที่พดู ว่ามอี ยา่ งเดียว (๒) พหวุ จนะ หรอื พหพู จน์ แสดงจำ� นวนของสงิ่ ทพี่ ดู มจี ำ� นวนมาก ตง้ั แตส่ องอยา่ งขน้ึ ไป การท่ีเราจะทราบบทนามนั้นๆ ว่าเป็นเอกวจนะ หรือพหุวจนะได้นั้น อาศัยวิภัตตินาม ทง้ั ๑๔ ตัว เป็นตวั บอกให้ทราบ ๓.๑ ปลุ ลิงคนาม อ การันต์ ปุงลงิ ค์ ปรุ ิสสทฺทปทมาลา (บรุ ษุ , บคุ คล) วิภัตต ิ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา. ปรุ ิโส ปุรสิ า อาลปนะ. โภ ปุริส ปุรสิ า ภวนฺโต ปุรสิ า ทตุ ิยา. ปุรสิ ํ ปรุ ิเส ตติยา. ปุริเสน ปุรเิ สหิ ปรุ ิเสภิ จตตุ ถี. ปุรสิ สสฺ [ปุริสาย ปุรสิ ตถฺ ]ํ ปรุ สิ านํ ปัญจมี. ปรุ ิสา ปุรสิ มฺหา ปุริสสฺมา ปุริเสหิ ปรุ เิ สภิ ฉฏั ฐ.ี ปรุ ิสสฺส ปุรสิ านํ สัตตมี. ปุริเส ปรุ สิ มฺหิ ปุริสสมฺ ึ ปรุ เิ สสุ วธิ ีเปลี่ยนวภิ ัตติ ๑. หลงั จาก อ การนั ตใ์ นปุงลงิ ค์ แปลง สิ เปน็ โอ, แปลง โย ปฐมา เป็น อา และลบ อ หน้า ๒. เพราะสิ (ค) แปลงทีส่ ดุ เป็น อา, รสั สะ อา เป็น อ บา้ ง และลบ สิ (ค) วภิ ัตติ ๓. คง อํ วิภัตติไว,้ แปลง โย ทุติยา เปน็ เอ และลบ อ หน้า ๔. หลังจาก อ การนั ต์ ในปุงลิงค์และนปุงสกลงิ ค์ แปลง นา เป็น เอน และลบ อ หน้า และเพราะ หิ และ สุ วิภตั ติ แปลง อ เปน็ เอ ๕. เพราะ ส วภิ ัตติ ลง สฺ อาคม, หลังจาก อ การันต์ แปลง ส จตุตถีวภิ ตั ติ เปน็ อาย และ ตฺถํ บา้ ง ๖. เพราะ นํ วภิ ตั ติ ทฆี ะ อ เปน็ อา ๗. แปลง สมฺ า เป็น มฺหา และ อา บา้ ง และลบ อ หนา้ ๘. แปลง สมฺ ึ เป็น มฺหิ และ เอ บ้าง และลบ อ หนา้

28 ไวยากรณ์บาลเี บ้ืองต้น ศพั ท์แจกตาม ปรุ ิส มดี ังน้ี สุร เทวดา อสุร อสูร นร คน อุรค งู นาค พญานาค, ช้าง ยกขฺ ยักษ์, เทวดา คนฺธพฺพ คนธรรพ์ กนิ ฺนร กนิ นร มนสุ ฺส มนุษย์ ปสิ าจ ปีศาจ เปต เปรต มาตงฺค ชา้ ง สหี ราชสหี ์ พยฺ คฆฺ เสอื โครง่ อจฉฺ หมี กจฺฉป เตา่ ตรจฉฺ หมาป่า มคิ เนอ้ื อสสฺ มา้ โสณ สุนัข อาโลก แสงสวา่ ง โลก โลก นลิ ย บ้าน อนลิ ลม จาค การสละ โยค การประกอบ, สตู ร วายาม ความพยายาม คาม หมู่บา้ น นคิ ม นิคม, ตำ� บล อาคม การมา, พระปรยิ ตั ธิ รรม ธมมฺ ธรรม, บญุ กศุ ล กาม กาม, ความใคร่ สํฆ พระสงฆ์, หมู่ โอฆ ห้วงน�้ำ โฆส เสียงกอ้ ง ปฏฆิ ความเคียดแค้น มนสททฺ ปทมาลา (ใจ) วภิ ัตต ิ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา. มโน มนา อาลปนะ. เห มน มนา เห มนา ทตุ ยิ า. มนํ มเน ตติยา. มนสา มเนน มเนหิ มเนภิ จตุตถ.ี มนโส มนสสฺ มนานํ ปญั จมี. มนา มนมฺหา มนสมฺ า มเนหิ มเนภิ ฉฏั ฐี. มนโส มนสสฺ มนานํ สตั ตมี. มนสิ มเน มนมหฺ ิ มนสฺม ึ มเนสุ วิธีเปลีย่ นวิภตั ติ ๑. มโนคณะ มีการแจกปทมาลาท่แี ตกต่างออกไป ๔ วภิ ัตติ คอื นา ตตยิ า, ส วภิ ตั ตทิ ั้งจตุตถแี ละฉฏั ฐี และ สฺมึ สตั ตมวี ภิ ตั ติ ๒. แปลง นา ตตยิ า เป็น อา และลง สฺ อาคม ๓. แปลง ส วิภัตติ [จตตุ ถีและฉฏั ฐี] เป็น โอ และลง สฺ อาคม ๔. แปลง สฺมึ สตั ตมี เป็น อิ และลง สฺ อาคม ๕. รูปทเี่ หลือ มวี ิธที �ำตัวรปู และแจกปทมาลาเหมือน ปรุ สิ ศพั ทท์ กุ ประการ

นาม ว่าดว้ ยบทท่ีประกอบวภิ ตั ตนิ าม 29 คาถาแสดงมโนคณศัพท์ มโน วโจ วโย เตโช ตโป เจโต ตโม ยโส อโย ปโย สิโร ฉนโฺ ท สโร อุโร รโห อโห ศัพท์แจกตาม มน เรยี กวา่ มโนคณะ มีดังน้ี วจ ค�ำพดู วย วยั เตช เดช ตป ตบะ,ความเพยี ร เจต ใจ ตม ความมดื ยส ยศ อย เหล็ก ปย น�ำ้ นม สริ ศีรษะ ฉนฺท คัมภรี ์ฉันท์, ความพอใจ, อ�ำนาจ สร สระนำ�้ อรุ อก รห ทลี่ ับ อห วัน คณุ วนฺตสุ ททฺ ปทมาลา (ผูม้ ีคณุ ) วภิ ัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา. คุณวา คณุ วนฺโต คุณวนตฺ า อาลปนะ. โภ คณุ วํ คณุ ว คุณวา ภวนฺโต คณุ วนฺโต คณุ วนตฺ า ทุตยิ า. คณุ วนตฺ ํ คณุ วนเฺ ต ตตยิ า. คุณวตา คุณวนฺเตน คุณวนเฺ ตหิ คุณวนฺเตภิ จตุตถ.ี คณุ วโต คณุ วนฺตสสฺ คุณวตํ คณุ วนตฺ านํ ปญั จมี. คุณวตา คุณวนฺตา คณุ วนตฺ มหฺ า คุณวนตฺ สมฺ า คณุ วนฺเตหิ คณุ วนฺเตภิ ฉฏั ฐี. คณุ วโต คุณวนตฺ สฺส คณุ วตํ คุณวนฺตานํ สัตตม.ี คณุ วติ คณุ วนเฺ ต คณุ วนตฺ มฺหิ คณุ วนตฺ สฺมึ คณุ วนฺเตสุ วธิ ีเปลี่ยนวภิ ัตติ ๑. เพราะ สิ วภิ ตั ติ แปลง นตฺ ุ ปจั จยั กบั สิ วภิ ตั ติ เปน็ อา, แปลง นตฺ ุ กบั โย เปน็ นโฺ ต ๒. เพราะ โย, อํ, นา, ห,ิ น,ํ สมฺ า, สมฺ ึ และ สุ วภิ ตั ติ แปลง อุ ของ นตฺ ุ เปน็ อ ๓. เพราะ สิ อาลปนะ (ค) แปลง นฺตุ กับ สิ วิภัตติ เป็น อํ, อ และ อา ๔. เพราะ นา วิภัตติ แปลง นตฺ ุ กบั นา เป็น ตา ๕. เพราะ ส วิภตั ติ แปลง นตฺ ุ กบั ส เป็น โต, เพราะ ส วภิ ตั ติ แปลง นฺตุ กบั ส เป็น นตฺ สสฺ และเพราะ นํ วภิ ัตติ แปลง นฺตุ กับ นํ เปน็ ตํ ๖. แปลง สมฺ า เปน็ นา

30 ไวยากรณบ์ าลีเบอื้ งตน้ ๗. เพราะ สมฺ ึ วิภตั ติ แปลง นฺตุ กบั สมฺ ึ เปน็ ติ ๘. รูปทเี่ หลือ มวี ิธีทำ� ตวั รูปและแจกปทมาลาเหมอื น ปรุ สิ ศัพทท์ กุ ประการ ศัพทแ์ จกตาม คุณวนตฺ ุ มดี งั น้ี คณวนตฺ ุ ผมู้ ีหมู่ กุลวนฺตุ ผู้มตี ระกลู ดี พลวนฺตุ ผู้มีกำ� ลงั ยสวนตฺ ุ ผ้มู ียศ ธนวนตฺ ุ ผ้มู ที รัพย์ ผลวนตฺ ุ ตน้ ไม้อันมผี ล สลี วนตฺ ุ ผมู้ ศี ลี ปญฺ วนตฺ ุ ผู้มปี ญั ญา ภควนตฺ ุ พระผมู้ พี ระภาค, ผมู้ โี ชค สตุ วนตฺ ุ ผมู้ กี ารไดย้ นิ ได้ฟงั มาก หมิ วนตฺ สุ ททฺ ปทมาลา (ภเู ขาหมิ พานต์) วภิ ัตต ิ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา. หิมวา หมิ วนฺโต หมิ วนฺโต หิมวนตฺ า อาลปนะ. เห หมิ วํ หิมว หิมวา เห หิมวนโฺ ต หิมวนฺตา ทุตยิ า. หมิ วนตฺ ํ หิมวนฺเต ตติยา. หมิ วตา หิมวนฺเตน หิมวนเฺ ตหิ หิมวนฺเตภิ จตตุ ถ.ี หิมวโต หมิ วนฺตสสฺ หิมวตํ หิมวนฺตานํ ปัญจม.ี หิมวตา หิมวนฺตา หิมวนฺตมหฺ า หิมวนฺตสฺมา หมิ วนฺเตหิ หมิ วนฺเตภิ ฉัฏฐี. หิมวโต หิมวนตฺ สฺส หิมวตํ หมิ วนฺตานํ สตั ตม.ี หมิ วติ หิมวนฺเต หิมวนฺตมหฺ ิ หมิ วนตฺ สฺมึ หมิ วนเฺ ตสุ วิธเี ปลีย่ นวิภตั ติ ๑. เพราะ อํ วภิ ัตตแิ ละ ส วภิ ัตติ แปลง นตฺ ุ เปน็ อ ๒. รปู ท่ีเหลอื มวี ธิ ที ำ� ตัวรปู และแจกปทมาลาเหมอื น คณุ วนตฺ ุ ศพั ทท์ ุกประการ ศัพทแ์ จกตาม หมิ วนตฺ ุ มดี งั นี้ สติมนตฺ ุ ผมู้ ีสต ิ ธิตมิ นตฺ ุ ผ้มู คี วามต้งั ม่ัน คติมนฺตุ ผู้มปี ญั ญา มติมนฺตุ ผู้มีปัญญา มตุ ิมนตฺ ุ ผู้มปี ญั ญา มุตตฺ ิมนฺตุ ผูม้ ปี ญั ญา ชตุ มิ นฺตุ ผู้มีรศั มรี งุ่ เรือง สิริมนตฺ ุ ผ้มู สี ิริ หริ มิ นฺตุ ผ้มู คี วามละอาย ถตุ มิ นตฺ ุ ผมู้ กี ารสรรเสรญิ รตมิ นตฺ ุ ผมู้ คี วามยนิ ดี ยตมิ นตฺ ุ ผมู้ คี วามเพยี ร สุจิมนฺตุ ผมู้ คี วามสะอาด กลมิ นตฺ ุ ผมู้ โี ทษ พลิมนฺตุ ผมู้ พี ลีกรรม กสิมนฺตุ ผ้มู ีการไถ รจุ มิ นฺตุ ผูม้ คี วามชอบใจ พุทฺธมิ นฺตุ ผู้มปี ญั ญา จกฺขุมนตฺ ุ ผมู้ ปี ญั ญาจักษุ พนธฺ ุมนฺตุ ผมู้ พี วกพอ้ ง เหตุมนฺตุ ผมู้ เี หตุ เสตุมนฺตุ ผ้มู สี ะพาน เกตุมนตฺ ุ ผู้มีธง ราหุมนตฺ ุ ผ้มู รี าหู

31 นาม วา่ ดว้ ยบทท่ปี ระกอบวภิ ตั ตนิ าม ภาณมุ นตฺ ุ ผมู้ แี สงสวา่ ง ขาณมุ นตฺ ุ ปา่ อนั มตี อ วชิ ชฺ มุ นตฺ ุ ทอ้ งฟา้ อนั มสี ายฟา้ หมายเหตุ :- เฉพาะ สติมนฺตุ และ พนธฺ ุมนตฺ ุ ศัพท์ ใน อํ ทตุ ยิ าวิภตั ติและ ส วิภตั ติ ให้แปลง นฺตุ ปัจจยั ท้งั ตัว เปน็ อ สำ� เร็จรปู เปน็ สตมิ ํ สติมนตฺ ,ํ พนฺธุมํ พนฺธุมนตฺ ํ, สตมิ สฺส สติมโต สติมนตฺ สฺส, พนธฺ ุมสสฺ พนฺธุมโต พนธฺ ุมนตฺ สฺส วิภัตตทิ ีเ่ หลือแจกเหมอื นกับ หมิ วนตฺ ุ ศพั ท์ทกุ ประการ คจฺฉนฺตสทฺทปทมาลา (ผ้ไู ปอย่)ู วภิ ัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา. คจฉฺ ํ คจฺฉนโฺ ต คจฺฉนฺโต คจฺฉนฺตา อาลปนะ. โภ คจฺฉํ คจฺฉ คจฺฉา ภวนฺโต คจฉฺ นฺโต คจฺฉนฺตา ทตุ ิยา. คจฺฉนฺตํ คจฺฉนฺเต ตตยิ า. คจฺฉตา คจฉฺ นเฺ ตน คจฺฉนเฺ ตหิ คจฉฺ นฺเตภิ จตตุ ถ.ี คจฺฉโต คจฉฺ นฺตสสฺ คจฺฉตํ คจฉฺ นฺตานํ ปัญจม.ี คจฺฉตา คจฉฺ นตฺ า คจฺฉนตฺ มหฺ า คจฺฉนฺตสมฺ า คจฺฉนฺเตหิ คจฉฺ นเฺ ตภิ ฉฏั ฐ.ี คจฉฺ โต คจฉฺ นฺตสสฺ คจฉฺ ตํ คจฉฺ นฺตานํ สัตตม.ี คจฺฉติ คจฉฺ นเฺ ต คจฉฺ นตฺ มฺหิ คจฉฺ นตฺ สมฺ ึ คจฉฺ นเฺ ตสุ วิธีเปลีย่ นวภิ ัตติ ๑. เพราะ สิ วภิ ัตติ แปลง นฺต เป็น อํ และลบ สิ วภิ ตั ติ ๒. ให้ตง้ั นฺต เหมอื น นฺตุ ปัจจยั แล้ววิธีการท�ำตวั รูป กใ็ หท้ �ำเหมอื น คุณวนฺตุ ศัพท์ ๓. รูปท่เี หลือ มีวธิ ีทำ� ตัวรปู และแจกปทมาลาเหมอื น คุณวนตฺ ุ ศัพทท์ กุ ประการ ศพั ทแ์ จกตาม คจฉฺ นฺต มีดังน้ี มหนฺต ผบู้ ชู าอยู่ จรนฺต ผเู้ ทยี่ วไปอยู่ ตฏิ ฺ นฺต ผู้ยืนอยู่ ททนฺต ผ้ใู ห้อยู่ ภุญฺชนฺต ผูบ้ รโิ ภคอยู่ สุณนฺต ผฟู้ งั อยู่ ปจนฺต ผูห้ งุ อยู่ ชยนฺต ผชู้ นะอยู่ ชีรนฺต ผแู้ ก่อยู่ จวนฺต ผตู้ ายอย,ู่ เคล่ือน มยี นตฺ ผตู้ ายอยู่ สรนฺต ผรู้ ะลกึ ถงึ อยู่ กพุ พฺ นฺต ผกู้ ระทำ� อยู่ ชปนตฺ ผู้สวดอยู่ วชนตฺ ผไู้ ปอยู่

32 ไวยากรณบ์ าลเี บ้ืองตน้ วิภตั ต ิ ภวนฺตสทฺทปทมาลา (ผูเ้ จริญ, ทา่ น) ปฐมา. อาลปนะ. เอกวจนะ พหวุ จนะ ทตุ ิยา. ภวํ โภนโฺ ต ภวนฺโต ภวนตฺ า ตตยิ า. โภ ภนเฺ ต โภนตฺ โภนฺตา โภนฺโต ภวนฺโต ภวนตฺ า จตุตถ.ี ภวนฺตํ โภนฺเต ภวนเฺ ต ปญั จม.ี โภตา ภวตา ภวนฺเตน ภวนฺเตหิ ภวนฺเตภิ โภโต ภวโต ภวนฺตสสฺ ภวตํ ภวนตฺ านํ ฉัฏฐี. โภตา ภวตา ภวนตฺ า สัตตมี. ภวนฺตมฺหา ภวนตฺ สฺมา ภวนฺเตหิ ภวนฺเตภิ โภโต ภวโต ภวนตฺ สสฺ ภวตํ ภวนตฺ านํ ภวติ ภวนเฺ ต ภวนตฺ มหฺ ิ ภวนตฺ สมฺ ึ ภวนฺเตสุ วิธเี ปล่ียนวิภัตติ ๑. เพราะ โย วิภตั ติ แปลง ว ของ ภวนฺต ศัพท์ เปน็ โอ ๒. เพราะ สิ อาลปนะ (ค) แปลง ภวนฺต ศัพท์ เป็น โภ, ภนเฺ ต, โภนตฺ , โภนฺตา ๓. เพราะ นา วิภตั ตแิ ละ ส วิภัตติ แปลง ว ของ ภวนฺต ศัพท์ เป็น โอ ๔. รปู ที่เหลือ มีวธิ ีทำ� ตวั รูปและแจกปทมาลาเหมือน คณุ วนฺตุ ศัพทท์ ุกประการ สนตฺ สทฺทปทมาลา (มอี ย,ู่ สตั บุรุษ, ผู้สงบ, ผอู้ อ่ นลา้ ) วภิ ัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา. สํ สนฺโต สนโฺ ต สนฺตา อาลปนะ. โภ สํ ส สา ภวนโฺ ต สนโฺ ต สนฺตา ทุติยา. สนฺตํ สนฺเต ตติยา. สตา สนฺเตน สนฺเตหิ สพภฺ ิ จตตุ ถ.ี สโต สนตฺ สสฺ สตํ สนฺตานํ ปัญจมี. สตา สนตฺ า สนตฺ มหฺ า สนตฺ สฺมา สนฺเตหิ สพภฺ ิ ฉฏั ฐี. สโต สนฺตสสฺ สตํ สนฺตานํ สัตตม.ี สติ สนฺเต สนตฺ มหฺ ิ สนตฺ สมฺ ึ สนฺเตสุ วิธีเปล่ยี นวภิ ัตติ ๑. เพราะ ภ แปลง สนฺตศพั ท์ เป็น ส และลง พฺ อาคม ๒. รูปทเี่ หลอื มวี ธิ ีทำ� ตวั รปู และแจกปทมาลาเหมอื น คณุ วนตฺ ุ ศัพท์ทุกประการ

33 นาม วา่ ดว้ ยบททปี่ ระกอบวิภัตตินาม ราชสททฺ ปทมาลา (พระราชา) วิภัตต ิ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา. ราชา ราชาโน อาลปนะ. โภ ราช ราชา ภวนโฺ ต ราชาโน ทุตยิ า. ราชานํ ราชํ ราชาโน ตติยา. รญญฺ า ราเชน ราชหู ิ ราชูภิ ราเชหิ ราเชภิ จตตุ ถี. รญโฺ ญ ราชิโน รญฺญํ ราชนู ํ ราชานํ ปญั จม.ี รญญฺ า ราชูหิ ราชูภิ ราเชหิ ราเชภิ ฉฏั ฐี. รญฺโญ ราชิโน รญฺญํ ราชูนํ ราชานํ สัตตม.ี รญฺเญ ราชนิ ิ ราชสู ุ ราเชสุ วธิ ีเปลีย่ นวิภตั ติ ๑. หลงั จาก พรฺ หมฺ , อตฺต, สข และ ราช ศัพทเ์ ปน็ ต้น แปลง สิ เปน็ อา ๒. หลังจาก พรฺ หฺม, อตตฺ , สข และ ราช ศพั ท์เปน็ ตน้ แปลง โย เป็น อาโน ๓. หลังจาก พฺรหฺม, อตฺต, สข และ ราช ศัพท์เป็นตน้ แปลง อํ เป็น อานํ ๔. เพราะ นา วิภัตติ แปลง ราช กับ นา เปน็ รญฺา บา้ ง ๕. เพราะ ส,ุ นํ และ หิ วภิ ตั ติ แปลง ราช เปน็ ราชุ บ้าง ๖. เพราะ ส วิภัตติ แปลง ราช กบั ส เปน็ รญโฺ ญ และ ราชิโน ๗. เพราะ นํ วภิ ตั ติ แปลง ราช กับ นํ เปน็ รญญฺ ํ บา้ ง ๘. หลงั จาก อมหฺ , ตุมหฺ , นฺต,ุ ราช, พรฺ หฺม, อตฺต, สข, สตฺถุ และ ปิตุ ศพั ท์ เปน็ ตน้ แปลง สมฺ า เป็น นา ๙. เพราะ สฺมึ วภิ ตั ติ แปลง ราช กับ สฺมึ เปน็ รญฺเญ และ ราชนิ ิ พรฺ หมฺ สททฺ ปทมาลา (พรหม) วภิ ตั ต ิ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา. พรฺ หฺมา พฺรหฺมาโน อาลปนะ. โภ พฺรหฺเม ภวนโฺ ต พฺรหมฺ าโน ทตุ ิยา. พรฺ หมฺ านํ พรฺ หฺมํ พฺรหมฺ าโน ตตยิ า. พรฺ หมฺ ุนา พฺรหเฺ มหิ พฺรหเฺ มภิ จตุตถ.ี พฺรหฺมโุ น พรฺ หมฺ สสฺ พรฺ หมฺ านํ พฺรหฺมูนํ ปญั จมี. พฺรหมฺ ุนา พฺรหฺเมหิ พฺรหฺเมภิ ฉฏั ฐ.ี พฺรหมฺ โุ น พรฺ หฺมสฺส พฺรหมฺ านํ พรฺ หมฺ ูนํ สตั ตม.ี พฺรหฺมนิ พฺรหเฺ มสุ

34 ไวยากรณบ์ าลีเบื้องตน้ วธิ เี ปล่ยี นวภิ ัตติ ๑. แปลง สิ อาลปนะ (ค) เปน็ เอ ๒. เพราะ นา วภิ ตั ติ ส วิภตั ติ และ นํ วภิ ัตติแปลง อ ทส่ี ดุ ของ พรฺ หมฺ ศัพท์ เป็น อุ ๓. หลงั จาก อิ วัณณะ และ อุ วณั ณะ แปลง ส เปน็ โน บ้าง ๔. หลังจาก พฺรหฺม ศพั ท์ แปลง สฺมึ เปน็ นิ อตฺตสททฺ ปทมาลา (ตน/จิต/กุศล/ปรมาตมัน) วภิ ตั ต ิ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา. อตตฺ า อตตฺ าโน อาลปนะ. โภ อตฺต อตฺตา ภวนโฺ ต อตตฺ าโน ทตุ ยิ า. อตฺตานํ อตฺตํ อตฺตาโน ตติยา. อตตฺ นา อตเฺ ตน อตตฺ เนหิ อตฺตเนภิ จตตุ ถ.ี อตตฺ โน อตฺตานํ ปัญจมี. อตตฺ นา อตตฺ เนหิ อตตฺ เนภิ ฉัฏฐ.ี อตตฺ โน อตฺตานํ สตั ตมี. อตตฺ น ิ อตฺเตสุ วิธเี ปลย่ี นวภิ ตั ติ ๑. เพราะ หิ วิภตั ติ แปลงที่สดุ ของ อตตฺ ศัพท์ เป็น อน ๒. หลังจาก อตตฺ ศัพท์ แปลง ส เปน็ โน ๓. หลงั จาก อตฺต ศพั ท์ แปลง สมฺ า เปน็ นา ๔. หลงั จาก อตฺต ศัพท์ แปลง สมฺ ึ เป็น นิ อา การนั ต์ ปุงลิงค์ สาสททฺ ปทมาลา (สนุ ัข) วภิ ัตต ิ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา. สา สา อาลปนะ. เห ส สา เห สา ทตุ ิยา. สํ เส ตตยิ า . เสน สาหิ สาภิ จตุตถี. สสฺส สาย สานํ ปญั จมี. สา สมฺหา สสมฺ า สาหิ สาภิ ฉัฏฐี. สสสฺ สานํ สัตตม.ี เส สมฺหิ สสฺม ึ สาสุ

35 นาม ว่าด้วยบททป่ี ระกอบวิภตั ตนิ าม วิธีเปลีย่ นวภิ ัตติ ๑. เพราะวภิ ัตตฝิ ่ายเอกวจนะและ โย วภิ ตั ติ เว้น อา การนั ตใ์ นอิตถลี งิ ค์ รสั สะ อา เปน็ อ, อี เป็น อิ และ อู เป็น อุ อิ การนั ต์ ปงุ ลิงค์ อคคฺ สิ ทฺทปทมาลา (ไฟ) วิภตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา. อคคฺ ินิ อคฺค ิ อคฺคี อคฺคโย อาลปนะ. เห อคฺคิ เห อคฺคี อคคฺ โย ทุตยิ า. อคฺคึ อคฺคี อคคฺ โย ตตยิ า. อคคฺ ินา อคฺคีหิ อคฺคภี ิ อคฺคิหิ อคคฺ ิภิ จตตุ ถ.ี อคฺคิโน อคฺคสิ สฺ อคคฺ ีนํ อคคฺ ินํ ปัญจมี. อคฺคนิ า อคฺคมิ หฺ า อคคฺ สิ มฺ า อคคฺ ีหิ อคฺคภี ิ อคฺคิหิ อคคฺ ภิ ิ ฉัฏฐี. อคฺคิโน อคฺคสิ ฺส อคฺคีนํ อคคฺ นิ ํ สตั ตม.ี อคคฺ มิ ฺหิ อคฺคิสฺม ึ อคคฺ ีสุ อคฺคสิ ุ วิธเี ปล่ยี นวภิ ตั ติ ๑. เพราะ สิ วภิ ัตติ แปลงที่สดุ ของ อคฺคิ ศพั ท์ เปน็ อนิ ิ และลบ สิ วภิ ัตติ บ้าง ๒. ลบ โย วิภัตติ บา้ ง เพราะ โย วภิ ตั ตทิ ่แี ปลงเป็น นิ แลว้ และที่ถกู ลบแลว้ ทีฆะ อิ เปน็ อี และ อุ เปน็ อู และเพราะ โย วิภตั ติ แปลง อิ หรอื อี (ช่ือ ฌ) เป็น อ ๓. แปลง อํ วภิ ัตติ และ ม อักษร เปน็ นิคหติ ๔. ศัพท์แจกตามเหล่าน้ี ในปฐมาไม่มีการแปลง สิ วิภัตติเป็น อินิ ท่ีเหลือแจกตาม อคฺคิ ศัพท์ทุกประการ ศัพท์แจกตาม อคฺคิ ศพั ท์ มีดังน้ี โชติ ไฟ ปาณิ ฝา่ มอื คณฐฺ ิ ศพั ทย์ าก,ปม มุฏฺฐิ ก�ำมอื กุจฉฺ ิ ทอ้ ง วตฺถิ กระเพาะปสั สาวะ สาลิ ข้าวสาลี วีหิ ขา้ วเปลอื ก พฺยาธิ โรค โอธิ เขตแดน โพธิ ต้นโพธิ์ สนธฺ ิ การตอ่ ราสิ กอง, หมู่ เกสิ คนฝึกม้าช่ือเกสี สาติ ภิกษชุ อ่ื ว่าสาติ ทปี ิ เสือดาว อิสิ ฤาษี มนุ ิ พระมุน,ี ภกิ ษุ มณิ แกว้ มณี ธนิ เสียง ยติ ภกิ ษุ คริ ิ ภูเขา รวิ ดวงอาทิตย์ กวิ กวี, บัณฑิต กปิ ลิง อสิ ดาบ มสิ นำ้� หมกึ

36 ไวยากรณบ์ าลเี บอ้ื งต้น นธิ ิ ขุมทรพั ย์ วธิ ิ วธิ ี อหิ งู กิมิ หนอน ปติ สามี, เจ้านาย หริ ทองค�ำ อริ ศัตรู ตมิ ิ ปลาใหญช่ ่ือติมิ กลิ โทษ, บาป พลิ พลกี รรม ชลธิ มหาสมทุ ร คหปติ คหบดี อธิปติ อธบิ ดี อญชฺ ลิ กระพุม่ มือ สารถิ นายสารถี อตถิ ิ แขกผมู้ าเยือน สมาธิ ความตั้งม่ัน วภิ ตั ติ อี การันต์ ปงุ ลิงค์ ทณฺฑีสทฺทปทมาลา (ผูม้ ีไม้เท้า) ปฐมา. เอกวจนะ พหุวจนะ อาลปนะ. ทณฺฑี ทณฑฺ ี ทณฑฺ โิ น ทตุ ยิ า. โภ ทณฺฑ ิ ภวนฺโต ทณฑฺ ี ทณฺฑโิ น ตตยิ า. ทณฺฑนิ ํ ทณฑฺ ึ ทณฺฑี ทณฺฑโิ น จตตุ ถี. ทณฑฺ ินา ทณฑฺ ีหิ ทณฑฺ ีภิ ปัญจมี. ทณฑฺ โิ น ทณฑฺ ิสฺส ทณฑฺ นี ํ ฉฏั ฐ.ี ทณฑฺ ินา ทณฺฑมิ ฺหา ทณฑฺ สิ มฺ า ทณฺฑหี ิ ทณฑฺ ภี ิ สัตตมี. ทณฺฑิโน ทณฑฺ สิ ฺส ทณฺฑนี ํ ทณฑฺ ินิ ทณฺฑมิ ฺหิ ทณฺฑิสฺม ึ ทณฑฺ ีสุ ๑. แปลง โย วิภัตติ เปน็ โนวิธีเปล่ยี นวิภตั ติ ๒. เพราะ สิ อาลปนะ (ค) รสั สะ อี เปน็ อิ และ อู เปน็ อุ ๓. หลงั จากทที่ ำ� รสั สะแล้ว แปลง อํ เปน็ นํ บ้าง ๔. หลังจากที่ทำ� รัสสะแล้ว แปลง สฺมึ เป็น นิ บา้ ง ศพั ทแ์ จกตาม ทณฑฺ ี มีดังน้ี ธมฺมี ผูม้ ธี รรม สฆํ ี ผู้มีหมู่ ญาณี ผ้มู ญี าณ หตถฺ ี ชา้ งผมู้ งี วง จกฺกี ผ้มู ีจกั ร ปกขฺ ี นกผมู้ ีปีก ทาฐี สตั วผ์ มู้ ีเขี้ยว รฏฺฐี ผ้มู ีแว่นแคว้น ฉตตฺ ี ผูม้ รี ม่ มาลี ผู้มพี วงมาลยั วมฺมี ผู้มีเสือ้ เกราะ โยคี ผู้มคี วามเพียร ภาคี ผู้มีส่วน โภคี ผู้มีโภคทรัพย์ กามี ผมู้ คี วามใคร่ สามี ผ้มู ที รพั ย์ ธชี ผมู้ ีธง คณี ผมู้ คี ณะ สสี ดวงจันทร์ กฏุ ฺฐี ผู้มีโรคเรอื้ น ชฏี ฤาษผี ู้มีชฎา

37 นาม วา่ ด้วยบททปี่ ระกอบวภิ ัตตินาม ยานี ผมู้ ยี าน สขุ ี ผมู้ คี วามสุข สขิ ี นกยูงผ้มู ีหงอน ทนฺตี ช้างผูม้ ีงา มนตฺ ี ผู้มีการปรึกษา กรี ช้างผู้มงี วง จาคี ผมู้ กี ารบรจิ าค กุสลี ผู้มีกศุ ล มสุ ลี ผู้มีสาก พลี ผูม้ กี �ำลัง ปาปการี ผู้ท�ำบาปเป็นปกติ ธมมฺ จารี ผปู้ ระพฤตธิ รรมโดยปกติ วภิ ตั ต ิ อุ การันต์ ปงุ ลิงค์ ภิกฺขสุ ทฺทปทมาลา (ภิกษุ) ปฐมา. เอกวจนะ พหุวจนะ อาลปนะ. ภกิ ฺขุ ภกิ ฺขู ภิกขฺ โว ทตุ ิยา. โภ ภิกขฺ ุ ภวนโฺ ต ภกิ ขฺ ู ภิกขฺ เว ภิกฺขโว ตติยา. ภกิ ฺขุํ ภกิ ขฺ ู ภิกฺขโว จตุตถ.ี ภิกฺขนุ า ภกิ ขฺ ูหิ ภกิ ฺขูภิ ภิกขฺ หุ ิ ภิกขฺ ภุ ิ ปัญจมี. ภกิ ฺขุโน ภกิ ฺขุสฺส ภกิ ฺขูนํ ภิกฺขนุ ํ ฉฏั ฐี. ภิกฺขุนา ภกิ ฺขมุ ฺหา ภกิ ฺขุสมฺ า ภิกขฺ ูหิ ภกิ ขฺ ภู ิ ภิกขฺ ุหิ ภกิ ฺขภุ ิ สัตตมี. ภิกขฺ ุโน ภกิ ฺขุสสฺ ภกิ ฺขูนํ ภกิ ฺขุนํ ภิกฺขุมฺหิ ภกิ ฺขุสมฺ ึ ภิกขฺ สู ุ ภิกขฺ ุสุ ๑. แปลง โย เป็น โว บา้ ง วธิ เี ปล่ียนวภิ ตั ติ ๒. เพราะ เว และ โววภิ ัตยาเทศ แปลง อุ เป็น อ ๓. หลังจากรัสสะโดยปกติ แปลง โย อาลปนะ เปน็ เว และ โว ศพั ท์แจกตาม ภิกขฺ ุ มีดงั นี้ เสตุ สะพาน, เข่อื น เกตุ ธง ราหุ อสรู ช่ือว่าราหู ภาณุ พระอาทิตย์ ปงคฺ ุ คนเปลย้ี อุจฺฉุ ออ้ ย เวฬุ ไมไ้ ผ่ มจจฺ ุ ความตาย สินธฺ ุ มหาสมุทร พนธฺ ุ พวกพอ้ ง เนรุ ภูเขาสเิ นรุ เมรุ ภเู ขาสิเนรุ สตฺตุ ศัตรู การุ นายช่าง เหตุ เหตุ ชนฺตุ สตั ว์ รรุ ุ กวาง ปฏุ คนฉลาด หมายเหตุ :- เหตุ ศัพท์ และ ชนฺตุ ศัพท์ ใน โย ปฐมาวิภัตติและทุติยา มีรูปเป็น เหตุโย, ชนตฺ ุโย เฉพาะ ชนฺตุ ศัพท์ แปลง โย วิภัตติ เป็น โน มีรปู เป็น ชนฺตโุ น ทเ่ี หลือเหมือน ภิกขฺ ุ ศัพท์

38 ไวยากรณ์บาลเี บอ้ื งต้น วิภตั ต ิ เหตสุ ททฺ ปทมาลา (เหต)ุ ปฐมา. เอกวจนะ พหวุ จนะ อาลปนะ. เหตุ เหตู เหตโว เหตุโย ทุตยิ า. โภ เหตุ ภวนโฺ ต เหตู เหตเว เหตโว ตติยา. เหตํุ เหตู เหตโว เหตโุ ย จตตุ ถ.ี เหตุนา เหตหู ิ เหตภู ิ เหตหุ ิ เหตุภิ ปัญจมี. เหตุโน เหตสุ ฺส เหตนู ํ เหตนุ ํ ฉัฏฐี. เหตนุ า เหตุมฺหา เหตสุ มฺ า เหตูหิ เหตภู ิ เหตหุ ิ เหตุภิ สตั ตมี. เหตุโน เหตุสสฺ เหตูนํ เหตนุ ํ วิภัตต ิ เหตุมฺหิ เหตุสมฺ ึ เหตูสุ เหตสุ ุ ปฐมา. อาลปนะ. ชนฺตสุ ททฺ ปทมาลา (สัตว)์ ทุติยา. เอกวจนะ พหุวจนะ ตติยา. ชนตฺ ุ ชนตฺ ู ชนฺตโว ชนฺตุโน ชนฺตโุ ย จตุตถ.ี โภ ชนตฺ ุ ภวนโฺ ต ชนตฺ ู ชนตฺ เว ชนตฺ โว ปญั จม.ี ชนตฺ ํุ ชนตฺ ู ชนตฺ โว ชนฺตโุ น ชนฺตโุ ย ฉฏั ฐ.ี ชนฺตุนา ชนฺตหู ิ ชนฺตูภิ ชนฺตุหิ ชนฺตุภิ สัตตมี. ชนตฺ ุโน ชนตฺ ุสสฺ ชนตฺ ูนํ ชนตฺ นุ ํ วภิ ัตติ ชนตฺ นุ า ชนตฺ มุ หฺ า ชนตฺ สุ มฺ า ชนตฺ หู ิ ชนตฺ ภู ิ ชนตฺ หุ ิ ชนฺตุภิ ปฐมา. ชนตฺ โุ น ชนฺตุสสฺ ชนตฺ ูนํ ชนตฺ ุนํ อาลปนะ. ชนฺตุมหฺ ิ ชนฺตุสฺมึ ชนฺตูสุ ชนฺตุสุ ทตุ ิยา. ตตยิ า. สตถฺ สุ ทฺทปทมาลา (พระศาสดา, คร)ู จตตุ ถ.ี เอกวจนะ พหวุ จนะ ปญั จม.ี สตถฺ า สตฺถาโร ฉัฏฐ.ี โภ สตฺถ สตฺถา ภวนฺโต สตฺถาโร สตั ตมี. สตถฺ ารํ สตถฺ าเร สตถฺ าโร สตถฺ ารา สตฺถนุ า สตฺถาเรหิ สตถฺ าเรภิ สตฺถุ สตถฺ โุ น สตฺถสุ ฺส สตถฺ ารานํ สตถฺ านํ สตถฺ ารา สตถฺ าเรหิ สตฺถาเรภิ สตฺถุ สตถฺ ุโน สตถฺ ุสสฺ สตฺถารานํ สตถฺ านํ สตฺถร ิ สตฺถาเรสุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook