Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระพุทธศาสนา ม.3

พระพุทธศาสนา ม.3

Published by วชิรวิชญ์ กวดนอก, 2021-09-08 09:02:38

Description: พระพุทธศาสนา ม.3

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รายวิชา ส๒๓๑๐๒ (พระพทุ ธศาสนา ๕) (ช่อื คร)ู นายธวัชชัย พทุ ธวงศ์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรยี นวัดพระแก้วดอนเต้าสชุ าดาราม สงั กัดสานักงานเขตการศึกษาพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต ๖ สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ตาบลเวียงเหนอื อาเภอเมืองลาปาง จังหวดั ลาปาง

เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) รายวชิ าส๒๓๑๐๒ (พระพทุ ธศาสนา ๕) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ลงชือ่ ............................................................ (นายธวชั ชยั พทุ ธวงศ)์ ครผู ้สู อน ความคดิ เหน็ ของคณะผูบ้ ริหาร  เหน็ ชอบ ……………………………………………  ไม่เห็นชอบ เพราะ.................................... (นายณัฐพล สุทธนะ) .......................................................................... หวั หน้าฝ่ายวชิ าการ  ควรอนุมตั ิ …………/……………../…………….  ไม่ควรอนุมตั ิ เพราะ.................................. .......................................................................... …………………………………………… (พระมหาปิยพงษ์ สิริวริ ยิ วโํ ส)  อนมุ ัติ  ไมอ่ นมุ ตั ิ รองผอู้ ํานวยการโรงเรยี น …………/……………../……………. …………………………………………… (พระครูสิรริ ัตนโสภิต, ดร.) ผอู้ าํ นวยการโรงเรียน …………/……………../…………….

สปั ดาห์ที่ 12 (ชั่วโมงที่ 1) ใบความรู้ที่ 1 วิชาพระพทุ ธศาสนา ๕ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 (ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓) เร่อื ง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา (เรอ่ื ง สังฆคุณ 9) .................................................................................................................... เรอ่ื ง สงั ฆคุณ ๙ คําในกลุ่มน้ีอีกคําหน่ึงคือ “สังฆคุณ ๙” ก็เป็นบทสวดสรรเสริญคุณของพระสงฆ์ ซ่ึงเป็นหนึ่งในพระ รตั นตรัย ความหมายคาํ นี้ รองศาสตราจารยด์ นัย ไชยโยธา ได้เขยี นอธบิ ายไว้ใน พจนานกุ รม พทุ ธศาสน์ ดังนี้ คุณของพระสงฆ์ หมายถึง คณุ ความดที ่พี ระสงฆ์มีอยู่ประจําตน พระสงฆ์ที่มีคุณความดีได้รับยกย่องมา ตง้ั แต่คร้ังพุทธกาล คือพระอริยสงฆ์ พระสงฆ์ผู้บรรลุมรรคและผลขั้นต่าง ๆ สําหรับสมมติสงฆ์ พระสงฆ์โดยสมมติ ในปจั จุบนั นี้หากมขี ้อวัตรปฏบิ ตั อิ ันน่าเลื่อมใสศรัทธา กอ็ นุโลมตามคณุ ของพระอริยสงฆไ์ ด้ สังฆคุณมี ๙ ประการ ๔ ประการแรกเป็นเหตุและ ๕ ประการหลงั เปน็ ผลดังต่อไปน้ี ๑.สปุ ฏปิ นั โน พระสงฆ์สาวกของพระผมู้ ีพระภาคเจ้าเปน็ ผู้ปฏิบตั ิดีคอื ๑.ปฏิบัตไิ มต่ ามมัชฌิมาปฏปิ ทา อันเปน็ ทางสายกลาง ไม่หยอ่ นนัก ไม่ตงึ เครยี ดนกั ๒.ปฏิบตั ิไม่ถอยหลัง ปฏิบตั ิไดด้ ีเทา่ เดิม หรอื กา้ วหน้าสูงข้ึนไป ๓.ปฏบิ ตั ติ ามรอยพระบาทของพระพทุ ธเจ้า ๒.อขุ ุปฏิปันโน พระสงฆ์สาวกของพระผ้มู พี ระภาคเจา้ เป็นผ้ปู ฏิบัตติ รง คือ ๑. ไม่ปฏบิ ัตลิ วงโลก คอื ปฏิบัตติ อ่ หน้าคนอย่างหนึง่ ปฏบิ ัตลิ บั หลงั คนอีกอย่างหนึ่ง ๒.ไมป่ ฏิบตั เิ พ่อื โอ้อวด คอื ปฏบิ ตั ิเพอื่ ให้คนทัว่ ไปเหน็ ว่าตนปฏบิ ตั เิ คร่งครดั กวา่ ใคร ๆ ๓.ปฏบิ ัตติ รงต่อพระพุทธเจ้า และพระสาวกดว้ ยกนั ไม่อาํ พรางความในใจ ไม่มีแงง่ อน ๓.ญายปฏปิ นั โน พระสงฆ์สาวกของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ เปน็ ผู้ปฏบิ ัตถิ ูกทางคือ ๑.ปฏบิ ตั ิมงุ่ ธรรมเปน็ ใหญ่ ๒.ปฏิบัตถิ ือความถูกต้องเปน็ สาํ คญั ๓.ปฏิบตั เิ พ่อื ความตรสั รู้ ๔.สามีจิปฏิปนั โน พระสงฆ์สาวกของพระผ้มู พี ระภาคเจา้ เปน็ ผู้ปฏบิ ัตสิ มควรคอื ๑. ปฏบิ ัติน่านบั ถอื สมควรได้รบั ความเคารพ ๒.ปฏิบัติชอบอยา่ งย่งิ ๓.ปฏบิ ตั ิดีทส่ี ดุ ๕.อาหุเนยโย พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ควรแก่สิ่งของคํานับ คือ ควรได้รับส่ิงของท่ีเขา นํามาถวาย เพราะท่านมีคุณสมบัติ ๔ ประการ ดังกล่าวแล้วข้างต้นน้ัน ด้วยว่าสิ่งท่ีเรียกว่าอาหุนะ เป็นของท่ีท่าน ใช้บูชาคุณความดขี องคน เมือ่ พระสงฆป์ ระกอบด้วยคณุ สมบัติเชน่ นน้ั จึงควรแกอ่ าหนุ ะ คือสิง่ ของคํานบั ๖.ปาหุเนยโย พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ควรแก่การต้อนรับ คือ ผู้ปฏิบัติงามเช่นน้ี เม่ือท่านไป ในบ้านเมอื งใด ย่อมเป็นผู้สมควรแกก่ ารตอ้ นรบั เหมอื นการตอ้ นรบั แขกผู้มีเกียรติ พระสงฆ์อยู่ในฐานะน้ัน

๗.ทกั ขิเณยโย พระสงฆ์สาวกของพระผมู้ พี ระภาคเจ้าเป็นผู้ควรแก่ทักษิณาควรแก่สิ่งของทําบุญ คือ พระสงฆ์ ผู้มีคุณสมบัติดังกล่าวย่อมได้รับประโยชน์ตามที่ปรารถนา แม้การอุทิศกุศลเพื่อผู้ตาย พระสงฆ์ก็จัดเป็น ทกั ขิไณยบคุ คล คือ ควรรบั ทกั ษณิ าทานนน้ั ๆ ๘.อัญชลีกรณีโย พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ควรแก่การทําอัญชลี คือ พระสงฆ์เป็นผู้มี คุณความดีอยู่ในสันดาน ย่อมอยู่ในฐานะท่ีใคร ๆ ควรแสดงความเคารพด้วยการกราบไหว้ เพราะทําให้ผู้ไหว้มี ความรู้สึกว่าตนได้ไหว้ผู้ท่ีมีคุณธรรมสมควรแก่การไหว้ ท้ังเป็นการช่วยให้ผู้ไหว้เจริญด้วยพรทั้ง ๔ ประการ อัน ไดแ้ ก่ อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ ด้วย ๙.อนุตตรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นเน้ือนาบุญของโลก คือ พระสงฆ์เป็นผู้บริสุทธ์ิ ทักษิณาที่บริจาคแก่พระสงฆ์ย่อมมีอานิสงส์มาก เปรียบเหมือนนามีดินดีและน้ําดํา พืชที่ หวา่ นไปย่อมใหผ้ ลไพบูลย์ จึงเป็นทบ่ี ําเพ็ญบญุ ของพุทธศาสนิกชนท้ังหลาย

สปั ดาหท์ ่ี 12 (ช่วั โมงท่ี 1) ใบงานที่ 1 วชิ าพระพุทธศาสนา ๕ หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3 (ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓) เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา (เรื่อง สงั ฆคณุ 9) ชอื่ ........................................นามสกลุ ....................................ช้นั ม3.เลขท่.ี .................. คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนนาหมายเลขหนา้ ขอ้ ความที่กาหนดใหม้ าใส่ลงในช่องที่มีใจความสมั พนั ธ์กนั สุปฏิปนฺโน อชุ ุปฏิปนฺโน ญายปฏิปนฺโน สามีจิปฏิปนฺโน อายเุ นยโย ปาหุเนยโย ทกฺขิเนยโย อฺญชลีกรณีโย อนุตตร ปุญญกฺเขตต โลกสฺสา 1. เป็นผปู้ ฏิบตั ิตรง 2. ปฏิบตั ิถูกทางเพื่อใหเ้ กิดความรู้เห็นสภาวะท้งั หลายตามความเป็นจริง 3. ปฏิบตั ิสมควร 4. เป็นผคู้ วรแก่การคานบั 5.เป็นผคู้ วรแก่ของทาบุญ 6.ผปู้ ฏิบตั ิดี 7. เป็นผคู้ วรกราบไหว้ 8. ผปู้ ฏิบตั ิถูกวนิ ยั 9. ทาความดีเพ่ือความดี 10. เป็นผคู้ วรแก่ของตอ้ นรับ 11.ปฏิบตั ิตามแนวทางแห่งอริยมรรค 12. เป็นเน้ือนาบุญอนั ยอดเยยี่ มของชาวโลก

ตอนที่ 2 คำสั่ง จงตอบคำถำมต่อไปนใี้ ห้ถูกต้อง 1. องคป์ ระกอบของพระรัตนตรัย คืออะไร ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………. 2. สงั ฆคุณ 9 หมายความวา่ อยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 3. พระสงฆเ์ ป็นผปู้ ฏิบตั ิดี หมายถึงปฏิบตั ิตามแนวทางหลกั ธรรมใด ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 4. พระสงฆเ์ ป็นผคู้ วรคานบั หมายความวา่ อยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 5. ทกฺขิเนยโย หมายความวา่ อยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………….

สปั ดาหท์ ี่ 12 (ชว่ั โมงที่ ๒) ใบความรู้ที่ ๒ วชิ าพระพุทธศาสนา ๕ หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 (ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓) เรอื่ ง หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา (เรอ่ื ง มรรค 8) ...................................................................................................................................... เรอ่ื ง มรรคมีองค์ ๘ มรรคมีองค์ ๘ หรือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา อนั จะเป็ นทางท่ีจะไปสู่ความดบั ทุกขโ์ ดยสิ้นเชิง หนทาง ไปสู่ความดบั ทุกขน์ ้ีท่านมกั จะเรียกโดยยอ่ วา่ มรรคมีองค์ ๘ และมีผูเ้ รียกกนั ต่อไปโดยย่อต่อไปอีกวา่ มรรค ๘ จึงทาให้เกิดความเขา้ ใจผิดไดง้ ่ายว่า มรรคหรือทางไปสู่ความดบั ทุกข์น้นั มีอยู่ถึงแปดทาง แต่ความจริง มิใช่เช่นน้ัน หนทางท่ีจะไปสู่ความดบั ทุกขไ์ ดน้ ้นั มีอยู่ทางเดียว มิใช่แปดทางอย่างท่ีพึงจะเขา้ ใจผิดไปได้ ชวั่ แต่วา่ บุคคลผูเ้ ดินทาง ๆ เดียวน้นั จะตอ้ งมีอาการและจิตใจพร้อมอยู่ดว้ ยองค์ ๘ ประการเสมอกนั จึงจะ บรรลุถึงความดบั ทุกขอ์ นั เป็นจุดหมายปลายทางน้นั ได้ องคแ์ ปดแห่งมรรคน้นั มีอยดู่ งั่ ต่อไปน้ี ๑.สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ ๒.สัมมาสงั กปั ปะ ความดาริชอบ ๓.สัมมาวาจา เจรจาชอบ ๔.สัมมากมั มนั ตะ การงานชอบ ๕.สมั มาอาชีวะ เล้ียงชีพหรือชีวติ โดยชอบ ๖.สมั าวายามะ พยายามชอบ ๗.สัมมาสติ ระลึกชอบ ๘.สัมมาสมาธิ ต้งั จิตมน่ั โดยชอบ องค์ที่ ๑ แห่งมรรคน้ันหมายถึงความเห็นอนั ถูกตอ้ งในอริยสัจจ์ ๔ ประการ ที่พระพุทธองค์ไดต้ รัสรู้ คือ เห็นชอบในทุกข์ว่าความทุกข์ใดเป็ นทุกข์ทางกายไม่มีผูใ้ ดท่ีเกิดมาแลว้ ระงบั หรือหลีกเลี่ยงได้ ไดแ้ ก่ชาติชรา มรณะ และทุกขท์ างใจ ไดแ้ ก่โสกะปริเทวะ โทมนสั สะอุปายาส อปั ปิ ยสัมปโยคและปิ ยวปิ ปโยค ตลอดจนความ ไม่ไดส้ มหวงั ตามความปรารถนาเห็นชอบต่อไปวา่ ทุกขท์ ุกขท์ างกายน้นั มาจากกิเลศต่าง ๆ และความยึดเหนี่ยว เมื่อหมดกิเลศตณั หาและอุปาทานความยึดเหน่ียวแลว้ ทุกขท์ างกายจะเหลือแต่เวทนาอนั เป็ นของธรรมดา แต่ ทุกขท์ างใจน้นั จะไมเ่ กิดข้ึน เพราะเราจะไม่เหี่ยวแหง้ ใจหรือคร่าครวญใจ เม่ือเราสิ้นความกระหายความใคร่ และ เม่ือเราตอ้ งเสียหรือพลดั พรากจากของท่ีเราตดั เสียแลว้ ไม่ยึดเหนี่ยวไวอ้ ีกต่อไป เม่ือไดเ้ ห็นชอบในทุกข์และ เห็นชอบในทุกขสมุทยั คือเห็นตณั หาว่าเป็ นเหตุแห่งทุกข์แลว้ เราก็พึงเห็นชอบต่อไปว่า การดบั ตณั หาหรือ ทุกขนิโรธน้นั เป็ นวิธิเดียวที่จะดบั ทุกขไ์ ด้ ในท่ีสุดก็จะเห็นชอบในมรรค คือทางท่ีจะไปสู่ความดบั ทุกขท์ ้งั หมด น้ีเป็ นลกั ษณะแห่งความเห็นชอบ และเม่ือมีสัมมาทิฏฐิในเบ้ืองตน้ แลว้ สัมมาสังกปั ปะ คือความดาริชอบก็จะ เกิดข้ึนตามมา สัมมาสังกปั ปะน้ีพระบาลีแสดงออกไวเ้ ป็น ๓ คือ เนกขมั มะสังกปั ปะดาริในการออกจากทุกข์ คือความทุกข์ ต่าง ๆ ท้งั ทางกายและใจดงั่ ที่ไดแ้ สดงมาแลว้ ต่อจากน้นั ก็ถึง อพั ยาปาทสงั กปั ปะ ดาริในการไมพ่ ยาบาทปองร้าย ผอู้ ่ืนใหไ้ ดท้ ุกข์ อวิหิงสาสงั กปั ปะ ไม่เบียดเบียฬผอู้ ื่นดว้ ยการกระทาใหไ้ ดท้ ุกข์ สรุปแลว้ ความดาริชอบคือความ

ดาริท่ีจะใหต้ นเองพน้ จากทุกข์ และดาริที่จะไม่ก่อทุกขใ์ หแ้ ก่ผอู้ ่ืนและสิ่งมีชีวติ อ่ืนไมว่ า่ จะเป็นทางใด ๆ เพราะผู้ ที่มีสมั มาทิฏฐิยอ่ มจะเห็นไดว้ า่ ส่ิงที่มีชีวติ ท้งั ปวงมีทุกขเ์ ป็ นประจาอยแู่ ลว้ ท้งั สิ้น องค์ท่ี ๓ แห่งมรรคคือสัมมาวาจา การพูดชอบ ไดแ้ ก่การพูดท่ีเวน้ จากวจีทุจริต ๔ คือไม่พูดเท็จ ไม่พูดคา หยาบ ไมพ่ ูดส่อเสียดหรือใส่ร้ายผอู้ ื่น และไม่พูดเพอ้ เจอ้ ไร้สาระ จากองคท์ ี่ ๓ ก็ถึงองค์ที่ ๔ แห่งมรรค คือสัมมากมั มนั ตะ ไดแ้ ก่การประกอบการงานทางกายท่ีเวน้ จากกาย ทุจริต ๓ คือไมฆ่ า่ สตั วต์ ดั ชีวติ ไม่ลกั ทรัพย์ และไม่ประพฤติผดิ ในกาม เช่นผดิ ลูกผดิ เมียผอู้ ื่น สัมมาอาชีวะเป็นองคท์ ่ี ๕ แห่งมรรคต่อจากการทางานทางกายที่ชอบ หมายถึงการหาเลี่ยงชีพโดยชอบท่ีไม่ ทาใหต้ นเองเป็นคนเลวลงไป และไมท่ าคนอ่ืนตอ้ งเดือดร้อน แมอ้ าชีพใดที่สุจริตในลกั ษณะ แต่ผปู้ ระกอบอาชีพ น้นั ใชว้ ธิ ีท่ีจะทาใหผ้ อู้ ื่นเดือดร้อนดว้ ยความโลภของตน อาชีพน้นั กจ็ ดั วา่ เป็น มิจฉาชีพ มิใช่สมั มาอาชีวะ องคท์ ี่ ๖ แห่งมรรคคือ ความพยายามชอบไดแ้ ก่ ความพยายามให้ถึงพร้อมในองค์แห่งมรรคท้งั ปวง อนั มี สัมมาทิฏฐิเป็ นเบ้ืองตน้ สัมมาสติอนั เป็ นองคท์ ี่ ๗ ต่อไป ไดแ้ ก่การระลึกชอบ คือระลึกอยู่ในสัมมาทิฏฐิหรือความรู้ความเขา้ ใจใน อริยสจั จอ์ ยเู่ ป็นนิจ องคส์ ุดทา้ ยแห่งมรรค คือสมั มาสมาธิไดแ้ ก่การต้งั จิตมนั่ ในอริสัจจ์ เกิดอารมณ์อนั เดียวจดจ่ออยทู่ ่ีอริสัจจ์ จน บงั เกิดความรู้คือปัญญาดงั่ ที่พระพุทธองคไ์ ดต้ รัสรู้ องคต์ ่าง ๆ แห่งมรรคน้ี ตอ้ งมีพร้อมเพรียงเสมอกนั หากมีแต่บางองค์ หรือมียิง่ หยอ่ นกวา่ กนั ก็จะไม่บงั เกิด ผลคือความพน้ จากทุกขเ์ ปรียบเสมือนคนเดินไปตามทางเทา้ ตอ้ งใชอ้ วยั วะตา่ ง ๆ ในตนให้พร้อมเพรียงกนั คือใจ คิดท่ีจะเดิน ตาดูทางสังเกตท่ีลุ่มดอนหรืออุปสรรคต่าง ๆ หูฟังเสียงท่ีจะบอกอนั ตราย เทา้ ตอ้ งกา้ วเดิน จึงจะไป ถึงท่ีหมายได้ ผูท้ ่ีประสงคจ์ ะเดินตามทางที่พระพุทธเจา้ ไดท้ รงช้ีไว้ ก็ตอ้ งมีอาการต่าง ๆ พร้อมเพรียงและเสมอ กนั เป็นมคั คสามคั คี จึงจะไปถึงจุดหมายปลายทาง คือความรอดพน้ จากทุกขไ์ ด้

สัปดาห์ที่ 12 (ชั่วโมงที่ ๒) ใบงานท่ี ๒ วิชาพระพุทธศาสนา ๕ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 (ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๓) เรอ่ื ง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา (เรอื่ ง มรรค 8) ชื่อ................................................นำมสกลุ ............................เลขที่ ...................................................................................................................................... 1. ให้นักเรียนเตมิ เครื่องหมาย √ ในข้อความที่ถกู ต้องและใสเ่ คร่ืองหมาย X ในข้อความที่ผดิ 1. .............. มรรค มี 9 ประกําร 2. .............. มรรค คือ ข้อปฏบิ ัติให้ถึงความดับทุกข์ หรือหมดปัญหาํ ต่างๆ โดยสิ้นเชงิ 3. .............. เห็นชอบ (สัมมาสงั กปั ปะ) คอื คือเห็นสิ่งตํ่าง ๆ ตํามทีเ่ ปน็ จรงิ 4. .............. ดาํ ริชอบ (สมั มาสังกปั ปะ) คือ ไม่ลมุ่ หลงมวั เมากับความสขุ ทํางกําย ไม่พยาํ บาท 5. .............. พยํายํามชอบ (สัมมาวายามะ) คือ ความพยาํ ยํามท่จี ะป้องกันมใิ ห้ความช่วั เกิดขึ้น ความ พยํายาํ มทจ่ี ะก ำจดั ความชว่ั ที่เกดิ ขึ้นแล้วให้หมดไป 6. .............. ปญั ญา4 ประกอบดว้ ย 4 ประกาํ ร 7. .............. ปญั ญา 3 คือ ความรอบรูท้ ั้งตนเอง และวชิ าํ กาํ รตาํ่ ง ๆ ส่งิ แวดล้อม สังคม และความ เป็นไปของโลกอย่าํ งชัดเจน 8. .............. สุตมยปญั ญา คือ ปญั ญาเกิดจาํ กความคดิ เปน็ ความคดิ ท่ีเป็นระบบถูกต้อง ความคิดท่ี ละเอยี ดลึกซ้ึง ความคิดรอบด้าํ น 9. .............. ภาวนํามนปญั ญา คอื ปญั ญาเกิดจาํ กกาํ รอบรมตนเองโดยเน้นกระบวนกํารศกึ ษาจติ และกํายอย่าํ งชดั แจง้ 10. .............. อธิปไตย 3 ประกอบดว้ ย 3 ประกําร ตอนที่ 2 ใหน้ ักเรยี นวิเคราะหแ์ ละเชอ่ื มโยงคาใหถ้ กู ต้อง ลาํ ไย พูดจําอ่อนหวาน สัมมาทฐิ ิ ถนอม ประกอบอาํ ชีพค้ําขาํ ยผลไม้ สมั มาสงั กปั ปะ ประทปี ขบั รถอยํา่ งระมัดระวัง สมั มาวจา ดวงใจปฏบิ ตั ิตนตาํ มศีล 5 สมั มากมั มนั ตะ ผอ่ งศรีร้ผู ิดชอบชวั่ ดี สมั มาอาชีวะ สมชํายเป็นคนไม่เคยคิดโกรธเคือง สมั มาวยามะ ทองดเี พยี รพยายามกาํ หนดสติ สมั มาสติ โซดมีความต้ังใจในการกระทาํ สัมมาสมาธิ

สัปดาหท์ ี่ 12 (ชว่ั โมงที่ ๓) ใบความรู้ที่ ๓ วิชาพระพทุ ธศาสนา ๕ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 (ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓) เรื่อง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา (เรื่อง มงคล ๓8) ………………………………………………………………………………….. เรื่อง มงคลชีวิต ๓๘ ประการ มงคลชีวิต ๓๘ ประการ เป็นหมวดธรรมะ ท่ีง่ายต่อการทําความเข้าใจ และการนําไปปฏิบัติติ เพราะเป็น หมวดธรรมะ ที่เปน็ ขั้นเปน็ ตอนเกยี่ วเนอ่ื งกนั และสามารถนําไปใช้กับชวี ติ ประจําวัน ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะทําให้ ผู้ปฏิบัติมีความสมบูรณ์พร้อม คือฝึกให้เป็นคนดี, สร้างความพร้อมในการฝึกตนเอง, ฝึกตนให้เป็นคนมีประโยชน์, บําเพ็ญประโยชน์ ต่อครอบครัวและสังคม, ธรรมะเบ้ืองสูงใส่ตัวให้เต็มท่ี, การฝึกภาคปฏิบัติ เพื่อกําจัดกิเลสให้สิ้น ไป, ผลจากการปฏิบัติจนหมดกิเลส และยังประโยชน์สูงสุด ของการปฏิบัติให้เกิดขึ้น คือ ผู้ปฏิบัติจะมีจิตใจท่ี สะอาด บริสุทธิ์ บริบูรณ์ หมดกิเลส สามารถทาํ พระนพิ พานให้แจง้ สร้างบารมใี หถ้ ึงที่สดุ แหง่ ธรรมได้ในทส่ี ุด มงคลที่ ๑ ไม่คบคนพาล มงคลท่ี ๒ คบบัณฑิต มงคลท่ี ๓ บชู าบคุ คลท่ีควรบูชา มงคลที่ ๔ อยใู่ นถิน่ ท่ีเหมาะสม มงคลที่ ๕ มบี ุญวาสนามากอ่ นมงคลที่ ๖ ต้ังตนชอบ มงคลที่ ๗ พหสู ูต มงคลท่ี ๘ มศี ลิ ปะ มงคลท่ี ๙ มีวินัย มงคลท่ี ๑๐ มีวาจาสภุ าษติ มงคลที่ ๑๑ บาํ รุงบดิ ามารดา มงคลที่ ๑๒ เล้ยี งดูบุตร มงคลท่ี ๑๓ สงเคราะห์ภรรยา-สามี มงคลที่ ๑๔ ทาํ งานไม่ค่ังค้าง มงคลท่ี ๑๕ บาํ เพ็ญทาน มงคลท่ี ๑๖ ประพฤตธิ รรม มงคลท่ี ๑๗ สงเคราะห์ญาติ มงคลที่ ๑๘ ทํางานไม่มโี ทษ มงคลที่ ๑๙ งดเว้นจากบาป มงคลที่ ๒๐ สาํ รวมจากการดื่มนา้ํ เมา มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม มงคลท่ี ๒๒ มีความเคารพ มงคลที่ ๒๓ มคี วามถอ่ มตน มงคลที่ ๒๔ มคี วามสันโดษ มงคลท่ี ๒๕ มีความกตญั ญู มงคลท่ี ๒๖ ฟังธรรมตามกาล มงคลที่ ๒๗ มคี วามอดทน มงคลท่ี ๒๘ เป็นคนว่าง่าย มงคลที่ ๒๙ เหน็ สมณะ มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล มงคลที่ ๓๑ บาํ เพ็ญตบะ มงคลท่ี ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ มงคลท่ี ๓๓ เหน็ อรยิ สัจ มงคลที่ ๓๔ ทาํ พระนิพพานให้แจ้ง มงคลที่ ๓๕ จติ ไมห่ วั่นไหวในโลกธรรม มงคลที่ ๓๖ จติ ไม่โศก มงคลที่ ๓๗ จิตปราศจากธลุ ี มงคลท่ี ๓๘ จติ เกษม

สปั ดาหท์ ี่ 12 (ชั่วโมงที่ ๓) ใบงานท่ี ๓ วิชาพระพทุ ธศาสนา ๕ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 (ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓) เร่ือง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา (เรื่อง มงคล ๓8) ชือ่ .......................................................นามสกุล.......................................เลขที่................. …………………………………………………………………………………………………………. คาช้ีแจง ให้นักเรียน สืบค้นและ ค้นหาหลักธรรม มงคล 38 ประการท่ี 1 ถึง 38 ให้ครบถ้วน ใส่ใน ตารางทก่ี าหนดให้ มงคล ๓๘ ๑ 20 2 21 3 22 4 23 5 24 6 25 7 26 8 27 9 28 10 29 11 30 12 31 13 32 14 33 15 34 16 35 17 36 18 37 19 38

สัปดาห์ท่ี ๑๓ (ช่ัวโมงท่ี ๑) ใบความรู้ที่ ๑ รายวชิ า ๒๓๑0๒ (พระพทุ ธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เรื่อง พระไตรปฎิ ก (เรือ่ ง พทุ ธศาสนสุภาษิต) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ .......................................................................................................... พทุ ธภาษิต คือ พระวจนะของพระพทุ ธเจ้า หมายถงึ เป็นถอ้ ยคำที่ (เราเชอ่ื กนั วา่ ) พระพุทธองค์ตรัสจรงิ ๆ ส่วนมากมกั จะเป็น “คาถา” หรอื เปน็ บทกวีนิพนธ์ เช่น คาถาธรรมบท เปน็ ตน้ ส่วน “พุทธศาสนสุภาษิต” แปลว่า คำสุภาษิตของพุทธศาสนา หมายถึง ถ้อยคำที่พูดดีมีเหตุผล ท่ี สอดคล้องกบั หลกั คำสอนของพระพทุ ธเจ้า เนน้ ตรงท่ี “สอดคลอ้ งกบั คำสอนของพระพทุ ธเจ้า” เพราะอะไร? เพราะคำพูดที่ไพเราะ มีเหตุ มีผล ในเรื่องอนื่ ๆ มีมากมาย แต่ถ้าขดั แย้งกับหลักคำสอนของ พระพทุ ธเจ้าไม่นับว่าเปน็ พุทธศาสนสุภาษิต อย่างมากก็ได้ชอื่ ว่า “สภุ าษิต” (พูดไว้ดี พูดไว้ถกู ) เท่านัน้ พุทธศาสนสุภาษิตส่วนมาก เป็นบทประพันธ์ท่ีนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนารนุ่ หลังๆ แต่งข้ึน บางบท ไพเราะ งามทั้งอรรถ และพยัญชนะ เทียบเท่าหรือเทียบเท่าพุทธภาษิต (ในแง่ความไพเราะและความถูกต้องตาม หลักไวยากรณ)์ กม็ ี ในเมืองไทยเอง ยุคท่ีมีผู้แต่งพทุ ธศาสนสุภาษิตแพร่หลายที่สุด เห็นจะเปน็ ยุครตั นโกสินทร์ พูดให้ชัดลงไป สมัยรัชกาลท่ี 3 ท่ี 4 และที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ รัชกาลท่ี 4 เม่ือสมัยยังทรงผนวช ทรงพระราช นิพนธ์คาถาสุภาษิตมากมาย ไม่เฉพาะแต่บทสวดมนต์ หรือพระปริตรต่างๆ เท่าน้ัน ศิษย์เอกในพระองค์ เช่น สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงนิพนธ์งานชิ้นสำคัญเจริญรอยตามสมเด็จพระ อุปัชฌายะ แต่น่าเสียดายงานชิ้นนี้เป็นที่รู้กันในวงแคบ มหามกุฏฯเองพิมพ์หนังสืออ่ืนมากมาย ไม่เห็นพิมพ์พระ นิพนธช์ น้ิ น้อี อกเผยแพรเ่ ลย หนงั สอื เลม่ นช้ี ่ือ สคุ ตวิทัตถิวิธาน (วิธีนบั คืบพระสุคต) คืบพระสคุ ต คือ มาตราวัดชนิดหน่ึง บอกว่าคืบของพระพุทธเจา้ ยาวกว่าคบื ของคนทว่ั ไป สมเดจ็ กรมพระ ยาปวเรศฯ ทรงตั้งคำถามว่าพระพทุ ธเจา้ เป็นคนธรรมดาเหมอื นอยา่ งเราๆ ใช่ไหม ถ้าเปน็ คนธรรมดาเหมือนอย่าง เรา ลักษณะทางกายภาพ พูดง่ายๆ ว่ารูปรา่ งกต็ ้องมีสดั สว่ นไม่ต่างจากคนอ่ืนๆ คืบของพระองค์ ศอกของพระองค์ ก็ไม่นา่ จะยาวกว่าคนทั่วไป เสร็จแลว้ กท็ รงยกหลกั ฐานจากพระไตรปิฎกมายนื ยัน สมเหตุสมผลนา่ ฟังอยา่ งยง่ิ ท่ีผมท่ึงก็คือ เรื่องนี้ทรงนิพนธ์เป็นภาษาบาลีท่ี Perfect ที่สุด (ขอดัดจริตใช้คำฝร่ังหน่อย) ยังไม่เห็นงาน ยคุ หลังๆ เลม่ ใดแต่งดีขนาดน้ี อีกสองท่านคือ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส และสมเดจ็ พระสงั ฆราชสา ปราชญ์ ทง้ั สองน้ีได้ทรงนพิ นธ์พุทธศาสนสุภาษติ ไว้มากมาย สภุ าษิตหลายบทเราจำกันได้ข้ึนใจ หลงนกึ วา่ เป็นพุทธสุภาษิต แท้ที่จริงหาใช่ไม่ จะขอยกมาเตอื นความจำกนั บางบท เช่น นมิ ติ ตฺ ํ สาธรุ ูปานํ กตญั ญฺ ูกตเวทิตา ความกตญั ญูกตเวทเี ป็นเคร่อื งหมายของคนดี บทนี้ สมเดจ็ พระมหา สมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงแตง่ เพอื่ เลียนพุทธพจน์ วา่ ภูมิ เว สปปฺ ุริสานํ กตญญฺ กตเวทติ า ความ กตญั ญูกตเวทีเปน็ พ้ืนฐานของคนดี อีกบทท่ีจำกนั ได้แม่น รกฺเขยฺย อตตฺ โน สาธํ ลวณํ โลณตํ ยถา พึงรกั ษาความดีของตนไว้ ดัง่ เกลือรักษา ความเค็ม บทน้สี มเด็จพระสังฆราชสานิพนธไ์ ว้

ตวั อย่างพุทธศาสนสภุ าษติ โกธํ ฆตวฺ า สขุ ํ เสติ : ฆ่าความโกรธได้ ย่อมอยู่เปน็ สขุ ความทุกข์มนั เกดิ ท่ีใจ ถา้ ใจเรายังมีความโกรธอยู่ แมจ้ ะแสวงหาอะไรไดต้ ามความพอใจแล้ว โอกาสจะเกิดทกุ ข์ก็ มีมากถมไป เช่น เรามเี งินทองซ้อื ของมา แตข่ องนน้ั ไม่ดี ใจกเ็ ปน็ ทกุ ข์ มเี งินถกู เพ่ือนยมื เงนิ ไปแล้ว เพื่อนไม่คืนไห้ กเ็ ปน็ ทุกข์ มบี ้าน บ้านถูกปลวกขึ้นกเ็ ป็นทุกข์ มีรถยนต์เกิดรถเสียบ่อย หรอื รถถูกคนขูดขีดเล่นให้เป็นรอยกเ็ ป็น ทุกข์ จากท่ีกล่าวมานี้ จะเห็นได้ว่าสุขหรือทุกข์มันเกิดที่ใจ ถ้าใจว่างจากความโกรธ ความสุขก็จะเกิดขึ้น แต่ถ้า ความโกรธยงั มีอยู่ในใจ ความสุขก็จะเกิดไม่ได้ พระสัมมาสมั พุทธเจ้าจงึ ตรัสรบั รองไวว้ ่า ฆ่าความโกรธได้แลว้ อยสู่ ุข สบาย สนตฺ ุฏฺฐี ปรมํ ธน ความสันโดษเป็นทรัพยอ์ ยา่ งยง่ิ “ทรัพย์คือปัจจัยสี่ เป็นส่ิงจำเป็นในการดำรงชีวิต ถ้ามีแล้วไม่รู้จักพอก็เป็นทุกข์” คำว่า สันโดษ แปลว่า ความยนิ ดเี ฉพาะในส่งิ ท่ีมีอยู่หรอื ความพอใจเท่าที่มีตามฐานะของตน หมายความว่าตนเองแสวงหาปัจจัยส่ี หรอื มี ปัจจัยส่ี คือเสื้อผ้าเคร่อื งนุ่งห่ม เครือ่ งประดับเชน่ ใดก็พอใจ ตนเองมีอาหารการกนิ สขุ สมบูรณ์หรือพอยงั อัตภาพให้ อยู่ได้ก็พอใจ ตนเองมบี ้านท่ีอยู่อาศัยขนาดไหนก็พอใจ ตนเองมีความสามารถดูแลรักษาพยาบาลในระดับใด ก็ พอใจ เป็นต้น ความพงึ พอใจในสิ่งที่ตนเองมีอยู่นี้จึงถือว่า “เป็นทรพั ย์อยา่ งยิง่ ” ไมม่ ีทรัพย์สินท่ีเปน็ ปัจจยั ส่ใี ด ๆ จะเทยี บเทา่ ได้ น่นั คอื ผลสดุ ทา้ ยก็จะประสบกับความสุขทีแ่ ท้จริง โดยไมห่ ลงงมงายกบั วัตถสุ ่ิงของมากเกนิ ไป ราชา มขุ ํ มนุสฺสานํ พระราชา เป็นประมุขของประชาชน ทะเลเป็นที่รวมแห่งสายน้ำน้อยใหญ่ เช่นเดียวกับประชาชนถวายชีวิตไว้ใต้เบ้ืองพระยุคลบาทของ พระราชาในแตล่ ะแวน่ แคว้น ยอ่ มมพี ระมหากษตั ริยเ์ ปน็ ประมขุ ของประชาชนในแว่นแควน้ ทั้งหมด พระองคไ์ ด้ทรง ไว้ซ่ึงพระราชอิสริยยศเหนือทุกชีวิตในแว่นแคว้นของพระองค์ ทรงวางพระบรมราโชบาย และทรงมีพระบรม ราโชวาท แนะนำสั่งสอนให้ขา้ ราชบริพารทุกระดับชั้น รวมกนั ใช้ความคิดในกิจการงานของประเทศให้ดำเนินไปใน ทิศทางเดียวกัน และพสกนิกรต่างเคารพเทิดทูนพระราชาในฐานะเป็นเจ้าชีวิต เหนือเกล้าเหนือกระหม่อมแว่น แคว้นท่ีมีผู้นำดี ย่อมเจริญรุ่งเรือง ต่างชาติต่างภาษาก็ปรารถนาเจริญสัมพันธไมตรี พสกนิกรก็อยู่กันอย่างมี ความสขุ (ถนอมชัย แสงจนั ทร์, 2560) อีกบท (บทสุดท้ายแล้ว) โลโกปตฺถมฺภิกา เมตฺตา เมตตาเป็นเคร่ืองค้ำจุนโลก สุภาษิตบทนี้ไพเราะกินใจ มาก และเป็นความจริงท่ีสุด เปน็ พระราชนิพนธ์ของสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ครบั ศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย ได้เคยรวบรวมพุทธศาสนสุภาษิต พิมพ์เป็น 3 ภาษา คือ ภาษาบาลี ไทย และอังกฤษ เพ่ือให้นำไปวางไว้ตามโรงแรมช้ันหน่ึง ตามห้องพักคนป่วยในโรงพยาบาล และเพ่ือ มอบให้หอ้ งสมดุ สถาบนั การศึกษา และสว่ นราชการ ตามพระบญั ชาของสมเด็จพระญาณสังวร สมเดจ็ พระสังฆราช ฯ เมือ่ นานมาแล้ว

สปั ดาห์ที่ ๑๓ (ชว่ั โมงที่ ๑) ใบงานท่ี ๑ รายวิชา ๒๓๑0๒ (พระพุทธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 เร่ือง พระไตรปิฎก (เรื่อง พุทธศาสนสภุ าษิต) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ .......................................................................................................... คำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนนำขา่ ว หรอื ภาพข่าว หรอื การสัมภาษณ์บคุ คลท่สี อดคลอ้ งกบั พทุ ธศาสนสภุ าษติ มาวเิ คราะห์แลว้ ตอบค าถาม สาระสำคัญ ท่มี า 1. บคุ คล หรือกลุ่มบคุ คลทีม่ ีการกระทำสอดคลอ้ งกับพุทธศาสนสภุ าษติ คอื ใคร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. บุคคล หรอื กลมุ่ บคุ คลมีการกระท าทสี่ อดคลอ้ งกับพทุ ธศาสนสุภาษติ ในเร่ืองใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ตวั อยา่ งการกระท าที่สอดคล้องกับพุทธศาสนสุภาษติ มอี ะไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ผลของการกระท าในข้อ 3 มีผลตอ่ ตนเอง และสังคมส่วนรวมอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. นกั เรียนสามารถนำแบบอย่างการปฏบิ ัติตนของบุคคล หรอื กลุ่มบคุ คลดังกล่าวไปประยกุ ต์ปฏิบตั ิตนได้ อยา่ งไร และคาดวา่ ผลท่ไี ดร้ บั จะเป็นอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………

สัปดาหท์ ี่ ๑๓ (ช่วั โมงที่ ๒) ใบงานท่ี ๒ รายวชิ า ๒๓๑0๒ (พระพทุ ธศาสนา ๕) หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 4 เรอื่ ง พระไตรปิฎก (เร่อื ง พทุ ธศาสนสุภาษิต) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ชือ่ ........................................นามสกุล....................................ชน้ั ม3.เลขที.่ .................. ...................................................................................................................................................................................... คำชี้แจง ให้นักเรยี นใช้พุทธศาสนสภุ าษติ ท่ีสนใจ เลือกมาแต่งเป็นเรือ่ งเล่า หรอื นทิ านสอดคลอ้ งกบั พุทธศาสน สภุ าษติ ดงั กลา่ ว พุทธสุภาษิต ........................................................................................................................................................ คำอ่าน ................................................................................................................................................................. ความหมาย ................................................................................................................................................. ........ เนอ้ื เรอื่ ง ช่ือเร่อื ง ............................................................................................................................. .................... ................................................................................................................ .............................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................... ........................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................... ........................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................

สปั ดาหท์ ี่ ๑๓ (ชั่วโมงท่ี ๓) ใบงานท่ี ๓ รายวิชา ๒๓๑0๒ (พระพุทธศาสนา ๕) หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เร่ือง พระไตรปฎิ ก (เร่อื ง พุทธศาสนสภุ าษติ ) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ช่ือ........................................นามสกุล....................................ช้นั ม3.เลขท่ี................... ...................................................................................................................................................................................... คำชีแ้ จง ให้นกั เรยี นค้นควา้ ข้อความในพระไตรปิฎกเก่ียวกบั หลักธรรมค าสอนของพระพทุ ธศาสนาที่ นักเรียนมีความประทับใจ และสามารถนำไปเป็นหลักปฏิบัติในการดำเนินชีวิต นำมาวิเคราะห์ และตอบ คำถาม เร่ือง....................................................... (สาระสำคัญ / ขอ้ ความสำคญั ) ท่มี า....................................................... ๑.ขอ้ ความในพระไตรปิฎกมีหลกั คำสอนเกย่ี วกับเรอื่ งอะไรบา้ ง .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. นกั เรียนได้ขอ้ คดิ อยา่ งไรบ้าง จากขอ้ ความดังกล่าว .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. นกั เรียนสามารถนำขอ้ คดิ จากขอ้ ความดงั กลา่ วไปประยุกต์ใช้ในการด าเนนิ ชวี ติ อย่างไรบ้าง .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

สัปดาหท์ ่ี ๑๔ (ชัว่ โมงท่ี ๑) ใบความร้ทู ่ี ๑ รายวิชา ๒๓๑0๒ (พระพุทธศาสนา ๕) หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 เรื่อง หน้าท่ชี าวพทุ ธและมารยาทชาวพุทธ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ชอ่ื ........................................นามสกุล....................................ช้ัน ม3.เลขท.่ี .................. ...................................................................................................................................................................................... เร่ือง หน้าทช่ี าวพทุ ธและมารยาทชาวพุทธ ชาวพุทธ คือ ผู้ท่ีเคารพเลื่อมใส และศรัทธาในพระรัตนตรัย มีหน้าที่ในการศึกษา และปฏิบัติตาม หลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา ให้ความเคารพนับถือต่อพระรัตนตรัย เอาใจใส่ทำนุบำรุง และบำเพ็ญ ประโยชน์ต่อวัดและพระสงฆ์ รวมเรียกว่า “หน้าท่ีชาวพุทธ” นอกจากนี้ ยังต้องปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทท่ี เหมาะสมตอ่ พระสงฆ์ หรอื ท่เี รยี กว่า “มารยาทชาวพทุ ธ” ด้วย หนา้ ทชี่ าวพุทธ - หน้าท่ีชาวพุทธโดยทั่วไป คือ ให้ความสนใจศึกษาค้นคว้าหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และน้อมนำ หลักธรรมที่ได้ศึกษาแล้ว มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมแก่ฐานะของตน รวมท้ังการทำบุญบำเพ็ญกุศล เข้าร่วม พิธีกรรมทางศาสนาในโอกาสสำคัญตา่ งๆ - หน้าที่ชาวพุทธในด้านการอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา ได้แก่ การอุปถัมภ์พระภิกษุสามเณร ให้มีกำลังใน การปฏิบตั ิศาสนกจิ ช่วยทำนบุ ำรุงวดั และศาสนสถาน - หน้าที่ชาวพุทธในด้านการปฏิบัติตน ได้แก่ การดำรงตนอยู่ในกรอบของศีลธรรมอันดีงาม ปฏิบัติตาม กฎหมาย ไมล่ ะเมิดกฎระเบียบ และกติกาของสังคม - หน้าท่ีชาวพุทธด้านการปกป้องคุ้มครองพระพุทธศาสนา คือ ไม่น่ิงดูดายเมื่อมีวิกฤตการณ์เกิดขึ้นกับ พระพุทธศาสนา

มารยาทชาวพทุ ธ - เวลาพบปะพระสงฆ์ในสถานที่ต่างๆ แสดงความเคารพด้วยการประนมมือไหว้ กราบ หรือลุกขึ้นยืนรับ ตามสมควรแกโ่ อกาสและสถานที่ ไมค่ วรน่งั บนอาสนะเดยี วกับพระภิกษุ สำหรบั สตรีจะนัง่ บนมา้ ยาว หรอื เกา้ อ้ียาว เดียวกันไม่ได้โดยเด็ดขาด แม้จะน่ังคนละมุมก็ตาม ในกรณีท่ีจำเป็น จะต้องมีบุรุษมาน่ังคั่นกลางให้ หากพบ พระภิกษบุ นเรือ หรือบนรถโดยสาร พึงลุกให้ทนี่ ่งั แก่ท่านดว้ ย - การถวายภัตตาหารและปัจจัย ให้สมควรแก่สมณะ เวลาใส่บาตรพึงถอดรองเท้าตักข้าว และอาหารใส่ บาตรด้วยความเคารพ แลว้ ย่อตัวลงไหว้ เมื่อจะถวายปจั จัยไมพ่ ึงประเคนใหท้ ่าน พงึ เอาปัจจัยใสซ่ องใสล่ งในย่ามให้ ท่านเอง เวลานมิ นต์พระสงฆ์ไปฉันภัตตาหารทบ่ี ้านตน ไม่พงึ ระบชุ ่ืออาหาร ถา้ จะนิมนตพ์ ระสงฆ์ไปรับสงั ฆทาน ไม่ พงึ เจาะจงภิกษุผรู้ ับ - เวลาสนทนากับพระสงฆ์หรือฟงั โอวาท ให้ใช้สรรพนามให้เหมาะสม คอื ใช้สรรพนามแทนผู้ชายว่า “ผม” หรือ “กระผม” ผู้หญิงใชค้ ำว่า “ดิฉัน” ใช้สรรพนามแทนตวั ท่านวา่ “พระคุณเจ้า” หรือ “หลวงพ่อ” หรือ “พระ เดชพระคุณ” ตามควรแก่กรณี เวลารับคำผู้ชายใช้คำว่า “ครับ” หรอื “ขอรับ” ผู้หญิงใช้คำว่า “ค่ะ” หรอื “เจ้า ค่ะ” เวลาพระทา่ นพูดใหโ้ อวาทหรอื อวยพร หรือเวลารบั ไตรสรณคมน์และรบั ศลี พึงว่าตามด้วยเสยี งดงั ไม่ควรนั่ง เงียบเฉยๆ ควรประนมมอื ฟงั ดว้ ยความเคารพ ไม่คยุ กนั หรือทำอยา่ งอืน่ ในระหวา่ งท่ที า่ นกำลงั สวด การประพฤตติ นใหเ้ ปน็ แบบอย่างของพระภิกษุ พระภิกษุต้องหมั่นพิจารณาตนเอง คือ พิจารณาเตือนใจตนเองอยู่เสมอตามหลักปัพพชิตอภิณหปัจจ เวกขณ์ (ธรรมท่ีบรรพชติ ควรพจิ ารณาเนือง ๆ ) ๑๐ ประการ ดงั น้ี ๑. พระภิกษมุ ีเพศต่างจากคฤหสั ถ์ สลดั แลว้ ซึ่งฐานะ ควรเปน็ อยู่งา่ ย จะจู้จ้ีถอื ตวั เอาแต่ใจตนไม่ได้ ๒. ความเป็นอย่ขู องพระภิกษุต้องพง่ึ พงิ ผอู้ ่ืน ต้องอาศัยเขาเลี้ยงชีพ ควรทำตัวใหเ้ ขาเล้ียงง่าย และบริโภค ปจั จัย 4 โดยพิจารณา ไม่บริโภคดว้ ยตัณหา ๓. พระภิกษุมีอากัปกิริยาท่ีพึงทำต่างจากคฤหัสถ์ อาการกิริยาใด ๆ ของสมณะ พระภิกษุต้องทำอาการ กริ ยิ านน้ั ๆ และยงั จะตอ้ งปรับปรงุ ตนใหด้ ีย่ิงขน้ึ ไปกว่านี้ ๔. พระภิกษตุ ิเตียนตวั เองไดโ้ ดยศีล ๕. เพอ่ื นพรหมจรรย์ท้งั หลาย ผู้เป็นวิญญูชน พจิ ารณาแล้ว ยังตเิ ตยี นติเตียนไดโ้ ดยศีล ๖. พระภิกษุจกั ต้องมคี วามพลัดพรากจากของรกั ของชอบใจไปทง้ั สนิ้ ๗. พระภิกษมุ ีกรรมเป็นของตน หากทำกรรมใด ดีกต็ าม ช่ัวกต็ ามจกั ตอ้ งเปน็ ทายาทของกรรมนนั้ ๘. วนั คนื ล่วงไป ๆ บดั น้ีพระภิกษุทำอะไรอยู่ (ทำในสิ่งท่เี ป็นประโยชนห์ รือไม)่ ๙. พระภกิ ษยุ ินดีในทสี่ งัดอยูห่ รอื ไม่ ๑๐. คุณวิเศษยิ่งกว่ามนุษย์สามัญท่ีพระภกิ ษุบรรลุแล้วมีอยู่หรอื ไม่ ท่ีจะให้เป็นผู้ไม่เกอ้ เขิน เมื่อถูกเพื่อน บรรพชิตถามในกาลภายหลัง พุทธศาสนิกชนสามารถนำขอ้ วัตรปฏิบัติของพระภิกษุทั้งสิบประการดังกล่าวมา นำ เปน็ แบบอยา่ งในการประพฤติปฏบิ ัตใิ นชวี ติ ประจำวนั ได้ ซ่ึงจะทำใหเ้ กดิ ความเจริญแก่ผูป้ ระพฤตปิ ฏิบตั ิน้ัน

สปั ดาหท์ ่ี ๑๔ (ช่วั โมงที่ ๑) ใบงานท่ี ๑ รายวชิ า ๒๓๑0๒ (พระพุทธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 เรือ่ ง หนา้ ท่ชี าวพทุ ธและมารยาทชาวพทุ ธ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ชอื่ ........................................นามสกุล....................................ชัน้ ม3.เลขที.่ .................. ...................................................................................................................................................................................... ๑.ให้นักเรียนศึกษาความหมายของศัพท์ต่อไปนี้ แล้วเตมิ ลงในช่องว่าง (ต้องรู้ความหมายของแตล่ ะ ศพั ท์และวิธีใช)้ ปฏิสนั ถาร ปุรตั ถมิ ทศิ ศาสนพธิ ี อบุ าสิกา อาสนทาน สวดพระพุทธมนต์ ฉัน ไทยธรรม ธรรมาสน์ ประเคน อาพาธ มรณภาพ นมิ นต์ บรขิ าร กฏุ ิ อุบาสก สามเณร ฆราวาส คิลานเภสชั อปุ สมบท รปู 1.“เปน็ ธรรมเนยี มไทยแท้ แต่โบราณ ใครมาถึงเรือนชานต้องตอ้ นรบั ” หรือเรยี กอีกอย่างว่าการ……………………….. 2…………………............................คอื ผู้หญงิ ทน่ี ับถือพระพุทธศาสนา และไม่ใชภ่ ิกษณุ ี 3.ในวันพระ พระอาจารย์นัง่ แสดงธรรมบน………………………………………………………………………………………………… 4…………………….............................................หรอื ทิศเบอื้ งหน้าซ่ึงหมายถงึ บดิ ามารดา 5.การตอ้ นรบั พระสงฆด์ ้วยการแสดงทน่ี ง่ั หรือให้ทีน่ ่ังแก่พระสงฆ์ เรียกอกี อย่างว่า…………………………………………… 6.สรุ ชัยได…้ …………….............พระ 10 รปู มา…………………………………………….ในงานทำบญุ อัฐซิ ง่ึ เป็นงานอวมงคล 7.อบุ าสกได้……………..เครือ่ ง……………….และ…………มีบาตร จวี รเป็นต้นแก่พระภิกษบุ น………………… 8.ถา้ พระภิกษุรปู นไ้ี มไ่ ด…้ …….........……ภัตตาหารเช้า อาจจะทำให้ท่าน……………......….หรอื ถึงแก่…………....…….ได้ 9.บดิ าของพระยสะ เป็น……………………….คนแรกที่ถงึ พระรตั นตรยั เปน็ สรณะตลอดชวี ติ ทป่ี ่าอิสปิ ตนมฤคทายวนั 10.พุทธบริษัทควรที่จะศึกษา………………………………..คือระเบียบ แบบแผนการปฏิบัติในทางศาสนา เพ่ือท่ีจะ ปฏบิ ตั ิไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 11.พระภิกษุสงฆ์ทรงศีล 227 ส่วน……………..........................……..ศลี 10 อุบาสกและอุบาสิกา ศลี 5 12.ผทู้ อ่ี อกบวชเรยี กว่าบรรพชติ ส่วนผู้ท่อี ยู่ครองเรือนเรียกวา่ ……………................................…………………………. 13. …………..........................................................……………..เป็นหนงึ่ ในปจั จัย ๔ ส่ิงจำเป็นสำหรบั การดำรงชีวิต 14.การบวชเป็นสามเณร เรยี กวา่ บรรพชา ส่วนการบวชพระเรียกว่า……………………………....................……… 15.…………….................... คือลกั ษณะนามสำหรบั พระภกิ ษุ

สัปดาห์ที่ ๑๔ (ช่วั โมงท่ี ๒) ใบความรู้ท่ี ๒ รายวชิ า ๒๓๑0๒ (พระพุทธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 เร่อื ง หน้าทีช่ าวพุทธและมารยาทชาวพทุ ธ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ช่อื ........................................นามสกลุ ....................................ช้นั ม3.เลขท.่ี .................. ...................................................................................................................................................................................... เรื่อง หน้าทขี่ องพระภิกษใุ นการปฏบิ ตั ิตามหลกั พระธรรมวนิ ัยเเละจรยิ วตั รอยา่ งเหมาะสม การเรียนร้ถู ึงหน้าที่ของพระภิกษุในการปฏิบัตติ ามหลักพระธรรมวินยั และจริยาวตั รอย่างเหมาะสมหน้าที่ ของพระภิกษุ พระภิกษุสงฆซ์ ึ่งเป็นบรรพชิตในพระพุทธศาสนา มีหน้าท่ีศึกษา ปฏิบัติธรรม เผยแผ่คำสอน สืบต่อ พระพทุ ธศาสนามคี ณุ ธรรมและหลักความประพฤติท่ีต้องปฏบิ ัติมากมาย ไดแ้ ก่ 1. ปริยตั ิ ได้แก่ การศึกษา พระภกิ ษุมีหน้าท่ีศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินยั เปน็ ผมู้ ีความรู้ ความจำ ซงึ่ เกิด จากการสดับตรับฟังมากและการศึกษาเล่าเรียนมามาก จากน้ันก็เริม่ นำพระธรรมวินยั และข้อวตั รปฏบิ ัติที่เกิดจาก การศึกษาเล่าเรียนน้ันมาส่ังสอนพุทธศาสนิกชนโดยนำพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้ามาเผยแผ่แนะนำให้ พุทธศาสนกิ ชนได้ใช้และยดึ ถือเปน็ แนวปฏิบัติ 2. ปฏบิ ัติ พระภิกษุเมื่อได้ศกึ ษาเลา่ เรียนมาแลว้ จะมากหรอื น้อยกต็ าม ย่อมตอ้ งไดป้ ระพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนทั้ง ในด้านพทุ ธบญั ญัตแิ ละการอบรมขัดเกลาจิตใจของตนให้สะอาดปราศจากกเิ ลสเครอ่ื งเศรา้ หมอง ปฏบิ ัตติ าม หลักธรรมวนิ ยั อย่างเคร่งครัดไม่ใหบ้ กพร่อง ไม่ให้ด่างพร้อย 3. ปฏิเวธ แปลว่า การรูแ้ จง้ แทงตลอดในขอ้ ธรรมของพระพุทธเจา้ พระภิกษุเม่อื ได้ประพฤตปิ ฏิบตั ิตาม พระธรรมยอ่ มรู้แจ้งแทง ตลอดในพระธรรมวนิ ยั นน้ั ได้รบั มรรคผลหลงั จากท่ีได้เพยี รพยามปฏบิ ัติตามพระธรรม วนิ ยั ท่ีมงุ่ หวงั ไว้ หากจะสรุปหน้าที่ของพระภิกษแุ ลว้ พระภกิ ษุยอ่ มมหี น้าท่ีท่ีสำคญั 2 ประการ ดงั น้ี 1. คันถธรุ ะ ได้แก่ การศึกษาเล่าเรยี น 2. วิปสั สนาธุระ ไดแ้ ก่ การปฏิบัตเิ พื่อใหร้ แู้ จง้ เหน็ จรงิ ตามสภาวะต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม พระภิกษุนอกจากจะทำหน้าท่ีทง้ั สามประการแล้ว ยงั ต้องควรได้ช่วยเหลอื สังคม ด้วยการ ช่วยพัฒนาท้องถิ่นกันดารต่าง ๆ ช่วยบูรณะซ่อมแซมเสนาสนะอันเป็นสมบัติทางศาสนา ช่ วยพัฒนา สาธารณประโยชน์พ้ืนฐานของสังคมควบคู่ไปกับการพัฒนาศาสนา และอนุเคราะห์ให้กุลบุตรกุลธิดาได้ศึกษาเล่า เรยี นตามความเหมาะสมอกี ด้วย จรยิ าวตั รของภกิ ษุ พระภิกษุนอกจากจะมีหน้าที่ดังกล่าวแล้ว ยังต้องมีจริยาวัตร ได้แก่ การหม่ันพิจารณาตนเอง คือ พิจารณา เตอื นใจตนเองอยู่เสมอตามหลัก ปัพพชติ อภณิ หปจั จเวกขณ์ (ธรรมทีบ่ รรพชติ ควรพิจารณาเนือง ๆ ) ไดแ้ ก่ มคี วาม เป็นอยู่ง่าย บริโภคปัจจัย 4 โดยพิจารณา ไม่บริโภคด้วยตัณหา มีอากัปกิริยาที่เรียบร้อยดีงามเหมาะสมกับสมณ สารูปหม่ันพิจารณาตวั เองว่าตนเองและเพ่ือนพรหมจรรย์ทงั้ หลายยังติเตยี นตนเองโดยศีลไม่ได้อยู่หรอื ไม่ ทุกคนจัก ต้องพลัดพรากจากของทร่ี ักท่ีชอบใจ มีกรรมเป็นของตนไม่สามารถหลกี หนีได้ ไม่ตกอยู่ในความประมาท ไม่ปล่อย เวลาให้ปราศจากประโยชน์ ยนิ ดใี นทส่ี งัด ไมค่ ลุกคลดี ว้ ยหมคู่ ณะ เปน็ ต้น

ฉะนนั้ พุทธศาสนิกชนผู้นับถือพระพุทธศาสนาว่าเป็นทพ่ี ่ึง ท่ีระลกึ เม่ือได้เรียนรูห้ น้าที่และจริยาวัตรของ พระภิกษุสามเณรเช่นน้ีแล้ว จึงสมควรอย่างย่ิงท่ีจะได้นำหน้าที่และจริยาวัตรของท่านมาเป็นหลักในการประพฤติ ปฏบิ ตั ิในชวี ิตประจำวันได้แก่ 1. การศึกษาเล่าเรยี น ศกึ ษาคน้ คว้าหาความรู้และประสบการณ์ตา่ ง ๆ 2. การประพฤติปฏิบัติในหลกั ธรรมทถ่ี กู ต้องดีงาม เป็นไปเพือ่ ประโยชน์ตนเองและส่วนรวม ไมเ่ บยี ดเบยี น ใคร ไม่ก่อความเดือดรอ้ นแก่ใคร ๆ 3. การปฏบิ ัติสมาธิ ให้จติ ใจมีความสงบร่มเยน็ มสี ตอิ ยู่กบั ตวั ระลึกได้อยู่ตลอดเวลา 4. การหมั่นพจิ ารณาตนเอง ประพฤตปิ ฏบิ ัติตนให้เหมาะสมกับฐานะความเปน็ อยู่ ไม่ให้ฟงุ้ เฟ้อจนเกินไป 5. การพจิ ารณาตนเองว่าอะไรทำแลว้ อะไรยังไมไ่ ดท้ ำ ไม่ให้ตกอยู่ในความประมาท

สัปดาห์ท่ี ๑๔ (ชว่ั โมงที่ ๒) ใบงานท่ี ๒ รายวชิ า ๒๓๑0๒ (พระพุทธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 เร่ือง หนา้ ท่ีชาวพุทธและมารยาทชาวพทุ ธ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ช่ือ........................................นามสกุล....................................ช้ัน ม3.เลขที่................... ...................................................................................................................................................................................... ใบงาน เรื่อง หนา้ ที่ของพระภกิ ษุใน การปฏบิ ตั ติ ามหลกั ธรรม วินยั และจรยิ วัตรอย่าง เหมาะสม คำชี้แจง ให้นกั เรยี นระบุกิจตา่ ง ๆ ของพระสงฆท์ ่ีพงึ ปฏบิ ัติ โดยให้ระบุว่ากจิ นั้นเป็นกจิ มงคลหรอื กจิ อวมงคล (๑0 กจิ ) กจิ ตา่ ง ๆ ของพระสงฆ์ท่ีพึงปฏบิ ัติ กิจมงคล กิจอวมงคล

สัปดาหท์ ่ี ๑๔ (ชัว่ โมงที่ ๓) ใบความรู้ท่ี ๓ รายวชิ า ๒๓๑0๒ (พระพุทธศาสนา ๕) หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 เรื่อง หนา้ ท่ีชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ชอื่ ........................................นามสกลุ ....................................ชัน้ ม3.เลขที่................... ...................................................................................................................................................................................... เรอื่ ง การปฏิบัตหิ นา้ ทีช่ าวพุทธตามพทุ ธปณธิ าน 4 ในมหาปรนิ ิพพานสตู ร ดังท่ีทราบแล้วว่า ก่อนท่ีพระพุทธเจ้าจะเสด็จปรินิพพานนั้น มารได้มากราบทูลอาราธนาให้พระพุทธเจ้า ปรนิ ิพพานด้วยประการต่าง ๆ แต่พระพุทธเจ้าไดต้ รสั ตอบแกม่ ารว่า หากภกิ ษุ ภกิ ษณุ ี อุบาสก อุบาสกิ า ผ้เู ปน็ พทุ ธ สาวกของเรายังไม่เฉียบแหลม ไม่ได้รับการแนะนำ ไม่แกล้วกล้า ไม่เป็นพหูสูต ไม่ทรงธรรม ไม่ปฏิบัติชอบ ไม่ ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม เรียนกับอาจารย์ของตนแล้ว แตย่ ังบอก แสดง บญั ญัติ กำหนด เปิดเผย จำแนก ทำให้ ง่ายไม่ได้ ยังแสดงธรรมมีปาฏิหาริย์ปราบปรัปวาทที่เกิดขึ้นให้เรียบร้อยโดยชอบธรรมไม่ได้ พระองค์จะไม่ ปรนิ พิ พานฉะน้นั พุทธปณธิ าน 4 ของพระพุทธเจา้ จงึ หมายถงึ พทุ ธบริษัท 4 ได้แก่ (1) ภกิ ษุ (2) ภิกษุณี (3) อบุ าสก (4) อุบาสิกา จำต้องศึกษาปฏิบัติ กระทำตามหน้าที่ของตน ๆ เพ่ือให้เป็นผู้เฉียบแหลม แกล้วกล้า เป็นพหูสูต ทรง ธรรม ปฏบิ ตั ิชอบ ปฏิบตั ธิ รรมสมควรแก่ธรรม บอก แสดง บัญญตั ิ กำหนด เปดิ เผย จำแนก ทำให้งา่ ยได้ เปน็ ต้น หนา้ ที่ของพุทธบรษิ ทั 4 พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยตุ ฺโต) ไดก้ ล่าวถึงหนา้ ท่ขี องคนสืบศาสนาทเ่ี ก่ยี วข้องกับพทุ ธบริษทั 4 ดงั นี้ 1. หน้าที่ของ ภิกษุ (รวมถึงภิกษุณีด้วย) ภิกษุ ซึ่งเป็นบรรพชิตในพระพุทธศาสนา มีหน้าที่ศึกษาปฏิบัติ ธรรม เผยแผ่คำสอน สืบต่อพระพุทธศาสนา มีคุณธรรมและหลักความประพฤติที่ต้องปฏบิ ัตมิ ากมาย แต่ในที่น้ีจะ แสดงไว้เฉพาะหน้าที่ท่สี มั พันธก์ บั คฤหัสถ์ และข้อเตือนใจในทางความประพฤตปิ ฏบิ ัติ ดงั ต่อไปนี้

ก. อนุเคราะหช์ าวบา้ น ภกิ ษุ (รวมภกิ ษณุ ี) อนุเคราะห์คฤหสั ถต์ ามหลกั ปฏิบตั ิในฐานะท่ตี นเปน็ เสมอื น ทิศเบอ้ื งบน ดังน้ี 1. ห้ามปรามสอนให้เวน้ จากความชว่ั 2. แนะนำสั่งสอนให้ตั้งอยู่ในความดี 3. อนเุ คราะห์ด้วยความปรารถนาดี 4. ใหไ้ ดฟ้ ังได้รู้ส่งิ ทย่ี ังไมเ่ คยรู้ไม่เคยฟงั 5. ชแี้ จงอธบิ ายทำสง่ิ ทเี่ คยฟังแลว้ ใหเ้ ขา้ ใจแจม่ แจง้ 6. บอกทางสวรรค์ สอนวธิ ดี ำเนนิ ชวี ิตใหป้ ระสบความสขุ ความเจรญิ ข. หม่ันพจิ ารณาตนเอง คอื พจิ ารณาเตือนใจตนเองอยู่เสมอตามหลักปพั พชติ อภิณหปจั จเวกขณ์ (ธรรมที่ บรรพชิตควรพิจารณาเนอื ง ๆ) 10 ประการ ดงั น้ี 1. เรามีเพศต่างจากคฤหัสถ์ สลัดแล้วซ่ึงฐานะ ควรเป็นอย่งู ่าย จะจู้จ้ีถือตวั เอาแตใ่ จตนไมไ่ ด้ความเป็นอยู่ ของเราเน่ืองด้วยผู้อ่ืน ต้องอาศัยเขาเลี้ยงชีพ ควรทำตัวให้เขาเล้ียงง่าย และบริโภคปัจจัย 4 โดยพิจารณา ไม่ บริโภคดว้ ยตัณหา 2. เรามีอากัปกิริยาที่พึงทำต่างจากคฤหัสถ์ อาการกิริยาใด ๆ ของสมณะ เราต้องทำอาการกิริยาน้ัน ๆ และยังจะต้องปรับปรงุ ตนใหด้ ยี ่งิ ขน้ึ ไปกว่านี้ 3. ตวั เราเองยังตเิ ตยี นตวั เราเองโดยศีลไม่ได้อยหู่ รือไม่ 4. เพ่อื นพรหมจรรยท์ ้ังหลาย ผ้เู ป็นวิญญชู น พจิ ารณาแลว้ ยังติเตียนเราโดยศลี ไมไ่ ดอ้ ย่หู รือไม่ 5. เราจักตอ้ งถึงความพลัดพรากจากของรกั ของชอบใจไปทัง้ สิน้ 6. เรามีกรรมเปน็ ของตน เราทำกรรมใด ดกี ็ตาม ชัว่ ก็ตาม จกั ตอ้ งเป็นทายาทของกรรมนัน้ 7. วันคนื ลว่ งไป ๆ บัดนเ้ี ราทำอะไรอยู่ 8. เรายินดใี นทส่ี งัดอยหู่ รือไม่ 9. คุณวิเศษยิ่งกว่ามนุษย์สามัญท่ีเราบรรลุแล้วมีอยู่หรือไม่ ที่จะให้เราเป็นผู้ไม่เก้อเขิน เม่ือถูกเพื่อน บรรพชิตถาม ในกาลภายหลงั 2. หน้าที่ของ อุบาสก อุบาสิกา พุทธศาสนิกชน มีหลักปฏิบัติท่ีแสดงความสั มพันธ์ระหว่างตนกับ พระพทุ ธศาสนา ดังน้ี ก. เกอื้ กูลพระ โดยปฏบิ ตั ิตอ่ พระภกิ ษุ เสมอื นเปน็ ทศิ เบอ้ื งบน ดงั นี้ 1. จะทำส่ิงใด กท็ ำด้วยเมตตา 2. จะพูดสิ่งใด กพ็ ดู ด้วยเมตตา 3. จะคดิ สงิ่ ใด กค็ ิดด้วยเมตตา 4. ต้อนรบั ดว้ ยความเตม็ ใจ 5. อุปถัมภ์ดว้ ยปจั จยั 4 ข. กระทำบุญ คือ ทำความดีด้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ที่เรยี กวา่ บุญกริ ยิ าวตั ถุ 3 อยา่ ง คอื 1. ทานมัย ทำบญุ ดว้ ยการให้ปนั ทรพั ยส์ งิ่ ของ 2. สีลมยั ทำบุญด้วยการรกั ษาศีล หรอื ประพฤตดิ ปี ฏบิ ัตชิ อบ 3. ภาวนามัย ทำบุญด้วยการเจริญภาวนา คือ ฝึกอบรมจิตใจให้เจริญด้วยสมาธิ และปัญญาและควร เจาะจงทำบุญบางอย่างท่ีเปน็ สว่ นรายละเอียดเพ่มิ ขึ้นอกี 7 ข้อ รวมเป็น 10 อย่าง 4. อปจายนมยั ทำบญุ ด้วยการประพฤติสุภาพออ่ นน้อม 5. ไวยาวัจมัย ทำบุญดว้ ยการชว่ ยขวนขวายรบั ใช้ ให้บริการ บำเพญ็ ประโยชน์ 6. ปตั ติทานมัย ทำบุญดว้ ยการให้ผ้อู ืน่ มีสว่ นรว่ มในการทำความดี 7. ปตั ตานุโมทนามยั ทำบุญด้วยการพลอยยินดีในการทำความดขี องผู้อื่น

8. ธมั มัสสวนมัย ทำบุญดว้ ยการฟังธรรม ศึกษาหาความรู้ทป่ี ราศจากโทษ 9. ธัมมเทสนามยั ทำบญุ ดว้ ยการส่งั สอนธรรมใหค้ วามรู้ที่เป็นประโยชน์ 10. ทิฏฐุชุกรรม ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ถูกต้อง รู้จักมองส่ิงท้ังหลายตามความเป็นจริงให้เป็น สัมมาทิฏฐิ ค. คุ้นพระศาสนา ถ้าจะปฏิบัตใิ ห้เคร่งครดั ย่ิงข้ึน ถึงข้ันเปน็ อุบาสก อุบาสิกา คือ ผู้ใกล้ชนิดพระศาสนาอย่าง แทจ้ ริง ควรตง้ั ตนอยใู่ นธรรมท่ีเปน็ ไปเพอ่ื ความเจรญิ ของอุบาสก เรียนกว่า อุบาสกธรรม 7 ประการ คอื 1 ไม่ขาดการเยย่ี มเยอื นพบปะพระภกิ ษุ 2 ไมล่ ะเลยการฟงั ธรรม 3 ศกึ ษาในอธศิ ีล คอื ฝกึ อบรมตนใหก้ า้ วหน้าในการปฏิบัติรักษาศีลข้นั สงู ข้นึ ไป 4 พรงั่ พร้อมดว้ ยความเลื่อมใส ในพระภิกษุทง้ั หลาย ทั้งที่เป็น เถระ นวกะ และปนู กลาง 5 ฟงั ธรรมโดยมใิ ชจ่ ะต้งั ใจคอยจ้องจบั ผิดหาช่องทีจ่ ะตเิ ตยี น 6 ไมแ่ สวงหาทักขิไณยภายนอกหลักคำสอนนี้ คอื ไม่แสวงหาเขตบญุ นอกหลกั พระพุทธศาสนา 7 กระทำความสนับสนนุ ในพระศาสนานเ้ี ป็นที่ตน้ คือ เอาใจใส่ทำนุบำรงุ และช่วยกิจการพระพุทธศาสนา ง. เปน็ อุบาสกอบุ าสิกาช้ันนำ อุบาสก อุบาสิกาท่ดี ี มคี ุณสมบัติ เรียกว่า อุบาสกธรรม 5 ประการ คอื 1. มศี รัทธา เชอ่ื มีเหตผุ ล มนั่ ในคณุ พระรัตนตรยั 2. มีศีล อยา่ งน้อยดำรงตนได้ในศลี 5 3. ไม่ถอื มงคลตื่นขา่ ว เช่ือกรรม ไม่เชื่อมงคล มุ่งหวงั จากการกระทำ มิใช่จากโชคลาง หรือสิ่งที่ตน่ื กันไป วา่ ขลังศกั ดิ์สิทธิ์ 4. ไม่แสวงหาทักขิไณยนอกหลกั คำสอนน้ี 5. เอาใจใส่ทำนบุ ำรุงและชว่ ยกิจการพระศาสนา จ. หมัน่ สำรวจความก้าวหน้า กล่าวคอื โดยสรปุ ให้ถือธรรมท่ีเรียกว่า อารยวัฒิ 5 ประการ เปน็ หลักวัดความ เจริญในพระศาสนา 1. ศรัทธา เชอ่ื ถกู หลกั พระศาสนา ไม่งมงายไขวเ้ ขว 2. ศีล ประพฤติและเลยี้ งชีพสจุ ริต เป็นแบบอยา่ งได้ 3. สตุ ะ รเู้ ข้าใจหลักพระศาสนาพอแก่การปฏิบัติและแนะนำผอู้ ่นื 4. จาคะ เผอื่ แผ่เสยี สละ พร้อมท่ีจะช่วยเหลือผซู้ งึ่ พึงช่วย 5. ปญั ญา รเู้ ท่าทันโลกและชีวิต ทำจติ ใจให้เป็นอิสระได้

สปั ดาห์ที่ ๑๔ (ชั่วโมงท่ี ๓) ใบงานท่ี ๓ รายวชิ า ๒๓๑0๒ (พระพทุ ธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 เร่ือง หนา้ ทช่ี าวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ช่ือ........................................นามสกลุ ....................................ช้ัน ม3.เลขท่.ี .................. ...................................................................................................................................................................................... ใบงานท่ี 9 เรื่อง พทุ ธปณธิ าน 4 คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนอา่ นขอ้ ความท่ีกำหนดให้ และแปลความ ทัง้ บอกช่วงเวลาการเกิดเหตุการณน์ ั้น คร้ังหนึ่ง พระพุทธองค์ได้เล่าย้อนถึงเหตุการณ์เม่ือแรกตรัสรู้ให้พระอานนท์ฟังเกี่ยวกับเร่ืองท่ีมารใจบาป ตน หนง่ึ ซ่งึ มคี วามประสงคไ์ ม่ให้พระพทุ ธองคส์ ่งั สอนเวไนยสัตว์ จงึ มาทลู ใหร้ ีบดับขนั ธปรินพิ พานไปเสยี พระพทุ ธ องค์ได้ตรัสตอบ ถึงเหตุผลในการดำรงพระชนม์ชีพอยู่ มีความว่า “ มารเราจักยังไม่ปรินิพพาน ตราบเท่าที่ภิกษุ สาวก ภิกษุณีสาวก อุบาสกสาวก อุบาสิกาสาวกิ ารของเราจักยังไม่ฉลาด ยังไม่ได้รบั แนะนำอย่างดี ไม่แกล้ว กล้า ไม่เป็นพหูสูต ไมท่ รงธรรม ไม่ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ไม่ปฏิบัตชิ อบ ไม่ประพฤติตามธรรม เรียนกับ อาจารย์ ตนแล้วยังบอก แสดง บญั ญัติ แต่งต้ัง เปิดเผย จำแนก ทำให้ง่ายไม่ได้ ยังแสดงธรรมมปี าฏิหาริย์ข่มขี่ ปรบั ปวาทท่ี เกิดข้นึ ใหเ้ รยี บร้อยโดยสหธรรมไมได้ ” แปลความจากขอ้ ความ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... เหตุการณ์ที่เกดิ ขนึ้ เกดิ ในชว่ งเวลา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

สัปดาห์ท่ี ๑5 (ช่วั โมงท่ี ๑) ใบความรู้ท่ี ๑ รายวิชา ๒๓๑0๒ (พระพุทธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๖ เรื่อง วันสำคญั ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ชอ่ื ........................................นามสกุล....................................ชน้ั ม3.เลขที่................... ...................................................................................................................................................................................... เรอ่ื ง วันสำคัญทางศาสนาพุทธ วันสำคัญทางศาสนาพุทธ นิยมระบุตามปฏิทินจันทรคติ โดยปกติจะเป็นวันที่เคยมีเหตุการณ์สำคัญเม่ือ คร้ังพทุ ธกาล หรือเมอ่ื ถงึ กำหนดตอ้ งปฏิบัตปิ ระเพณสี ำคัญตามธรรมเนยี มในศาสนาพทุ ธ วนั สำคัญทางศาสนาพทุ ธที่เป็นวนั สำคัญประจำปี มีดงั นี้ วันมาฆบชู า วันมาฆบูชา (บาลี: มาฆปูชา; อักษรโรมัน: Magha Puja) เป็นวันสำคัญ ของชาวพุทธเถรวาทและ วันหยุดราชการในประเทศไทย \"มาฆบูชา\" ย่อมาจาก \"มาฆปูรณมีบูชา\" หมายถึง การบูชาในวันเพ็ญกลางเดือน มาฆะตามปฏทิ ินอินเดยี หรือเดือน 3 ตามปฏิทินจันทรคตขิ องไทย (ตกช่วงเดือนกมุ ภาพนั ธ์หรอื มีนาคม) ถา้ ปใี ดมี เดือนอธิกมาส คือมีเดอื น 8 สองหน (ปีอธิกมาส) ก็เล่อื นไปทำในวันเพ็ญเดอื น 3 หลงั (วนั เพ็ญเดือน 4) วนั มาฆบชู าได้รบั การยกยอ่ งเปน็ วนั สำคัญทางศาสนาพทุ ธ เนอื่ งจากเหตุการณ์สำคัญท่ีเกดิ ขึ้นเม่ือ 2,500 กว่าปีก่อน คือ พระโคตมพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ท่ามกลางที่ประชุมมหาสังฆสันนิบาตคร้ังใหญ่ ใน พระพุทธศาสนา คัมภีร์ปปัญจสูทนีระบุว่าครั้งนั้นมีเหตุการณ์เกิดขึน้ พร้อมกัน 4 ประการ คือ พระภิกษุ 1,250 รูป ได้มาประชุมพร้อมกันยังวัดเวฬุวันโดยมิได้นัดหมาย, พระภิกษุทั้งหมดนั้นเป็น \"เอหิภิกขุอุปสัมปทา\" หรือผู้ ได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยตรง, พระภิกษุทั้งหมดนั้นล้วนเป็นพระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญา 6, และวัน ดงั กลา่ วตรงกบั วันเพ็ญเดือน 3 ดังน้ัน จึงเรียกวันน้ีอีกอยา่ งหนึ่งว่า \"วันจาตรุ งคสนั นิบาต\" หรอื วันที่มีการประชุม พรอ้ มด้วยองค์ 4

วันวิสาขบชู า วันวิสาขบูชา นั้นได้รับการยกย่องจากพุทธศาสนิกชนทั่วโลกให้เป็นวันสำคัญสากลทางพระพุทธศาสนา เนือ่ งจากเป็นวนั ที่บงั เกดิ เหตกุ ารณ์สำคญั 3 เหตุการณ์ ทเ่ี ก่ียวเนอ่ื งกบั พระพทุ ธเจ้าและจุดเรม่ิ ต้นของศาสนาพทุ ธ ซ่ึงเหตุการณ์ท้ังหมดได้เกิดข้ึนเม่ือ 2,500 กว่าปีก่อน ณ ดินแดนท่ีเรียกว่าชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล โดย เหตุการณ์แรก เมอื่ 80 ปี ก่อนพทุ ธศักราช เป็น \"วันประสตู ิของเจ้าชายสิทธตั ถะ\" ณ ใต้ร่มสาลพฤกษ์ ในพระราช อุทยานลุมพินีวัน (อยู่ในเขตประเทศเนปาลในปัจจุบัน) และเหตุการณ์ต่อมา เมื่อ 45 ปี ก่อนพุทธศักราช เป็น \"วันท่ีเจ้าชายสิทธัตถะได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ ตรัสรู้เป็นองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า\" ณ ใต้ร่มโพธิ์ พฤกษ์ ริมฝั่งแมน่ ้ำเนรัญชรา ตำบลอุรเุ วลาเสนานคิ ม (อยใู่ นเขตประเทศอินเดยี ในปัจจบุ ัน) และเหตกุ ารณส์ ุดท้าย เมื่อ 1 ปี ก่อนพุทธศักราช เป็น \"วันเสด็จดับขนั ธปรินิพพานขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า\" ณ ใตร้ ่มสาลพ ฤกษ์ ในสาลวโนทยาน พระราชอุทยานของเจ้ามลั ละ เมืองกสุ นิ ารา (อยใู่ นเขตประเทศอนิ เดียในปัจจุบัน) โดยเหตุการณ์ท้ังหมดล้วนเกิดตรงกับวันเพ็ญเดือน 6 หรือเดือนวิสาขะน้ีทั้งสิ้น ชาวพุทธจึงนับถือว่าวัน เพญ็ เดอื น 6 นี้ เปน็ วันทีร่ วมวันคล้ายวันเกิดเหตกุ ารณส์ ำคญั ๆ ของพระพทุ ธเจา้ ไว้มากทสี่ ดุ และไดน้ ิยมประกอบ พิธีบำเพ็ญบุญกุศลและประกอบพิธพี ุทธบูชาต่าง ๆ เพ่ือเป็นการถวายสักการะรำลกึ ถงึ แดอ่ งคส์ มเด็จพระสัมมาสัม พทุ ธเจา้ สบื มาจนปัจจุบัน

วันอฏั ฐมีบูชา วันอฏั ฐมีบูชา คือวันถวายพระเพลิงพระพทุ ธสรีระของสมเดจ็ พระสัมมาสมั พุทธเจา้ (หลงั เสด็จดับขนั ธปริ นิพพานได้ 8 วัน) ถอื เปน็ วันสำคญั ในพระพุทธศาสนาวนั หนึ่ง ตรงกับวนั แรม 8 ค่ำ เดือนวสิ าขะ (เดือน 6 ของ ไทย) นอกจากนัน้ วนั นีเ้ ปน็ วันคล้ายวันทพ่ี ระนางสริ ิมหามายา องค์พระพทุ ธมารดาส้นิ พระชนม์ (หลงั ประสตู )ิ และเป็นวนั คลา้ ยวนั ท่ีพระพุทธองค์เสวยวมิ ุตตสิ ขุ ตลอด 7 วนั (หลังตรัสร)ู้ อกี ด้วย เมื่อองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้เสด็จปรินิพพานไปแล้ว 8 วัน มัลละกษัตริย์แห่งเมืองกุสินารา พร้อมด้วยประชาชน และพระสงฆ์อันมีพระมหากัสสปเถระเป็นประธาน ได้พร้อมกันกระทำการถวายพระเพลิง พุทธสรีระ ณ มกุฏพันธนเจดีย์ แห่งเมืองกุสินารา เป็นวันหนึ่งที่ชาวพุทธต้องมีความโศกเศร้าเสียใจเป็นอย่างย่ิง เพราะการสูญเสียแห่งพระพุทธสรีระ เมื่อวันแรม 8 ค่ำ เดือน 6 ซึ่งนิยมเรียกกันว่าวันอัฏฐมีนั้น เม่ือเวียนมา บรรจบแต่ละปี พุทธศาสนิกชนบางส่วนได้ประกอบพิธีบูชาข้ึน มีการเวียนเทียนเป็นต้น แต่ไม่ท่ัวไปทั่ว ราชอาณาจักร โดยจะประกอบพิธีในบางวัดเท่านั้น ตามแต่ความศรัทธาของท้องถิ่น ในจังหวัดอุตรดิตถ์ เช่น ประเพณีถวายพระเพลิงฯ จำลอง ท่ีวัดพระบรมธาตุทุ่งย้ัง และประเพณีอัฎฐมีบูชาของ วัดใหม่สุคนธาราม ต.วัด ละมดุ อำเภอนครชยั ศรี จงั หวดั นครปฐม ที่รกั ษาสบื สานมายาวนานมากกว่า 120 ปแี ลว้ เป็นต้น

วนั อาสาฬหบชู า วันอาสาฬหบูชา (บาลี: อาสาฬหปูชา; อักษรโรมัน: Āsāḷha Pūjā) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธนิกายเถร วาทและวันหยุดราชการในประเทศไทย คำว่า อาสาฬหบูชา ย่อมาจาก \"อาสาฬหปูรณมีบูชา\" แปลวา่ \"การบูชาใน วันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ\" อันเป็นเดือนท่ีส่ีตามปฏิทินของประเทศอินเดีย ตรงกับวันเพ็ญ เดือน 8 ตามปฏิทิน จันทรคติของไทย ซ่ึงมกั จะตรงกับเดือนกรกฎาคมหรือเดอื นสิงหาคม แตถ่ ้าในปใี ดมีเดือน 8 สองหน ก็ให้เล่ือนไป ทำในวันเพ็ญเดอื น 8 หลังแทน วนั อาสาฬหบูชาได้รบั การยกยอ่ งเปน็ วนั สำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา เนื่องจากเหตกุ ารณ์สำคัญที่เกิดขึน้ เมื่อ 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 คือวันอาสาฬหปุรณมีดิถี หรือวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ณ ป่า อิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี แคว้นกาสี อันเป็นวันท่ีพระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาคอื ธัมมจักกัปปวัต ตนสตู รแกป่ ญั จวคั คีย์ การแสดงธรรมครั้งนั้นทำให้พราหมณ์โกณฑัญญะ 1 ในปัญจวัคคีย์ ประกอบด้วย โกณฑัญญะ วัปปะ ภทั ทิยะ มหานามะ และอัสสชิ เกดิ ความเลื่อมใสในพระธรรมของพระพทุ ธเจ้า จนได้ดวงตาเห็นธรรมหรือบรรลุเป็น พระอริยบุคคลระดับโสดาบัน ท่านจึงขออุปสมบทในพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา พระอัญญาโกณฑญั ญะจึงกลายเปน็ พระสาวกและภิกษุองค์แรกในโลก และทำใหใ้ นวนั น้ันมีพระรตั นตรยั ครบองค์ สามบริบูรณ์เป็นคร้ังแรกในโลก คือ มีท้ังพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ดว้ ยเหตุนี้จึงทำให้วนั น้ีถูกเรียกว่า \"วนั พระธรรม\" หรือ วันพระธรรมจักร อันได้แกว่ ันท่ีลอ้ แห่งพระธรรมของพระพุทธเจ้าได้หมุนไปเป็นครั้งแรก และ \"วันพระสงฆ\"์ คอื วันท่มี ีพระสงฆเ์ กดิ ข้นึ เปน็ คร้งั แรก และจัดวา่ เป็น\"วันพระรตั นตรยั \" อีกดว้ ย

วนั เขา้ พรรษา วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หรือปีอธิกมาส จะเล่ือนเป็นวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 หลัง) หรือ เทศกาลเขา้ พรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดอื น 8 ถงึ วันขึน้ 15 คำ่ เดือน 11 หรอื ปีอธิกมาส จะเล่ือนเป็นวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง ถึงวันข้ึน 15 ค่ำ เดือน 11) ถือว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทางศาสนาพุทธท่ีสำคัญเทศกาลหน่ึงใน ประเทศไทย โดยมรี ะยะเวลาประมาณ 3 เดอื นในช่วงฤดฝู น โดยวนั เข้าพรรษาเปน็ วันสำคญั ทางพระพุทธศาสนาที่ ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันข้ึน 15 ค่ำ เดือน 8) ซ่ึงพุทธศาสนิกชนชาวไทยท้ังพระมหากษัตริย์และคน ท่ัวไปได้สืบทอดประเพณีปฏบิ ัตกิ ารทำบุญในวันเข้าพรรษามาชา้ นานแลว้ ตง้ั แตส่ มยั สโุ ขทยั สาเหตุท่ีพระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจำพรรษาอยู่ ณ สถานท่ีใดสถานท่ีหนึ่งตลอด 3 เดือนแก่พระสงฆ์ นั้น มีเหตุผลเพ่ือให้พระสงฆ์ได้หยุดพักการจาริกเพ่ือเผยแพร่ศาสนาไปตามสถานที่ต่าง ๆ ซ่ึงจะเป็นไปด้วยความ ยากลำบากในชว่ งฤดฝู น เพือ่ ปอ้ งกันความเสยี หายจากการอาจเดินเหยียบย่ำธัญพชื ของชาวบ้านที่ปลูกลงแปลงใน ฤดูฝน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงเวลาจำพรรษาตลอด 3 เดือนน้ัน เป็นช่วงเวลาและโอกาสสำคัญในรอบปีท่ี พระสงฆ์จะได้มาอยู่จำพรรษารวมกันภายในอาวาสหรือสถานท่ีใดสถานที่หนึ่ง เพ่ือศึกษาพระธรรมวินัยจาก พระสงฆ์ท่ีทรงความรู้ ได้แลกเปล่ียนประสบการณ์และสรา้ งความสามัคคีในหมู่คณะสงฆด์ ว้ ย วนั ออกพรรษา เพือ่ ความเข้าใจ: วนั สุดทา้ ยของการอยู่จำพรรษา 3 เดอื น ของพระภิกษุ ตามคมั ภีร์เรียกว่า วนั ปวารณา หรอื วนั มหาปวารณา น้ัน ตรงกบั วันข้นึ 15 คำ่ เดือน 11 เราเรียกกันว่า \"วนั ออกพรรษา\" ตามทเ่ี ข้าใจกันทว่ั ไป แต่ตามพระวนิ ัยบญั ญตั ิ พระภิกษทุ ้ังหลายยังตอ้ งอยู่ในจำพรรษาในคืนวันนัน้ (วันขนึ้ 15 ค่ำ เดือน 11) อีกคนื หนึง่ จะไปค้างแรมท่ีอื่นเลยไมไ่ ด้ ต้องให้ผ่านอรุณเขา้ วันใหม่ (วันแรม 1 ค่ำ เดอื น 11) เสยี ก่อน สรปุ วา่ \"วนั ออกพรรษา\" ตามที่เรียกและเข้าใจกนั ทว่ั ไป (และจะกล่าวถึงต่อไปในบทความนี้) คือวันขน้ึ 15 คำ่ เดอื น 11 ส่วน \"วนั ออกพรรษาจริง\" ตามพระวนิ ัย คอื วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11

สัปดาห์ท่ี ๑5 (ช่วั โมงท่ี ๑) ใบงานท่ี ๑ รายวชิ า ๒๓๑0๒ (พระพทุ ธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๖ เร่อื ง วันสำคญั ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ช่ือ........................................นามสกุล....................................ชน้ั ม3.เลขท.่ี .................. ...................................................................................................................................................................................... ใบงานเรือ่ ง วนั สำคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนตอบคำถามในตารางที่กำหนดใหค้ รบถว้ น วันสำคัญ เหตุการณ์ หลักธรรมทีเ่ กี่ยวขอ้ ง การปฏิบัติตน

สัปดาหท์ ี่ ๑๕ (ชั่วโมงท่ี ๒) ใบความร้ทู ่ี ๒ รายวิชา ๒๓๑0๒ (พระพทุ ธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๖ เรื่อง วันสำคญั ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ชือ่ ........................................นามสกุล....................................ชัน้ ม3.เลขที.่ .................. ...................................................................................................................................................................................... เรอ่ื ง ความสำคัญการถวายผ้าจำนำพรรษา ในวันเข้าพรรษา ซึ่งพุทธศาสนิกชนไทยทุกคนต่างรู้ว่า เป็นวันที่พระสงฆ์จะต้องปวารณาตน อธิฐานอยู่ ประจำท่ีไม่เท่ียวจาริกไปยังสถานที่ต่างๆ เว้นแต่มีกิจจำเป็นจริง ๆช่วงจำพรรษาจะอยู่ในช่วงฤดูฝนคือแรม 1 ค่ำ เดอื น 8 ถึง 15 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี ดงั น้นั วนั เข้าพรรษา หมายถึง วนั ทีพ่ ระภิกษใุ นพระพทุ ธศาสนาอธิษฐาน อยูป่ ระจำในวัด หรอื เสนาสนะที่คุ้มแดดคมุ้ ฝนได้แห่งหนึง่ ไมไ่ ปคา้ งแรมในที่อน่ื ตลอด 3 เดอื นในฤดูฝน นอกจากการทำบุญเข้าพรรษาแล้ว ยังมีการทำบุญอีกอย่างหนึ่งที่ทำในช่วงเข้าพรรษา คือ การถวายผ้า อาบน้ำฝน ประเพณีถวายผ้าอาบน้ำฝนเป็นประเพณีที่มีมาต้ังแตส่ มยั อดตี กาล ในคร้ังสมเด็จพระสมั มาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสให้พระภิกษุสงฆ์ท้ังหลายแสวงหาผ้าอาบน้ำฝน ต้ังแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 7 ไปจนถึงเดือน 8 ข้ึน 15 ค่ำ และทรงอนุญาตนุ่งหุ่มไดต้ ั้งแต่ แรม 1 คำ่ เดือน 8 ไป และห้ามมิให้พระภิกษุสงฆแ์ สวงหาผา้ น่งุ ห่มเลยไปจากทรง อนุญาตไว้ ผ้าอาบน้ำฝน ถึงแม้ว่าไม่ได้จัดอยู่ในชุดไตรจีวร แต่ก็หมายถึงเครื่องนุ่งห่มอันจำเป็นสำหรับพระภิกษุ สงฆ์เช่นกัน การถวายผ้าอาบน้ำฝนให้พระภิกษุน้ัน ก็เพ่ือให้ท่านได้ใช้สำหรับอาบน้ำในช่วงฤดูฝน และได้ทรง กำหนดไว้ในพระวินัยปิฎกว่า ขนาดผา้ อาบน้ำฝนไว้ จะตอ้ งมีความยาวของผา้ 4 ศอก กับ 3 กระเบียด กวา้ งศอก คืบ 4 นิ้ว 1 กระเบยี ด กับ 2 อนุกระเบยี ด คิดตามประมาณของชา่ งไม้ จะยาวหรือกว้างกว่านัน้ ไมไ่ ด้ จะถอื วา่ เป็น โทษแก่พระภกิ ษุสงฆ์

ตามพุทธประวัติ พุทธศาสนิกชนคนแรกท่ีถวายผ้าอาบน้ำฝนคือ นางวิสาขามหาอุบาสิกา เน่ืองจาก สมัยกอ่ นพระภิกษมุ ีผ้าจีวรเพียงชดุ เดียวเทา่ นนั้ เม่อื ตอ้ งสรงน้ำจงึ ต้องเปลือยกาย ทำให้ดไู มง่ ามและเหมือนนักบวช นอกศาสนา นางวิสาขามหาอบุ าสิกาจงึ คิดถวาย \"ผ้าวสั สิกสาฏก\" หรอื ที่เรียกกันโดยทวั่ ไปว่า ผ้าอาบน้ำฝน เพือ่ ให้ พระสงฆไ์ ด้ผลดั เปลย่ี นกับผ้าสบงปกติ จนเป็นประเพณีทำบุญสบื ตอ่ กันมาจนถึงปจั จบุ นั แต่คนทั่วไปยังเข้าใจผิดว่า ผ้าอาบน้ำฝนและผ้าจำนำพรรษา เป็นผ้าชนิดเดียวกันเพราะถวายในช่วง เข้าพรรษาเหมือนกันท้ังที่จริงแล้ว ผ้าจำนำพรรษา เรียกตามคำวัดว่า ผ้าวัสสาวาสิกสาฎก จะเป็นผ้าไตรจีวร ทง้ั หมดหรอื ผนื ใดผืนหน่ึงก็ได้ โดยทายกมเี หตุรบี ด่วนเช่นตอ้ งไปทัพหรือเดนิ ทางไกลไมอ่ าจรอถึงช่วงออกพรรษาได้ จงึ ขอถวายไว้ก่อนภายในพรรษา จึงเรียกผ้านี้อกี อย่างหน่ึงว่า อัจเจกจีวร คือจีวรรีบด่วนหรือผ้าด่วนพระพุทธเจ้า ทรงอนุญาตให้พระสงฆ์รับไว้ได้ก่อนวันออกพรรษาปวารณาไมเ่ กนิ ๑๐ วัน ผ้าจำนำพรรษา ทเ่ี รียกดังน้เี พราะเม่ือ รับถวายแล้วต้องเกบ็ ไวจ้ นกว่าจะออกพรรษาจงึ นำออกแจกกันเหมือนกับจำนำหรอื ฝากพรรษาไว้ก่อน ส่วนผ้าอาบ น้ำฝน คือผา้ ท่พี ระสงฆใ์ ชผ้ ลัดเปล่ยี นเวลาสรงน้ำ เหมอื นผา้ ขาวมา้ ผ้าอาบน้ำฝน เป็นผา้ ที่พระพุทธเจา้ ทรงอนุญาต ใหพ้ ระสงฆใ์ ช้ไดเ้ ปน็ ผืนท่ี ๔ นอกเหนอื จากไตรจีวร อานิสงส์ ของการถวายผ้าอาบนำ้ ฝน การถวายผา้ อาบนำ้ ฝนมคี วามเชือ่ ทีถ่ ือกันมานานว่า ผ้ใู ดทถ่ี วายผา้ อาบนำ้ ฝนให้กับพระภกิ ษุสงฆ์ จะถือว่า เป็นการทำบุญท่ีช่วยทำนุบำรุงและสนับสนุนพระศาสนาให้คงอยู่สืบไป และเพ่ือมิให้พระภิกษุสงฆ์ต้องลำบากใน การแสวงหาผ้าอาบน้ำฝน จะได้ตั้งหน้าต้ังตาปฏิบัตธรรมตามหลักคำสอนของพุทธศาสนาและช่วยเผยแผ่ให้ พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรอื งสืบไป และผู้ทืไดบ้ ริจาคผ้าอาบน้ำฝน ก็จะได้พบแต่ความสขุ ความเจรญิ จะม่ังมีด้วย ทรัพย์สินเงนิ ทองและบริวารมากมาย เม่ือส้ินบุญไปแล้วก็จะไปเกดิ เป็นเทพบตรเทพธดาบนสรวงสวรรค์เสวยทิพย สมบัตสิ ืบไป

สปั ดาห์ท่ี ๑๕ (ชั่วโมงท่ี ๒) ใบงานท่ี ๒ รายวิชา ๒๓๑0๒ (พระพุทธศาสนา ๕) หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๖ เรอ่ื ง วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ช่ือ........................................นามสกุล....................................ชนั้ ม3.เลขท่.ี .................. ...................................................................................................................................................................................... คำชแี้ จ้ง ให้นักเรียนเขียนคำถวายผ้าจำนำพรรษา พร้อมด้วยคำแปล มาใหถ้ กู ต้อง .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

สัปดาห์ท่ี ๑๕ (ชั่วโมงที่ ๓) ใบความรทู้ ่ี ๓ รายวชิ า ๒๓๑0๒ (พระพทุ ธศาสนา ๕) หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๖ เรอื่ ง วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ชื่อ........................................นามสกลุ ....................................ชั้น ม3.เลขที่................... ...................................................................................................................................................................................... เรือ่ ง การจดั โตะ๊ หมู่บูชา โต๊ะหมู่บูชา คือ กลุ่มหรือชุดของโต๊ะท่ีใช้ตั้งพระพุทธรูป หรือ สิ่งอันเป็นที่เคารพสักการะ เช่น พระบรม ฉายาลักษณ์ พระบรมสาทิสลักษณ์ หรือพระบรมรูปหล่อของพระมหากษัตริย์ พระฉายาลักษณ์ หรือพระ สาทิสลกั ษณข์ องพระบรมวงศานวุ งศ์ หรือรปู ของบรรพบรุ ุษ โดยประกอบดว้ ยเครอ่ื งบูชา อันเป็นการแสดงออกซึ่ง ความเคารพอย่างสงู ของผ้ทู สี่ กั การะ และเป็นการแสดงถึงความกตัญญทู ่ีพึงมตี อ่ ผมู้ ีอปุ การคุณซง่ึ เป็นวฒั นธรรมอัน ดงี าม ท่ีมคี ณุ ค่ายง่ิ ของสงั คมไทย นอกจากนี้โต๊ะหมู่บูชาตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒ ว่า โต๊ะหมู่ บชู าเปน็ ท่ตี ัง้ เครอ่ื งบูชาประกอบด้วยม้า ๔ ขา หลายตัวคมุ้ กัน เปน็ หมู่ มี หมู่ ๓ หมู่ ๔ หมู่ ๕ หมู่ ๗ หมู่ ๙ และหมู่ ๑๑ เดมิ เรยี กว่า “ม้าหมบู่ ูชา” โดยควรวางเครอ่ื งสกั การะบูชา ท่ีคู่ควรเปน็ สง่างาม เปน็ จดุ เด่นของบา้ นหรอื สถานท่ี ดังนั้นจึงควร จดั โตะ๊ หมบู่ ชู าให้เหมาะสมสวยงาม หลักในการจัดโตะ๊ หมูบ่ ชู า ๑. การบูชา หมายถึง การแสดงความยกย่อง เคารพ สกั การะแกผ่ ูท้ ี่เคารพนบั ถอื มี ๒ ประเภท ๑.๑ อามิสบูชา การบชู าดว้ ยวัตถสุ ิง่ ของ เชน่ ดอกไม้ ธปู เทยี น หรอื ส่ิงทเี่ หมาะสมอ่ืน ๆ ๑.๒ ปฏิบัติบูชา การบูชาด้วยการประพฤติปฏิบัติตน ในคุณความดี ตามธรรมคำสอนทางศาสนา พระพทุ ธเจา้ ทรงยกยอ่ งการปฏบิ ัตบิ ชู าว่าเปน็ การบชู าที่ประเสรฐิ สุด ๒. เคร่ืองบูชาหลักที่ใช้ประกอบการจัดโต๊ะหมู่บูชา ได้แก่ ธูป เทียน และดอกไม้ เหมือนการจัดเคร่ือง สักการะบูชาท่ัวไป แต่สำหรับโตะ๊ หมูบ่ ูชา มกี ารกำหนดแบบมาตรฐาน สำหรบั โต๊ะหม่บู ูชาแต่ละประเภทไวโ้ ดยเฉพาะ ๒.๑ ธูป เป็นของหอม เป็นเครื่องบูชาพระพุทธเจ้า ปกตใิ ช้จำนวน ๓ ดอก หมายถึง บูชาพระพุทธคุณ ของพระพุทธเจา้ ๓ ประการ คือ • พระปญั ญาคุณ ทรงมพี ระปญั ญาสูงสุด ประเสรฐิ สดุ หาผเู้ สมอมิได้ • พระกรุณาคุณ ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเสมอกันในมวลสัตว์โลกทุกหมู่เหล่า แม้แต่บุคคลท่ีมุ่ง รา้ ยตอ่ พระองค์ ทรงหวงั ใหเ้ กิดประโยชน์โดยสถานเดยี ว • พระปรสิ ุทธิคณุ ทรงมีพระทัยผอ่ งใสบริสุทธิจ์ ากอาสวกเิ ลสทง้ั มวล ๒.๒ เทียน เป็นสง่ิ ให้แสงสวา่ ง ใช้บูชาพระธรรม ซ่ึงให้แสงสว่าง คือ ปัญญาแก่ผนู้ ำไปปฏิบัติ โดยปกติ ใช้เทียน ๑ คู่ เพราะพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ พระธรรม และพระวินัย แต่ใน การจัดโต๊ะหมู่บูชากำหนดให้ต้ังเทยี นประดับตามท่ีกำหนดในแต่ละประเภทของโต๊ะหมู่ เช่น หมู่ ๕ ใช้เทียน ๔ คู่ หมู่ ๗ ใชเ้ ทียน ๕ คู่ หมู่ ๙ ใชเ้ ทียน ๖ คู่ แต่เมอ่ื บูชานิยมจุดเพียง ๑ คู่ ท่ตึ ้ังอยู่ใกลก้ บั กระถางธปู

๒.๓ ดอกไม้ เป็นเคร่ืองหมายในการบูชาพระสงฆ์ ดอกไม้นานาพันธุ์ หากสีต่างชนิด เม่ือช่างดอกไม้ ผู้เช่ียวชาญการจดั ดอกไม้นำมาร้อยเป็นพวงมาลยั ประดับในแจกนั หรือภาชนะทีเ่ หมาะสมยอ่ มดูสวยงาม เป็นทีช่ ื่น ชมของผพู้ บเหน็ ๓. ประเภทการจดั โตะ๊ หมบู่ ชู า สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ ดังตอ่ ไปนี้ โตะ๊ หมู่ ๔ ประกอบดว้ ยเครอ่ื งบชู า ดงั น้ี - กระถางธูป 1 กระถาง - เชงิ เทียน 1 คู่ - พานดอกไม้ 2 พาน - แจกัน 2 แจกัน โตะ๊ หมู่ ๕ ประกอบดว้ ยเครื่องบูชา ดังนี้ - กระถางธูป 1 กระถาง – เชิงเทยี น 4 คู่ – พานดอกไม้ 5 พาน – แจกัน 2 แจกนั โตะ๊ หมู่ ๗ ประกอบดว้ ยเครือ่ งบูชา ดังนี้ - กระถางธปู 1 กระถาง - เชิงเทียน 5 คู่ - พานดอกไม้ 5 พาน - แจกัน 2 แจกนั โตะ๊ หมู่ ๙ประกอบด้วยเคร่อื งบชู า ดังนี้ - กระถางธูป 1 กระถาง – เชิงเทยี น 6 คู่ – พานดอกไม้ 7 พาน – แจกนั 3 แจกนั การจดั โตะ๊ หม่บู ชู าดังกล่าว เป็นการจดั ตามแบบโบราณ เพอ่ื เปน็ การอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีการจัด โต๊ะหม่บู ูชาให้คงอยู่สบื ไป หมายเหตุ : ๑. หากไม่มีโต๊ะหมู่ จะใช้ตง่ั หรือโต๊ะอืน่ ๆ ที่พอเหมาะ ลักษณะไม่สงู ไมต่ ่ำและใหญ่เกินไปท่สี ะอาดแทนกไ็ ด้ ๒. นิยมต้งั โต๊ะหมู่หนั หน้าไปทางทิศเหนือหรือทศิ ตะวันออก ๓. การตงั้ เคร่ืองบชู านน้ั ควรจัดใหเ้ รยี บร้อยงามตา อย่าใหม้ ีสิ่งใดบงั พระพุทธรูป ไมค่ วรเอาเคร่อื งบูชาตงั้ เสมอพระพุทธรปู ๔. ในกรณีทโี่ ต๊ะหมบู่ ูชาท่ีทาทองลอ่ งชาด คอื มีสีทองดา้ นหน่ึงและสแี ดงอกี ดา้ นหน่งึ ให้หันสที องออก ดา้ นหนา้ สีแดงด้านหลงั บางรายรีบรอ้ นในการจัดวางสลับสีกนั สีทอง บา้ งสีแดงบ้างซึ่งไม่ถกู ต้อง

สัปดาห์ท่ี ๑๕ (ชัว่ โมงที่ ๓) ใบงานท่ี ๓ รายวิชา ๒๓๑0๒ (พระพุทธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๖ เร่ือง วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ชื่อ........................................นามสกุล....................................ชน้ั ม3.เลขท.่ี .................. ...................................................................................................................................................................................... คำชแี้ จง ให้นักเรียนวาดภาพโตะ๊ หมบู่ ูชาทีส่ นใจ 1 หมู่ โดยวาดภาพโต๊ะหมูบ่ ูชาและเคร่ืองบชู าลงในตำแหน่ง ใหค้ รบถ้วน พรอ้ มระบรุ ายละเอยี ดและให้เหตผุ ลประกอบ ..........................ประกอบดว้ ย การจดั โตะ๊ หม่บู ูชานิยมใช้ในโอกาสใด เพราะเหตุใด 1...…………………………………………………………………….… …………………………………………………………………….. 2....…………………………………………………………………… …………………………………………………………………… 3.………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… 4.………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… 5.………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………….

สปั ดาหท์ ี่ ๑๖ (ชัว่ โมงที่ ๑) ใบความร้ทู ่ี ๑ รายวชิ า ๒๓๑0๒ (พระพทุ ธศาสนา ๕) หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๗ เรื่อง การบรหิ ารจติ เจริญปัญญา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ชอื่ ........................................นามสกลุ ....................................ช้นั ม3.เลขท่.ี .................. ...................................................................................................................................................................................... เรื่อง การบรหิ ารจติ การบรหิ ารจิต หมายถึง การบำรุงรกั ษาจติ ใหเ้ ข้มแข็งผ่องใสบริสุทธ์ิ ซงึ่ ต่างกบั การบรหิ ารกาย เพราะการ บริหารกายต้องทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวอยู่เสมอแต่การบริหารจิต จะต้องฝึกฝนให้จิตสงบนิ่งอยู่กับเร่ืองใดเร่ือง หนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งการฝึกจติ ให้สงบ คอื การทำสมาธิน่ันเอง สมาธิ หมายถึง ภาวะของจติ ท่ีต้ังม่ัน กำหนดแน่วแน่อยู่กับสิ่งใดสง่ิ หน่ึง หรอื เร่ืองใดเร่ืองหนึ่งติดต่อกัน เป็นเวลานานๆ ไม่ฟุ้งซ่านไปหาส่ิงอื่นหรือเรือ่ งอ่ืนจากส่ิงที่กำหนด ภาวะท่ีจิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งหรืออารมณ์เดียว และจิตตั้งม่ันนั้นจะต้องเป็น กศุ ล ลักษณะของสมาธิ คือ จติ จะเกิดความสงบ เยือกเย็น สบายใจ มีความผ่อนคลาย เอิบอม่ิ ใจ ปลอดโปรง่ และมคี วามสุข ในวันหน่ึง ๆ จิตของเราคิดเรื่องต่าง ๆ มากมาย จิตย่อมจะเหน่ือยล้า หากไม่ได้มีการบำรุงรักษาหรือ บรหิ ารจิตของเราให้เข้มแขง็ ผ่องใสบริสุทธ์ิ จิตจะอ่อนแอ หวน่ั ไหวตอ่ เหตุการณ์รอบตัวได้งา่ ย เช่น บางคนจะแสดง พฤตกิ รรมที่ไม่เหมาะสมออกมาจนเกินเหตุ เม่อื อยู่ในอาการตกใจ เสียใจ โกรธ ดใี จ หรือเกิดความอยากได้ เพราะ จติ ใจอ่อนแอ ขุ่นมวั การทำจติ ใจใหผ้ ่องใสหรอื การฝกึ จิต คือ การฝึกจติ ให้มีสติสามารถควบคุมจิตใจให้จดจ่อกับสิ่งที่เรากระทำ โดยระลึกอยู่เสมอว่า ตนกำลังทำอะไรอยู่ ต้องทำอย่างไร พร้อมกับระมัดระวังไม่ให้เกดิ ความผิดพลาดหรือมีสมาธิ น่นั เอง เปน็ การควบคุมจิตใจใหจ้ ดจอ่ แนว่ แน่อยู่กับสิ่งใด สิ่งหนง่ึ โดยไมเ่ ปล่ียนแปลงจนกว่าจะหยดุ ทำสมาธิ 1.1 วธิ ปี ฏบิ ัติการบรหิ ารจิต 1.เลือกสถานท่ีทีเ่ หมาะสม เชน่ สถานท่ีปลอดโปรง่ ไม่มีเสียงรบกวน 2.เลอื กเวลาทเี่ หมาะสม เช่น ตอนเช้า ก่อนนอน เวลาท่ีใช้ไมค่ วรนานเกนิ ไป 3.สมาทานศลี เปน็ การแสดงเจตนาเพอ่ื ทำใจให้บริสุทธ์สิ ะอาด 4.นมัสการพระรัตนตรัยและสวดมนต์สรรเสริญคณุ พระรัตนตรัย 5.ตัดความกงั วลตา่ งๆ ออกไป ขน้ั ตอนปฏิบัติ 1.นง่ั ท่าสมาธิ คือ นัง่ ขัดตะหมาด เท้าขวาทบั เท้าซ้าย มอื ขวาวางทบั มอื ซา้ ย ตง้ั ตัวตรง ดำรงสติม่ัน 2.หลับตาหรือลมื ตาก็ได้ อย่างไหนไดผ้ ลดกี ็ปฏิบตั ิอยา่ งน้ัน 3.กำหนดรู้ลมหายใจเข้า-ออก ลมหายใจกระทบตรงไหนก็รชู้ ดั เจนใหก้ ำหนดตรงจุดนัน้ 4.เมื่อลมหายใจ-ออก จะกำหนดภาวนาด้วยหรอื ไม่ก็ได้ แล้วแต่บคุ คลท่ีปฏิบตั ิ 5.ปฏิบตั ไิ ปเรื่อยๆ จนไดเ้ วลาพอควรแก่ร่างกาย จงึ ออกจากการปฏบิ ตั ิ 6.แผเ่ มตตาให้ตนเองและสรรพสตั วท์ ัง้ หลายการปฏิบัติระยะแรกๆ จติ อาจฟุง้ ซ่าน สงบได้ยาก หรอื ไม่ นาน ต้องใชค้ วามเพยี รพยายาม หมน่ั ฝกึ ปฏิบัติบ่อยๆ จิตจงึ จะคอ่ ยสงบตามลำดับ ผลท่จี ะเกิดขึน้ ตามมา คือ จติ ใจ

สงบ เยือกเยน็ แจม่ ใส เบิกบาน มั่งคง เขม้ แขง็ มีพลัง มีความจำดีขนึ้ และที่สำคญั คอื ปัญญาก็จะเกดิ ขึ้นตามมา ดว้ ย ประโยชนข์ องการบริหารจิต การบริหารจิตอย่เู ปน็ ประจำ ย่อมได้รับประโยชน์ในด้านต่างๆ ดังน้ี 1. ด้านการดำรงชีวติ ประจำวัน ได้แก่ การทำจิตใจสบาย ไม่มคี วามวิตกกงั วล ความเครยี ด มีความจำ ดีขึ้น แม่นยำข้ึน ทำสิ่งต่างๆ ไม่ผิดพลาดหรือผิดพลาดน้อย เพราะมีสติสมบูรณ์ข้ึน การศึกษาเล่าเรียนและการ ทำงาน เกิดผลดีและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การมีจิตเปน็ สมาธิ ยังทำให้นอนหลับง่ายและหลับสนิท รวมท้ังมี ผลเกื้อกูลต่อสขุ ภาพร่างกาย เช่น ชะลอความแก่ ทำใหด้ ูออ่ นกว่าวัย และรักษาโรคบางอย่างได้ เช่น โรคความดัน โรคกระเพาะอาหาร เป็นตน้ 2. ด้านการพัฒนาบุคลิกภาพ ได้แก่ ทำให้บุคลิกภาพเข็มแข็ง หนักแน่นม่ันคง สงบเยือกเย็น ไม่ ฉุนเฉียวเกรี้ยวกราด มีความสุภาพอ่อนโยน ดูสง่ามีราศี องอาจน่าเกรงขาม มีอารมณ์เบิกบาน ย้ิมแย้มแจ่มใส กระฉบั กระเฉง กระปร้ีกระเปรา่ ไมเ่ ซ่อื งซึม สามารถควบคมุ อารมณ์และพฤติกรรมในสถานการณ์ต่างๆ ได้ 3. ด้านประโยชน์สูงสุด ได้แก่ การบรรลุมรรคและนิพพาน ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดของ พระพุทธศาสนา ผูท้ ี่จะบรรลุถึงประโยชน์ระดบั นไ้ี ดน้ น้ั ตอ้ งมีจติ ทีส่ งบแน่วแน่มาก คือ ตอ้ งได้สมาธิระดบั สูง การบริหารจิตตามหลกั สติปัฏฐาน สติปฏั ฐาน 4 หรอื ฝึกสมาธิโดยใช้สติเป็นตวั นำ เรยี กกันโดยทว่ั ไปวา่ สตปิ ฏั ฐาน เป็นวิธีปฏบิ ัติธรรมท่นี ยิ ม กนั มาก และยกย่องนบั ถืออย่างสูง ถือวา่ มีพรอ้ มทั้งสมถะและวปิ ัสสนาในตัว มีพุทธพจน์ในมหาสูตรปัฏฐานสูตรว่า “…ภิกษุ ทั้งหลาย ทางน้ีเป็นมรรคาเอก เพ่อื ความบริสุทธ์ิของสัตว์ ทั้งหลาย เพื่อข้ามพ้นความโศกและปริเทวะ เพ่ือความอัศดงแห่งทุกข์และโทมนัส เพ่ือบรรลุโลกุตรมรรค เพ่ือ กระทำใหแ้ จง้ ซงึ่ นพิ พานนี้คอื สติปัฏฐาน 4…” สตปิ ฏั ฐาน 4 ประกอบดว้ ย 1.กายานปุ สั สนา การพิจารณากายหรือตามดูรู้ทันกาย การตั้งสตอิ ยทู่ ก่ี ิริยาของกาย มอี ยู่หลายจุดได้แก่ 1) อานาปานสติ คอื การต้ังสติกำหนดลมหายใจเข้าออก 2) กำหนดอิรยิ าบถ คอื เม่ือยนื เดิน น่งั นอน หรือรา่ งกายอยู่ในอาการอย่างไร กร็ ู้ชดั ในอาการที่เป็นอยนู่ ้ัน 3) สัมปชญั ญะ คอื สร้างสัมปชัญญะ ความรู้ตัว ในการกระทำหรอื อาการเคลือ่ นไหวทกุ อยา่ งของกาย เช่น การกา้ ว เดนิ การนุ่งหม่ ผ้า การกิน การอจุ จาระ ปัสสาวะ เป็นต้ 4) ปฏิกูลมนสกิ าร คอื การพิจารณารา่ งกายของตนตงั้ แตศ่ รี ษะ จรดปลายเทา้ ซึ่งมสี ่วน ประกอบ ทไ่ี มส่ ะอาด มากมายมารวมอยู่ดว้ ยกนั 5) นวสีวถกิ า คอื การมองเหน็ ศพที่อย่ใู นสภาพต่างๆกันโดยระยะเวลา 9 ระยะ ต้ังแต่ตายใหมๆ่ ไปจนถงึ กระดูกผๆุ แล้วย้อนมาดูรา่ งกายของตน กต็ อ้ งเปน็ เช่นนน้ั เหมือนกนั 2. เวทนานปุ ัสสนา เปน็ การตั้งสติ ตามดรู ทู้ นั เวทนา คือเมอื่ เกิดความร้สู กึ สุขกด็ ี ทกุ ขก์ ็ดี เฉยๆกด็ ี ก็ให้ รู้ชัดตามที่เป็นอยขู่ ณะนั้น 3.จติ ตานุปสั สนา เป็นการต้งั สติ ตามดูรทู้ นั จติ คือจิตของตนในขณะน้นั เป็นอยา่ งไร เช่นมรี าคะ ไมม่ ี ราคะ มีโทสะ ไมม่ โี ทสะ มีโมหะ ไมม่ โี มหะ ฟุ้งซา่ น เป็นสมาธิ ฯลฯ กร็ ชู้ ัดตามทีม่ นั เป็นอย่ใู นขณะน้นั ๆ

4. ธัมมานปุ ัสสนา เป็นการตั้งสติ การตามดูร้ทู นั ธรรม ไดแ้ ก่ 1) นวิ รณ์ 5 คอื รู้ชัดในกามฉันท์ พยาบาท เฉอื่ ยชา ฟุ้งซ่าน ลังเล วา่ ส่งิ เหล่านเี้ กดิ ข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร เมื่อเกิดข้นึ แลว้ ละเสียไดอ้ ยา่ งไร ใหร้ ู้ชดั ตามท่ีเป็นไปในขณะนั้น 2) ขันธ์ 5 คอื กำหนดรู้วา่ ขนั ธ์ 5 แตล่ ะอย่างๆ คืออะไร เกดิ ขึน้ ไดอ้ ย่างไร ดับไปได้อย่างไร (ขนั ธ์ 5 ไดแ้ ก่ รปู เวทนา สัญญา สงั ขารและวญิ ญาณ) 3) อายตนะ คอื รู้ชัดในอายตนะการสมั ผสั ของประสาททง้ั 5 วา่ ตาเห็นอะไร หไู ด้ยินอะไร เป็นส่งิ ใดแน่ เปน็ ตน้ 4) โพชฌงค์ 7 คือรูช้ ัดในขณะนัน้ ๆวา่ สติ ธรรม วิริยะ ปีติ ปสั สัทธิ สมาธิ และอเุ บกขา มีปรากฏอยใู่ นใจตน หรือไม่ ถา้ ยังไม่ปรากฏ จะปรากฏไดอ้ ย่างไร ทป่ี รากฏแล้ว เจริญบริบรู ณ์หรือไม่ 5) อรยิ สัจ คือรชู้ ดั ในทุกขท์ เี่ กิด วา่ เกิดจากอะไร มีเหตอุ ย่างไร และจะดับไดด้ ว้ ยมรรคใด การพิจารณาสตปิ ัฏฐานทั้ง 4 ไม่ จำเป็นต้องหลกี หนีออกจากสังคม เพ่ือไปน่งั ปฏิบัตจิ ำเพาะในกาลเวลาใด เวลาหน่งึ แต่ควรปฏิบตั ใิ นชีวิตประจำ เมอ่ื ทุกข์เกดิ ขน้ึ กใ็ ชส้ ติพจิ ารณาทันที เพราะโดยสาระของสติปัฏฐาน มจี ุดที่ ควรพจิ ารณาใช้สติกำกับดูแลท้ังหมดเพียง 4 จุด คือ 1.ร่างกายและพฤตกิ รรมของมนั (กายานุปัสสนา) 2. เวทนาคือความรู้สึกสุขทุกข์ตา่ งๆ (เวทนานุปสั สนา) 3. ภาวะจิตที่เปน็ ไปต่างๆ (จติ ตานปุ ัสสนา) 4. ความนึกคิดไตร่ตรองในธรรม ไดแ้ ก่ นิวรณ์ ขันธ์ 5 อายตนะ และ อริยสัจ (ธัมมานปุ ัสสนา)

สัปดาหท์ ่ี ๑๖ (ช่วั โมงที่ ๑) ใบงานท่ี ๑ รายวชิ า ๒๓๑0๒ (พระพุทธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๗ เร่อื ง การบรหิ ารจิตเจริญปญั ญา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ชือ่ ........................................นามสกลุ ....................................ชนั้ ม3.เลขท.่ี .................. ...................................................................................................................................................................................... คำชแ้ี จง ให้นกั เรยี นวเิ คราะห์คำถาม และตอบให้ถูกตอ้ ง 1. การบรหิ ารจิตเจริญปัญญา คอื อะไร ตอบ ............................................................................................................................. .......................... 2. พระพทุ ธศาสนา มหี ลักค าสอนท่ีเน้นเร่อื งใด ตอบ ............................................................................................................................. .......................... 3. ศีล สมาธิ และปัญญา รวมสามอยา่ งนเ้ี รียกว่าอะไร ตอบ ............................................................................................................................. .......................... 4. การควบคุมจิตให้สนใจเพียง เร่อื งเดียว เรียกว่าอะไร ตอบ ............................................................................................................................. .......................... 5. ความรู้ ความเข้าใจตามสภาพความเป็นจรงิ เรียกวา่ อะไร ตอบ ............................................................................................................................. .......................... 6. ความรู้ความเข้าใจตามสภาพความเป็นจริงกจ็ ะเกดิ ขึ้นตามมา การควบคุมกาย วาจา ให้สงบ เรยี บร้อย เรียกวา่ อะไร ตอบ ............................................................................................................................. .......................... 7. การควบคมุ สมาธิและปญั ญา ในทางพระพุทธศาสนา เรียกวา่ อะไร ตอบ ............................................................................................................................. .......................... 8. การบริหารจิตและการเจริญปญั ญา หมายถงึ อะไร ตอบ ............................................................................................................................. .......................... 9. สติปัฏฐาน หมายถงึ อะไร ประกอบด้วยอะไรบา้ ง ตอบ ............................................................................................................................. .......................... 10. การตัง้ สติก าหนดพจิ ารณาเวลา (เวทนานปุ สั สนาสติปฏั ฐาน) หมายถงึ อะไร พร้อมยกตวั อย่าง ประกอบ ตอบ ............................................................................................................................. .......................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ...................................

สัปดาห์ที่ ๑๖ (ชั่วโมงท่ี ๒) ใบความรทู้ ่ี ๒ รายวิชา ๒๓๑0๒ (พระพทุ ธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๗ เร่ือง การบริหารจิตเจรญิ ปัญญา ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ช่ือ........................................นามสกุล....................................ชัน้ ม3.เลขท.ี่ .................. ...................................................................................................................................................................................... เร่ือง การสวดมนต์แปลและ แผ่เมตตา การไหว้พระสวดมนต์เป็นการแสดงความเคารพต่อพระรัตน ตรัยที่เราต้องปฏิบัติให้พร้อมทั้งทางกาย วาจา และใจ เพ่ือให้เป็นการเสริมสร้างสติปัญญา ผู้ที่ปฏิบัติเป็นประจำจะเกิดสติสัมปชัญญะ มีจิตเป็นสมาธิ ประณตี และมีคณุ ธรรม ทำให้ความเห็นถูกตอ้ งตามหลักของพระพทุ ธศาสนา ในขณะท่ีสวดมนต์ถือเป็นการ บริหารจิตและเจริญปัญญาเบ้ืองต้น จะทำให้มีสติและสัมปชัญญะรู้ตัวอยู่ กบั ปัจจบุ ันเสมอ การไหว้พระสวดมนต์ โดยมากนิยมทำในตอนเช้าและก่อนนอน หรือทำก่อนท่ีเราจะฝกึ สมาธิซึ่ง จะชว่ ยให้ผูฝ้ ึกจติ สงบ มสี มาธิ และระลกึ ถึงคุณพระรัตนตรยั ประโยชน์ของการสวดมนต์แผเ่ มตตา 1. เป็นสุขทงั้ ยามหลบั ยามต่ืน 2. ขณะหลับอยไู่ ม่ฝนั รา้ ย 3. สหี น้าสดชื่นผ่องใส เปน็ ทรี่ ักของผพู้ บเห็น 4. จิตม่ันคง ใจเปน็ สมาธติ งั้ มน่ั ไดเ้ รว็ 5.เทวดาย่อมรกั ษาค้มุ ครอง ประโยชนข์ องการบรหิ ารจิตและเจริญปญั ญา มนุษยม์ ีส่วนประกอบ 2 สว่ น คือ รา่ ง กายและจิตใจ ในส่วนของรา่ งกายกท็ านอาหารทีถ่ ูกหลักอนามัยและ ออกกำลงั กายอยเู่ สมอ จึงจะเติบโตอยา่ งมีประสิทธิภาพ ส่วนจิตใจนั้นก็ต้องมกี ารเลย้ี งดูเหมือนกนั ถ้าจะให้จิตใจ แข็งแรงกต็ ้องมีการบริหารจติ ใจ การฝึกบรหิ ารจิต เป็นการใหอ้ าหารใจท่ีมีประสิทธิภาพ จิตใจที่ไดร้ บั การฝกึ สมาธจิ ะบริสุทธส์ิ ะอาด มี คุณธรรม มคี วามเข้มแขง็ มีความผอ่ นคลาย สงบสุข ควรแกก่ ารพฒั นาทางด้านปญั ญา คือ การอ่าน การฟงั หรอื การศกึ ษาหาความรใู้ นสง่ิ ต่าง ๆ โดยคิดไตร่ตรองอย่างถถี่ ้วนจนเกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจอย่างลกึ ซง้ึ ทเี่ รียกวา่ ปัญญา ประโยชนข์ องการบรหิ ารจิต 1. ทำให้กายและจิตผอ่ งใส มีความสงบ 2. ทำให้จำแม่น เข้าใจได้รวดเรว็ เปน็ ผลดีตอการศกึ ษาเล่าเรยี น 3. ทำให้มีความหมายเมตตากรุราเหน็ อกเหน็ ใจผ้อู ืน่ สตั วอ์ นื่ 4. ทำให้มีจติ ตัง้ มน่ั มสี ติ สมาธิ ปัญญา อยู่กับตัวตลอดเวลา 5. ทำให้มีปญั ญารอบรู้ รู้จกั เหตุผล และสิ่งอนั ควรและไม่ควร 6. ชว่ ยไม่ให้ประมาทในชีวิต และมีสำนึกในหน้าท่ีของตนเองอยู่ตลอดเวลา

ฝึกการบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญาตามหลักสติปัฏฐาน สติ ปัฏฐาน 4 หมายถงึ ธรรมอันเปน็ ที่ต้ังแหง่ สติหรอื ขอ้ ปฏิบัติท่ีใชส้ ตเิ ป็นหลักในการคดิ พิจารณา สิ่ง ท้ังหลาย แบง่ ออกเปน็ 4 หมวด คอื 1. กายานุปสั สนา การใช้สติพิจารณากายให้เหน็ ตามความเป็นจริงของกาย นนั้ ๆ การฝกึ โดยใช้สติ พิจารณากายและองค์ประกอบในกาย อาจฝึกได้ คือ1 อานาปานสติ 2 อิริยาบถ 3 สมั ปชัญญะ 4 ปฏกิ ูล มนสกิ าร 5 ธาตมุ นสกิ าร 6 นวสถี กิ า 2. เวทนานุปสั สนา คอื การใช้สติกำหนดร้อู ารมณข์ องเราเองทเ่ี กิดข้ึน 3 อย่าง คือ ความรู้สึกทุกข์ (ทุกขเวทนา) ดใี จเปน็ สุข (สุขเป็นเวทนา) และ ไม่ได้ดีใจไม่เสียใจ (อุเบกขาเวทนา) และมองเป็นเพียงอารมณท์ ี่ รับรแู้ ละไม่ยนิ ดีไปกับอารมณเ์ หล่าน้นั 3. จติ ตานปุ ัสสนา คอื การมีสตพิ ิจารณาจติ (ความคดิ ) ทเ่ี กิดเศรา้ หมอง หรือยินดีหรอื การใชจ้ ิตตัวเอง กำหนดรแู้ ละไม่ยินดีไปกับอารมณเ์ หล่าน้ัน 4. ธัมมานุปสั สนา คอื การใชส้ ตกิ ำหนดพิจารณาธรรมต่าง ๆ ท่เี กิดขึ้นในจิต เปน็ การพจิ ารณาธรรม เพอ่ื ให้รู้ ใช้เปน็ เครื่องระลึกไมใ่ ห้เราผู้ปฏบิ ัติไปยึดมน่ั ถอื มั่นฝกึ บริหารจิตและเจริญปัญญาแบบอานาปานสติ อา นาปานสติ แปลว่า การระลกึ ถงึ ลมหายใจเข้าออก คือ การฝกึ ใช้สติกำหนดลมขณะเข้าและออกใน แบบต่าง ๆ รวม ทัง้ มสี ตเิ หน็ ถึงการเกดิ และดับของลมหายใจ โดยมีขั้นตอนปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. เลือกสถานท่ีให้เหมาะสม สงบเงียบ เหมาะต่อการปฏบิ ัติ 2. เวลาทใี่ ชใ้ นการปฏิบัติตอ้ งกำหนดใหเ้ หมาะสม 3. สมาทานศีล รบั ศีลจากพระ หรือสมาทานงดเว้นด้วยตนเอง เพอ่ื ชำระจิตใจใหบ้ ริสุทธิ์ เตรียมความพร้อม ในการปฏิบตั ิ 4. นมัสการพระรัตนตรัย สวดมนต์รำลึกถงึ คุณ ของพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ 5. ตัดปลิโพธ คือ ความหว่ งกงั วลทกุ อยา่ งใหห้ มดสิ้น ให้กำหนดเฉพาะการฝกึ การบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญา เทา่ น้นั โดยนั่งขัดสมาธเิ หมือนพระพุทธรปู ปางสมาธแิ ลว้ กำหนดลมหายใจเข้าออก วิธกี ารบรหิ ารจิตและเจริญปญั ญา สามารถนำไปใชใ้ นการพฒั นาการเรียนรู้ คณุ ภาพชวี ติ และสังคม โดย สามารถนำไปใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ ได้อยา่ งดี เช่น - ด้านการควบคมุ จิต เพ่อื สุขภาพจิตทด่ี ี คนเราถา้ ไดร้ บั การอบรมจิตจนเป็นสมาธแิ ลว้ จิตจะไมฟ่ ้งุ ซ่านสงบดี และทำใหม้ ีสุขภาพจติ ทด่ี ี เม่อื เรามีสขุ ภาพจิตดีแล้วก็ย่อมส่งผลทำให้มรี ่างกายและสติปัญญาดี - ด้านการศกึ ษาเล่าเรียน การนำการบรหิ ารจติ ไปใช้ในการศึกษา คอื เวลาทเ่ี ราเรียนหนงั สือ อา่ นหนังสือ หรอื ฟงั ครูสอนในชนั้ เรียน ควรมสี ติ มสี มาธิ จะทำใหเ้ ราสามารถทำความเขา้ ใจในการเรยี นได้ดีขึ้น - ดา้ นการทำงาน หากทำงานอะไรกต็ าม ถา้ มสี ติอยู่ตลอดเวลาจะชว่ ยปอ้ งกันอนั ตรายไดเ้ ป็นอย่างดีเพราะเม่อื ผู้ ปฏบิ ัตงิ านมีจิตใจท่สี งบ มน่ คง ไมฟ่ ุ้งซ่าน ผ้ปู ฏบิ ัติงานกจ็ ะต้งั ใจทำงานเหล่านัน้ อบย่างเต็มกำลังจนงานสำเร็จไม่ มขี อ้ ผิดพลาด และงานนัน้ ก็ออกมาอยา่ งมีคุณภาพ

สปั ดาหท์ ่ี ๑๖ (ชัว่ โมงท่ี ๒) ใบงานท่ี ๒ รายวชิ า ๒๓๑0๒ (พระพทุ ธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๗ เร่ือง การบริหารจิตเจรญิ ปญั ญา ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ชื่อ........................................นามสกลุ ....................................ชนั้ ม3.เลขที.่ .................. ...................................................................................................................................................................................... คำชแ้ี จง ให้นกั เรียน คำบูชาพระรตั นตรยั และบทแผเ่ มตตาแกส่ รรพสตั ว์ พร้อมด้วยคำแปลท้ัง 2 บท .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

สัปดาห์ที่ ๑๖ (ชั่วโมงท่ี ๓) ใบความรู้ท่ี ๓ รายวิชา ๒๓๑0๒ (พระพุทธศาสนา ๕) หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๗ เร่ือง การบริหารจติ เจรญิ ปญั ญา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ช่ือ........................................นามสกุล....................................ชนั้ ม3.เลขที.่ .................. ...................................................................................................................................................................................... เรื่อง ความหมายของโยนิโสมนสกิ าร โยนิโสมนสิการ มาจากคำว่า โยนิโส กับ มนสิการ แปลความไดว้ า่ การทำในใจโดยแยบคาย กระทำไว้ใน ใจโดยอุบายอันแยบคาย การพิจารณาโดยแยบคาย คือ พิจารณาเพื่อเข้าถึงความจริงโดยสืบค้นหาเหตุผลไป ตามลำดับจนถึงต้นเหตุ แยกแยะองค์ประกอบจนมองเห็นตัวสภาวะและความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัยหรือตริตรอง ให้รู้จักสิ่งท่ีดีที่ช่ัว ยังกศุ ลธรรมให้เกิดขึ้นโดยอุบายที่ชอบ ซึ่งจะมิใช่เกิดอวิชชาและตัณหา ความรู้จักคิด คิดถูกวิธี ประกอบด้วยลักษณะของการคิด 4 ประการ คอื 1. อุบายมนสิการ คือ ลักษณะการคิดแบบวิเคราะห์กระบวนการหรือความเป็นไปของสิ่งต่าง ๆ เป็น ความคิดท่ชี ่วยให้เขา้ ถึงรากเหง้าหรือแกน่ แท้ของความคิดจริง ๆ นน้ั 2. ปถมนสิการ คือ ลักษณะการคิดเป็นทาง หรือคดิ ถูกทาง มีลำดับขั้นตอนเปน็ เหตุเป็นผลเป็นระเบียบ ไม่วกวน หรืออีกนัยหน่ึง ปถมนสิการ หมายถึง การคิดได้หลายทางหรือหลายแง่มุม ลักษณะการคิดแบบ ปถ มนสกิ าร เป็นความคิดซึ่งหมู่นกั ปราชญ์ใชก้ ันท่ัวโลกแต่อาจไม่ครบถ้วนทุกข้อ ผลของความคดิ จึงดแี ต่ยังไมส่ มบรู ณ์ 3. การณมนสิการ คอื ลักษณะการคิดสบื สาวหาเหตผุ ล จนเห็นความสัมพนั ธ์ของเหตุและผลโดยสมบูรณ์ หรือเมื่อเห็นปัญหาและเหตขุ องปญั หากพ็ ิจารณาสบื ไปว่าจะทำให้เกิดอะไรขึน้ บ้าง

4. อุปปาทกมนสิการ คอื ลักษณะการคิดมุ่งกุศล หรือคดิ เฉพาะสิ่งทด่ี ีมงุ่ แต่ความดตี ัดขาดจากส่ิงช่วั รา้ ย หรือไร้สาระ มุ่งทำให้ส่ิงที่จะไม่ก่อทุกข์แก่ตนและผู้อื่น มุ่งทำสิ่งท่ีทำให้ตนและผู้อ่ืนมีความสุขที่แท้จริง ผลของ ความคิดก่อให้เกดิ ปัญหาจึงเปน็ ความคดิ ทดี่ แี ละสมบรู ณ์ ลกั ษณะการคิดทั้ง 4 ประการ มีความสัมพันธ์กัน เป็นการคิดท่ีทำให้เกิดปัญหา เห็นลกั ษณะและความ เป็นไปของส่ิงตา่ ง ๆ อย่างละเอียดถูกต้อง เม่ือปัญญาเกิดขึ้นแล้ว ก็สามารถแก้ไขปัญหาได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม การฝึกความคดิ เชน่ น้เี ป็นประจำ นอกจากจะทำให้เกิดปัญญาในการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสมแล้ว ยังทำ ใหป้ ัญญาของผนู้ นั้ เจริญงอกงามข้นึ ตามความหมน่ั เพียรฝึกฝนของบุคคลนน้ั (กรมสามัญศึกษา, 2545) วธิ ีคิดแบบโยนิโสมนสกิ าร วิธคี ดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร คอื วธิ ีคดิ 10 ประการ ดังต่อไปน้ี 1. วิธีคิดแบบสืบสาวหาเหตุผล คือ เมื่อเห็นผลหรือเห็นปัญหาก็สืบหาเหตุ ได้เหตุแล้วก็สืบหาเหตุก่อน หนา้ นน้ั จนเห็นความสมั พันธข์ องเหตุและผลโดยสมบรู ณ์ หรือเมอ่ื เห็นปญั หาและเหตุของปัญหาก็พจิ ารณาสืบไปว่า จะทำใหเ้ กดิ ประโยชน์ขึน้ บา้ ง ดงั น้ีเป็นตน้ 2. วิธีคิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ คือ มุ่งพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ให้ตรงตามสภาพเป็นจริงจึงต้องรู้ รายละเอียดว่า เรื่องนั้น ๆ มีองค์ประกอบย่อยอะไรบ้าง ประกอบกันข้ึนอย่างไร เช่น แยกแยะร่างกายออกเป็น ระบบต่าง ๆ ว่ามีระบบหายใจ ระบบการไหลเวียนของโลหิต ระบบเนื้อเยื่อ เป็นต้น จนทำให้เราเข้าใจร่างกาย มนษุ ยต์ ามสภาพท่เี ป็นจริง 3. วิธีคิดแบบสามัญลักษณ์หรือไตรลักษณ์ คือ การคิดแบบวิเคราะห์กระบวนการหรือความเป็นไปของ ชีวติ เชน่ การวเิ คราะห์ลกั ษณะของสิง่ ตา่ ง ๆ ว่าเป็นไปตามกฎไตรลักษณ์ ไดแ้ ก่ ทุกข์ ความไมอ่ าจคงสภาพอยูอ่ ยา่ งเดิมได้ อนจิ จงั ความเปลยี่ นแปลง ความไม่คงที่ อนัตตา ความไมเ่ ป็นตวั ตน ไมใ่ ช่ตวั ตน 4. วิธีคิดแบบอริยสัจ/คิดแบบแก้ปัญหา คือ การคิดแบบสืบสาวจากผลไปหาเหตุแล้ว หาวิธกี ารแก้ไขท่ี เหตุ เป็นการคิดท่ีมีหลักการสำคัญโดยเริ่มต้นจากปัญหา ทำความเข้าใจกับปัญหาให้ชัดเจน แล้วสืบค้นหาสาเหตุ เพ่ือเตรียมแก้ไข ในเวลาเดียวกันก็กำหนดเป้าหมายให้แน่ชัด พร้อมกันนั้นจึงคิดวิธีปฏิบัติที่จะกำจัดสาเหตุของ ปัญหาและดำเนินการแก้ไขปัญหาตามแนวทางที่วางไว้ วิธีคิดแบบอริยสัจประกอบด้วยขั้นตอนสำคัญ คือ ทุกข์ สมทุ ยั นิโรธและมรรค เปน็ วิธีคิดทีใ่ ชแ้ ก้ปญั หาซงึ่ ตรงตามกระบวนการแกป้ ัญหาตามหลกั วิทยาศาสตร์ 5. วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ คือ การคิดตามหลักการและความมุ่งหมาย เป็นการคิดแบบหาความ สัมพันธ์ระหว่างหลกั การกับความมุ่งหมาย วธิ ีใช้ เม่ือวิเคราะหจ์ นรสู้ ภาพจริงของปญั หาหรอื ธรรมชาติของส่งิ ตา่ ง ๆ แล้วก็พจิ ารณาว่า เรามีจุดมุ่งหมายอย่างไร หลักการใดจะให้สัมฤทธิผลตามจุดมุ่งหมายนัน้ วิธีคิดเช่นน้ีนำไปสู่การ ปฏิบตั ทิ ่ถี กู ต้องที่เรยี กวา่ ธรรมานธุ รรมปฏิบัติ 6. วิธีคิดแบบเห็นคุณโทษและทางออก คือ การคิดท่ีมองตามความเป็นจริง เน้นการยอมรับความจริง ตามท่ีสิ่งนั้น ๆ เป็นอยู่ทุกแง่มุม เพื่อให้รู้คุณโทษ ข้อดีข้อเสียทุกด้านแล้วจึงคิดหาทางออกของปัญหาว่ามีอยู่จริง หรือเป็นไปได้อย่างไร เลือกทางออกท่ีดีที่สุดของปัญหาในกรณีน้ัน ๆ แล้วจึงนำไปปฏิบัติ วิธีคิดดังกล่าวจึงเป็นวิธี คิดท่ีต่อเน่ืองกับการปฏิบัติมากใช้ได้กับเรื่องท่ัวไป จึงเป็นการคิดมองตามความเป็นจริงเพื่อหาทางออก คือ การ ปฏิบัตหิ น้าที่ถกู ตอ้ งที่สดุ

7. วิธีคิดแบบรู้คุณค่าแท้–คุณค่าเทียม คือ การคิดที่สกัดหรือบรรเทาตัณหาของมนุษย์ ซึ่งจะใช้มากใน ชีวิตประจำวัน เพราะเกี่ยวข้องกับการบริโภคใช้สอย ปัจจัย 4 และวัสดุอุปกรณ์อำนวยความสะดวกต่าง ๆ มี หลักการคิดที่สำคัญ คือ ในเวลาที่เราเข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งเหล่าน้ีต้องพิจารณาด้วย “สติ” และ “ปัญญา” แยกแยะใหไ้ ดว้ ่า สิง่ นั้น ๆ มี “คณุ ค่าแท”้ หรือ “คณุ ค่าเทยี ม” ทั้งนเ้ี พือ่ ท่ีจะไดเ้ ลอื กเสพคณุ คา่ ท่ีแท้จริง 8. วธิ ีคิดแบบเรา้ คุณธรรม ใช้หลกั การท่ีว่า “บุคคลเมื่อประสบอารมณ์หรือรับรู้ส่ิงใดก็ตาม แม้เป็นของอย่างเดียวกัน แต่การมองเห็นและนึกคิดอาจ ปรุงแตง่ ไปคนละอย่างตามโครงสร้างของจิตใจ” จากหลักการดังกล่าวจึงทำให้เกิดการมองเห็นและความนึกคิด 2 ลักษณะ คือ ในทางท่ีดีงามและ ประโยชน์ เรียกว่า “กุศล” และในทางที่ไม่ดีงามเป็นโทษ เรียกว่า “อกุศล” ดังนั้นการเร่ิมต้นและชักนำความคิด ไปสู่ความเป็นกศุ ลย่อมเป็นส่ิงเริ่มต้นของกระบวนการคิดทด่ี ีงาม วิธีคิดแบบเรา้ คณุ ธรรมหรือเร้ากุศล เป็นวิธที ี่เปิด กว้างท่สี ดุ เพราะสามารถนำไปปรับประยุกต์เปน็ แบบตา่ ง ๆ ได้เพ่ิมมากขึน้ ตามความเหมาะสม 9. วิธีคดิ แบบอยู่กับปัจจบุ ัน คือ การคิดในแนวทางของความรู้ หรือคิดด้วยอำนาจของปัญญาโดยไม่ตก อยู่ในอำนาจของอารมณ์ วิธีคิดแบบน้ีเป็นการมองอีกด้านหนึ่งของการคิดแบบอื่น ๆ หรือคลุมวิธีคิดท่ีกล่าวมา ท้ังหมดความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีคิดแบบนี้ คือ “ความหมายของการเป็นอยู่ในปัจจุบัน หรือมีปัจจุบันธรรมเป็น อารมณ์” นัน่ คือการไมอ่ าลัยอาวรณถ์ งึ ส่ิงทผี่ ่านไปแล้วหรอื ฟุ้งซ่านไปกับอารมณ์ทช่ี อบใจหรือไมช่ อบใจ สรุปงา่ ย ๆ ก็คือ ถอื ความเปน็ ปจั จุบนั โดยกำหนดที่ “สัมมาสต”ิ เป็นสำคัญ 10. วธิ ีคิดแบบวิภัชชวาท คำว่า “วิภชั ชวาท” ไมใ่ ช่วิธีคดิ โดยตรงแตเ่ ป็นวิธพี ูดเป็นกรรมใกล้ชดิ กนั ที่สุด เพราะส่ิงที่พูดล้วนมาจากความคิดท้ังส้ิน คำว่า “วิภัชชวาท” ถือเป็นคำสำคัญคำหนึ่งที่ใช้แสดงระบบความคิดที่ เปน็ แบบของพระพทุ ธศาสนา วิภชั ชวาท มาจาก วภิ ัชช + วาท วิภชั ชะ แปลว่า แยกแยะ แบง่ ออก จำแนกหรือแจกแจง ซงึ่ ใกล้เคียงกบั คำวา่ “วเิ คราะห์” วาท แปลวา่ การกล่าว การพดู การแสดง คำสอน วภิ ัชชวาท แปลวา่ การพูด แยกแยะ พดู จำแนก หรอื พดู แจกแจง ลกั ษณะสำคัญของความคิดและการพูดแบบน้ี คอื การมองและแสดงความจรงิ โดยแยกแยะออกให้เห็น แต่ละด้านครบทกุ แงม่ มุ 3.3 การคิดแบบโยนิโสมนสกิ ารกับการดำเนินชีวติ กระบวนการฝกึ คนใหเ้ ป็นคน “คิดดี” และ “ทำดี” ควบคู่ไปกับ “ความรจู้ ริง” และ “รู้แจ้ง” เพ่ือนำไปสู่ ชีวิตที่ดีและมีคุณค่าน้ันเกิดจากการฝึกฝนพัฒนาตนด้วยการศึกษาทั้งวิชาการควบคู่กับหลักธรรมเพ่ือนำไปสู่ สมั มาทิฐิอันนำไปสู่การดำเนินชวี ิตที่ถูกต้อง ซึ่งการดำเนินชีวติ ดังกล่าวมีข้นั ตอนดังแผนภูมติ ่อไปนี้ (สุวิทย์ มลู คำ, 2549 : 60)

สปั ดาห์ท่ี ๑๖ (ชว่ั โมงท่ี ๓) ใบงานท่ี ๓ รายวชิ า ๒๓๑0๒ (พระพุทธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๗ เร่ือง การบริหารจติ เจริญปญั ญา ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ช่อื ........................................นามสกุล....................................ช้นั ม3.เลขที.่ .................. .................................................................. .......................................................................................................... .......... เรื่อง ความหมายของโยนโิ สมนสกิ าร คำช้ีแจง เขยี นแผนผงั ความคดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร คดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร

สปั ดาห์ที่ ๑7 (ชั่วโมงท่ี 1) ใบความรู้ท่ี 1 รายวิชา ๒๓๑0๒ (พระพทุ ธศาสนา ๕) หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 8 เรือ่ ง พระพทุ ธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพฒั นา (พระพทุ ธศาสนากบั เศรษฐกิจพอเพียง) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ชอ่ื ........................................นามสกลุ ....................................ช้ัน ม3.เลขท่ี................... ...................................................................................................................................................................................... เร่ือง พุทธศาสนากบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ความหมาย คำว่า “เศรษฐกิจ” มาจาก 2 คำ คือ เศรษฐ แปลว่า ดีเลิศ และว่า กิจ แปลว่า การประกอบการ เม่ือ รวมกันจึงได้ความวา่ การประกอบกิจการงานเก่ยี วกับการผลติ การจำหนา่ ย จา่ ย แจก การบรโิ ภค และการใช้สอย สง่ิ ต่าง ๆ ให้ได้ผลดีเลศิ สว่ นคำว่า พอเพียง หมายถงึ ความเหมาะสม หรอื ความพอดี เน้นการผลิตและการบรโิ ภค แบบพออยู่พอกินเป็นหลัก ซงึ่ ไม่ได้เน้นกำไรสุทธิ หรือความร่ำรวยเปน็ เป้าหมายสงู สุด และเมื่อรวมกันจึงได้ความ วา่ การผลติ จำหน่าย และบริโภคอย่างพอเหมาะพอดี นนั่ เอง เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ ระบบเศรษฐกิจทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว ทรงดำรขิ ้ึน เพื่อแสวงหาทางออก จากวกิ ฤตเศรษฐกิจใหก้ ับสังคมไทย ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กค็ อื “การที่พ่ึงตนเองได้” วตั ถปุ ระสงค์ หรอื เป้าหมายหลกั ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คือ ความสงบสขุ ของผู้คนในสังคม ประชาชนมีกิน มีใช้อย่างเพียงพอแก่ความต้องการ ท่ีสำคัญต้องไม่ทำตนและผู้อ่ืนเดือนร้อน เน้นให้คนในชุมชนพัฒนาขีด ความสามารถในการผลติ และบริโภคอย่างพอเพียง ไปจนถึงขั้นการแปรรปู อุตสาหกรรมครัวเรือน สร้างอาชีพและ เสริมทักษะทางวิชาการท่ีหลากหลาย ใช้ชุมชนดำรงอยู่ได้ด้วยการยึดหลักแห่งความถูกต้องดีงาม มีความ เอ้ือเฟ้อื เผื่อแผ่ และช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน เปน็ ตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook