Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม 5 ร

คู่มือการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม 5 ร

Published by วชิรวิชญ์ กวดนอก, 2021-09-07 09:04:10

Description: คู่มือการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม 5 ร

Search

Read the Text Version

คูม่ ือ การบรหิ ารการจัดการขยะแบบมีส่วนรว่ ม 5 ร ในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นแม่ก๋งวิทยา สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา ลาปาง เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ก คำนำ คู่มือการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม 5 ร ในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ได้กาแนวทางในการบริหารการจัดการขยะท่ีสอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษา ซ่ึงเป็นเรื่องที่มีความจาเป็นที่ผู้บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษา และ นักเรียน รวมถึงผู้มีส่วนเก่ียวข้องต้องให้ความสาคัญในการบริหารจัดการขยะตามแนวทางในการมี ส่วนร่วม โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างคู่มือการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม 5 ร ของโรงเรียน แม่ก๋งวิทยา เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและจิตสานึก ให้ทราบถึงปัญหาและแนวทางการแก้ไข ปัญหาขยะ การนาขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ พร้อมท้ังสนับสนุนการมีส่วนร่วมของโรงเรียนในการ ลดและแยกขยะอยา่ งเป็นรูปธรรมจึงถอื ได้ว่าเปน็ ภารกิจที่สาคญั ที่จะต้องดาเนนิ การใหส้ าเร็จลลุ ่วง นางพรณิชา ขดั ฝน้ั โรงเรยี นแม่ก๋งวทิ ยา

สำรบัญ ข คำนำ หน้ำ สำรบญั ส่วนท่ี 1 บทนา ก ข 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา 1 1.2 วตั ถุประสงค์ 1 1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั 3 ส่วนที่ 2 แนวคิดทฤษฎแี นวคิดและทฤษฎีการบริหารจดั การขยะ 3 2.1 แนวคิดและทฤษฎีท่เี กี่ยวข้องกบั การบรหิ ารจดั การ 4 2.2 แนวคดิ และทฤษฎีท่เี ก่ียวข้องกับขยะในโรงเรยี น 5 2.3 แนวคิดและทฤษฎที เ่ี กยี่ วข้องกบั การพฒั นาหรือสร้างคมู่ ือ 15 ส่วนท่ี 3 รูปแบบการบรหิ ารจัดการขยะท่วั ไป 27 ส่วนท่ี 4 กิจกรรมการแกป้ ัญหาขยะ.ในโรงเรยี น 33 4.1 กจิ กรรมขยะอนิ ทรีย์จากเศษอาหาร 36 4.2 กิจกรรมเสวียนยอ่ ยสลาย 36 4.3 กลอ่ งนม/ถงุ นมเพ่ือถุงดา 37 4.4 กิจกรรมขยะจากขวดพลาสติก 41 4.5 กิจกรรมการกาจดั ขยะท่ัวไป 44 บรรณำนุกรม 50 คณะผู้จัดทำ 52 54

1 สว่ นที่ 1 บทนำ 1.1 ควำมเป็นมำและสภำพปจั จุบนั ปัญหำ สภาพปัญหาขยะกาลังเป็นปัญหาสาคัญระดับโลกหลายประเทศให้ความสนใจกับการ แก้ปัญหาขยะท่กี าลงั ก่อให้เกิดผลกระทบกับ ระบบต่าง ๆ อกี มากมายทั้งเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และผลกระทบโดยตรงกับส่ิงมีชวี ติ ทุกชวี ติ ท่ดี ารงอย่บู นโลกใบนี้ สยามรฐั (24 กันยายน 2561) ซึ่งจาก การสรุปสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2561 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2562 : 35) พบว่า ปริมาณ ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศในปี 2560 ประมาณ 27.40 ล้านตัน หรือ 75,046 ตันต่อวัน เพ่ิมขึ้นร้อยละ 1.26 จากสภาพปัญหาข้างต้นรัฐบาลไทย มุ่งการจัดการกับ ปัญหาขยะมูลฝอยที่สะสมอยู่เป็นจานวนมากอันส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและอาจเป็นอันตรายต่อ สขุ ภาพของประชาชน จงึ ควรกาหนดระเบียบการปฏบิ ัติราชการเพอื่ กาหนดข้ันตอนการดาเนินการใน การแกป้ ัญหาการจดั การ ขยะมูลฝอยใหเ้ ป็นระบบและมปี ระสิทธิภาพ แผนพัฒนาสงั คมและเศรษฐกิจ แห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (2560-2564) ได้กล่าวถึงการนา ขยะท่ีเกิดข้ึนมาใช้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 และ สัดส่วนของขยะอันตรายจะต้องถูกกาจัดอย่างถูกต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ในยทุ ธศาสตร์ชาติที่ 5 ดา้ นการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเ่ ป็น มิตรกับ ส่ิงแวดล้อม สู่แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ.2559-2564) ระบุ มาตรการกาจัดขยะมูลฝอยและของ เสียอันตราย ประกอบด้วย 3 มาตรการ ได้แก่ (1) มาตรการลด การเกิดขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายท่ีแหล่งกาเนิด (2) มาตรการเพิ่มศักยภาพการกาจัดขยะมูล ฝอยและของเสียอันตราย (3) มาตรฐานส่งเสริมการบริหารจัดการขยะและของเสีย อันตราย ในการ นาหลักการด้าน 3R มาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและ ส่ิงแวดลอ้ ม ของประเทศ (กรมควบคุมมลพิษ,2561) การบริหารจัดการขยะเพ่ือลดขยะมูลฝอยเป็นการช่วยลดการเพ่ิมข้ึนของปริมาณขยะ ซึ่ง มีวิธีการในการคัดแยกขยะ โดยขยะย่อยสลาย (ขยะอินทรีย์) เป็นของที่เน่าเสียและย่อยสลายได้ง่าย ตามธรรมชาติ ได้แก่ เศษอาหาร เศษผัก เปลอื กผลไม้ ใบไมแ้ ห้ง ซากสัตว์ ฯลฯ สามารถบรหิ ารจดั การ โดยการจัดทาภาชนะกาจัดขยะเปียกของโรงเรียน ขุดหลุมฝัง หรือนาไปแปรรูปเป็นปุ๋ยอินทรีย์ หรือ น้าหมักอินทรีย์ นาไปเลี้ยงสัตว์ และขยะรีไซเคิล เป็นขยะที่สามารถคัดแยกเพื่อนาไปรีไซเคิลใหม่ได้ (นาไปขายได้) ได้แก่ แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ/อโลหะ และยาง ฯลฯ ประชาชนคัดแยกและ รวบรวมนาไปจาหน่าย ณ ธนาคารขยะของโรงเรียน ขยะมูลฝอยที่เป็นพิษหรือขยะอันตรายชุมชน เป็นขยะท่มี คี วามเปน็ อนั ตราย หรือมีส่วนประกอบท่ี เป็นสารที่เป็นอนั ตราย ได้แก่ ขวดหรือภาชนะใส่ เคมีภัณฑ์ ถ่านไฟฉายใช้แล้ว แบตเตอร่ี กระป๋องสเปรย์บรรจุ สารเคมี ตลับหมึกใช้แล้ว หลอดไฟ

2 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ ให้นาไปรวบรวมไว้ ณ ที่ท้ิงขยะของโรงเรียน เพื่อองค์การบริหารส่วน ตาบลบ้านเป้าจะได้ดาเนินการต่อไป ส่วนขยะทั่วไปเป็นขยะท่ีไม่มีคุณสมบัติตามขยะ ๓ ประเภท ขา้ งต้น โดยย่อยสลายยาก นาไป รีไซเคิลไม่ได้ หรอื นาไปรีไซเคิลไม่คุ้มทุน และไม่เป็นอันตราย ได้แก่ ซอง/ถุงขนมขบเค้ียว ถุงบะหม่ีก่ึงสาเร็จรูป ถุงพลาสติก/กล่องโฟมเป้ือนอาหาร หลอดกาแฟ ซอง กาแฟ ฯลฯ ให้กาจัดตามความเหมาะสมโดยไมก่ ระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ประการสุดท้ายคือการปฏิเสธ และลดการใช้ถุงพลาสติกและโฟม ร่วมกันใช้ถุงผ้า หรือถุงขนาดใหญ่ที่ย่อยสลายได้แทนการใช้ ถงุ พลาสตกิ และโฟม โรงเรยี นแม่กง๋ วทิ ยาเป็นโรงเรยี นขยายโอกาสสงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา ลาปาง เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีจานวนนักเรียน 151 คน บุคลากรทางการศึกษาจานวน 20 คน รวม 171 คน ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนได้ ดาเนินการศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดการขยะในโรงเรียน พบว่าขยะที่เกิดข้ึนภายในโรงเรียน คือ ขยะอินทรีย์ จาพวก เศษอาหาร เศษใบไม้ ก่ิงไม้ ขยะรีไซเคิล จาพวก ขวดน้าพลาสติกกล่องนม ถุงนม และขยะขยะท่ัวไป จาพวกเศษพลาสติก ซ่ึงมีจานวนของปริมาณขยะเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่องจึง ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมของโรงเรียนโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ดังนั้น การจัดกิจกรรมในการ เสริมสร้างทักษะให้แก่คณะครู นักเรียน จึงเป็นแนวทาง ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมในการนาขยะ จากการเหลือใชก้ ลับมาใช้ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งมีคุณคา่ และควรพัฒนาการจดั การขยะ ที่กาลงั เป็นปัญหา ระดับโรงเรียน และส่งผลต่อภาพลักษณ์ รวมถึงการคัดแยกขยะ การลดการใช้ให้เหมาะสมกับการ ปฏิบัติงาน การบริการชุมชน ชุมชนที่เกิดสภาวะขาดความเชื่อม่ันในการบริหารจัดการ การส่งเสริม พฤติกรรมการจัดการขยะ และสืบเนื่องต่อพฤติกรรมของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน การเป็นต้นแบบท่ีดีในการพัฒนาพฤติกรรม ซึ่งเน้นการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 5 ร จานวน 5 ข้ันตอน คือ ข้ันตอนที่ 1 ร่วมศึกษา ข้ันตอนที่ 2 ร่วมวางแผน ขั้นตอนท่ี 3 ร่วมปฏิบัติ ข้ันตอนที่ 4 รว่ มสรปุ และขั้นตอนที่ 5 ร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ ดว้ ยเหตผุ ลดงั ได้กล่าวมาข้างต้น จงึ ทาให้คณะผู้วิจัยการบริหารการจดั การขยะในโรงเรยี นแม่ ก๋งวิทยา โดยใชร้ ูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วม 5 ร จานวน 5 ข้ันตอน คอื ข้ันตอนท่ี 1 ร่วมศึกษา ข้ันตอนที่ 2 ร่วมวางแผน ขั้นตอนที่ 3 ร่วมปฏิบัติ ข้ันตอนที่ 4 ร่วมสรุป และขั้นตอนท่ี 5 ร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการสร้างความตระหนักรู้ในการจัดการขยะเก่ียวกับการใช้ประโยชน์และการ จัดการบริหารขยะ ในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา เพือ่ ใหท้ ราบถึงกระบวนการในการดาเนนิ งานอยา่ งมีส่วน รว่ มในทุกภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการบริหารจัดการขยะอนิ ทรียท์ ี่ทาให้โรงเรียนแม่ก๋งวิทยาได้ นามาใชป้ ระโยชน์ อาทิ การทาป๋ยุ หมักจากเศษใบไม้ เศษหญ้า และการบริหารการจัดการขยะรไี ซเคิล

3 สามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ อาทิ นามาขวดน้าพลาสติกมาประดิษฐ์เป็นกระถางต้นไม้ ส่วน การบริหารจัดการขยะท่ัวไป ทาให้โรงเรียนเกิดความสะอาดและมีบรรยากาศท่ีดีต่อการเรียนรู้ นอกจากนี้ยงั เป็นการดาเนินกิจกรรมทเี่ สรมิ สร้างทักษะอาชพี ที่สามารถสรา้ งรายได้ให้แก่นกั เรียนและ โรงเรยี นไดอ้ ย่างยง่ั ยนื 1.2 วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือสร้างคูม่ ือการบรหิ ารจดั การขยะแบบมีสว่ นรว่ ม 5 ร ของโรงเรียนแม่กง๋ วทิ ยา 1.3 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะไดร้ บั ได้รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมในการการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ ก๋งวิทยาเหมาะสมกับสภาพบริบทของโรงเรียนแม่ก๋งวิทยาส่งผลให้โรงเรียนมีทัศนียภาพและ สง่ิ แวดลอ้ มท้ังในห้องเรยี นและนอกโรงเรียนสวยงามรม่ รนื่ เออ้ื ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

4 ส่วนที่ 2 แนวคิดทฤษฎีแนวคิดและทฤษฎีกำรบริหำรจดั กำรขยะ การบริหารจัดการขยะของโรงเรียนแม่ก๋งวทิ ยา สังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ได้ศึกษาเอกสารหลกั การและแนวทางการบรหิ ารจัดการขยะ ดังน้ี 2.1. แนวคดิ และทฤษฎที ีเ่ ก่ียวขอ้ งการบรหิ ารจัดการ 2.1.1 ความหมายของการบริหารจดั การ 2.1.2 แนวคิดในการบรหิ ารจัดการ (management concepts) 2.1.3 องค์ประกอบของการบริหารจัดการ 2.1.4 แนวคดิ ด้านการมสี ่วนร่วม 2.2. แนวคิดและทฤษฎที ีเ่ ก่ียวขอ้ งกับขยะในโรงเรยี น 2.2.1 ความหมายของขยะ 2.2.2 ประเภทของขยะ 2.2.3 สาเหตทุ ท่ี าให้เกิดปญั หาขยะในโรงเรียน 2.2.4 ผลกระทบทเ่ี กิดจากขยะในโรงเรยี น 2.2.5 นโยบายสง่ เสริมและสนบั สนนุ การจดั การขยะของ สพฐ. สู่โรงเรยี นปลอดขยะ 2.2.6 หลักการบรหิ ารจดั การขยะในโรงเรยี น 2.3 แนวคดิ และทฤษฎที เ่ี กี่ยวขอ้ งกับการพัฒนาหรอื สร้างค่มู ือ 2.1.1 แนวคิดในการบริหารจัดการ (management concepts) 2.3.2 ประเภทของคู่มือ 2.3.3 องค์ประกอบของคู่มอื 2.3.4 ประโยชนข์ องคู่มือ

5 2.1. แนวคิดและทฤษฎีท่เี กย่ี วข้องกับกำรบรหิ ำรจัดกำร 2.1.1 แนวคิดในกำรบรหิ ำรจัดกำร (management concepts) การบริหารจัดการที่มีประสิทธภิ าพจะต้องมีการแบ่งงานกันทาตามความเหมาะสมและ ความจาเปน็ เพื่อให้การทางานของหนว่ ยงานบรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ไดม้ ผี ู้กล่าวถงึ แนวคิด ในการ บรหิ ารไว้ตา่ งๆ ดังน้ี สาคร สขุ ศรวี งศ์ (2550 : 45) กลา่ วถงึ แนวคดิ การจดั การสามารถแบ่งได้ ดงั น้ี 1) แนวคดิ การจดั การเชงิ วทิ ยาศาสตร์ 2) แนวคิดการจดั การเชงิ บรหิ าร 3) แนวคดิ การจัดการเชิงพฤติกรรม 4) แนวคิดการจดั การเชิงปรมิ าณ 5) แนวคดิ การจัดการรว่ มสมัย ศรวิ รรณ เสรรี ัตน์และคณะ (2552 : 19) ได้กล่าวไว้ถงึ แนวคิดในการบริหารจดั การโดย แบง่ ตามหนา้ ทขี่ องการบริหารจดั การออกเป็น 4 หน้าทีค่ ือ 1) การวางแผนเป็นขนั้ ตอนในการกาหนดวัตถปุ ระสงค์และพิจารณาถึงวิธีการที่ควร ปฏิบัติเพื่อให้บรรลวุ ตั ถุประสงคน์ นั้ ดงั นั้นผู้บรหิ ารจึงต้องตดั สินใจวา่ องคก์ รมวี ตั ถปุ ระสงคอ์ ะไรในอนาคต และจะต้องดาเนนิ การอย่างไรเพอ่ื ให้บรรลุผลสาเร็จตามวตั ถปุ ระสงคน์ ั้น ลกั ษณะการวางแผนมดี งั นี้ 1.1) การดาเนินการตรวจสอบตวั เอง เพื่อกาหนดสถานภาพในปัจจุบันขององค์การ 1.2) การสารวจสภาพแวดล้อม 1.3) การกาหนดวตั ถุประสงค์ 1.4) การพยากรณสถานการณ์ในอนาคต 1.5) การกาหนดแนวทางปฏิบัติงานและความจาเปน็ ในการใชท้ รพั ยากร 1.6) การประเมินแนวทางการปฏิบัติงานที่วางไว้ 1.7) การทบทวนและปรบั แผนเมื่อสถานการณ์เปลีย่ นแปลงและผลลัพธ์ของการควบคุม ไมเ่ ปน็ ไปตามทีก่ าหนด 1.8) การติดต่อสือ่ สารในกระบวนการของการวางแผนเปน็ ไปอยา่ งทัว่ ถงึ 2) การจัดองค์การ เป็นขน้ั ตอนในการจัดหาบุคคลและทรพั ยากรทใ่ี ช้สาหรบั การทางานเพื่อให้ บรรลุจุดมุ่งหมายในการทางานนน้ั หรือเป็นการจดั แบ่งงานและจัดสรรทรพั ยากรสาหรบั งานเพือ่ ให้ งานเหล่านน้ั สาเร็จ การจัดองค์ประกอบด้วย 2.1) การระบุและอธบิ ายงานทีจ่ ะถูกนาไปดาเนินการ 2.2) การกระจายงานออกเป็นหนา้ ท่ี 2.3) การรวมหน้าท่ีต่างๆ เข้าเป็นตาแหน่งงาน

6 2.4) การอธิบายสิ่งที่จาเป็นหรือความต้องการของตาแหน่งงาน 2.5) การรวมตาแหน่งงานต่าง ๆ เป็นหน่วยงานท่ีมคี วามสมั พนั ธ์อย่างเหมาะสมและ สามารถบรหิ ารจัดการได้ 2.6) การมอบหมายงาน ความรบั ผิดชอบและอานาจหน้าที่ 2.7) การทบทวนและปรับโครงสร้างขององค์กรเม่ือสถานการณ์เปลยี่ นแปลงและ ผลลพั ธ์ของการควบคุมไม่เป็นไปตามทก่ี าหนด 2.8) การติดต่อส่อื สารในกระบวนการของการจัดองค์เป็นไปอยา่ งท่วั ถึง 2.9) การกาหนดความจาเป็นของทรัพยากรมนุษย์ 2.10) การสรรหาผู้ปฏบิ ตั งิ านทีม่ ีประสิทธภิ าพ 2.11) การคัดเลอื กจากบุคคลทสี่ รรหามา 2.12) การฝึกอบรมและพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ต่าง ๆ 2.13) การทบทวนปรับคุณภาพและปริมาณของทรัพยากรมนุษย์เม่อื สถานการณ์ เปลยี่ นแปลงและผลลัพธ์ของการควบคุมไม่เป็นไปตามทีก่ าหนด 2.14) การตดิ ตอ่ ส่ือสารในกระบวนการของการจัดคนเข้าทางานเป็นไปอย่างทว่ั ถึง 3) การจูงใจเปน็ ขน้ั ตอนในการกระตุ้นให้เกิดความกระตอื รือรน้ และชกั นาความพยายาม ของพนักงานใหบ้ รรลเุ ป้าหมายองค์การซงึ่ จะเกยี่ วข้องกับการใชค้ วามพยายามของผูจ้ ดั การท่ีจะกระตุ้น ให้พนักงานมีศกั ยภาพในการทางานสูง ดงั นน้ั การนาจะชว่ ยให้งานบรรลผุ ลสาเร็จเสรมิ สร้างขวัญและ จงู ใจผู้ใตบ้ งั คับบัญชาการนาประกอบดว้ ย 3.1) การตดิ ต่อสื่อสารและอธิบายวตั ถุประสงค์ให้แกผ่ ้ใู ต้บังคบั บญั ชาได้ทราบ 3.2) การมอบหมายมาตรฐานของการปฏิบัติงานตา่ ง ๆ 3.3) ให้คาแนะนาและให้คาปรึกษาแกผ่ ู้ใต้บังคบั บญั ชาใหส้ อดคล้องกบั มาตรฐานของ การปฏบิ ตั ิงาน 3.4) การใหร้ างวัลแกผ่ ูใ้ ต้บังคับบญั ชาบนพื้นฐานของผลการปฏบิ ตั งิ าน 3.5) การยกย่องและสรรเสรญิ และการตาหนิติเตียนอย่างยุติธรรมและถูกต้องเหมาะสม 3.6) การจัดหาสภาพแวดล้อมมากระตุ้นการจูงใจโดยการติดตอส่ือสารเพ่ือสารวจความต้องการ และสถานการณ์การเปล่ียนแปลง 3.7) การทบทวน และปรับวธิ ีการของภาวะความเป็นผู้นา เมื่อสถานการณ์เปลยี่ นแปลงและ ผลลัพธข์ องงาน 4) การควบคุมเป็นการติดตามผลการทางาน และแก้ไขปรบั ปรงุ ส่ิงท่จี าเป็นหรือเป็นข้ันตอน ของการวดั ผลการทางานและดาเนนิ การแกไ้ ขเพื่อให้บรรลุผลที่ต้องการซงึ่ การควบคมุ ประกอบด้วย 1) การกาหนดมาตรฐาน

7 2) การเปรยี บเทยี บและติดตามผลการปฏิบตั ิงานกับมาตรฐาน 3) การแก้ไขความบกพร่อง 4) การทบทวนและปรบั วิธกี ารควบคมุ เม่อื สถานการณ์เปล่ียนแปลงและผลลัพธ์ของ การควบคมุ ไมเ่ ป็นไปตามทกี่ าหนด 5) การติดต่อสอ่ื สารในกระบวนการของการควบคมุ เปน็ ไปอย่างท่ัวถงึ โชติ บดีรัฐ (2558 : 43 - 50) ได้กล่าวถึง แนวคิดทางการบริหารโดยใช้หลักเกณฑ์ของ Taylor มีพ้ืนฐานอยบู่ นหลกั การทีส่ าคัญ 4 ประการ ไดแ้ ก่ (1) การคดิ ค้นและกาหนดส่ิงทดี่ ที ่ีสุด (2) การคดั เลือก และพฒั นาคนงาน (3) การพิจารณาอย่างรอบคอบเกีย่ วกบั วธิ ีทางานควบคกู่ บั การพจิ ารณาคนงานและ (4) การประสานงานอย่างใกลช้ ิดระหว่างผบู้ รหิ ารและคนงาน ซึ่งผู้บรหิ ารตามแนวคิดของ Taylor จะมีความ เปน็ ผนู้ าอยา่ งแทจ้ ริง ต้องรับภาระหนักกว่าคนงาน ต้องใชส้ มองคดิ วิเคราะห์ปญั หาของกลุ่ม จดั เตรียม และกาหนดวธิ กี ารทางานท่ดี ีกวา่ งา่ ยกว่า และไดผ้ ลมากกวา่ ใหก้ บั กลุ่ม สรุปไดว้ า่ แนวคิดดงั กลา่ วขา้ งต้นจะพบว่าการบรหิ ารองค์กรจะครอบคลมุ เรอ่ื งการทางาน เป็นทมี การมสี ว่ นรว่ มในการตัดสินใจรว่ มกัน ซง่ึ แตล่ ะแนวคิดจะมเี ป้าหมายไปในทิศทางเดยี วกัน คอื การทางานใหส้ าเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ขององค์กรแตล่ ะแนวคดิ ต่าง ๆ เหลา่ น้ีมจี ุดมงุ่ เน้นหรือ วิธกี ารจัดการเพื่อไปใหถ้ งึ เป้าหมายแตกต่างกันไป 2.1.2 แนวคิดในกำรบรหิ ำรจดั กำร (management concepts) การบริหารจดั การที่มีประสิทธิภาพจะตอ้ งมีการแบง่ งานกันทาตามความเหมาะสมและ ความจาเป็นเพ่ือให้การทางานของหน่วยงานบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ไดม้ ีผู้กลา่ วถงึ แนวคิด ในการ บรหิ ารไว้ตา่ งๆ ดงั น้ี สาคร สขุ ศรีวงศ์ (2550 : 45) กลา่ วถงึ แนวคดิ การจดั การสามารถแบง่ ได้ ดังนี้ 1) แนวคดิ การจัดการเชิงวทิ ยาศาสตร์ 2) แนวคดิ การจดั การเชงิ บรหิ าร 3) แนวคดิ การจัดการเชิงพฤติกรรม 4) แนวคิดการจัดการเชิงปริมาณ 5) แนวคิดการจัดการรว่ มสมัย ศริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ (2552 : 19) ไดก้ ล่าวไว้ถงึ แนวคิดในการบริหารจัดการโดย แบ่งตามหนา้ ท่ขี องการบริหารจัดการออกเป็น 4 หน้าทค่ี ือ 1) การวางแผนเปน็ ขัน้ ตอนในการกาหนดวัตถปุ ระสงค์และพจิ ารณาถงึ วธิ กี ารที่ควร ปฏบิ ัตเิ พือ่ ให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์นัน้ ดังนัน้ ผู้บรหิ ารจงึ ต้องตัดสินใจวา่ องคก์ รมีวตั ถุประสงคอ์ ะไรในอนาคต และจะต้องดาเนนิ การอย่างไรเพ่ือให้บรรลุผลสาเร็จตามวัตถปุ ระสงคน์ น้ั ลกั ษณะการวางแผนมดี ังนี้ 1.1) การดาเนินการตรวจสอบตวั เอง เพ่อื กาหนดสถานภาพในปัจจบุ ันขององค์การ

8 1.2) การสารวจสภาพแวดล้อม 1.3) การกาหนดวัตถุประสงค์ 1.4) การพยากรณสถานการณ์ในอนาคต 1.5) การกาหนดแนวทางปฏิบตั ิงานและความจาเปน็ ในการใช้ทรพั ยากร 1.6) การประเมินแนวทางการปฏบิ ตั งิ านท่ีวางไว้ 1.7) การทบทวนและปรับแผนเมื่อสถานการณ์เปลีย่ นแปลงและผลลัพธ์ของการควบคุม ไมเ่ ป็นไปตามท่ีกาหนด 1.8) การติดต่อสื่อสารในกระบวนการของการวางแผนเป็นไปอยา่ งทว่ั ถึง 2) การจัดองค์การ เป็นขน้ั ตอนในการจดั หาบุคคลและทรัพยากรทีใ่ ช้สาหรบั การทางานเพอ่ื ให้ บรรลุจุดมุ่งหมายในการทางานนนั้ หรอื เป็นการจัดแบ่งงานและจดั สรรทรัพยากรสาหรับงานเพ่ือให้ งานเหล่านั้นสาเรจ็ การจัดองค์ประกอบด้วย 2.1) การระบุและอธบิ ายงานที่จะถูกนาไปดาเนินการ 2.2) การกระจายงานออกเป็นหนา้ ท่ี 2.3) การรวมหน้าทีต่ า่ งๆ เข้าเป็นตาแหน่งงาน 2.4) การอธบิ ายสิง่ ที่จาเป็นหรือความต้องการของตาแหน่งงาน 2.5) การรวมตาแหน่งงานต่าง ๆ เป็นหน่วยงานทีม่ ีความสัมพนั ธ์อย่างเหมาะสมและ สามารถบริหารจัดการได้ 2.6) การมอบหมายงาน ความรบั ผิดชอบและอานาจหน้าที่ 2.7) การทบทวนและปรับโครงสร้างขององคก์ รเมอื่ สถานการณ์เปล่ยี นแปลงและ ผลลพั ธ์ของการควบคมุ ไม่เป็นไปตามท่ีกาหนด 2.8) การติดต่อส่อื สารในกระบวนการของการจัดองค์เปน็ ไปอย่างทัว่ ถึง 2.9) การกาหนดความจาเป็นของทรพั ยากรมนุษย์ 2.10) การสรรหาผู้ปฏบิ ัตงิ านทมี่ ีประสิทธภิ าพ 2.11) การคดั เลือกจากบุคคลทส่ี รรหามา 2.12) การฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ต่าง ๆ 2.13) การทบทวนปรับคณุ ภาพและปริมาณของทรัพยากรมนุษย์เมอื่ สถานการณ์ เปล่ยี นแปลงและผลลัพธ์ของการควบคุมไม่เป็นไปตามทก่ี าหนด 2.14) การตดิ ตอ่ สอื่ สารในกระบวนการของการจัดคนเข้าทางานเป็นไปอย่างทว่ั ถึง 3) การจูงใจเป็นข้ันตอนในการกระตุ้นให้เกิดความกระตอื รือรน้ และชักนาความพยายาม ของพนักงานให้บรรลุเป้าหมายองค์การซ่ึงจะเก่ียวข้องกับการใช้ความพยายามของผู้จัดการที่จะกระตุ้น

9 ให้พนักงานมีศักยภาพในการทางานสูง ดังน้ันการนาจะช่วยให้งานบรรลุผลสาเร็จเสริมสร้างขวัญและ จงู ใจผู้ใตบ้ ังคบั บัญชาการนาประกอบด้วย 3.1) การติดต่อส่ือสารและอธิบายวตั ถุประสงค์ให้แกผ่ ูใ้ ตบ้ ังคบั บญั ชาได้ทราบ 3.2) การมอบหมายมาตรฐานของการปฏบิ ัติงานตา่ ง ๆ 3.3) ให้คาแนะนาและให้คาปรึกษาแกผ่ ู้ใตบ้ ังคับบัญชาใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานของ การปฏิบตั งิ าน 3.4) การใหร้ างวลั แกผ่ ใู้ ต้บังคับบญั ชาบนพื้นฐานของผลการปฏิบตั งิ าน 3.5) การยกย่องและสรรเสริญและการตาหนิติเตยี นอย่างยุติธรรมและถูกต้องเหมาะสม 3.6) การจัดหาสภาพแวดล้อมมากระตุ้นการจูงใจโดยการติดตอส่ือสารเพื่อสารวจความต้องการ และสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง 3.7) การทบทวน และปรบั วิธกี ารของภาวะความเป็นผู้นา เมื่อสถานการณ์เปลยี่ นแปลงและ ผลลพั ธข์ องงาน 4) การควบคุมเป็นการติดตามผลการทางาน และแก้ไขปรบั ปรงุ สง่ิ ทีจ่ าเป็นหรือเป็นขั้นตอน ของการวัดผลการทางานและดาเนินการแกไ้ ขเพื่อให้บรรลุผลท่ีต้องการซ่ึงการควบคมุ ประกอบด้วย 1) การกาหนดมาตรฐาน 2) การเปรียบเทียบและติดตามผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐาน 3) การแก้ไขความบกพร่อง 4) การทบทวนและปรบั วธิ กี ารควบคุม เมอ่ื สถานการณ์เปล่ียนแปลงและผลลพั ธ์ของ การควบคุมไมเ่ ป็นไปตามท่กี าหนด 5) การตดิ ต่อสื่อสารในกระบวนการของการควบคมุ เปน็ ไปอย่างทว่ั ถึง โชติ บดีรัฐ (2558 : 43 - 50) ได้กล่าวถึง แนวคิดทางการบริหารโดยใช้หลักเกณฑ์ของ Taylor มีพื้นฐานอยู่บนหลักการท่ีสาคัญ 4 ประการ ได้แก่ (1) การคิดค้นและกาหนดส่ิงที่ดีท่ีสุด (2) การคัดเลือก และพัฒนาคนงาน (3) การพิจารณาอย่างรอบคอบเกี่ยวกับวิธีทางานควบคู่กับการพิจารณาคนงานและ (4) การประสานงานอย่างใกลช้ ิดระหว่างผู้บริหารและคนงาน ซึ่งผู้บริหารตามแนวคดิ ของ Taylor จะมีความ เป็นผู้นาอย่างแท้จริง ต้องรับภาระหนักกว่าคนงาน ต้องใช้สมองคิดวิเคราะห์ปัญหาของกลุ่ม จัดเตรียม และกาหนดวธิ กี ารทางานทด่ี ีกว่า ง่ายกวา่ และไดผ้ ลมากกว่าใหก้ บั กลุ่ม สรุปได้ว่าแนวคิดดังกลา่ วข้างต้นจะพบว่าการบริหารองค์กรจะครอบคลุม เรื่องการทางาน เป็นทีมการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจร่วมกัน ซ่ึงแต่ละแนวคิดจะมีเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน คือ การทางานให้สาเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์กรแต่ละแนวคิดต่าง ๆ เหล่าน้ีมีจุดมุ่งเน้นหรือ วธิ กี ารจัดการเพ่ือไปให้ถงึ เปา้ หมายแตกต่างกนั ไป

10 2.1.3 องคป์ ระกอบของกำรบรหิ ำรจัดกำร ศจี อนันต์นพคุณ (2552 : 2 - 3) กล่าวถงึ องค์ประกอบของการบริหารว่า ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ทรัพยากรการบรหิ ารหรือปจั จัยการบริหาร (administrative resources) กระบวนการ บริหาร (administration process) และวตั ถปุ ระสงค์ของการบริหาร (objective) ซ่ึงเขียนความสมั พนั ธ์ ได้ดังภาพที่ 2.1 ปจั จยั การบรหิ าร วัตถปุ ระสงค์ กระบวนการ (input) (objective) บริหาร 4 M’s PODC (process) Man Planning Money Organizing 4 E’s Economic Material Directing Efficiency Management Controlling Effectiveness feed back Equity ภาพที่ 2.1 องค์ประกอบของการบริหาร ทม่ี า: ศจี อนันตน์ พคุณ (2552 : 3) วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2552 : 11 - 14) ได้กล่าวถึง ตัวชี้วัดในการบริหารจัดการว่าแบ่ง ออกเป็น 3 ส่วนได้แก่ ปัจจัยนาเข้า (input) ปัจจัยกระบวนการ (process) และปัจจัยผลผลิต (output) ตามรายละเอยี ดดังนี้ 1. ปัจจัยนาเข้า หมายถึง ตัวชี้วัดการบริหารจัดการที่เป็นปัจจัยที่มีส่วนสาคัญต่อการบริหาร จัดการหรือประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ หรือทรัพยากรการจัดการ (management resources) โดยวิรชั วิรัชนิภาวรรณ ได้รวบรวมตัวช้วี ัดทีเ่ ป็นปจั จัยนาเข้าไว้ 9 กลมุ่ เร่ิมจาก 3M ถึง11M เช่น 3M ประกอบด้วย คนหรือการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Man) เงินหรือการบริหารงบประมาณ (Money) และการบริหารงานท่วั ไป (Management) ที่ถูกนาเข้าไปในระบบการบริหารจดั การ 2. กระบวนการ หมายถึง ตวั ชวี้ ดั การบรหิ ารจดั การทีป่ ระกอบดว้ ยการดาเนนิ งานหลายข้ันตอน ท่ีหน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรฐั พงึ ดาเนินการ หรือหมายถงึ ตัวชวี้ ดั ท่ีประกอบด้วยหลายข้นั ตอน ท่ีอยู่ในระบบการบรหิ ารจัดการ โดยนาแต่ละขน้ั ตอนมาใช้เป็นเครื่องมือในการปรับเปลย่ี นปัจจยั นาเขา้ ให้เปน็ ปจั จัยนาออกหรือผลผลติ ตามเปา้ หมายหรือวัตถปุ ระสงค์ของหน่วยงานต่อไป 3. ปัจจัยนาออก หมายถึง ตัวชี้วัดการบริหารจัดการท่ีเป็นผลลัพธ์ ผลผลิต ผลการดาเนินงาน หรือเป็นจุดหมายปลายทาง (end(s)) เป้าหมาย (goal(s)) หรือวัตถุประสงค์(objective(s)) ของหน่วยงานที่

11 ออกมาจากกระบวนการในขั้นตอนท่ีสอง ตัวช้ีวัดท่ีเป็นปัจจัยนาออกหรือเป็นเป้าหมายของหน่วยงานนี้ อาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ตัวชี้วัดที่มีเป้าหมายที่มงุ่ แสวงหากาไร (profit) และตัวช้วี ัดทมี่ ีเป้าหมาย ไม่มุ่งแสวงหากาไร (non-profit) หรือแบ่งเป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการผลิตสินค้าหรือผลผลิต (products) และตัวชี้วดั ท่มี ีวตั ถุประสงค์เพื่อใหบ้ ริการ(services) ก็ได้ ศิริพงษ์ เศาภายน (2552 : 44 - 46) ได้กล่าวไว้ว่าการที่จะมีระบบใดระบบหน่ึงขึ้นมาได้ จะต้องมีส่วนประกอบหรือส่ิงต่าง ๆ เป็นตัวป้อน โดยเรียกวา่ “ข้อมูล” เพ่ือดาเนินงานสัมพันธ์กันเป็น “กระบวนการ” เพื่อให้ได้ “ผลลัพธ์” ออกมาตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ ดังนั้น ภายในระบบหนึ่งจะสามารถ แบ่งองค์ประกอบและหน้าท่ี ได้ดังน้ี 1. ข้อมูล (Input) เปน็ การต้งั ปญั หาและวิเคราะหป์ ัญหา การตั้งวัตถุประสงค์ หรือเปน็ การ ป้อนวัตถุดบิ ตลอดจนข้อมลู ต่าง ๆ เพอ่ื การแกป้ ญั หานน้ั 2. กระบวนการ (Process) เปน็ การรวบรวมและวิเคราะหข์ ้อมูลท่ปี ้อนเขา้ มาเพื่อดาเนินการ ตามวัตถปุ ระสงค์ทต่ี ั้งไว้ 3. ผลลัพธ์ (Output) เป็นผลผลติ ท่ีได้ออกมาภายหลังจากการดาเนนิ งานในขน้ั ของ กระบวนการส้นิ สดุ ลง รวมถงึ การประเมนิ ด้วย สรุปได้ว่าองค์ประกอบของการบริหารจัดการไว้ประกอบด้วย ปัจจัยด้านการบริหารหรือปัจจัย นาเข้า (input) กระบวนการบริหารหรือกระบวนการ (process) และปัจจัยนาออกหรือปัจจัยผลผลิต (output) 2.1.4 แนวคิดด้ำนกำรมสี ว่ นร่วม แนวคิดด้านการมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึงกระบวนการที่ ประชาชนหรือผู้มีส่วนได้เสีย มีโอกาสแสดงทัศนะแลกเปล่ียนข้อมูลและความคิดเห็น หาทางเลือก และการตัดสนิ ใจต่างๆ เก่ยี วกบั โครงการที่เหมาะสมและเปน็ ทยี่ อมรับร่วมกัน ดวงใจ ปินตามูล (2555) กล่าวว่าการมีส่วนร่วมของประชาชน คือกระบวนการสื่อสาร สอง ทางระหว่างบุคคลกลุ่มบุคคล ชุมชน หรือประชาชน กับเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ดาเนินโครงการ หรือ นโยบายสาธารณะ หรือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งการมีส่วนร่วมของประชาชนจะเก่ียวข้อง กับการร่วมในกระบวนการตัดสินใจ การร่วมในกระบวนการดาเนินการ และร่วมรับผลประโยชน์โดย มีเป้าหมายของการมีส่วนร่วมของประชาชน คือการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหวา่ งประชาชนและ ผู้ดาเนินโครงการ โดยการให้ข้อมูลต่อประชาชน และประชาชนแสดงความคิดเห็นต่อโครงการหรือ นโยบายเพ่อื ประโยชน์ตอ่ การดารงชพี ทางเศรษฐกจิ และสังคม แนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกับการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยการมีสวนรวม ของ ทุกภาคสวนน้ัน เปนสวนหน่งึ ของการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองประเทศชาตไิ ปในทศิ ทางที่ดขี ้ึน แนวคิดการมีสวนรวมนั้นเกิด และอยูเคียงคูกับการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย เน่ืองจากอานาจ

12 อธิปไตย เปนอานาจสูงสุด ในการปกครองประเทศ มาจากประชาชน และประชาชนเปนผูให ฉนั ทานุมตั ิตาง ๆ กับภาครัฐ ในการบริหารจัดการ เพ่ือใหเกิดความ โปรงใส และเปนไปตามความตอง การแทจริงของประชาชน ซ่ึงถือวาเปนการเขาไปมีสวนรวมอยางแทจริง (Authentic participation) ดังกลาวขางตน จึงไดนามาเปนแนวทางในการกาหนดยุทธศาสตร ในการพัฒนาประเทศ ตาม แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559) ซ่งึ มีเปาหมายการพัฒนาภาย ใตกระบวนการมีสวนรวมของผูเกีย่ วของ จากทุกภาคสวนในสังคมไทย ที่ไดรวมพลงั กันระดมความคิด กาหนดวิสัยทัศน รวมกันของสังคมไทย มุงพัฒนาสู “สังคมเขมแข็ง และมีดุลยภาพ” ใน 3 ดาน คือ สังคมคุณภาพ สังคมแหงภูมิปญญา การรับรู สังคมสมานฉันท และ เอ้ืออาทรตอกัน เพ่ือเสริมสราง ระบบการบริหารจัดการท่ีดีในทุกภาคสวนของสังคมไทย สนับสนุน กระบวนการกระจายอานาจให องคกรปกครองสวนทองถิน่ และชุมชน มีบทบาทในการพัฒนาทองถิน่ ของตนเอง ภายใตระบบบรหิ าร จัดการภาครัฐท่ีมีประสิทธิภาพ ยึดหลักการมีสวนรวม โปรงใส และพรอมที่จะรับการตรวจสอบจาก สังคมโดยรวมการพัฒนาประเทศในอนาคต เพื่อสรางโอกาสใหคนไทยคิดเปนทาเปน มีเหตุผล สามารถรับรูไดตลอดชีวิต พรอมรับการเปล่ียนแปลง สังคมสมานฉันท และเอื้ออาทรตอกันท่ีดารงไว ซ่ึงคุณธรรม คุณคาของเอกลักษณท่ี พึ่งพาเกื้อกูลกัน ตลอดจนมีจารีตประเพณีท่ีดีงาม ในการ พัฒนาอยางตอเนื่อง และการทางานแบบพหุภาคี สามารถประยุกตใชในการทางานเชิงรุก เพื่อเสริม สรางความเขมแข็ง ไดอยางมีประสิทธิผลทั่วถึงใน ทุกพื้นที่ การมีสวนรวมถือวาเปนกลยุทธท่ีสาคัญ เพ่ือจุดมุงหมายในการพัฒนาท่ียั่งยืนมีบทบาทอยางมากเปนหัวใจสาคัญเพ่ือตอบสนองความตองการ ไดตรงจุดมากทีส่ ดุ อยางเปนรปู ธรรม อนั จะนาไปสูความอยูดมี ีสุขของคนไทยทุกคน ความหมายของการมีส่วนร่วม การมีสวนรวมเปนเปาหมายของการพัฒนาสังคมเพ่ือสืบทอด ความยั่งยนื ใหเกิดขึน้ อยางตอเน่ืองเปนองคประกอบสาคญั ในกิจกรรมที่จะสรางความเจริญกาวหนาให เกิดข้ึน สาหรับ ความหมายของการมสี วนรวมนั้นมีนักวิชาการหลายทานนาเสนอไวดังน้ี อาภรณพันธ จันทรสวาง (2552 : 19) ใหความหมายวาการมีสวนรวมน้ันกอใหเกิดการรวมตัวท่ีสามารถจะกระทา การตดั สินใจใชทรัพยากร และมีความรับผดิ ชอบในกิจกรรมที่จะกระทา ในกลุมเปนการเปดโอกาสให ไดรวมในการคิดริเร่ิม การตัดสินใจ รวมลงมือปฏิบัติและรวมรับผิดชอบในเรื่องราวตาง ๆ เพ่ือแกไข ปญหาและนามาซ่ึงความเปนอยูท่ีดีข้ึน เพื่อตอบสนองความ ตองการของประชาชนที่จะชวยให ประสบความสาเร็จตามเปาหมายได การมีสวนรวมเปนผลมาจากการเห็นพอง ตองกันในเรื่องราว ของความตองการและทิศทางของการเปล่ียนแปลง จนเกิดความคิดริเร่ิม เพื่อการปฏิบัติการน้ัน ๆ เหตุผลเบอ้ื งแรกทีค่ นเรามารวมตัวกนั ได จะตองมกี ารตระหนกั วาการกระทาทั้งหมดทีท่ าโดยกลุมหรือ โดยนามของกลุมน้ันกระทาผานกลุมซึง่ เปนเสมอื นตัวนาใหบรรลุถงึ ความเปล่ียนแปลงได สาหรับทวีทอง หงสวิวัฒน์ (2553 : 2) ไดขยายความหมายของการมีสวนรวมวาเปนการ พัฒนา ขีดความสามารถของคนในการจัดการควบคุมการใชการกระจายทรัพยากรท่ี มีอยูอยางจากัด

13 เพ่ือใหเกิดประโยชนตอการดารงชีพ ทางเศรษฐกิจ และสังคมตามความจาเปนอยาง สมศักดิ์ศรี แสดงออกในการตัดสินใจกาหนดชีวิตของตนเอง เพิ่มความสามารถในการควบคุมทรัพยากรทั้งนี้ ตองเปนสิ่งที่ทุกฝายไดริเร่ิมข้ึนมาเอง มิใชพฤติกรรมท่ีถูกกาหนดขึ้นมาหรือชี้นา โดยฝายรัฐบาลใน กิจกรรมซ่ึงมุงสูการพัฒนาตามนโยบายของภาครัฐ การจะเกิดพลัง ความสามารถ ของกลุมท่ีผนึก กาลังในการพัฒนา ทาใหมีความรูสึกเปนสวนหน่ึงของงานพัฒนา และเปนเจาของ ผลิตผลของการ พฒั นานัน้ นอกจากน้ัน นิรันดร จงวฒุ เิ วศน์ (2553 : 183) ยงั กลาวเพ่ิมเตมิ วาการมสี วนรวมมีความเกยี่ วของทางดาน จิตใจ และอารมณ (Mental and Emotional Involvement) ซึ่งผล ดังกลาวเปนเหตุเรา ใหกระทา (contribution) บรรลุจุดมุงหมายของกลุมนั้น กับทาใหเกิดความรูสึกรวมรับผิดชอบกับเปาหมายดัง กลาวดวย เปนองคประกอบสาคัญเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการวางแผนและการดาเนินการให เกดิ ผลประโยชนสูงสุดในการมีสวนรวม การมสี วนรวมคือ การท่ีทกุ ฝายไดเขาไปจดั การควบคุมการใช และการกระจายทรัพยากรที่ มีอยูเพ่ือประโยชนตอการดาเนินการทางเศรษฐกิจ และสังคม รวมกัน คิดคนหาสาเหตขุ องปญหา และมีความเห็นพองตองกนั ในการท่ีจะดาเนนิ การแกไขปญหาใหบรรลุตาม วัตถุประสงคหรือนโยบายที่วางไว เปนการมีสวนชวยเหลือโดยสมัครใจ เขารวมกับกระบวนการ ตัดสินใจ ตลอดจน รวมรับผลประโยชน และมีจดุ สาคญั ที่จะใหการมีสวนรวมเปนการปฏิบตั ิอยางแข็ง ขัน มีอานาจในการตัดสินใจ ( Share Decision Making) เป นผู กาหนดนโยบาย ( Policy Formulation) กาหนดเปาหมายแผนงาน (Participating on Formulating Objective and Plan) รวมดาเนินการในกระบวนการจัดการ (Participating on Management) รวมรับผิดชอบในเร่ือง ตาง ๆ อันมีผลกระทบถึงทุกคนเพ่ือประโยชนตอการดารงชีพทางเศรษฐกิจและสังคม ท่ีกอใหเกิดสิ่ง ตาง ๆ รวมกนั นนั่ เองจากทีก่ ลาวมา การมีสวนรวมมีความหมายเปน 2 นัย ดวยกนั คือ 1.ความหมายอยางกวาง หมายถงึ การทป่ี ระชาชนเขาไปมีสวนรวมในการกาหนดนโยบาย ของประเทศ การบริหารโดยผานกระบวนการหรอื การเขาไปมีสวนรวมในการบริหารทองถ่ิน และการ เปนสมาชิกสภาทองถ่ินดวย 2. ความหมายอยางแคบ คือ การท่ีประชาชนเขาไปชวยสนับสนุนงานซ่ึงเปนหนาท่ีของ เจาหนาที่ภาครัฐโดยกระทาการภายในกรอบของกฎหมายหรือนโยบายของรัฐ ดังน้ันจากท่ีกลาวมา จุดเร่ิมตนท่ีมีความสาคัญประการหน่ึง ที่จะทาใหเกิดการมีสวนรวมของทุกฝาย ไดอยางกวางขวาง และมีประสิทธิภาพ คือ นโยบาย กฎ ระเบียบ วิธีการสงเสริมจากภาครัฐ หนวยงานท่ีเก่ียวของใน งานวิจัย คร้ังน้ีถือวาเปนสวนหน่ึงในปจจัยที่จะสงผลหรือมีอิทธิพลตอการมีสวนรวมการจัดการมูล ฝอยในประเทศไทย ใหเกดิ ประสทิ ธิผล ซง่ึ ผูวิจัยจะทาการหาความจริงในเรื่องน้ตี อไป

14 รูปแบบการมีสวนรวม Cohen and Uphoff (2010 : 213 - 218) ไดอธิบายและวิเคราะห์ การมีสวนรวมโดยแบง ออกเปน 4 รปู แบบ คือ 1. การมีสวนรวมในการตดั สนิ ใจ ตั้งแตในระยะเรม่ิ ของกิจกรรมจนกระท่งั การดาเนนิ กิจกรรมน้ันเสร็จส้ินลง 2. การมีสวนรวมในการดาเนินกิจกรรมซ่ึงอาจเปนไปในรูปแบบของการเขารวมโดยการ ให้มีการสนบั สนุนทางดานทรพั ยากร การเขารวมในการบรหิ าร และการเขารวมในการรวมแรงรวมใจ 3. การมสี วนรวมในผลประโยชน ทงั้ ทางวตั ถุ ทางสงั คมหรอื โดยสวนตัว 4. การมสี วนรวมในการประเมินผล ซงึ่ นบั เปนการควบคมุ และตรวจสอบการดาเนนิ กจิ กรรมท้ังหมด สุรัสวดี หุนพยนต (2549 : 17) ไดเสนอรูปแบบหรือชนิดการมีสวนรวมท่ีกอใหเกิดผลดีตอ กระบวนการพัฒนาไว 4 รูปแบบ ซ่ึงไดแก การมีสวนรวมในการตัดสินใจ (Decision making) ประกอบไปดวย 3 ขั้นตอนคอื 1. ริเรมิ่ ตดั สินใจ ดาเนนิ การตัดสนิ ใจ และตัดสินใจปฏิบัติการ 2. การมีสวนรวมในการปฏบิ ตั ิการ (Implementation) ประกอบดวยการสนบั สนนุ ดานทรพั ยากร การบริหาร และการประสานขอความรวมมือ 3. การมีสวนรวมในผลประโยชน (Benefits) ไมวาจะเปนทางดานวตั ถุผล ทางสังคม หรอื ผลประโยชนสวนตวั 4. การมีสวนรวมในการประเมินผล (Evaluation) ปจจัยท่ีมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรม การมสี วนรวมของผูเก่ียวของ พฤติกรรมการเขามามีสวนรวม เปนปรากฏการณที่สลบั ซับซอน ขึน้ อยู กบั ปจจยั หลายอยาง ท่ีมีน้าหนักความสาคญั มากนอยตางกัน ซ่ึง Mcclosky (2008:12) ไดอธิบายไว ดังนี้คือ 1. ปจจัยทางดานสิ่งแวดลอมสังคม เชนระดับการศึกษา อาชีพ รายได เชื้อชาติ เพศ ระยะเวลาท่ีอยูอาศยั การเปล่ยี นแปลงทางสังคม ส่ิงเหลาน้ีมีความเก่ียวของสัมพันธกับการมีสวนรวม ดวยความสมัครใจของทุกคน 2. ปจจัยทางดานจิตวิทยา ของการเขามามีสวนรวม ท่ีขึน้ อยูกบั วา มีการใหผลประโยชน หรือผลตอบแทนอยางไรบาง ที่สามารถตอบสนองความตองการ เชน การมีอานาจ การแขงขัน ความสาเร็จ ความสัมพันธกบั ผูอนื่ สถานภาพท่ีสงู ขึ้น การยอมรบั จากสงั คม เปนตน 3. ปจจัยดานสิ่งแวดลอมภายนอก เชน นโยบายของแตละรัฐบาล มักมีความแตกต่าง ในดานความตองการที่มีบทบาทมากหรือนอย ไมเทากัน การที่ประชาชนจะตัดสินใจเขามารวม รับผิดชอบในโครงการหรือกิจกรรมตางๆ ขึ้นอยูกับปจจัยสวนบุคคล ปจจัยทางเศรษฐกิจ และสังคม ไดแก อายุ เพศ สถานภาพในครอบครัว ระดับการศึกษา สถานภาพทางสังคม ช้ันทางสังคม ศาสนา

15 อาชีพ รายได และทรัพยสิน สถานภาพทางเศรษฐกิจ ความเชี่ยวชาญ ความเช่ือ ค านิยม นิสัย ประเพณใี นชมุ ชน ทม่ี ผี ลตอการมสี วนรวม เชนเดียวกัน แนวทางในการจดั การแบบมีสวนรวม การมสี ว่ นร่วมของประชาชน หมายถงึ กระบวนการทป่ี ระชาชนหรือผู้มสี ว่ นเก่ยี วข้องได้ แสดงความคดิ เหน็ แลกเปล่ียนข้อมูลและเสนอแนะเทคนคิ วิธกี าร หาทางเลอื กและการตัดสนิ ใจต่าง ๆ เก่ยี วกบั โครงการการบรหิ ารจัดการขยะในโรงเรียนและโครงการ/ กจิ กรรมอื่นๆท่ีเหมาะสมและเป็นท่ี ยอมรับรว่ มกัน 2.2 แนวคดิ และทฤษฎีท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั ขยะในโรงเรยี น 2.2.1 ควำมหมำยของขยะ ขยะหรือขยะมูลฝอย เป็นคาท่ีมักจะใช้ในความหมายเดียวกัน เป็นปัญหาท่ีสาคัญของ ชมุ ชนและสังคม โดยปริมาณของขยะจะเพม่ิ ข้ึนตามการขยายตัวของประชากรและเศรษฐกิจ ถา้ มกี าร จัดการท่ีไม่เหมาะสมหรือไม่ถูกหลักสุขาภิบาลก็จะเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหาสุขภาพอนามัยของ ประชาชน ปัญหาส่ิงแวดล้อม ปัญหา ความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยของชุมชนซึ่งมีผู้ให้ความหมาย ของขยะตา่ งๆดงั นี้ ราชบัณฑิตยสถาน (2552 : ) ไดใ้ หค้ วามหมาย ขยะ ว่าหมายถงึ หยากเยือ่ หรือเศษสิ่งของท่ที ้งิ แล้ว รวมท้งั เศษกระดาษ เศษอาหาร ถงุ พลาสติก ภาชนะท่ีใส่อาหาร มลู สัตว์ ซากสตั ว์ หรือส่ิงใดๆ ท่ีไมต่ ้องการ มักใช้ร่วมกับคาว่า มูลฝอย ซึ่งหมายถึง เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก ภาชนะ ท่ีใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ หรือซากสัตว์ รวมท้ังสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ท่ีเลี้ยงสัตว์ หรือที่อื่น คาว่า ขยะ จึงมีความหมายเช่นเดียวกับคาว่า มูลฝอย และมักจะใช้ร่วมกันเป็น ขยะมูลฝอย คาว่า ขยะ และ ขยะมลู ฝอย กรมควบคุมมลพิษ (2555 : 8) ได้กล่าวไว้ว่า ขยะ ตามความหมายของกรมควบคุมมลพิษ หมายถึง สิง่ ต่างๆ ทีไ่ ม่ต้องการใช้ หรือวัสดุทใี่ ชแ้ ลว้ ซึง่ เกิดจากกิจกรรมต่างๆในชุมชน การดาเนินชีวิต ทั้งในครัวเรือน และจากการประกอบอาชีพ ได้แก่ เศษอาหาร เศษไม้ กระดาษ พลาสติก เศษแก้ว ขวด กระปอ๋ ง รวมถงึ วสั ดขุ องใช้ทีช่ ารุด และสิง่ ของท่ตี ้องการทิง้ ยุพดี เสตพรรณ (2544) ได้กล่าวถึงขยะมูลฝอยว่า หมายถึง เศษส่ิงของท่ีไม่ต้องการแล้ว ส่ิงของที่ชารุดเสียหายใช้ไม่ได้หรือเสื่อมคุณภาพ ต้องกาจัดทาลายหรือส่ิงของที่ต้องท้ิงหรือแจกจ่าย ใหแ้ ก่ผอู้ ่ืน เชน่ เศษกระดาษ เศษอาหาร ขวดแก้ว พลาสตกิ ซากสัตว์ ซากรถยนต์ เป็นต้น สรุปไดว้ ่าขยะ หมายถงึ สิ่งต่างๆทไี่ ม่ตอ้ งการใช้ หรือวัสดทุ ี่ใช้แล้วซ่ึงเกิดจากกิจกรรมตา่ งๆ ซึ่งในการศึกษาครั้งน้ี ขยะในโรงเรียน หมายถึง สิ่งต่างๆท่ีไม่ต้องการใช้ หรือวัสดุท่ีใช้แล้วซึ่งเกิดจาก กิจกรรมต่างๆในโรงเรียน ได้แก่ เศษอาหาร เศษไม้ กระดาษ พลาสติก เศษแกว้ ขวด กระป๋อง รวมถึง วัสดุของใชท้ ่ีชารดุ และสงิ่ ของทตี่ อ้ งการท้งิ

16 2.2.2 ประเภทของขยะ 1.2.1 การจาแนกประเภทตามคุณลักษณะและองค์ประกอบซ่ึงอาณัติ ต๊ะปินตา (2553 :) ได้จาแนก ดงั น้ี 1) การจาแนกตามลักษณะทางกายภาพ เป็นการจาแนกขยะมูลฝอยตามลักษณะท่ี ปรากฏและมองเห็นจากภายนอก ซง่ึ สามารถจาแนกออกไดด้ ังนี้ 1.1) ขยะเปียก (garbage) หมายถึง ขยะมูลฝอยท่ีเปน็ สารอินทรยี ์ชนิดต่างๆและมี ความชื้นสูงสามารถย่อยสลายได้ง่ายโดยกระบวนการทางชีวภาพ เช่น เศษอาหาร เศษพืชผักและ ผลไม้ เศษหญ้า เป็นต้น ดังนั้นจึงจาเป็นต้องทาการเก็บขนและนาไปกาจัดทาลายหลายอย่างรวดเร็ว เพ่อื ป้องกันกล่นิ เหม็นจากการเน่าเสยี ของขยะประเภทน้ี 1.2) ขยะแห้ง (rubbish and trash) หมายถึง ขยะมูลฝอยที่เกิดข้ึนในรูปของสารอินทรีย์ และสารอนนิ ทรีย์ ซึ่งมีความช้นื ตา่ ยอ่ ยสลายด้วยกระบวนการทางชีวภาพไดย้ าก เช่น กระดาษ กล่องกระดาษ เศษก่ิงไม้ใบไม้ เศษยาง เศษผ้า เศษแก้วหรือขวดแก้ว เศษหนังหรือผลิตภัณฑ์หนัง เศษพลาสติกเศษ กระป๋องโลหะ เป็นตน้ 1.3) เถ้า (ash) หมายถึง ซากของแข็งที่เหลือจากการเผาไหม้ของเช้ือเพลิงประเภทฟืน หรือถา่ นหินท่ีใหพ้ ลงั งานความร้อนท้งั ในบา้ นพักอาศยั ในอาคาร หรือในโรงงานต่างๆ ฯลฯ 1.4) เศษส่ิงก่อสร้าง (demolition and construction waste) หมายถึง ขยะมูล ฝอยที่เกิดจากการก่อสร้างหรือการร้อื ถอน อาคาร เช่น เศษเหล็ก เศษอิฐ เศษปูนซีเมนต์ เศษกระเบ้ืองเซรามิก เศษทอ่ พีวซี ี เศษสายไฟ เศษหินและเศษไม้ เป็นตน้ 1.5) ซากสัตว์ต่างๆ (dead animal) หมายถึงซากสัตว์ต่างๆท้ังท่ีเกิดข้ึนในชุมชน เช่น สตั วเ์ ล้ียงตามบ้านเรือนทีต่ ายลงจากภาคเกษตรกรรม เช่น ซากสตั ว์ในฟารม์ ปศุสัตว์ต่างๆ ท่อี าจตายลง จากการเกิดโรคระบาดและจากภาคอุตสาหกรรม เช่น เศษช้ินส่วนของสัตว์ท่ีเหลือจากโรงงานผลิต อาหารสาเรจ็ รปู หรอื อาหารกระปอ๋ ง เปน็ ต้น 1.6) ตะกอนจากระบบบาบัดน้าเสยี (sludge) หมายถึง กากตะกอนทีเ่ กิดจากการ บาบัดน้าเสียในระบบบาบัดน้าเสียของชุมชนหรือภายในโรงงานทั้งหลาย โดยอาจมีลักษณะเป็นของแข็ง หรือกึ่งของแข็งมีท้ังส่วนที่สามารถย่อยสลายได้และย่อยสลายไม่ได้ด้วยขบวนการทางชีวภาพ กากตะกอน เหลา่ น้ีหากปลอ่ ยท้ิงไว้โดยไมก่ าจัดอาจถกู ชะล้างลงสู่แหลง่ นา้ หรือไหลซมึ ลงสูช่ ัน้ นา้ ใต้ดนิ ได้ 1.7) ซากผลิตภัณฑเ์ ครื่องใช้ไฟฟ้าและอปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ (Waste from Electronic Equipment,WFEE) หมายถึง ขยะท่ีเกิดข้ึนจากภาคธุรกิจซึ่งผลิตสินค้าประเภทผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ออกมาจาหน่ายในตลาด และเมื่อสินค้าเหล่าน้ันเส่ือมสภาพหรือหมดอายุ การใช้งานลงก็กลายเป็นขยะท่ีต้องนาไปกาจัดทาลาย ซ่ึงส่วนใหญ่มักจะมีขนาดใหญ่ละมีน้าหนักมาก

17 ขยะประเภทนี้ ได้แก่ ซากตู้เย็น เคร่ืองรับโทรทัศน์ เคร่ืองเสียง เครื่องซักผ้า เครื่องปรับอากาศ เครื่อง คอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ เป็นต้น 2) การจาแนกตามองค์ประกอบ เป็นการจาแนกตามลักษณะของขยะมูลฝอยว่าประกอบ ไปด้วยวัตถุใดบ้าง และวัตถุนน้ั มีประโยชน์ทจี่ ะนากลับมาใช้ใหม่ได้อีกหรอื ไม่โดยอาจจาแนกออกเป็น ประเภทต่างๆได้ดังนคี้ ือ 2.1) ขยะอินทรีย์ (Organic Waste) ได้แก่ ขยะมูลฝอยทีส่ ามารถย่อยสลายได้ดว้ ย ขบวนการทางชีวภาพโดยมีจุลินทรีย์ทาหน้าท่ีย่อยสลาย เช่น เศษอาหาร เศษพืชผักและผลไม้ เศษ หญา้ เศษใบไม้และก่ิงไม้ รวมทั้งซากสตั ว์และมูลสัตว์ต่างๆเป็นต้น ขยะประเภทนี้สามารถนากลับมาใช้ ประโยชนไ์ ด้ในรูปของการนามาทาปุ๋ยหมัก 2.2) ขยะที่นากลับมาใช้ประโยชน์ได้ (recycle waste) ได้แก่ ขยะมูลฝอยที่มี นามาแปรรูปเพ่ือใช้ประโยชน์ได้อีก เช่น แก้ว กระดาษ โลหะ เหล็ก พลาสติก อะลูมิเนียม หนังและยาง เป็นต้น ขยะประเภทนเี้ มือ่ นามาทาการคัดแยกผา่ นกระบวนการแปรรูปแลว้ สามารถนามาเป็นวัตถุดิบ เพ่ือใช้ในการผลิตสินค้า หรืออาจนาไปเป็นส่วนผสมกับวัตถุดิบใหม่เพ่ือลดปริมาณการใช้ ทรพั ยากรธรรมชาติลงได้ 2.3) ขยะท่ีนากลบั มาใช้ประโยชน์ไม่ได้ (non recycle waste) ไดแ้ ก่ ขยะมูลฝอย ท่ีไม่สามารถนากลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก เช่น เศษผ้า เศษอิฐและเศษปูนจากการก่อสร้าง เศษวัสดุ ต่างๆจากการร้ือถอนอาคาร เถ้าจากการเผาไหม้เช้ือเพลิงตลอดจนเศษช้ินส่วนของผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บางชนิด เป็นต้น ขยะเหล่านี้ไม่มีศักยภาพในการนากลับมาใช้ได้อีกจึงต้อง นาไปฝังกลบทาลายยงั สถานท่ีฝังกลบเท่านัน้ 2.4) ขยะติดเช้ือ (infectious waste) ได้แก่ ขยะมูลฝอยที่มีเช้อื โรคปนเปือ้ นอยซู่ ึ่ง จะทาให้เกิดอนั ตรายต่อสขุ ภาพอนามัยของมนษุ ย์ได้ เช่น เน้ือเยือ่ หรือชน้ิ ส่วนอวัยวะต่างๆรวมทั้งวัสดุ ท่ีสมั ผัสกับผปู้ ่วย เช่น สาลี ผา้ พันแผล เขม็ ฉีดยา มดี ผา่ ตัด และเส้ือผ้าผู้ป่วย เปน็ ต้น 1.2.2 การจาแนกตามแนวทางการจัดการซ่ึงกรมควบคุมมลพิษ (2558 : 21 - 22) ได้จาแนก ออกเปน็ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) ขยะย่อยสลาย (compostable waste) คือ ขยะที่เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว สามารถนามาหมักทาปุ๋ยได้ เช่น เศษผกั เปลอื กผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ เศษเน้อื สตั ว์ เปน็ ต้น 2) ขยะรีไซเคิล (recyclable waste) คือ บรรจุภัณฑ์ หรือวัสดุเหลือใช้ ซึ่งสามารถ นากลับมาใชป้ ระโยชน์ใหมไ่ ด้ เช่น แก้ว กระดาษ เศษพลาสตกิ กล่องเคร่ืองด่ืมแบบยู เอช ที กระป๋อง เคร่ืองด่มื เศษโลหะ อะลมู ิเนยี ม เปน็ ต้น 3) ขยะอันตราย (hazardous waste) คือ ขยะท่ีมีองค์ประกอบหรือปนเปื้อนวัตถุ อันตรายชนิดต่างๆ ได้แก่ วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทาให้เกิดโรค วัตถุ

18 กรรมมันตรังสี วัตถุที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุท่ีก่อให้เกิดการ ระคายเคือง วัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือส่ิงอื่นใดท่ีอาจทาให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์สินหรือส่ิงแวดล้อม เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอรี่โทรศัพท์เคล่ือนท่ี ภาชนะบรรจสุ ารกาจดั ศัตรูพืช กระปอ๋ งสเปรย์บรรจสุ หี รือสารเคมี เปน็ ต้น 4) ขยะทั่วไป (general waste) คือ ขยะประเภทอ่ืนนอกเหนือจากขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิลและขยะอันตราย มีลักษณะที่ย่อยสลายยากและไม่คุ้มค่าสาหรับการนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น ห่อพลาสติกใส่ขนม ถุงพลาสติกบรรจุผงซักฟอก พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่กึ่งสาเร็จรูป ถุงพลาสตกิ เปอื้ นเศษอาหาร โฟมเปอื้ นอาหาร ฟอยล์เปื้อนอาหาร เป็นต้น 2.2.3 สำเหตุที่ทำใหเ้ กิดปัญหำขยะในโรงเรียน ปัญหาขยะเป็นปัญหาท่ีสาคัญของโรงเรียน แม้ว่าในโรงเรียนต่างๆ จะมีการรณรงค์ให้แยก ขยะเพื่อท้ิงลงในถังแต่ละประเภท ซึ่งทางโรงเรียนได้จัดเตรียมถังขยะแยกประเภทไว้แล้ว แต่ก็ยัง พบวา่ มอี กี หลายปัญหาทย่ี งั เกดิ ขน้ึ อยู่ ซง่ึ สาเหตุสาคญั ท่ที าให้เกดิ ปัญหาขยะในโรงเรยี นมีดงั น้ี 1. ขยะเป็นสิ่งต่างๆที่ไม่ต้องการใช้ ซึ่งขยะในโรงเรียนเป็นปัญหาสาคัญต่อสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพท้ังทางตรง และทางอ้อมของนักเรียน ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับ ปริมาณของขยะ และการจัดการขยะ ซง่ึ สุนยี ์ มลั ลกิ ะมาลย์ (2553 : 34) ไดก้ ลา่ วถงึ สาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหาขยะในโรงเรยี นมดี งั นี้ 1.1 ความมกั งา่ ยและขาดความสานกึ ถงึ ผลเสยี ทจี่ ะเกิดข้ึนเป็นสาเหตทุ ่ีพบบอ่ ยมากซึ่งจะเห็น ได้จากการท้ิงขยะลงตามพนื้ หรือแหล่งน้าโดยไม่ทิ้งลงในถังรองรับท่ีจัดไว้ให้และโรงงานอุตสาหกรรม บางแห่งลักลอบนาส่ิงปฏิกลู ไปท้งิ ตามท่วี ่างเปลา่ 1.2 การผลิตหรือใช้ส่ิงของมากเกินความจาเป็น เช่น การผลิตสินค้าที่มีกระดาษหรือ พลาสติกหุ้มหลายๆช้นั และการซือ้ ส้นิ คา้ โดยห่อแยกหรือใส่ถงุ พลาสติกหลายถุง ทาใหม้ ขี ยะปรมิ าณมาก 1.3 การเก็บและทาลาย หรือนาขยะไปใช้ประโยชน์ไม่มีประสิทธิภาพ จึงมีขยะตกค้าง กองหมกั หมมและสง่ กล่นิ เหมน็ ไปทัว่ บริเวณจนก่อปญั หามลพษิ ให้กบั สิง่ แวดล้อม นอกจากน้ีสมไทย วงษ์เจริญ (2561 : 24) ได้กล่าวว่าสาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหาขยะในโรงเรียน เกิดจากการดาเนินกิจวัตรของนักเรียนในโรงเรียนมักก่อให้เกิดส่ิงของท่ีไม่ต้องการใช้ หรือวัสดุที่ใช้ แล้วซ่ึงเกิดจากกิจกรรมต่างๆ ในโรงเรียน ซึ่งปริมาณของขยะในโรงเรียนจะมากน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัย ดงั น้ี 1) ปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกดิ ข้ึนในแต่ละวันมีมากกว่าความสามารถทจ่ี ะจัดเก็บ และขยะ มูลฝอยที่เก็บได้ ก็จะนาไปกองไว้กลางแจ้ง ให้ย่อยสลายตามธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมมี ขยะมูลฝอยเพียงส่วนน้อยที่ถูกนาไปกาจัดอย่างถูกหลักสุขาภิบาล โดยการถมที่ลุ่มนาไปทาปุ๋ยหมัก และเผาในเตาเผาขยะ สว่ นขยะท่ตี กคา้ งไม่สามารถจัดเก็บไดย้ ังก่อให้เกิดความสกปรกและส่งกลิน่ เหมน็

19 2) การทิ้งขยะมลู ฝอยไม่ถกู ท่ี คือ ไม่ทงิ้ ขยะมูลฝอยลงในภาชนะทจ่ี ัดเตรียมไว้รองรับขยะ แต่ ทิ้งตามความสะดวก เช่น ตามถนนหนทาง ห้องเรียน หรือสนามเด็กเล่น เป็นต้น ซึ่งก่อให้เกิดความ สกปรกของสถานที่น้นั ๆ ทาใหท้ ่อระบายน้าอดุ ตัน 3) การท้งิ ขยะมลู ฝอยโดยไม่แยกประเภทขยะมูลฝอย เชน่ เศษอาหาร เศษกระดาษ ขยะ มูลฝอยท่ีย่อยสลายยาก โฟม ถุงพลาสติก โลหะ หรือขยะมูลฝอยที่เป็นอันตราย เช่น ของมีคม เศษ แกว้ และขยะมลู ฝอยตดิ เช้อื มาทิง้ รวมกนั ทาใหเ้ กิดปญั หาในการแยกขยะมูลฝอย และการทาลาย สรุปได้ว่ากิจกรรมต่างๆ ในโรงเรียนส่งผลให้เกิดสิ่งของท่ีไม่ต้องการใช้และขยะในโรงเรียน สาเหตุเนื่องมาจากการขาดความสานึก การผลิตหรือใช้ส่ิงของมากเกินความจาเป็น การทิ้งขยะมูล ฝอยไม่ถูกที่ การทิ้งขยะมูลฝอยโดยไม่แยกประเภทขยะมูลฝอย ซง่ึ สาเหตุสาคัญทท่ี าให้เกิดปญั หาขยะ ในโรงเรียน 2.2.4 ผลกระทบที่เกิดจำกขยะในโรงเรยี น จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า ขยะในโรงเรียนมีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและสุขภาพ ทัง้ ทางตรงและทางออ้ มของนกั เรยี นได้ ซึ่งสรุปผลกระทบได้ดังน้ี สานกั ระบาดวิทยา (2557 : 22) 1. ผลกระทบต่อสขุ ภาพร่างกายโดยตรง ทาใหเ้ กิดการเจ็บป่วย เกิดโรคทางเดินหายใจ โรค ภมู ิแพท้ างดา้ นผวิ หนงั โพรงจมูก และตา โรคระบบทางเดินอาหาร โรคทางระบบประสาทและกลา้ มเนอ้ื เช่น ปวดศรี ษะ คลน่ื ไส้ 2. ผลกระทบต่อสุขภาพทางออ้ ม ขยะเป็นแหล่งสะสมเพาะพันธขุ์ องสัตว์และพาหะนาโรค ดังนี้ แมลงวันเป็นพาหะนาโรคระบบทางเดินอาหาร อหิวาตกโรค บิด ไทฟอยด์ นอกจากนี้แมลงวัน ยังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของไข่หนอนพยาธิ และเช้ือโปรโตซัว สัตว์กัดแทะ เช่น หนูเป็นพาหะนาโรคสู่คน เช่น โรคฉ่ีหนู หรือโรคเลปโตสไปโรซิส นอกจากน้ีหนูยังเป็นแหล่งอาศัยของปรสิตภายนอกร่างกาย เชน่ หมัด ไร โลน เหา และสามารถแพร่ส่คู นได้ 3. ผลกระทบต่อจิตใจ เช่น เกิดความราคาญ ความเครียด จากความสกปรก ฝุ่นละอองต่างๆ และขาดสมาธิ 4. ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ทาให้เกิดมลพิษของน้า มลพิษของดิน และมลพิษของอากาศ เนื่องจากขยะส่วนท่ีขาดการเก็บรวบรวม หรือไม่นามากาจัดให้ถูกวิธี ปล่อยทิ้งค้างไว้ เม่ือมีฝนตกลง มาจะไหลชะนาความสกปรก เชื้อโรค สารพิษจากขยะไหลลงสู่แหล่งน้า ทาให้แหล่งน้าเน่าเสีย และ นอกจากน้ีขยะยังส่งผลกระทบต่อคุณภาพดนิ โดยเฉพาะขยะอนั ตราย เชน่ ถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอร่ี หลอดฟลอู อเรสเซนต์ ซึง่ มีปริมาณโลหะหนกั ประเภทปรอท แคดเมยี ม ตะก่วั จานวนมาก สารอนิ ทรีย์ ในขยะเม่ือมีการย่อยสลาย จะทาให้เกิดสภาพความเป็นกรดในดิน เม่ือฝนตกชะกองขยะจะทาให้น้า เสียจากกองขยะไหลปนเปื้อนดินทาให้เกิดมลพิษของดิน ถ้ามีการเผาขยะกลางแจ้งจะเกิดควันท่ีมี

20 สารพิษทาให้คุณภาพของอากาศเสยี สว่ นมลพษิ ทางอากาศจากขยะอาจเกิดขึน้ ได้ท้ังจากมลสารท่ีมีอยู่ ในขยะและแก๊สหรอื ไอระเหยท่มี ีกล่ินเหมน็ จากการเนา่ เปื่อยและสลายตวั ของอินทรีย์สาร 5. ทาให้เสียภาพลักษณ์ของโรงเรียน การจัดการขยะท่ีดี มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ย่อมแสดงถึงความเจริญและวัฒนธรรมของโรงเรียน หากการจัดการขยะไม่ดีย่อมก่อให้เกิดความไม่ นา่ ดูขาดความสวยงาม สกปรก และไม่เป็นระเบยี บ ส่งผลกระทบตอ่ ภาพรวมของโรงเรียน นอกจากน้ีพัชรพล ไตรทิพย์ (2559 : 41) กล่าวว่า ปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากการมีปริมาณขยะ มูลฝอยและของเสียอันตรายมากขึ้นในชุมชนและโรงเรียนไม่สามารถเก็บรวบรวมและนาไปกาจัด อย่างมีประสิทธิภาพได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในด้านต่างๆมากมายหากไม่มีการจัดการขยะ ให้ถูกต้องเหมาะสมย่อมจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพและอาจเกิดเป็นสาเหตุของ การเกดิ โรคระบาดได้ จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าขยะในโรงเรียนเป็นปัญหาสาคัญต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ท้ังทางตรงและทางอ้อมของนักเรียน ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับปริมาณของขยะและการจัดการขยะดังน้ันการบริหาร จดั การขยะในโรงเรยี นจงึ มีความสาคัญเพ่ือลดปัญหาที่อาจสง่ ผลกระทบต่อสุขภาพนักเรยี นในโรงเรยี น 2.2.5 นโยบำยสง่ เสริมและสนับสนนุ กำรจัดกำรขยะของ สพฐ. สโู่ รงเรยี นปลอดขยะ นโยบายรฐั บาลและแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) ได้กาหนดให้การบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นการบริหารจัดการขยะและส่ิงแวดล้อมจึงได้มี การบูรณาการหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งด้านการบริหารจดั การขยะ โดยสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ข้นั พื้นฐานเปน็ หน่วยงานหลักทเี่ ก่ียวข้องในการสร้างพลเมืองที่มีคุณภาพในการใหค้ วามรู้ สร้างเจตคติ นาไปสู่การมีความตระหนักและมีจิตสานึกท่ีดีในด้านการจัดการขยะ โดยมุ่งเน้นการสร้างจิตสานึก ทีส่ าคญั ใน 2 ประเดน็ หลกั คอื การสรา้ งจิตสานึกลดปริมาณขยะ ให้เหลอื เฉลย่ี 1 กิโลกรัมต่อคน ตอ่ วันและการใช้ประโยชน์จากขยะ สร้างจิตสานึกและอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม โดยส่งเสริมสนับสนุน ให้ สานักงานเขตพ้ืนที่ สานักงานคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด และสถานศึกษาดาเนินการ ตาม แนวทางดังน้ี 1. การดาเนินการตามแนวทางการจัดการขยะ Zero Waste school ซ่ึงเป็นปรัชญาที่ส่งเสริม การหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใชใ้ หม่ เพื่อเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นการลด ปริมาณของเสียท่ีเกิดข้ึนให้น้อยท่ีสุด โดยใช้หลักการของ 3 Rs (Reduce, Reuse, Recycle) รวมทั้ง การออกแบบผลิตภณั ฑ์ให้สามารถนากลับมาใช้ใหมไ่ ด้เกือบท้ังหมด เพ่ือเป็นการลดปริมาณของเสียที่ สง่ ไปกาจดั โดยวิธกี ารฝงั กลบและเตาเผาทาลายให้มีปริมาณนอ้ ยทีส่ ุด รายละเอียดดังแผนภาพที่ 2.1

21 แผนภำพท่ี 2.1 แนวคดิ การจัดการขยะ Zero Waste ทมี่ ำ: Zero Waste แนวทางการลดขยะให้เหลือศนู ย์ กำรลดปริมำณขยะรปู แบบของ 3 Rs ในสถำนศกึ ษำมีดังนี้ 1. กาหนดนโยบายด้านการจัดการขยะตามรูปแบบของโรงเรียน ZERO WASTE 2. สง่ เสรมิ การจดั กิจกรรมการคัดแยก ขยะ4 ประเภท ได้ขยะท่วั ไป ขยะย่อย สลาย ขยะรี ไซเคิล และขยะอันตราย 3. ส่งเสริมกจิ กรรม 1A3R ลดขยะในสถานศกึ ษา 1A3R คอื กลยทุ ธใ์ นการจดั การกบั ขยะมูล ฝอยท่ีเรมิ่ ตน้ ท่ีจะมีขยะเกดิ ข้ึน ประกอบดว้ ยข้นั ตอนตั้งแต่การงด - เลิก ลด ใช้ซ้าและหมุนเวยี นกลับมา ใช้ใหม่เป็นหลักการแกป้ ญั หาขยะแบบประหยัด ท่ีไมต่ ้องอาศัยงบประมาณทางราชการใดๆ แตต่ อ้ ง อาศัยความต้งั ใจ เสียสละเวลา รวมทั้งงบประมาณสว่ นตัว โดยมคี วามหมาย ดังน้ี 3.1 Avoid หรอื งด – เลิก เปน็ การงดหรอื เลิกการบรโิ ภคท่ีเปน็ อันตรายต่อผบู้ รโิ ภค โดยตรงการบรโิ ภคทีเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ ผู้อืน่ และต่อระบบนิเวศ โดยจะต้องงดหรอื เลิกบรโิ ภค 3.1.1 ผลิตภัณฑท์ ใี่ ช้แล้วทง้ิ เลย 3.1.2 ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็นอนั ตรายตอ่ ผใู้ ชแ้ ละระบบนิเวศ 3.1.3 ผลิตภณั ฑ์ท่ีทาจากสัตว์ปา่ หรือชนิ้ สว่ นของสัตวป์ ่าทุกชนิด 3.1.4 กิจกรรมท่ีทาใหเ้ กิดอันตรายต่อชวี ติ มนษุ ย์และสภาพแวดลอ้ ม 3.2 Reduce หรือลดการบรโิ ภคท่จี ะทาให้เกิดการรอ่ ยหรอของทรพั ยากรทม่ี ีอยู่ อยา่ งจากัด ทรพั ยากรท่ีใชแ้ ล้วหมดไป รวมท้ังทรัพยากรที่ทดแทนใหม่ไดบ้ างชนดิ กต็ ้องลดการใช้ เนอ่ื งจากทาใหเ้ กดิ การเสียสมดลุ ของระบบนิเวศ โดยการลดการใชท้ รพั ยากร ดังนี้ 3.2.1 ทรพั ยากรที่ใช้แลว้ หมดไป 3.2.2 ทรัพยากรทท่ี ดแทนใหม่ได้

22 3.2.3 ผลิตภณั ฑ์ท่เี มอ่ื นามาใช้ จะทาให้เกิดความเสยี หายต่อระบบนเิ วศ 3.2.4 ผลิตภัณฑท์ ไ่ี ด้จากขบวนการผลิตทีต่ ้องใชพ้ ลงั งานมาก 3.3 Reuse หรือใช้ซ้า - ใช้แลว้ ใช้อีกเป็นอกี ทางเลือกหน่ึงของการบริโภคอย่างเหมาะสม เพ่ือลดการร่อยหรอของทรัพยากรท่ีมีอยู่ และลดการปล่อยมลพิษสู่สภาพแวดล้อม โดยการนาผลิตภัณฑ์ และทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ในลักษณะท่ีเหมือนเดิม ไม่มีการเปล่ียนรูปทรงด้วยการหลอม บด แยก ใดๆ เพือ่ หลกี เลย่ี งการสญู เสยี พลงั งาน เช่น 3.3.1 เสอื้ ผา้ ทุกชนดิ 3.3.2 ภาชนะบรรจุทที่ าด้วยแก้วทกุ ชนดิ 3.3.3 ภาชนะบรรจอุ น่ื ๆ เชน่ ลงั กระดาษ ลังพลาสตกิ ฯลฯ 3.3.4 กระดาษ 3.4 Recycle หรือหมนุ เวียนกลับมาใหม่ผลิตภัณฑบ์ างชนิดแม้จะมีความคงทนแต่กลับ มอี ายุการใชง้ านสั้น มปี ริมาณการใช้มากทาให้หมดเปลืองทรัพยากรและพลงั งานอย่างรวดเร็ว จงึ ควร ใช้ผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ประเภทน้ีอย่างระมัดระวังและให้เกิดประโยชน์คุ้มค่ามากท่ีสุดเพ่ือลด ปริมาณของเสียท่ีจะถ่ายเทสู่สภาพแวดล้อม และเมื่อเลิกใช้แล้วควรจะจัดการเพ่ือนาเอาทรัพยากรที่ คร้ังหนึ่งถูกแปรเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ดังกล่าว หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ ซ่ึงจะต้องผ่านกระบวนการ หลอมละลาย บด อัด ฯลฯ ผลติ ภัณฑท์ ่ีสามารถนามาหมนุ เวียนกลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้ มดี งั นี้ 3.4.1 แกว้ ไดแ้ ก่ ขวดแก้วต่างๆ ทง้ั ท่ีมีสีใส สีนา้ ตาลและสเี ขียว 3.4.2 กระดาษ ไดแ้ ก่ กระดาษหนังสอื พิมพ์ กล่องกระดาษ ถงุ กระดาษ สมุด กระดาษสานกั งาน หนงั สือต่างๆ 3.4.3 โลหะ ไดแ้ ก่ วสั ดหุ รือเศษเหล็กทุกชนดิ กระป๋องอลมู เิ นยี ม ทองแดง ทองเหลือง 3.4.4 พลาสตกิ ได้แก่ ขวดนา้ พลาสตกิ ใส ขวดน้าพลาสติกสีขาวขนุ่ ถงุ พลาสติก เหนยี วภาชนะพลาสตกิ ต่างๆ (กะละมงั ถงั นา้ ขวดแชมพู) รวมถงึ บรรจภุ ณั ฑ์ท่ีมีสัญลกั ษณร์ ีไซเคลิ นอกจากน้ีเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ซึ่งเปน็ หลักสูตรแกนกลางของประเทศ มีจดุ ประสงค์ทจี่ ะพัฒนาผเู้ รยี นให้เป็นคนดี มปี ญั ญา มคี ณุ ภาพ ชีวิตท่ีดีสามารถดารงชีวิตอย่างมีความสุขได้บนพ้ืนฐานของความถนัดและความสามารถของแต่ละ บุคคลซึ่งปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาหนึ่งด้านส่ิงแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเราและสังคม ปัจจุบันการเรียน การสอนของครูจะต้องปรับเปล่ียนในหลายด้าน เพื่อทาให้เด็กเกิดทักษะ ความคิดรวบยอด และเจต คติท่ีดีต่อการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม สามารถนาปัญหาส่ิงแวดล้อมมาแก้ไขด้วยตนเอง เพื่อประโยชน์สุข ของตนเองและสังคม เกษม จันทร์แก้ว (2558 : 142 – 143) ได้กล่าวถึงการจัดการเรียนการสอนเพ่ือสร้างความรู้ พ้ืนฐานไปสู่กระบวนการสิ่งแวดล้อม และกระบวนการวิทยาศาสตร์ควบคู่กันไปเพื่อสร้างจิตสานึก

23 สิง่ แวดล้อม โดยมขี ั้นตอนในการสอดแทรก 5 ขัน้ เพอ่ื ให้ให้ผเู้ รียนเกิดความรู้ เจตคติ ความสานึก การตอบโต้ และทักษะทางสิง่ แวดลอ้ มท่ถี กู ต้อง ดังน้ี 1. ความรู้ (Knowledge) ทางสิ่งแวดล้อมนั้นต้องเป็นความรู้ในแนวกว้าง ซึ่งเป็นฐานสาคัญ ของจิตสานึกทางสิ่งแวดล้อม หมายความว่า รู้หลายสาขาหรือเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความรู้ เฉพาะทาง ส่ิงแวดล้อมน้ันๆ นอกจากน้ีการรู้จักผสมผสาน (Integration) ก็เป็นอีกเรื่องหน่ึงท่ีสาคัญเช่นกันที่จะ ก่อให้เกิดความรู้ทางส่ิงแวดล้อมในแนวกว้าง ซ่ึงหมายถึงการที่ความรู้เฉพาะด้านน้ันมีการเช่ือมโยงกับ ความรู้ทางด้านอื่นๆ ในลักษณะและทิศทางอันเป็นสิ่งสาคัญของจิตสานึกท่ีต้องปลูกฝัง ทั้งนี้เพื่อจะเป็น ความรู้อย่างมีเหตุผล สามารถสร้างมโนภาพที่เป็นธรรมชาติของสิ่งนั้น ปัญหาและเหตุของปัญหาแนวทางแก้ไข แผนการแกไ้ ขและอื่นๆได้ 2. เจตคติ (Attitudes) เป็นระดับความเข้มข้นของเน้ือหาสาระของจิตสานึกทางส่ิงแวดล้อม ต่อจากความรู้ หมายความว่า ต้องมีความรู้อย่างถูกต้องตามหลักการ คือ รู้กว้างและรู้การผสมผสาน ซึ่งตอ้ งมกี ารได้เห็น หรอื สมั ผัสของจริง และรว่ มกิจกรรมกับกิจกรรมเสริมที่ผู้บริหารวางแผนไวโ้ ดยเชือ่ ว่า การได้เห็นความเป็นจริง ปรากฏการณ์ พฤติกรรมในสิ่งเหล่านั้น รวมท้ังได้มีการร่วมกิจกรรมก็สามารถ มีเจตคตทิ ่ถี กู ตอ้ งและมน่ั คงตลอดไป 3. ความสานึก (Awareness) เป็นระดับความเข้มข้นของเน้ือหาสาระในระดับท่ีสามของการ สร้างจิตสานึกทางสิ่งแวดล้อมโดยการกาหนดกระบวนรายวิชา รายละเอียดรายวิชาให้มีเน้ือหาถึงข้ันละเอียด ผูเ้ รียนจะมีความรอู้ ย่างลึกซึ้ง เข้าใจอยา่ งฝังแน่น อีกทั้งต้องสร้างบทปฏิบตั ิการ อาจทดลองในหอ้ งปฏบิ ัติการ ทดลองในพ้ืนทีจ่ รงิ ทากิจกรรมรว่ ม เขยี นรายงานบทปฏิบัตกิ าร ทารายงาน เสนอผลงานตอ่ หนา้ กลมุ่ ผ้เู รียน เปน็ ตน้ 4. การตอบโต้ (Sensitivity) ในทางสง่ิ แวดล้อม หมายความว่า เมือ่ เกิดเหตุการณ์ใด หรือส่ิงใดบงั เกิดข้ึน ประสาทหรือความรู้ท่ีได้สะสมไว้จะมีการตอบโต้โดยอัตโนมัติ แต่ถ้าไม่มีการตอบโต้เลย หมายถึงว่า การสร้าง ความสานึกหรือจิตสานึกยังไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ใช้ได้ วิธีการสร้างให้เกิดอาการตอบโต้ หรือเกิดความรู้สึกก็คือ การสร้างพัฒนาการโดยการฝึกหัดทา หรือฝึกให้ทา อาจเป็นการบังคับจากกฎหมาย การให้ความรู้ ฝึก โดยการสมคั รใจและเตม็ ใจรบั การฝึกหัด 5. ทักษะ (Skills) เป็นระดบั สูงสดุ ในเนื้อหาสาระของการสร้างจติ สานึกทางสิ่งแวดล้อมเป็นระดับ ท่ีสร้างทักษะการทาได้อย่างถูกต้องและชานาญการ วิธีการสร้างทักษะท่ีมีประสิทธิภาพ คือการฝึกทา ฝึกหัดทา ฝึกการเขียน ฝึกบรรยาย ฝึกการเสนอผลงานฝึกสอน และฝึกเป็นผู้ดาเนินการในเฉพาะเรื่อง นั้นๆ ตามเวลาทเี่ หมาะสม การทดสอบปรมิ าณและคณุ ภาพจากผทู้ รงคุณวฒุ ิกส็ ามารถทราบได้ สรุปได้ว่าปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาหน่ึงด้านสิ่งแวดล้อมท่ีอยู่รอบตัวเราและสังคม ในปจั จุบนั ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี ไม่หยุดน่ิง ทาใหม้ นษุ ย์ต้องปรับตัวเองให้เข้ากับสภาพที่เปล่ียนไป การเรียนการสอนของครูจะต้องปรับเปล่ียนในหลายด้าน เพื่อทาให้เด็กเกิดทักษะ ความคิดรวบยอด และเจตคติที่ดีต่อการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม สามารถนาปัญหาสิ่งแวดล้อมมาแก้ไขด้วยตนเอง โดยสอดแทรก

24 เนื้อหาเกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมเพ่ือสร้างจิตสานึกทางสิ่งแวดล้อมเพ่ือให้ให้ผู้เรียนเกิดความรู้ เจตคติและทักษะ ทางสิ่งแวดลอ้ มทถ่ี ูกต้อง 2.2.6 หลกั กำรบริหำรจดั กำรขยะในโรงเรยี น กรมส่งเสริมคณุ ภาพส่ิงแวดล้อม (2554 : 22 - 23) ระบวุ า่ การบริหารจัดการขยะ คือ การท่ีลด ปรมิ าณขยะมลู ฝอยที่ต้องทาลายดว้ ยระบบต่าง ๆ ใหเ้ หลือน้อยที่สุด และนาขยะมลู ฝอยมาใช้ประโยชน์ ได้ไม่ว่าจะเป็นการใชซ้ ้า และแปรรูปนามาใช้ใหม่ (Reuse & Recycle) รวมถึงการกาจัด ทเี่ กดิ ผลพลอยได้ เชน่ ปยุ๋ หมกั หรือพลังงาน โดยสรปุ วธิ ีการดาเนนิ การตามแนวทางของกรมส่งเสรมิ คณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม ดงั น้ี 1. การลดปริมาณขยะมลู ฝอย (Reduce) สามารถทาได้ดังต่อไปน้ี 1.1 การลดปริมาณขยะมลู ฝอยที่เกดิ จากการใช้สนิ คา้ ควรเลือกใชส้ ินค้าท่ีมีความ คงทนถาวร หรือมีอายุการใชง้ านที่ยาวนาน และเลือกใช้สนิ คา้ ชนดิ เดมิ 1.2 การลดปริมาณวัสดุเลือกใช้วัสดทุ มี่ ีบรรจุภณั ฑ์ขนาดใหญ่ แทนบรรจภุ ณั ฑ์ขนาด เล็ก เพอ่ื ลดปริมาณของบรรจุภัณฑท์ ี่จะกลายเปน็ ขยะมูลฝอย 2. การนากลับมาใช้ (Reuse) คอื การนาขยะมูลฝอยท่เี ป็นเศษวสั ดนุ ากลบั มาใชซ้ า้ อกี ครง้ั เปน็ การนามาใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น การนาขวดนา้ ดื่ม การนาขวดน้าหวาน การนาขวดต่าง ๆ นากลบั มาใสน่ ้าตาล เป็นการนาสิ่งของต่าง ๆ เหล่านี้มาใช้ซ้าหลาย ๆ ครั้ง กอ่ นจะนาไปทิ้ง 3. การนากลบั มาแก้ไข (Repair) เปน็ การนาวสั ดุอุปกรณท์ ่ีชารดุ เสียหาย ซงึ่ จะทง้ิ เปน็ มลู ฝอยมาซ่อมแซมใชใ้ หม่ เชน่ เกา้ อ้ี 4. การแปรสภาพ หรอื นากลับมาใชใ้ หม่ (Recycle) เป็นการนาวัสดุท่ีเหลือใชม้ าผลติ ให้เป็นสนิ ค้าใหม่ โดยนาขยะมลู ฝอยมาแปรรูปตามทีต่ ้องการ และนากลบั มาใชป้ ระโยชนอ์ ีกคร้ัง อย่างเช่น พลาสติก กระดาษ ขวด โลหะต่าง ๆ นากลบั มาหลอมใหม่ 5. การหลีกเลี่ยงการใช้วัสดุที่ก่อให้เกิดมลพิษ เป็นการหลีกเลี่ยงการใช้วัสดุท่ีย่อยสลาย ทาลายยาก หรอื วสั ดทุ ี่ใช้เพยี งครงั้ เดยี วแลว้ ทงิ้ เช่น โฟม โดยปฏเิ สธการใชผ้ ลติ ภัณฑท์ ่ผี ดิ วตั ถุประสงค์ นอกจากน้ี กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม (2555 : 11) ได้กาหนดยทุ ธศาสตร์ท่ีเกีย่ วข้อง กับการจัดการขยะตามโครงการ Clean Land โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้มีการจัดการขยะท่ีดีตั้งแต่การ เก็บรวบรวมกาจัดขยะท่ัวไปและขยะอันตรายมีการลดปริมาณขยะและการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และการเพิ่มพ้ืนท่ีสีเขียวในเขตเมืองโดยนาหลักการผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย (Polluter Pays Principle: PPP) มาใช้อย่างเหมาะสมยุทธศาสตร์การจัดการขยะมีวัตถุประสงคข์ องการดาเนินการ 6 ประการคือ 1. มีการจดั การขยะอยา่ งถูกสขุ ลักษณะ 2. มกี ารจัดการขยะอันตรายอย่างถูกสขุ ลักษณะ 3. ลดการผลิตขยะและการกาจดั ขยะ

25 4. เพมิ่ พื้นที่สีเขยี วในเขตเมอื ง 5. สร้างความรบั ผดิ ชอบและความเปน็ เจ้าของตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม 6. มีการพฒั นาบุคลากรท่เี ก่ียวข้อง พูนสุข อุดม (2552 : 23) กล่าวว่า หลักการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนให้ย่ังยืนโดยใช้ กระบวนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาซ่ึงเป็นกระบวนการทางการศึกษาเพ่ือพัฒนาประชากรให้เกิด ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมให้มีความตระหนักต่อปัญหาส่ิงแวดล้อมและสานึกในคุณค่า ของทรัพยากรธรรมชาติ มุ่งพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ให้มีความชานาญเก่ียวกับการแก้ไขปัญหา พร้อมที่จะมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อม สามารถดารงชีวิตอยู่อย่างประสานสอดคล้องกับ ธรรมชาติได้ดังนั้นสิ่งแวดล้อมศึกษาจึงครอบคลุมหลายมิติ ทั้งมิติทางทรัพยากรธรรมชาติ มิติทางสังคม และวัฒนธรรม มิติทางความเช่ือ และจิตวิญญาณ มิติทางเศรษฐกิจ และมิติทางเทคโนโลยี เน่ืองจาก ธรรมชาติของเนื้อหาส่ิงแวดล้อมศึกษาสอดแทรกและเก่ียวข้องอยู่กับทุกรายวิชา สาคัญอยู่ที่ผู้สอน จะต้องเข้าใจ และตระหนัก ในความสาคัญ ของสิ่งแวดล้อมศึกษา แล้วนามาสอนแบบบูรณาการ สอดแทรกเข้าไปในเนื้อหาและกิจกรรมส่ิงแวดล้อมศึกษาให้สอดคล้องและเหมาะสมโดยมุ่งเป้าหมาย หลัก 5 ประการ ได้แก่ สร้างความรู้ความเข้าใจ ความตระหนักเจตคติ ทักษะ และการมีส่วนร่วม เกี่ยวกับสง่ิ แวดล้อมและปัญหาส่ิงแวดล้อม โดยกาหนดแนวปฏิบตั ิเกีย่ วกับการจดั กิจกรรมสง่ิ แวดล้อม ศึกษาในสถานศึกษา ดังน้ี 1. กาหนดนโยบายและแผนปฏิบตั ิทีส่ ง่ เสรมิ การอนุรักษ์สง่ิ แวดล้อมบุคลากรในสถานศึกษา นกั เรยี นและชุมชนมสี ่วนรว่ มในการกาหนดนโยบายและรว่ มจัดทาแผนพฒั นาสง่ิ แวดล้อมของ สถานศึกษา 2. จดั กิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการสิ่งแวดล้อมศึกษา มีการบูรณาการส่ิงแวดล้อม ศึกษาในแต่ละกลุ่มประสบการณ์ และครูผู้สอนจะต้องเขียนแผนการสอนท่ีระบุ วัตถุประสงค์ เนื้อหา และกิจกรรมทางส่ิงแวดล้อมไปพร้อม ๆ กับวัตถุประสงค์ เนื้อหาและกิจกรรมท่ีมีอยู่แล้วในหลักสูตร สาหรับแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการบูรณาการนนั้ ครูต้องเกี่ยวกับส่งิ แวดล้อม โดยให้ผ้เู รียนมีความรู้และเข้าใจเกีย่ วกบั ปญั หา สาเหตแุ ละผลกระทบของปัญหา สิ่งแวดล้อม สอนใน ส่งิ แวดล้อม โดยนาผู้เรียนเข้าไปศึกษาในสภาพแวดล้อมจริง เชน่ ในชุมชน ในป่า เพ่ือให้นักเรียนเกิด ความซาบซึ้งและทัศนคติท่ีดีต่อการอนรุ ักษ์ และสอนเพ่ือส่ิงแวดล้อมโดยให้ผู้เรียน ได้นาไปปฏบิ ัติจริง เพื่อให้เกดิ การอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม ซึ่งกจิ กรรมการเรยี นการสอนต้องเน้นใหผ้ ้เู รียนเปน็ ศูนย์กลาง 3.การจัดการอาคารเรียน บริเวณสถานศึกษา และห้องเรียนท่ีเอื้อต่อการเรียนการสอน สิง่ แวดล้อมศึกษา มีการวางแผนผังของสถานศึกษา จัดห้องเรียน อาคารเรียนและบรเิ วณสถานศึกษา ให้สะอาด รม่ รน่ื สวยงาม จัดให้มีสถานท่ีพักผอ่ นหย่อนใจ มีการทาเกษตรกรรมผสมผสาน

26 4. บุคลากรในสถานศึกษา และนักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสิ่งแวดล้อม สถานศึกษา ควรเปิดโอกาสให้บุคลากร และนักเรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนการดาเนินกิจกรรมและการ ประเมินผลการดาเนินงานดา้ นสิง่ แวดล้อมของสถานศึกษา 5. ชมุ ชน องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มสี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมทางส่ิงแวดลอ้ มของ สถานศึกษา สถานศึกษาเปิดโอกาสให้ชุมชน และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องมสี ่วนร่วมในการวางแผน และ พฒั นาการจดั กจิ กรรมทางส่งิ แวดลอ้ มรวมท้งั การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา 6. มีการจัดการและการกาจัดขยะ มีนโยบายและมาตรการเก่ียวกับการจัดการและการ กาจัด ขยะ และสามารถนาไปปฏิบตั ิจริง เชน่ ลดการซื้อสนิ ค้าที่ก่อให้เกดิ ขยะ จัดหาถงั ขยะ จัดหาถัง แยก ประเภทขยะ นาขยะที่ใช้แล้วกลับมาใชใ้ หม่ หรอื นาไปกาจดั อย่างถูกวธิ ี 7. มีการประหยัดพลังงาน กาหนดมาตรการในการประหยัดพลังงานในสถานศึกษาและ ดาเนินการอยา่ งจริงจงั เช่น เลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ประหยดั พลังงาน และตรวจสอบบารุงรักษาให้ใช้ การไดด้ ีอย่เู สมอ จัดสภาพแวดล้อมท่เี อ้ือต่อการประหยัดพลังงาน เชน่ ตัดแต่งต้นไม้รอบอาคารต่าง ๆ ให้โปร่งเพ่ือให้อาคารได้รับแสงจากภายนอก ภายในอาคารควรใช้สีท่ีสว่าง เพ่ือลดการใช้พลังงาน ไฟฟ้า รณรงค์ให้นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาช่วยกันประหยัดพลังงาน ท้ังในสถานศึกษาและ ชมุ ชน 8. มีการประหยัดน้า กาหนดมาตรการในการประหยัดน้า และดาเนินการอย่างจริงจัง เช่น มี การบาบัดน้าเสีย นาน้าท่ีผ่านการใช้หรือบาบัดแล้วมาใช้อย่างเหมาะสม กักเก็บน้าจากธรรมชาติไว้ อุปโภคและบรโิ ภค สารวจ ซอ่ ม บารุง รกั ษาอปุ กรณ์ต่าง ๆ ใหใ้ ชก้ ารได้ดีอยู่เสมอ 9. มีการจัดกิจกรรมสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อส่งเสรมิ หลักสูตร สถานศึกษาสนบั สนนุ ให้มี การจัดกิจกรรม สิ่งแวดล้อมศึกษาเพ่ือเสริมหลักสูตร เช่น การจัดตั้งชมรมสิ่งแวดล้อมการศึกษานอก สถานท่ี การจัด นทิ รรศการ การแสดงละคร การใชเ้ สยี งตามสาย และการประกวดตา่ ง ๆ ทางส่งิ แวดลอ้ ม 10. มีการประเมินผลการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา บุคลากรในสถานศึกษา นักเรียน และชุมชน มีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล และนาผลการประเมินไปปรับปรุงการดาเนินงาน ทางด้านส่งิ แวดลอ้ มศึกษา สรุปได้ว่าหลักการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนควรเลือกวิธีการที่เหมาะสมของในแต่ละพ้ืนท่ี โดยกระทาควบคู่กันไป ทั้งการลดปริมาณขยะมูลฝอย การนากลับไปใช้ใหม่ และการกาจัดขยะมูลฝอย การสร้างจิตสานึก ซึ่งสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด การดาเนินงานด้านการ ลด และคัดแยกขยะมูลฝอยในอาคารและพื้นท่ีของหน่วยงานเพ่ือเปน็ แบบอย่างที่ดตี ่อภาคเอกชนและ ประชาชนให้มีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย ขยะพลาสติกและโฟมในภาพรวม ของประเทศอย่างต่อเน่ือง โดยใช้หลักการ 3R คือ ใช้น้อยหรือลดการใช้ (Reduce) ใช้ซ้า (Reuse) และแปรรปู ใช้ใหม่ (Recycle) ในการจัดการขยะท่ีเกิดข้นึ

27 2.3 แนวคิดทฤษฎที ่ีเกีย่ วข้องกับกำรพฒั นำหรือสร้ำงคูม่ ือ 2.3.1 หลักกำร แนวคดิ และทฤษฎกี ำรพัฒนำคมู่ ือ นักวชิ าการหลายทา่ นไดใ้ หค้ วามหมายของคู่มอื ดังนี้ ปรีชา ช้างขวัญยืน และคนอ่ืน ๆ (2542 : 153) ให้ความหมายของคู่มือไว้ว่าคู่มือเป็น หนังสือท่ีใช้ควบคู่กับการกระทาสิ่งใดส่ิงหนึ่ง บ่งบอกแนวทางในการปฏิบัติแก่ผู้ใช้ ให้สามารถกระทา สิ่งนัน้ ๆ ใหบ้ รรลุสาเร็จตามเป้าหมาย สมมารถ ปรุงสุวรรณ (2544 : 76) ให้ความหมายของคู่มือไว้ว่าคู่มือ หมายถึงหนังสือ ตา รา เอกสารแนะนาหรือเป็นสื่อที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานที่มีเนื้อหาสาระน้ันๆ ซึ่งผู้อ่าน หรือผู้ใช้สามารถ นาไปปฏบิ ตั ไิ ด้ทนั ที จนบรรลผุ ลสาเรจ็ ตามเป้าหมาย อนุชิต เชิงจาเนียร (2545 : 22) ให้ความหมายของคู่มือไว้ว่าคู่มือ หมายถึง หนังสือท่ีเขียน ขน้ึ เพ่ือใช้เปน็ แนวทางใหผ้ ู้ใชค้ ู่มือได้ศกึ ษา ทาความเข้าใจ และง่ายตอ่ การปฏิบัติงานอยา่ งได้อยา่ งหน่ึง ให้ได้มาตรฐานใกล้เคียงกันมากที่สุด และทาให้นักเรียนนักศึกษามีความรู้ความสามารถ และทักษะที่ ใกลเ้ คยี งกัน ณิชาภา เจริญรุ่งเรืองชัย (2547 : 28) กล่าว่า คู่มือ หมายถึง หนังสือหรือเอกสารที่ใช้เป็น แนวปฏบิ ตั งิ าน เพื่อใหผ้ ูใ้ ชส้ ามารถดาเนินงานในเรอ่ื งนัน้ ด้วยตนเอง ได้ อย่างถูกต้อง ศักรินทร์ สุวรรณโรจน์ และคนอื่น ๆ (2535 : 77 - 89) แบง่ ประเภทของคมู่ อื ออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่คู่มือการสอนหรือคู่มือจัดกิจกรรม เป็นคู่มือที่ให้ความรู้และข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับ หลกั สูตรการสอนและการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ โดยมอี งค์ประกอบการจัดทาคู่มอื ดงั น้ี 1. คาชี้แจงการใช้คู่มือ 2. เนอื้ หาสาระและกระบวนการหรือข้ันตอน 3. คาชแี้ จงเกยี่ วกบั การเตรยี มการทีจ่ าเปน็ ตา่ งๆ เชน่ วัสดอุ ปุ กรณส์ ื่อ 4. ความรู้เสรมิ หรอื แบบฝึกหัด หรอื แบบฝึกปฏบิ ัติเพือ่ ชว่ ยในการฝกึ ฝน 5. ปญั หาและคา แนะนา เกีย่ วกบั การป้องกนั และแก้ไขปัญหา 6. แหล่งข้อมลู และแหล่งอ้างอิงต่าง ๆ สมพร พตุ ตาล เบ็ทซ์ (2539 : 93) กล่าวว่าคมู่ อื ในการปฏิบตั ิงานมีองค์ประกอบดังนี้ 1. สว่ นประกอบตอนต้น ได้แก่ ปก หน้าแสดงรายงานนามคณะผ้จู ัดทาและปที พี่ ิมพ์ คานา สารบัญ และแผนภูมโิ ครงสรา้ งของหน่วยงาน 2. ส่วนที่เป็นเนื้อหาหรือวิธีปฏิบัติงาน ได้แก่คา อธิบายลักษณะงาน แผนภูมิแสดง สายการ ปฏิบัติงานข้ันตอนและวิธีการปฏิบัติงาน และภาพประกอบ 3. ส่วนประกอบตอนท้าย ได้แก่ คาอธิบายศพั ท์ และดรรชนี เอกวุฒิ ไกรมาก (2541 : 54) กล่าวว่าคูม่ ือครูควรมีองค์ประกอบสาคญั ดังนี้

28 1. คาชีแ้ จงการใช้คู่มอื ประกอบดว้ ย วตั ถปุ ระสงคข์ องคู่มือ ความรู้พ้ืนฐานท่จี า เปน็ ในการใช้ คมู่ อื การใชค้ ู่มอื และคา แนะนา การใช้คู่มือ 2. เน้อื หาสาระทจี่ ะสอน โดยมีคาช้ีแจงหรอื คา อธบิ ายประกอบและอาจมีการวเิ คราะห์ เนือ้ หาสาระให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจทีจ่ ะอา่ น 3. การเตรยี มการสอน ประกอบดว้ ย การเตรยี มสถานท่ี วัสดุ สื่อ อปุ กรณ์ และ เครอ่ื งมือท่ี จาเป็นการเตรยี มวัสดเุ อกสารประกอบการสอน แบบฝกึ หัดและแบบปฏบิ ัติ ข้อสอบ คาเฉลย ตลอดจน การตดิ ต่อประสานงานท่จี าเป็น 4. กระบวนการวิธีการกิจกรรมการเรียนการสอน ซ่ึงต้องให้ข้อมูลหรือรายละเอียด ได้แก่คา แนะนา เกย่ี วกบั ข้นั ตอนและวิธกี ารดาเนินงาน คาแนะนา และตวั อย่าง เก่ยี วกบั กจิ กรรม การสอนทีจ่ ะ ใหก้ ารสอนบรรลคุ าถาม ตัวอย่าง แบบฝึกปฏิบัติและสอื่ ตา่ งๆ ท่ีใชใ้ นการสอนข้อเสนอแนะเก่ียวกบั สิง่ ทคี่ วรทาไม่ควรทา 5. การวดั ผลและประเมนิ ผล ประกอบด้วย รายละเอียดต่าง ๆ เช่น เครื่องมือวดั วธิ วี ัดผล เกณฑ์การประเมิน 6. ความร้เู สรมิ 7. ปัญหาและคาแนะนา เกย่ี วกับการป้องกนั และแก้ไขปัญหาอาจเกดิ ขนึ้ กับผู้ใช้ค่มู ือ โดยเขียนจากประสบการณ์ 8. แหล่งข้อมูล และแหล่งอ้างองิ ต่างๆ เพ่ือเปน็ ประโยชน์ต่อผ้ใู ช้คมู่ อื ในการศึกษาค้นควา้ ตอ่ ไป ปรชี า สัจจากลุ (2550 : 44) กล่าววา่ คู่มือปฏบิ ัตงิ านท่ีจดั ทาขนึ้ จะตอ้ งเป็นประโยชน์ ตอ่ ผปู้ ฏิบตั งิ านและต่อองค์กร ดังนี้ 1. เป็นบรรทัดฐานสาหรับการปฏบิ ตั งิ าน เพ่ือชว่ ยใหก้ ารปฏิบัตงิ านเป็นไปอยา่ งมเี กณฑโ์ ดย ไมว่ ่า ใครเป็นผปู้ ฏิบตั กิ ็ตามทาให้เกดิ แบบแผนท่ีดี 2. ชว่ ยใหผ้ ปู้ ฏิบัติงานตระหนกั ในหน้าทแ่ี ละความรบั ผิดชอบอยา่ งชัดเจน 3. ใชส้ าหรับการฝึกบุคลากรใหม่ ให้สามารถปฏบิ ตั งิ านไดถ้ ูกตอ้ งและรวดเร็ว 4. ชว่ ยลดเวลาลดความบกพร่องและความผิดพลาดในการปฏบิ ัติงาน 5. ชว่ ยลดค่าใช้จา่ ยในการดาเนนิ งาน 6. ช่วยเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการดาเนินงาน จากการศึกษาองค์ประกอบของคู่มือสามารถ สรุปได้ดังนี้ กา รจัดทาคู่มือจะต้อง ประกอบด้วยองค์ประกอบท่ีสาคัญคือวิธีการใช้คู่มือหรือคาแนะนา ในการใช้คู่มือเน้ือหาสาระ คา ช้ีแจงเก่ียวกับการจัดเตรียมวัสดุ - อุปกรณ์การจัดกิจกรรม แหล่งข้อมูลอ้างอิง เพ่ือเป็นการอานวย

29 ความสะดวกแก่ผู้ใช้คู่มือให้สามารถดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกท้ังยังพัฒนาความสามารถ พัฒนาผลงานให้มคี ุณภาพตามเป้าหมายคณุ ลักษณะคู่มือการบรหิ ารจัดการงานวิชาการที่ดี ครี บี ูน จงวุฒิเวศย์ และมาเรียม นลิ พนั ธ์ุ (อ้างถงึ ใน ปทุมทิพย์ดีบุกคา, (2551 : 62-63) กลา่ วถึงลักษณะของคูม่ ือทีด่ ี 3 ด้าน คือ 1. ด้านเน้อื หา 1.1 เน้ือหาสาระหรือรายละเอียดในคู่มือควรตรงกับเร่ืองท่ีศึกษาและไม่ยากจน เกินไปจนทาให้ไมม่ ผี ้สู นใจหยบิ อา่ น 1.2 การนาเสนอเน้ือหา ควรให้เหมาะสม กับพ้นื ความรขู้ องผทู้ จี่ ะศึกษา 1.3 ขอ้ มลู ที่มีในคู่มอื ผู้อ่านสามารถประยุกตใ์ ชไ้ ด้ 1.4 เน้อื หาควรเหมาะสมทจ่ี ะนาไปอ้างองิ ได้ 1.5 ควรมีกรณีตัวอยา่ งประกอบในบางเร่ือง เพือ่ จะได้ทาความเข้าใจงา่ ย 1.6 ควรมีการปรับปรงุ เนื้อหาของคูม่ ือใหท้ นั สมัยเสมอ 2. ดา้ นรูปแบบ 2.1 ตัวอักษรที่ใช้ควรมตี วั โต และมรี ูปแบบทชี่ ัดเจนอ่านงา่ ยเหมาะกบั ผู้ใชค้ มู่ ือ 2.2 ควรมภี าพหรอื ตัวอย่าง ประกอบเน้ือหา 2.3 ลกั ษณะการจดั รปู เลม่ ควรทาให้นา่ สนใจ 2.4 การใช้ภาษาควรใหเ้ ข้าใจงา่ ยเหมาะสมกบั ผู้ใชค้ ู่มือ 2.5 ระบบการนา เสนอควรเป็นระบบจากง่ายไปยาก หรือเปน็ เร่อื งๆ ให้ชดั เจน 3. ด้านการนาไปใช้ 3.1 ควรระบุขัน้ ตอนวธิ ีการใช้คูม่ ือให้ชัดเจน 3.2 มแี ผนภมู ติ าราง ตัวอยา่ งประกอบใหส้ ามารถนาไปปฏบิ ัติได้จริง 3.3 บอกสทิ ธิประโยชนแ์ ละข้อควรปฏิบตั ิ ใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย นุดี รงุ่ สวา่ ง (2543 : 24) กล่าวว่าคมู่ อื ทีด่ ีควรมลี กั ษณะ ดังนี้ 1. ด้านรูปแบบ มีขนาดรูปเล่มเหมาะสม ตัวอักษรอ่านง่าย ชัดเจน มีรูปภาพประกอบ เหมาะสมกบั เนอื้ หาและการน า เสนอกิจกรรมแต่ละขน้ั ตอนมีความชัดเจน 2. ด้านเนื้อหา วัตถุประสงค์ของคู่มือกาหนดไว้ชัดเจน เหมาะสม ระบุขอบข่ายเนื้อหา คู่มือ ครอบคลุมตามวตั ถุประสงค์ คาแนะนาการศึกษาคมู่ อื เขยี นไวช้ ัดเจน เขา้ ใจง่าย 3. ด้านการนาไปใช้ กาหนดขั้นตอนการศึกษาคู่มือไว้ชัดเจน กาหนดกิจกรรม เนื้อหา และ แบบฝึกได้สัมพันธ์กัน และมีกิจกรรมประเมินผลเหมาะสมกับเน้ือหาของคู่มือ สรุปจากความหมาย และลักษณะคู่มือที่ได้ท่ีได้กล่าวมา ผู้วิจัยสามารถศึกษานามาเป็น แนวทางในการสร้างคู่ มือ ปฏบิ ัตงิ าน

30 สรุปได้ว่า จากคุณลักษณะคู่มือ มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ด้าน คือ ด้านเนื้อหา ด้านรูปแบบ ด้านการนาไปใช้ทั้งนี้เพื่อให้มีความชัดเจนและเกิดความสะดวกราบรื่นในการนาไปใช้ปฏิบัติจริง เพอื่ กอ่ ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนางานที่เป็นระบบต่อไป 2.3.2 ประเภทของคมู่ ือ ประดบั เรืองมาลยั (2542: 98) อธบิ ายเกยี่ วกับประเภทของค่มู ือว่า คมู่ ือแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ดังน้ี 1) คมู่ ือการสอนหรอื คมู่ ือการจัดกิจกรรม เป็นคู่มอื ท่ีให้เน้ือหาสาระความร้แู ละ คุณธรรมในโรงเรยี น ค่มู ือการอบรมหนา้ เสาธง คู่มือการจดั กิจกรรมประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น เปน็ ต้น 2) คู่มือหนังสือเรยี น เปน็ คมู่ ือทีจ่ ดั ทาขึน้ ควบค่กู บั หนังสือเรียน 3) คมู่ ือการใช้ส่ือ หรอื นวตั กรรมเปน็ การเผยแพรผ่ ลงานของครู เพ่ือให้ผู้อนื่ นาไปใช้ ให้ถูกต้องจงึ ต้องจดั ทาคู่มือการใช้ การจัดทาสื่อชุดการสอนกลุ่มสรา้ งเสรมิ ประสบการณช์ ีวติ เป็นตน้ ปราณี รณุ วงษ์ (2546: 11) อธิบายเกีย่ วกับประเภทของคู่มือว่า คมู่ ือแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ดงั น้ี 1) คู่มือเก่ียวกับการเรียนการสอนตามหลักสูตร เป็นคู่มือท่ีเสนอแนะแนวทางเทคนิควิธีการ สอน การใช้ส่ือหรือนวัตกรรมที่สัมพันธ์กับวิชาใดวิชาหนึ่ง หรือระดับช้ันเรียนต่าง ๆ ท่ีกาหนดไว้ใน หลักสตู รนั้น ๆ 2) คู่มือการจัดกิจกรรมการสอนทั่วไป เป็นคู่มือที่เสนอแนะแนวทางหรือเทคนิควิธีการ ดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือส่งเสริมให้การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรบรรลุวัตถุประสงค์ท่ี กาหนดไว้ 3) คมู่ ือโดยตรง เช่น คู่มอื การจดั กจิ กรรมประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น ค่มู ือการจดั กจิ กรรม โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน จากแนวคิดเกยี่ วกับ “ประเภทของคู่มือ” สรุปไดว้ ่า คมู่ ือแบง่ เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1) คู่มือทใี่ ชก้ บั การเรยี นการสอนโดยตรงตามหลักสูตร เปน็ คูม่ อื ที่แนะนาแนวทาง การสอน หรือเทคนิคการสอน วิธีการสอน วิธีการใช้สื่อนวัตกรรม ที่สัมพันธ์และตรงตามรายวิชาใน หลักสตู ร 2) คู่มือท่ีใช้กับกิจกรรมเฉพาะกิจ เป็นคู่มือที่แนะนาแนวทางการจัดกิจกรรมเฉพาะ กิจ การให้ความร้เู ฉพาะเรอ่ื ง วธิ ีปฏิบตั งิ านเฉพาะเรอ่ื ง 2.3.3 องค์ประกอบของคู่มือ ศกั รินทร์ สุวรรณโรจน์; และ คนอื่น ๆ (2535: 89) ได้สรุปองค์ประกอบของการจัดทาคูม่ ือไว้ 6 สว่ น ดงั น้ี 1. คาชแี้ จงการใช้คู่มอื

31 2. เนื้อหาสาระ และกระบวนการหรือขัน้ ตอน 3. คาช้แี จงเกีย่ วกบั การเตรียมการท่ีจาเปน็ ตา่ ง ๆ เชน่ วตั ดอุ ปุ กรณ์ ส่อื 4. ความรเู้ สริมหรอื แบบฝกึ หัด หรือแบบฝึกปฏบิ ัติเพอ่ื ชว่ ยในการฝึกฝน 5. ปัญหาและคาแนะนาเก่ยี วกับการป้องกันและแก้ไขปัญหา 6. แหลง่ ขอ้ มลู และแหลง่ อ้างองิ ตา่ ง ๆ มนตรี ชมช่ืน (2548: 61) ไดส้ รุปแนวคิดองค์ประกอบของคมู่ อื ไวว้ า่ คมู่ ือที่ดนี น้ั ต้องมีแหล่งข้อมลู และแหลง่ อ้างองิ ที่ถกู ต้อง เปน็ ประโยชนต์ ่อผอู้ ่านหรือผใู้ ช้ในการคน้ คว้าเรอ่ื งต่าง ๆ อย่างลกึ ซ้ึงและงา่ ยตอ่ ความเขา้ ใจโดยประกอบไปด้วย 1. คาช้ีแจงในการใชค้ ู่มือ 2. เน้อื หาของเร่ืองทจี่ ะคน้ คว้าในทุกด้าน 3. วธิ ีการนาไปใช้ 4. การแนะนาแหลง่ ความรู้อ้างอิงตา่ ง ๆ จากแนวคดิ เก่ยี วกบั “องค์ประกอบของคู่มอื ” สรุปได้ว่า องคป์ ระกอบทด่ี ขี องคู่มอื ตอ้ งมี องคป์ ระกอบ ดังนี้ 1) คาแนะนาในการใช้คูม่ ือ 2) เนอ้ื หาสาระเกี่ยวกับเรื่องท่ีจะปฏบิ ตั ติ ามคู่มอื 3) ขอ้ แนะนาเก่ยี วกับการเตรียมวสั ดุ อปุ กรณ์ ทจี่ าเป็น 4) แนะนาแหล่งความรู้อ้างอิงท่เี ป็นประโยชน์ 2.3.4 ลกั ษณะท่ดี ขี องคมู่ ือ วัฒนา ฉมิ ประเสรฐิ (2554) กลา่ ววา่ ลักษณะท่ีดีของคมู่ ือจะต้องมกี ารเรยี งลาดับขัน้ ตอน การใชใ้ หช้ ดั เจนและง่ายตอ่ การทาความเข้าใจ เมื่ออา่ นแล้วต้องสามารถนาไปปฏิบตั ไิ ด้ถูกต้อง ต้อง เน้นแนวปฏิบตั ิท่ีสาคัญ ควรแสดงแผนภาพ แผนภูมิ แผนผงั เพ่ือชว่ ยใหป้ ฏบิ ัตติ ามข้นั ตอนต่าง ๆ ได้ ง่าย และรปู แบบของคู่มือควรจะมีรูปแบบที่น่าสนใจ สวยงาม น่าอา่ น และทนทานต่อการใช้งาน สิรกิ ร ประสพสุข (2555) กล่าวว่า ลักษณะของคมู่ ือทดี่ ีควรมีลกั ษณะ ดังน้ี 1. ดา้ นรปู แบบ มีขนาดรูปเลม่ เหมาะสม ตวั อกั ษรอา่ นง่าย ชดั เจน รูปประกอบเหมาะสม กบั เน้อื หาและการนา เสนอกิจกรรมแตล่ ะขน้ั ตอนมีความชัดเจน 2. ดา้ นเนอ้ื หา วตั ถุประสงคข์ องคู่มอื กาหนดไวช้ ดั เจน เหมาะสมระบขุ อบขา่ ยเนื้อหา เน้ือหาครอบคลมุ ตามวตั ถุประสงค์ คา แนะนา การศึกษาคู่มือเขียนไดช้ ดั เจน เข้าใจง่ายเนื้อหาความรู้ มีความเหมาะสมตรงกับความต้องการและความจาเป็น 3. ด้านการนา ไปใช้ กาหนดข้ันตอนการศกึ ษาคู่มือไวช้ ัดเจน กาหนดกิจกรรมเนื้อหาและ แบบฝึกได้สมั พันธ์ มีกจิ กรรมประเมนิ ผลเหมาะสมกบั เนื้อหา

32 2.3.4 ประโยชนข์ องคู่มือ ประโยชน์ของเครื่องมือและอุปกรณ์มีดังนี้ 1. ช่วยให้การปฏิบัตงิ านของช่างเกดิ ผลสา เร็จและมีคณุ ภาพ 2. ทา ให้กระบวนการทา งานของชา่ งมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้ และเกิดประโยชน์ สงู สุดงานช่างสามารถแบ่งเครื่องมือทใ่ี ช้ออกไดเ้ ป็น 3 ประเภทใหญๆ่ ดังนี้ 1. เครื่องมือท่ีไม่มเี ครอื่ งยนต์กลไก (Hand Tools) 2. เครอื่ งมือวดั (Measuring Tools) 3. เครื่องมือกล (Machine Tools)

33 สว่ นท่ี 3 รูปแบบกำรบริหำรจัดกำรขยะทั่วไป . โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ได้ดาเนินการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัด สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 โดยใชห้ ลกั การแบบมีส่วนรว่ ม 5 ร (สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปางเขต 1 , 2563 : 14-15) ตามแผนภาพท่ี 1 และแผนภาพที่ 2 ดงั นี้ แผนภำพที่ 1 รูปแบบกำรบริหำรจัดกำรแบบมีส่วนร่วม 5 ร กำรบริหำรจัดกำรขยะของ โรงเรียนแมก่ ง๋ วทิ ยำ สำนกั งำนเขตพืน้ ท่ีกำรศึกษำประถมศกึ ษำลำปำง เขต 1 รว่ มศกึ ษา รว่ มวางแผน รว่ มปฏิบัติ รว่ มสรุป รว่ มแลกเปลย่ี นเรียนรู้

34 แผนภำพท่ี 2 กรอบแนวคิดการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 5 ร การบริหารจัดการแบบ มีส่วนร่วม 5 ร การบริหารจัดการขยะของโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 กรอบแนวคดิ การบริหารจดั การขยะแบบมีสว่ นรว่ ม 5 ร ข้ันตอนท่ี 1 ศกึ ษาสภาพปัจจุบนั /ปัญหาของขยะในโรงเรียน รว่ มศกึ ษา ขน้ั ตอนท่ี 2 - กาหนดตวั ชวี้ ัดความสาเร็จ (KPI) รว่ มวางแผน - สร้าง/พฒั นาค่มู ือ/สื่อ/ ชุดกจิ กรรมการแกป้ ญั หาขยะ ในโรงเรยี น/ ขั้นตอนที่ 3 เครื่องมือตดิ ตามการแกป้ ัญหาขยะ ร่วมปฏิบตั ิ - กาหนดกจิ กรรมและปฏิทนิ การนเิ ทศ รว่ มปฏบิ ตั ิ การแกป้ ญั หาขยะตามคู่มือ/ชุดกิจกรรม ขน้ั ตอนท่ี 4 รวบรวม วิเคราะห์ และสงั เคราะหผ์ ลการดาเนนิ งานและ รว่ มสรปุ ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ไมม่ คี ณุ ภาพ ปรบั ปรงุ / พัฒนา ตรวจสอบ และประเมนิ ผล การดาเนนิ งาน และการติดตาม ฯ มคี ณุ ภาพ สรปุ และรายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ข้ันตอนท่ี 5 นาเสนอและเผยแพรผ่ ลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ร่วมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ( แลกเปลยี่ นเรยี นร้/ู ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติ/Website ฯลฯ)

35 การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ในการบริหารจัดการขยะ โรงเรียนแม่กง๋ วิทยา เน้นการมสี ่วนรว่ มของบุคลากรในโรงเรียน และการบริหารจัดการแบบมีส่วนรว่ ม 5 ร จานวน 5 ข้ันตอน คือ ขน้ั ตอนท่ี 1 รว่ มศึกษา ขั้นตอนท่ี 2 รว่ มวางแผน ข้ันตอนที่ 3 ร่วมปฏบิ ัติ ขั้นตอน ท่ี 4 รว่ มสรุป และข้ันตอนท่ี 5 รว่ มแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ข้ันตอนท่ี 1 ร่วมศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และนักเรียนร่วมกันศึกษาสภาพ ปัจจุบนั ปัญหาของขยะในโรงเรียน ว่ามีขยะประเภทใดบา้ งท่เี ป็นปัญหา และสาเหตขุ องปญั หาเกดิ จาก อะไร พร้อมกบั ศึกษาความต้องการของครูผสู้ อนและนักเรยี นในการทจ่ี ะแก้ปญั หาขยะในโรงเรียน ข้นั ตอนท่ี 2 ร่วมวางแผน ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และนักเรยี น ร่วมวางแผน เม่ือ พบปัญหาหาวิธีแก้ปญั หาเรียงปัญหาจากมากมาหานอ้ ย การทางานท่ีคาดว่าจะประสบความสาเร็จ ตามกรอบในการวิจัยด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ( การบริหารจัดการขยะ ในโรงเรียน ) 1) การจัดการขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ ได้แก่ มูลฝอยติดเช้ือ ขยะพลาสติก ขยะ อินทรีย์ ขยะอันตรายขยะอิเล็กทรอนิกส์ 2) การจัดการในเชิงนโยบาย เช่นการสร้างกลไกให้เกิด ความร่วมมือระหว่างสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียนและชุมชน 3) การสร้างความรู้ความ เข้าใจโดยเน้นการสร้างจิตสานึกในการจัดการขยะให้กับนักเรียนและบุคลากรทุกระดับ โดยนา ข้อมลู ทไี่ ด้จากการศึกษา มารว่ มวางแผนการทางานใหเ้ หมาะสมกบั สภาพบรบิ ทของสถานศกึ ษา ข้ันตอนที่ 3 ร่วมปฏิบัติ ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และนักเรียนร่วมกัน มีส่วนร่วม ปฏิบัติงาน ลงมือปฏิบัติงานตามท่ีไดว้ างแผนหรือออกแบบไว้ ประเมินผล และสะท้อนผล การปฏิบัติงาน เปน็ ระยะ ในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การบรหิ ารจัดการขยะในโรงเรยี น การจดั การ ขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ ได้แก่ มูลฝอยติดเช้ือ ขยะพลาสติก ขยะอินทรีย์ ขยะอันตรายขยะ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ข้ันตอนที่ 4 ร่วมสรุป ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และนักเรียนร่วมกัน ต่างๆ ร่วมกัน สรุปผลการดาเนินงาน มสี ว่ นร่วมในวิเคราะหข์ ้อมูล สงั เคราะห์ขอ้ มูล และสรุปผลการบริหารจดั การขยะ ในโรงเรยี น การปฏิบตั งิ านในแต่ละขัน้ ตอนวา่ บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์หรือเปน็ ไปตามที่วางแผนหรอื ไม่ เพ่ือจะได้ นามาปรับปรุง/แก้ไข/พัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป ถ้าไม่สาเร็จก็วางแผนและออกแบบวิธีการ/นวัตกรรมใหม่ จบกระบวนการ PDCA ข้ันตอนท่ี 5 ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คือ ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และนักเรียนร่วมกัน แลกเปล่ียนเรียนรู้ ชื่นชมความสาเร็จของการบริหารจัดการขยะในโรงเรียน และ ตามกรอบภารกิจ งานประสบความสาเร็จ พรอ้ มกับยกย่องเชิดชูเกียรติ และเผยแพร่การปฏิบตั งิ านที่ดี (Best practice) สู่สาธารณชน ผา่ น Website ระบบ ICT และสารสนเทศของสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

36 ส่วนที่ 4 กิจกรรมกำรแก้ไขปัญหำขยะในโรงเรยี น กจิ กรรมกำรจัดกำรขยะในโรงเรยี นแม่ก๋งวิทยำ โรงเรียนแม่ก๋งวิทยาได้ดาเนินงานการบริหารจัดการขยะภายในโรงเรียนอย่างจริงจัง โดยได้ วางจุดทิ้งขยะตามอาคารต่าง ๆ ครบตามประเภทของขยะยกเว้นขยะอันตรายซึ่งทางโรงเรียนแม่ก๋ง วิทยาไม่มีขยะประเภทน้ีในสถานศึกษา ส่วนการวางถังขยะตามอาคารต่าง ๆ คือ อาคารทานตะวัน อาคารอินทนิล อาคารราชพฤกษ์ และอาคารบ๊ิกซี ได้วางจุดทิ้งขยะ คือ ขยะท่ัวไป 2 ถัง เนื่องจากมี ปริมาณของขยะค่อนข้างเยอะ ขยะอินทรีย์ 1 ถัง และขยะรีไซเคิล 1 ถัง ซึ่งตามจุดต่าง ๆ จะมีคณะ ครูตามแต่ละจุดและคณะกรรมการที่รับผิดชอบคอยจัดเก็บขยะทุกวัน อีกทั้งทางโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ไดม้ วี ธิ กี ารจัดการขยะแต่ละประเภททแ่ี ตกต่างกนั ดงั น้ี 4.1 กิจกรรมขยะอนิ ทรียจ์ ำกเศษอำหำร เศษอาหารที่เกดิ จากการรับประทานเหลือจากอาหารกลางวันของนักเรียน เม่ือปล่อยท้ิงไว้ก็ จะเกิดปัญหาเน่าเสีย และส่งกล่ินเหม็น ดังนั้นจงึ มีการจัดการบริหารขยะประเภทน้ี โดยนาเศษอาหาร ไปเป็นอาหารไก่ของทางโรงเรียน ซึ่งช่วยทาให้ทางโรงเรียนลดต้นทุนในการซื้ออาหารไก่ได้อย่างมาก ซึง่ มีวิธกี ารจดั การขยะเศษอาหารดังน้ี 1) ใหน้ ักเรยี นนาพาชนะไปใสเ่ ศษอาหารกลางวนั ของนักเรยี นที่โรงอาหาร 2) นาเศษอาหารทนี่ ักเรียนรบั ประทานเหลอื มาเทลงในพาชนะท่ีเตรยี มไว้

37 3) ให้นักเรยี นนาเศษอาหารท่ีได้ไปใส่ในจานอาหารไก่ไข่ของทางโรงเรยี น 4.2 กิจกรรมเสวียนยอ่ ยสลำย เนอ่ื งจากทางโรงเรียนแม่ก๋งวิทยามีจานวนของพ้นื ท่ีบรเิ วณโรงเรียน 40 กว่าไร่ จงึ ทาใหเ้ กดิ ปัญหาขยะจากเศษใบไม้ เศษหญ้าและก่ิงไม้ ทม่ี ีปรมิ าณมาก ซ่ึงหากไม่รีบกาจัดจะทาใหเ้ กิดการทับถม และเป็นที่อยู่อาศยั ของแมลงมีพษิ อาทิ แมงป่อง ตะขาบ อนั จะเปน็ อันตรายต่อเด็กนกั เรยี น ดงั นนั้ จึง มีวธิ กี ารกาจดั ขยะประเภทน้ีโดยการทาเสวยี น ซ่ึงเสวยี นเปน็ ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นทางภาคเหนอื แตล่ ะ ครวั เรือน จะมีการทาเสวยี นไม้ไผ่ ไว้รอบต้นไม้ เพื่อใสเ่ ศษพชื และเศษใบไม้ที่รว่ งหลน่ จากต้นไม้ และ สามารถใสเ่ ศษอาหารลงไปหมกั เปน็ ปุ๋ยหมักชวี ภาพได้และรดนา้ ใหเ้ กิดความชนื้ ดงั นี้

38 วสั ดุอุปกรณ์สำหรบั ทำเสวียน 1) ลาไม้ไผ่ (ไผ่รวก) 2) มดี ตดั ไม้ 3) ค้อน

39 4) ตลบั เมตร วธิ กี ำรทำเสวยี น 1) ตดั ไม้ไผ่รวก ความยาวประมาณ 1 เมตรเพ่ือใช้เป็นเสาหลัก ปักลงดนิ ตัดแต่ง ส่วนท่ีจะปักลงดินให้แหลมหรอื เปน็ ลิม่ เพอื่ งา่ ยต่อการตอก ลงดิน 2) ตดั ไม้ไผท่ าเป็นหลัก ตอกลงดนิ ใหส้ งู ขึ้นจากพน้ื ประมาณ 50 เซนตเิ มตร หรอื ตาม ต้องการประมาณ 10-13 อันต่อหนง่ึ วงรอบต้นไม้และนาเส้นไมไ้ ผ่มาสานขัดสลบั กบั หลักไม้ไผ่ ทต่ี อกไว้หากความยาวของเส้นไมไ้ ผ่ไม่สามารถวนครบรอบได้ สามารถนาเส้นไม้ไผ่ใหม่มา สานต่อได้ และใช้ลวดมาต่อเส้นไมไ้ ผ่ทาการสานขดั สลบั เส้นไมไ้ ผ่ทบั เปน็ ชั้น ใหไ้ ด้ความสงู ตามทตี่ ้องการ

40 วิธีกำรทำปุ๋ยหมกั จำกเสวยี น 1) นาเศษใบไม้มารวมกนั ในเสวยี นใหเ้ ต็ม 2) เตรยี มนา้ หมัก EM ผสมน้าจานวน 2 ลติ รมาราดลงบนเศษหญ้า ใบไม้และกง่ิ ไม้ เพ่อื ใหเ้ กิดการย่อยสลายที่เร็วขน้ึ และลดการเกิดกลน่ิ เหม็นเน่า 3) นานา้ EM ท่ีผสมน้าเปล่าไว้มาราดลงบนเศษหญ้า ใบไม้และกิ่งไม้ เพ่ือใหเ้ กิดการ ยอ่ ยสลายทเ่ี ร็วข้ึน การเกดิ กลน่ิ เหมน็ เน่า

41 4) รดน้าในเสวยี นอย่างน้อย 3-5 วนั ตอ่ สัปดาห์ (ปริมาณน้า 6 ลิตร/ครง้ั ) 5) จะได้ปุ๋ยอินทรียจ์ ากธรรมชาตแิ ละนาไปใช้ในประโยชน์ต่อไป 4.3 กลอ่ งนม/ถุงนมเพ่อื ถุงดำ เน่ืองจากโรงเรียนแม่ก๋งวิทยาได้ให้นักเรียน ในระดับช้ันอนุบาลจนถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 มีการดืม่ นมในทุกวันในเวลา 15.30 น. ดังน้ันจึงมจี านวนกล่องนม/ถุงนม เปน็ จานวนมาก ดังน้ันคณะ ครูจึงมีการจัดกิจกรรมการจัดการกล่องนม/ถุงนม โดยการนากลับมาทาให้เกิดประโยชน์เพ่ือลดการ เกิดขยะ โดยการนากล่องนม/ถุงนมนามาทาความสะอาดเพ่ือจาหน่ายท่ีสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาลาปางเขต 1 ซึง่ มวี ธิ กี ารจัดการบริหารดังน้ี

42 1) เม่อื นักเรียนดืม่ นมแล้ว จะมีเวรทาความสะอาดห้องเรียนในแตล่ ะวันเป็นผู้รบั ผดิ ชอบ 2) แกะกล่องนมออกทงั้ 4 มุม พับกลอ่ งนมหรอื ถงุ นมให้แบน แกะออกเปน็ แผน่ และตัดหวั ท้าย ดา้ นข้างของกล่องนมหรือถุงนม

43 3) เมื่อลา้ งทาความสะอาด และนาไปตากใหแ้ ห้ง 4) เวรประจาวันถัดไปก็จะทาหน้าท่ีเก็บกล่องนม/ถุงนมท่ีแห้งแล้วพับเก็บไว้ในที่เก็บของ ห้องเรียน

44 5) นากล่องนม/ถุงนม ไปจาหน่ายให้กับสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ลาปางเขต 1 4.4 กจิ กรรมขยะจำกขวดพลำสติก พลาสติกท่เี กดิ จากขวดนา้ ที่นักเรยี นนามาดื่มในโรงเรียน เปน็ ขยะท่ีย่อยสลายยากและมคี วาม หลากหลายชนิด ท้ังความหนา สีสัน และมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป ดังน้ันการคัดแยกขยะหลังการใช้ ด้วยวิธีที่เหมาะสม จึงเป็นข้ันตอนท่ีสาคัญในการคัดแยกขยะ และเพ่ิมโอกาสในการนาพลาสติกมารี ไซเคิล ซงึ่ มีวิธรการบรหิ ารจัดการขยะ ดังนี้

45 4.4.1นาขวดพลาสตกิ ในตามจุดอาคารต่าง ๆ ท่ีมีการวางถังขยะไว้ 4.4.2 เมื่อนาขวดพลาสติกท่ีเก็บมาจากอาคารตา่ ง ๆ มารวบรวมไว้ ณ จดุ คัดแยก ขยะของโรงเรยี น ซ่งึ ไดจ้ ัดทาที่เก็บขยะขวดพลาสติกในรูปแบบตะแกรง เน่ืองด้วยสามารถ ระบายนา้ ไดด้ ี 4.4.3 ขยะบางส่วนนาไปประดิษฐ์เปน็ ของใชต้ ่าง ๆ ตวั อยา่ ง การทากระถางดอกไม้ จากขวดพลาสติก ซึง่ มีวิธกี ารดังน้ี วสั ดอุ ปุ กรณ์ - ขวดนา้ พลาสตกิ -หัวแรง้ - แม็กเยบ็ กระดาษ -ปนื กาว - เชอื กรัดของคละสี -เชอื กขาว

46 วิธกี ำรทำ 1) นาขวดพลาสตกิ มาตดั ออกเปน็ สองสว่ น

47 2) นาฝาขวดพลาสติกและบริเวณส่วนบนและล่างของขวดพลาสติกที่ตัดออกเป็น สองส่วนแล้วมาเจาะรู โดยใช้หัวแร้ง เพื่อทาเป็นท่ีระบายน้าและอากาศให้กับ พืชทจ่ี ะปลกู 3) นาส่วนของขวดน้าสามส่วนมาติดกันโดยใช้แม็กเย็บกระดาษในการติดส่วน ต่าง ๆ ของสว่ นขวดพลาสติก