Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระพุทธศาสนา ม.4

พระพุทธศาสนา ม.4

Published by วชิรวิชญ์ กวดนอก, 2021-08-05 01:18:01

Description: พระพุทธศาสนา ม.4

Search

Read the Text Version

ช่อื - นามสกลุ .......................................................................................เลขท.ี่ ...................ช้ัน............... ใบงานที่ 1 หน่วยที่ 2 เรือ่ ง พทุ ธประวตั ิ วชิ า พระพทุ ธศาสนา ม.4 จงเรียงลำดบั ขนั้ ตอนท่ีเจ้ำชำยสิทธตั ถะทรงค้นคว้ำหำทำงพ้นทกุ ข์ ขัน้ ท่ี ลักษณะการบาเพญ็ กริ ิยา วิธกี ารแสวงหาความรู้ ผลที่ไดร้ ับ 1 ขั้นท่ี ลักษณะการบาเพ็ญกริ ิยา วิธีการแสวงหาความรู้ ผลที่ได้รับ 2 ขน้ั ที่ ลกั ษณะการบาเพ็ญกิริยา วธิ ีการแสวงหาความรู้ ผลท่ีได้รับ 3 ข้ันท่ี ลกั ษณะการบาเพญ็ กริ ิยา วิธกี ารแสวงหาความรู้ ผลท่ีไดร้ บั 4

ใบงานที่ 2 หน่วยที่ 2 เรือ่ ง พทุ ธประวตั ิ วชิ า พระพุทธศาสนา ม.4 จงเรียงลาดบั เหตุการณส์ าคญั ในการก่อตง้ั พระพุทธศาสนาของพระพทุ ธเจา้ มาโดยสงั เขป หลังจากพระพทุ ธเจา้ ตรัสรูแ้ ละตดั สินพระทัย ท่ีจะสัง่ สอนบคุ คลที่สามารถแนะนาสง่ั สอนได้ ชือ่ - นามสกลุ .......................................................................................เลขที่....................ชัน้ ...............

ใบงานท่ี 3 หน่วยท่ี 2 เร่ือง พุทธสาวก พทุ ธสาวิกา วิชา พระพทุ ธศาสนา ม.4 จงวเิ คราะห์ประวตั ขิ องพุทธสาวกทกี่ าหนดให้แล้วตอบคาถาม พระอัสสชิ พระกีสาโคตมเี ถรี แนวคดิ สาคัญท่ไี ด้ แนวคดิ สาคัญทีไ่ ด้ พระอสั สชิมสี ่วนสำคญั ในกำรเผยแผ่ พระพทุ ธเจ้ำมีวิธีสอนพระกีสำโคตมเี ถรี พระพทุ ธศำสนำอย่ำงไร ด้วยวิธีกำรใด คณุ ธรรมท่ีควรถือเป็นแบบอย่ำงของ คณุ ธรรมที่ควรถอื เป็นแบบอย่ำงของ พระอสั สชิ คืออะไรบ้ำง พระกีสำโคตมเี ถรี คืออะไรบ้ำง ชื่อ - นามสกลุ .......................................................................................เลขที่....................ชน้ั ...............

ใบงานที่ 4 หน่วยที่ 2 เร่ือง พุทธสาวก พุทธสาวิกา วิชา พระพทุ ธศาสนา ม.4 จงวิเคราะห์ประวตั ขิ องพุทธสาวกทกี่ าหนดใหแ้ ล้วตอบคาถาม พระนำงมลั ลิกำ หมอชีวกโกมำรภจั จ์ แนวคิดสาคญั ทไี่ ด้ แนวคดิ สาคัญท่ีได้ พระสำรีบตุ รเถระได้เทศนำสงั่ สอนให้ หมอชีวกโกมำรภจั จม์ ีควำมเก่ียวข้อง ธรรมเตือนใจพระนำงมลั ลิกำอย่ำงไร กบั พระพทุ ธเจ้ำอย่ำงไร คณุ ธรรมท่ีควรถอื เป็นแบบอย่ำงของ คณุ ธรรมท่ีควรถอื เป็นแบบอย่ำงของ พระนำงมลั ลิกำ คืออะไรบ้ำง หมอชีวกโกมำรภจั จ์ คืออะไรบำ้ ง ชอ่ื - นามสกุล.......................................................................................เลขท่ี....................ชน้ั ...............

ใบงานที่ 5 หน่วยท่ี 2 เรื่อง ศาสนิกชนตวั อยา่ ง วิชา พระพทุ ธศาสนา ม.4 บอกคณุ ธรรมของศาสนกิ ชนตัวอยา่ งท่ีกาหนดให้พร้อมยกตวั อยา่ งแนว ทางการนาไปปฏิบตั ิ พระนาคเสน - พระยามิลินท์ สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) คุณธรรมทีเ่ ป็นแบบอยา่ ง คณุ ธรรมที่เป็นแบบอยา่ ง กำรนำไปใช้ชีวิตประจำวนั กำรนำไปใช้ชีวิตประจำวนั ชอ่ื - นามสกลุ .......................................................................................เลขที.่ ...................ช้นั ................

ใบงานที่ 6 หนว่ ยท่ี 2 เรื่อง ศาสนิกชนตวั อยา่ ง วิชา พระพุทธศาสนา ม.4 บอกคณุ ธรรมของศาสนิกชนตัวอยา่ งท่ีกาหนดให้พร้อมยกตัวอย่างแนว ทางการนาไปปฏิบตั ิ หลวงป่มู ั่น ภรู ิทัตโต ท่านพุทธทาสภกิ ขุ คุณธรรมท่เี ป็นแบบอยา่ ง คณุ ธรรมท่เี ป็นแบบอยา่ ง กำรนำไปใช้ชีวิตประจำวนั กำรนำไปใช้ชีวิตประจำวนั ช่อื - นามสกุล.......................................................................................เลขท.ี่ ...................ชั้น...............

ใบงานที่ 7 หนว่ ยท่ี 2 เร่ือง ศาสนิกชนตวั อยา่ ง วิชา พระพุทธศาสนา ม.4 ใหส้ ืบค้นเก่ยี วกบั ศาสนกิ ชนตวั อยา่ งในสงั คมไทยมา 1 ทา่ น แลว้ ตอบคาถามตาม ประเดน็ ทก่ี าหนด ศาสนิกชนตวั อยา่ งท่านน้คี อื .......................................................................................................................... ประวตั ิโดยสงั เขป .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... คุณธรรมทเี่ ปน็ แบบอยา่ ง .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... งานเผยแพร่พระพทุ ธศานาทส่ี าคัญ .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... การนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... ชอ่ื - นามสกลุ .......................................................................................เลขที.่ ...................ชนั้ ...............

ใบงานที่ 8 หน่วยที่ 2 เร่อื ง ชาดก วชิ า พระพทุ ธศาสนา ม.4 จงทาเครื่องหมาย ✓ หนา้ ขอ้ ความท่ีกลา่ วถูก และทาเครอื่ งหมาย X หนา้ ข้อความที่กล่าว ผิด พรอ้ มแกไ้ ขข้อความให้ถกู ตอ้ ง 1. เวสสันดรชาดกเป็นพระชาติสุดทา้ ยของพระโพธสิ ตั ว์ก่อนจะตรัสรเู้ ปน็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า แก้ไขขอ้ ความ................................................................................................................ 2. พระอินทรแ์ ปลงเป็นพราหมณ์เพือ่ ขอนางมทั รี จุดประสงคเ์ พ่อื นาไปเป็นภรรยา แก้ไขข้อความ................................................................................................................ 3. พระเวสสันดรใหส้ มบัติค่บู ้านคเู่ มือง คอื ชา้ ง เพราะความใจออ่ นแสดงให้เหน็ ถึงความไม่ รับผดิ ชอบต่อสมบตั ิสาธารณะ แก้ไขขอ้ ความ................................................................................................................ 4. คุณธรรมโดนเด่นของพระเวสสันดร คือ ผู้เปน็ เลศิ แหง่ การใหท้ าน แก้ไขข้อความ................................................................................................................ 5. นอกจากเวสสนั ดรชาดกแลว้ ยงั มีพระชาตสิ าคัญทบี่ าเพ็ญใหถ้ งึ ขน้ั ปรมัตถบารมรี วมกันได้ 10 ชาติ แกไ้ ขขอ้ ความ................................................................................................................ 6. ชชู นเขา้ มาขอพระโอรสและพระธดิ าของพระเวสสนั ดร เพราะต้องการให้พระองค์มีโอกาสไดท้ า ทาน แก้ไขข้อความ................................................................................................................ 7. มลู เหตทุ พ่ี ระพุทธเจ้าตรัสเทศนาเร่อื งเวสสันดรชาดก เกิดจากมผี ทู ูลขอสิ่งของต่างๆจาก พระพทุ ธเจ้า แก้ไขขอ้ ความ................................................................................................................ 8. พระเวสสนั ดรกลบั มาครองราชย์ ณ เมอื งสพี ี เพ่อื พระราชบดิ าสน้ิ พระชนมล์ ง แก้ไขขอ้ ความ................................................................................................................ 9. พระเวสสันดรชาดกคิดหาทางใหพ้ ระโอรส พระธิดา และนางมัทรีได้กลับคืนพระนคร แกไ้ ขข้อความ................................................................................................................ 10. ชาดกเปน็ เรอื่ งราวในอดตี ชาติของพระพุทธเจา้ แกไ้ ขขอ้ ความ................................................................................................................ ชื่อ - นามสกุล.......................................................................................เลขที่....................ชน้ั ...............

ใบความรหู้ นว่ ยที่ 2 เรอ่ื ง พุทธประวตั ิ วิชา พระพุทธศาสนา ม.4 พุทธประวัติของพระพทุ ธเจา้ ประสูติ พระพทุ ธเจา้ พระนามเดมิ วา่ “ สทิ ธัตถะ “ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสทุ โธทนะและพระนางสิรมิ หามายา แหง่ กรุง กบิลพสั ด์ุ แควน้ สกั กะ พระองค์ทรงถือกาเนดิ ในศากยวงค์ สกลุ โคตมะ พระองคป์ ระสตู ิ ในวันศุกร์ ขึน้ ๑๕ ค่า เดือน ๖ ( เดือน วิสาขะ ) ปจี อ ก่อนพทุ ธศักราช ๘๐ ปี ณ สวนลุมพนิ วี นั ซ่งึ ตงั้ อยู่ระหว่างกรุงกบิลพสั ดุ์ แคว้นสักกะ กบั กรุงเทวทหะ แควน้ โกลยิ ะ ( ปัจจุบนั คือตาบลรุมมนิ เด ประเทศเนปาล ) การขนานพระนาม และทรงเจรญิ พระชนม์ พระราชกุมารไดร้ บั การทานายจากอสิตฤาษีหรือกาฬเทวิลดาบส มหาฤาษีผู้บาเพ็ญฌานอยู่ในปา่ หิมพานตซ์ ึ่งเป็นทท่ี รงเคารพนบั ถือของพระเจ้าสทุ โธทนะวา่ “ พระราชกุมารนเี้ ป็นอัจฉรยิ มนุษย์ มลี กั ษณะมหาบุรุษครบถ้วน บุคคลทมี่ ีลกั ษณะดงั นี้ จกั ต้องเสดจ็ ออกจากพระราชวังผนวชเป็นบรรพชติ แลว้ ตรสั รเู้ ปน็ พระอรหันตสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ผไู้ มม่ กี เิ ลสในโลกเปน็ แน่ “ หลังจากประสตู ไิ ด้ ๕ วัน พระเจา้ สทุ โธทนะโปรดให้ประชมุ พระประยรู ญาติ และเชิญพราหมณ์ ผเู้ รยี นจบไตรเพท จานวน ๑๐๘ คน เพอ่ื มาทานายพระลกั ษณะของพระราชกุมาร พระประยรู ญาตไิ ดพ้ รอ้ มใจกนั ถวายพระนามวา่ “สิทธตั ถะ” มคี วามหมายว่า “ ผมู้ ีความสาเรจ็ สมประสงคท์ กุ ส่ิงทุกอย่างทีต่ น ตง้ั ใจจะทา” ส่วนพราหมณ์เหลา่ นน้ั คดั เลอื กกันเองเฉพาะผทู้ ี่ทรงวทิ ยาคุณประเสริฐกว่าพราหมณ์ทั้งหมดได้ ๘ คน เพอ่ื ทานายพระ ราชกมุ าร พราหมณ์ ๗ คนแรก ตา่ งก็ทานายไว้ ๒ ประการ คอื “ ถ้าพระราชกุมารเสด็จอยคู่ รองเรอื นกจ็ ักเปน็ พระเจ้าจกั รพรรดผิ ู้ ทรงธรรม หรือถา้ เสดจ็ ออกผนวชเป็นบรรพชติ จักเป็นพระอรหันตสมั มาสมั พทุ ธเจ้าผไู้ มม่ ีกเิ ลสในโลก” ส่วนโกณฑญั ญะพราหมณ์ ผู้ มอี ายนุ ้อยกว่าทุกคน ไดท้ านายเพยี งอย่างเดยี ววา่ พระราชกุมารจกั เสด็จออกจากพระราชวังผนวชเปน็ บรรพชิต แลว้ ตรสั รเู้ ปน็ พระ อรหนั ตสมั มาสมั พุทธเจ้าผู้ไม่มกี เิ ลสในโลก “ เมอ่ื เจ้าชายสิทธัตถะประสตู ไิ ด้ ๗ วนั พระราชมารดากเ็ สด็จสวรรคต ( การเสดจ็ สวรรคตดงั กลา่ วเปน็ ประเพณีของผูท้ ีเ่ ป็นพระ มารดาของพระพทุ ธเจ้า ) พระเจ้าสุทโธทนะทรงมอบหมายใหพ้ ระนางมหาปชาบดีโคตมซี ่ึงเปน็ พระกนิษฐาของพระนางสิรมิ หา มายา เปน็ ผถู้ วายอภิบาลเล้ยี งดู เมอ่ื พระสิทธัตถะทรงพระเจรญิ มพี ระชนมายไุ ด้ ๘ พรรษา ได้ทรงศกึ ษาในสานักอาจารย์วศิ วามติ ร ซ่งึ มเี กยี รตคิ ุณแพร่ขจรไปไกลไปยงั แคว้นตา่ งๆ เพราะเปิดสอนศิลปวิทยาถึง ๑๘ สาขา เจ้าชายสิทธัตถะทรงศึกษาศิลปวิทยาเหล่านี้ ไดอ้ ย่างว่องไว และเชีย่ วชาญจนหมดความสามารถของพระอาจารย์ อภเิ ษกสมรส ด้วยพระราชบดิ ามพี ระราชประสงคม์ ัน่ คงทีจ่ ะใหเ้ จ้าชายสทิ ธัตถะทรงครองเพศฆราวาสเป็นพระจักพรรดผิ ทู้ รงธรรม จึง พระราชทานความสขุ เกษมสาราญ แวดล้อมด้วยความบนั เทงิ นานาประการแกพ่ ระราชโอรสเพ่ือผกู พระทัยใหม้ ่นั คงในทางโลก เมอ่ื เจ้าชายสิทธตั ถะเจรญิ พระชนม์ได้ ๑๖ พรรษา พระเจา้ สทุ โธทนะมพี ระราชดาริวา่ พระราชโอรสสมควรจะได้อภิเษกสมรส จึงโปรด ใหส้ รา้ งปราสาทอนั วจิ ิตรงดงามขน้ึ ๓ หลงั สาหรับใหพ้ ระราชโอรสได้ประทบั อยา่ งเกษมสาราญตามฤดูกาลท้งั ๓ คือ ฤดูร้อน ฤดู ฝน และฤดหู นาว แลว้ ตงั้ ช่ือปราสาทน้ันวา่ รมยปราสาท สรุ มยปราสาท และสุภปราสาทตามลาดับ และทรงส่ขู อพระนางพิมพา หรือยโสธรา พระราชธิดาของพระเจ้าสปุ ปพุทธะและพระนางอมิตา แหง่ เทวทหะนคร ในตระกลู โกลยิ วงค์ ให้อภเิ ษกด้วย เจ้าชาย สทิ ธตั ถะไดเ้ สวยสขุ สมบตั ิ จนพระชนมายมุ ายไุ ด้ ๒๙ พรรษา พระนางพมิ พายโสรธาจึงประสตู พิ ระโอรส พระองค์มีพระราชหฤทยั สิเนหาในพระโอรสเปน็ อยา่ งยงิ่ เมือ่ พระองค์ทรงทราบถงึ การประสตู ขิ องพระโอรสพระองค์ตรัสวา่ “ ราหลุ ชาโต, พนั ธน ชาต , บ่วงเกดิ แลว้ , เครอ่ื งจองจาเกดิ แลว้ “

ออกบรรพชา เจา้ ชายสทิ ธตั ถะทรงเปน็ ผู้มพี ระบารมีอนั บรบิ รู ณ์ ถึงแม้พระองค์จะทรงพรั่งพรอ้ มด้วยสุขสมบตั ิมหาศาลกม็ ไิ ดพ้ อพระทยั ในชีวิตคฤหัสถ์ พระองคย์ ังทรงมีพระทัยฝักใฝ่ใคร่ครวญถึงสจั ธรรมทจี่ ะเปน็ เคร่อื งนาทางซง่ึ ความพ้นทกุ ขอ์ ยูเ่ สมอ พระองคไ์ ด้ เคยสดจ็ ประพาสอทุ ยาน ไดท้ อดพระเนตรเทวทูตท้งั ๔ คือคนแก่ คนเจ็บ คนตาย และบรรพชติ พระองคจ์ งึ สงั เวชพระทัยในชีวติ และพอพระทัยในเพศบรรพติ มพี ระทยั แนว่ แนท่ จ่ี ทรงออกผนวช เพือ่ แสวงหาโมกขธรรมอันเป็นทางดับทกุ ข์ถาวรพ้นจากวัฏสงสาร ไมก่ ลับมาเวียนว่ายตายเกดิ อกี พระองค์จึงตดั สนิ พระทัยเสดจ็ ออกทรงผนวช โดยพระองค์ทรงม้ากณั ฐกะ พร้อมดว้ ยนายฉันนะ มุง่ สูแ่ ม่นา้ อโนมานที แควน้ มลั ละ รวมระยะทาง ๓๐ โยชน์ (ประมาณ ๔๘๐ กิโลเมตร ) เสดจ็ ข้ามฝงั่ แมน่ ้าอโนมานทีแล้วทรงอธษิ ฐาน เพศเป็นบรรพชิต และทรงมอบหมายให้นายฉันนะนาเครอื่ งอาภรณแ์ ละม้ากณั ฐกะกลบั นครกบลิ พัสด์ุ เขา้ ศึกษาในสานกั ดาบส ภายหลังที่ทรงผนวชแลว้ พระองค์ได้ประทบั อยู่ ณ อนุปยิ อมั พวนั แควน้ มัลละเปน็ เวลา ๗ วนั จากน้นั จงึ เสด็จไปยังกรงุ รา ชคฤห์ แควน้ มคธ พระเจา้ พิมพสิ ารไดเ้ สดจ็ มาเฝ้าพระองค์ ณ เงอ้ื มเขาปณั ฑวะ ไดท้ รงเหน็ พระจริยาวตั รอันงดงามของพระองค์ก็ ทรงเลอื่ มใส และทรงทราบว่าพระสมณสิทธัตถะทรงเห็นโทษในกาม เหน็ ทางออกบวชวา่ เป็นทางอนั เกษม จะจารกิ ไปเพ่ือบาเพญ็ เพยี ร และทรงยินดีในการบาเพญ็ เพียรนัน้ พระเจา้ พิมพิสารได้ตรสั วา่ “ ทา่ นจกั เป็นพระพทุ ธเจ้าแนน่ อน และเม่อื ไดเ้ ป็น พระพทุ ธเจ้าแลว้ ขอได้โปรดเสด็จมายงั แคว้นของกระหมอ่ มฉนั เป็นแหง่ แรก “ซง่ึ พระองคก์ ท็ รงถวายปฏิญญาแดพ่ ระเจา้ พิมพสิ าร การแสวงหาธรรมระยะแรกหลังจากทรงผนวชแล้ว สมณสทิ ธตั ถะได้ทรงศึกษาในสานกั อาฬารดาบส กาลามโคตร และอทุ ก ดาบส รามบุตร ณ กรงุ ราชคฤห์ แควน้ มคธ พระองค์ไดท้ รงประพฤตพิ รหมจรรยใ์ นสานักของอาฬารดาบส กาลามโคตร ทรงได้ สมาบัตคิ ือ ทุตยิ ฌาน ตตยิ ฌาน อากาสานญั จายตนฌาน วญิ ญานัญจายตนฌาน และอากญิ จัญญายตนฌาน สว่ นการประพฤติ พรหมจรรย์ในสานกั อทุ กดาบส รามบุตร นั้นทรงได้สมาบัติ ๘ คือ เนวสัญญานาสญั ญายตนฌาน สาหรบั ฌานท่ี ๑ คือปฐมฌานน้ัน พระองค์ทรงได้ขณะกาลงั ประทบั ขัดสมาธเิ จรญิ อานาปานสติกมั มฏั ฐานอยใู่ ตต้ ้นหวา้ เน่อื งในพระราชพธิ วี ัปปมงคล ( แรกนาขวญั ) เมอื่ ครัง้ ทรงพระเยาว์ เมือ่ สาเรจ็ การศกึ ษาจากทั้งสองสานกั นี้แลว้ พระองค์ทรงทราบว่ามิใชห่ นทางพน้ จากทกุ ข์ บรรลพุ ระโพธิญาณ ตามทที่ รงมงุ่ หวงั พระองคจ์ ึงทรงลาอาจารยท์ งั้ สอง เสดจ็ ไปใกล้บรเิ วณแมน่ ้าเนรญั ชรา ท่ตี าบลอุรเุ วลาเสนานิคม กรงุ ราชคฤห์ แคว้นมคธ บาเพ็ญทุกรกิรยิ า “ ทกุ ร “ หมายถึง ส่งิ ท่ที าไดย้ าก “ ทุกรกริ ยิ า” หมายถึงการกระทากจิ ทท่ี าไดย้ าก ได้แก่การบาเพญ็ เพียรเพือ่ บรรลธุ รรม วิเศษ” เม่ือพระองคท์ รงหนั มาศึกษาคน้ คว้าด้วยพระปัญญาอันยิ่งดว้ ยพระองค์เองแทนการศึกษาเล่าเรียนในสานกั อาจารย์ ณ ทิว เขาดงคสริ ิ ใกล้ลมุ่ แมน่ า้ เนรญั ชรานนั้ พระองคไ์ ด้ทรงบาเพญ็ ทกุ รกริ ยิ า คือการบาเพญ็ อยา่ งยงิ่ ยวดในลักษณะตา่ งๆเช่น การอด พระกระยาหาร การทรมานพระวรกายโดยการกล้ันพระอสั สาสะ พระปสั สาสะ ( ลมหายใจ ) การกดพระทนต์ การกดพระตาลุ ( เพดาน) ดว้ ยพระชิวหา (ล้นิ ) เป็นต้น พระมหาบรุ ุษไดท้ รงทรงบาเพญ็ ทกุ รกิริยาเป็นเวลาถึง ๖ ปี กย็ ังมไิ ดค้ น้ พบสัจธรรมอนั เป็น ทางหลดุ พ้นจากทุกข์ พระองค์จงึ ทรงเลิกการบาเพญ็ ทกุ รกริ ิยา แลว้ กลบั มาเสวยพระกระยาหารเพือ่ บารุงพระวรกายให้แข็งแรง ใน การคดิ ค้นวิธใี หม่ ในขณะท่ีพระมหาบรุ ษุ ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยานน้ั ได้มปี ญั จวคั คีย์ คอื พราหมณท์ ้ัง ๕ คน ได้แก่ โกณฑัญญะ วัปปะ ภทั ทิยะ มหานามะ และอัสสชิ เป็นผคู้ อยปฏบิ ตั ริ ับใช้ ด้วยหวงั ว่าพระมหาบรุ ษุ ตรสั รแู้ ล้วพวกตนจะไดร้ ับการสัง่ สอน ถ่ายทอดความรู้บา้ ง และเมื่อพระมหาบุรษุ เลกิ ลม้ การบาเพญ็ ทกุ รกริ ิยา ปญั จคั คยี ก์ ็ไดช้ วนกันละทง้ิ พระองค์ไปอยู่ ณ ปา่ อิสปิ ตน มฤคทายวัน นครพาราณสี เป็นผลใหพ้ ระองค์ได้ประทับอยู่ตามลาพังในที่อันสงบเงยี บ ปราศจากส่ิงรบกวนท้งั ปวง พระองค์ไดท้ รง ตั้งพระสติดาเนินทางสายกลาง คอื การปฏิบตั ใิ นความพอเหมาะพอควร นั่นเอง

ตรสั รู้ พระพุทธเจ้าทรงตรสั รู้ เวลารุ่งอรณุ ในวนั เพ็ญเดอื น ๖ ( เดอื นวสิ าขะ) ปีระกา ก่อนพทุ ธศกั ราช ๔๕ ปี นางสุชาดาได้ นาขา้ วมธปุ ายาสเพ่ือไปบวงสรวงเทวดา คร้ันเห็นพระมหาบรุ ุษประทับทีโ่ คนต้นอชปาลนิโครธ (ตน้ ไทร)ดว้ ยอาการอนั สงบ นางคิด ว่าเปน็ เทวดา จึงถวายข้าวมธปุ ายาส แลว้ พระองค์เสด็จไปส่ทู า่ สปุ ดษิ ฐร์ ิมฝ่งั แมน่ า้ เนรญั ชรา ทรงวางถาดทองคาบรรจุขา้ วมธปุ ายาส แลว้ ลงสรงสนานชาระล้างพระวรกาย แล้วทรงผ้ากาสาวพสั ตร์อนั เป็นธงชัยของพระอรหันตสัมมาสมั พุทธเจา้ ทุกพระองค์ หลงั จาก เสวยแล้วพระองคท์ รงจบั ถาดทองคาขึ้นมาอธิษฐานว่า “ ถ้าเราจักสามารถตรัสรู้ไดใ้ นวันน้ี กข็ อใหถ้ าดทองคาใบน้จี งลอยทวน กระแสนา้ ไป แต่ถา้ มไิ ดเ้ ป็นดงั นั้นก็ขอให้ถาดทองคาใบนจ้ี งลอยไปตามกระแสนา้ เถิด “ แลว้ ทรงปลอ่ ยถาดทองคาลงไปในแมน่ ้า ถาดทองคาลอยตดั กระแสนา้ ไปจนถงึ กลางแมน่ ้าเนรญั ชราแล้วลอยทวนกระแสนา้ ขึ้นไปไกลถงึ ๘๐ ศอก จงึ จมลงตรงทีก่ ระแส น้าวน ในเวลาเยน็ พระองคเ์ สดจ็ กลบั มายงั ต้นโพธท์ิ ีป่ ระทบั คนหาบหญา้ ชือ่ โสตถิยะได้ถวายหญ้าปลู าดท่ปี ระทบั ณ ใตต้ น้ โพธ์ิ พระองค์ประทบั หนั พระพกั ตรไ์ ปทางทิศตะวนั ออก และทรงต้ังจติ อธษิ ฐานว่า “ แมเ้ ลอื ดในกายของเราจะเหอื ดแห้งไปเหลอื แต่หนัง เอ็น กระดกู ก็ตาม ถา้ ยงั ไมบ่ รรลธุ รรมวิเศษแลว้ จะไม่ยอมหยุดความเพียรเปน็ อนั ขาด “ เม่อื ทรงตั้งจติ อธิษฐานเช่นนนั้ แลว้ พระองค์ก็ทรงสารวมจติ ใหส้ งบแนว่ แน่ มีพระสตติ ้ังมั่น มพี ระวรกายอันสงบ มีพระหทัยแนว่ แน่เป็นสมาธบิ รสิ ทุ ธิ์ผดุ ผอ่ งปราศจาก กิเลส ปราศจากความเศร้าหมอง ออ่ นโยน เหมาะแก่การงาน ตัง้ ม่ันไม่หว่ันไหว ทรงน้อมพระทยั ไปเพอื่ ปุพเพนิวาสานุสสตญิ าณ ( ญาณเปน็ เหตรุ ะลกึ ถึงขันธท์ อ่ี าศยั ในชาตปิ างกอ่ นได้ )ในปฐมยามแหง่ ราตรี ต่อจากนั้นทรงนอ้ มพระทัยไปเพือ่ จูตปุ าตญาณ ( ญาณ กาหนดร้กู ารตาย การเกดิ ของสตั วท์ ้ังหลาย ) ในมชั ฌิมยามแห่งราตรี ตอ่ จากนัน้ ทรงนอ้ มพระทยั ไปเพอื่ อาสวกั ขยญาณ ( ญาณหย่งั รใู้ นธรรมเปน็ ทสี่ ิ้นไปแห่งอาสวกเิ ลสทง้ั หลาย) คอื ทรงรชู้ ัดตามความเปน็ จรงิ ว่า นท้ี ุกข์ น้ีทกุ ขสมทุ ัย นท้ี กุ ขนิโรธ นท้ี กุ ขนิโรธคามินี ปฏปิ ทา น้อี าสวะ นอี้ าสวสมุทัย นอี้ าสวนิโรธ นอ้ี าสวนโิ รธคามินปี ฏปิ ทา เมือ่ ทรงรูเ้ ห็นอย่างน้ี จติ ของพระองค์กท็ รงหลุดพ้นจาก กามสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ เม่ือจติ หลุดพน้ แลว้ พระองค์กท็ รงรูว้ ่าหลดุ พ้นแลว้ ทรงรูช้ ดั วา่ ชาตสิ น้ิ แลว้ อยจู่ บพรหมจรรย์ แลว้ ทากิจทีค่ วรทาเสรจ็ แลว้ ไมม่ กี ิจอน่ื เพอื่ ความเป็นอย่างนีอ้ กี ตอ่ ไป นัน่ คอื พระองคท์ รงบรรลวุ ิชชาท่ี ๓ คือ อาสวกั ขยญาณ ใน ปัจฉมิ ยาม แห่งราตรีนนั้ เอง ซ่ึงกค็ อื การตรสั รู้พระสพั พัญญตุ ญาณ เปน็ พระอรหันตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ จากการทพ่ี ระองคท์ รงบาเพญ็ พระบารมีมาอยา่ งยิ่งยวด พระองคท์ รงตรัสรใู้ นวันเพญ็ เดือน ๖ ปรี ะกา ขณะพระชนมายไุ ด้ ๓๕ พรรษา นับแต่วนั ท่สี ด็จออกผนวช จนถงึ วันตรสั รธู้ รรม รวมเปน็ เวลา ๖ ปีพระธรรมอันประเสริฐท่พี ระพทุ ธเจา้ ตรสั ร้นู นั้ คอื อรยิ สัจ ๔ ( ทุกข์ สมุทัย นโิ รธ มรรค ) ประกาศพระศาสนาครั้งแรก เมื่อพระพุทธเจ้าตรสั รแู้ ลว้ ทรงเสวยวิมตุ สิ ขุ ณ บริเวณต้นพระศรมี หาโพธเ์ิ ป็นเวลา ๗ สปั ดาห์ ทรงราพงึ วา่ ธรรมะท่ี พระองคต์ รสั รเู้ ป็นการยากสาหรบั คนทวั่ ไป จงึ ทรงน้อมพระทัยไปในทางท่ีจะไม่ประกาศธรรม พระสหมั บดีพรหมทราบวาระจติ ของ พระองคจ์ ึงอาราธนาใหโ้ ปรดมนุษย์ โดยเปรียบเทยี บมนษุ ย์เหมือนดอกบัว ๔ เหลา่ และในโลกน้ยี งั มีเหลา่ สตั วผ์ มู้ ีธลุ ีในดวงตาเบา บาง สตั วเ์ หลา่ นนั้ จะเสอื่ มเพราะไม่ไดฟ้ ังธรรม เหล่าสตั ว์ผทู้ สี่ ามารถรูท้ ่ัวถงึ ธรรมได้ ยังมีอยู่ “ พระพทุ ธเจ้าจงึ ทรงน้อมพระทยั ไปใน การแสดงธรรม แล้วเสด็จไปโปรดปัญจวคั คยี ์ ณ ป่าอสิ ิปตนมฤคทายวนั ทรงแสดงปฐมเทศนา ในวนั ข้นึ ๑๕ ค่า เดอื น ๘ ( เดือน อาสาฬหะ) เรยี กว่า ธรรมจกั กัปปวตั ตนสตู ร ในขณะทีท่ รงแสดงธรรม ทา่ นปัญญาโกณฑณั ญะไดธ้ รรมจักษุ คือบรรลพุ ระโสดาบนั ได้ทลู ขออปุ สมบทในพระธรรมวินยั ของสมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เรยี กการบวชครั้งนวี้ ่า “ เอหภิ กิ ขุอุปสัมปทา ” พระอัญญา โกณฑญั ญะจึงเป็นพระภิกษรุ ปู แรกในพระพทุ ธศาสนา ทรงปรนิ ิพาน พระพุทธเจ้าทรงบาเพญ็ พทุ ธกจิ อยูจ่ นพระชนมายุ ๘๐ พรรษา พระองคเ์ สดจ็ จาพรรษาสดุ ทา้ ยณ เมอื งเวสาลี ในวาระนน้ั พระพุทธองค์ทรงพระชราภาพมากแล้วทงั้ ยงั ประชวรหนกั ด้วย พระองค์ได้ทรงพระดาเนินจากเวสาลสี เู่ มืองกสุ ินาราเพอ่ื เสด็จดบั ขนั ธปรนิ พิ พาน ณ เมอื งน้นั พระพุทธองคไ์ ดห้ นั กลับไปทอดพระเนตรเมืองเวสาลซี ่งึ เคยเปน็ ท่ีประทบั นับเป็นการทอดทศั นาเมืองเว

สาลเี ปน็ คร้งั สดุ ท้าย แลว้ เสด็จตอ่ ไปยงั เมืองปาวา เสวยพระกระยาหารเป็นครงั้ สดุ ทา้ ยทบี่ า้ นนายจนุ ทะ บตุ รนายช่างทอง พระพทุ ธ องคท์ รงพระประชวรหนกั อยา่ งยิ่ง ทรงข่มอาพาธประคองพระองคเ์ สดจ็ ถึงสาลวโนทยาน (ปา่ สาละ)ของเจา้ มัลละเมืองกสุ นิ ารา ก่อนเสด็จดับขนั ธปรนิ พิ พานพระองค์ไดอ้ ุปสมบทแก่พระสภุ ัททะปรพิ าชก นบั เปน็ สาวกองคส์ ดุ ท้ายทีพ่ ระพุทธองคท์ รงบวชให้ ใน ท่ามกลางคณะสงฆ์ทง้ั ท่เี ป็นพระอรหันตแ์ ละปุถุชน พระราชา ชาวเมอื งกสุ ินารา และจากแคว้นตา่ งๆรวมท้ังเทวดาทวั่ หมนื่ โลกธาตุ พระพุทธองคไ์ ดม้ พี ระดารัสคร้งั สาคญั ว่า “ โย โว อานนท ธมม จ วินโย มยา เทสโิ ต ปญญตโต โส โว มมจจเยน สตถา ” อันแปลวา่ “ ดกู ่อนอานนท์ ธรรมและวินยั อันทเ่ี รา แสดงแลว้ บัญญัตแิ ลว้ แกเ่ ธอท้ังหลาย ธรรมวินยั นนั้ จักเปน็ ศาสดาของเธอท้ังหลาย เมื่อเราลว่ งลบั ไปแล้ว “ และพระพุทธองค์ ได้แสดงปัจฉิมโอวาทแก่พระภกิ ษสุ งฆ์ว่า “ดูก่อนภิกษทุ ั้งหลาย นเี้ ปน็ วาจาครัง้ สดุ ทา้ ย ทีเ่ ราจะกลา่ วแก่ทา่ นทง้ั หลาย สังขาร ทั้งหลายทงั้ ปวงมคี วามส้ินไปและเสอ่ื มไปเป็นธรรมดา . ทา่ นท้ังหลายจงทาความรอดพ้นใหบ้ รบิ ูรณถ์ งึ ที่สดุ ด้วยความไมป่ ระมาท เถดิ “แมเ้ วลาล่วงมาถึงศตวรรษที่ ๒๕ แลว้ นบั ต้ังแตพ่ ระองค์ตรัสรู้เปน็ พระอรหนั ตสัมมาสมั พทุ ธเจา้ และเสดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ พิ พาน ทีน่ อกเมอื งกสุ นิ าราในประเทสอินเดยี แตค่ าส่งั สอนอนั ประเสริฐของพระองค์หาไดล้ ว่ งลบั ไปด้วยไม่ คาสง่ั สอนเหลา่ น้ันยังคงอยู่ เปน็ เครื่องนาบุคคลให้ข้ามพ้นจากความมีชีวติ ข้นึ ไปสซู่ ่งึ คุณคา่ ย่ิงกว่าชีวิต คอื การพน้ จากวัฏสงสารนนั่ เอง หลงั จากพระพุทธองค์เสดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ พิ พานแลว้ สาวกของพระองค์ท้ังที่เป็นพระอรหันตแ์ ละมใิ ช่พระอรหันตไ์ ด้ชว่ ย บาเพ็ญกรณียกจิ เผยแผพ่ ระพทุ ธวัจนะอนั ประเสริฐไปทั่วประเทศอินเดยี และขยายออกไปทัว่ โลก เปน็ ทยี่ อมรบั ว่าพระพุทธศาสนา เปน็ ศาสนาแหง่ ความเป็นจริง มีเหตผุ ลเช่ือถอื ได้และ เป็นศาสนาแหง่ สันตภิ าพและเสรภี าพอยา่ งแท้จรงิ สรปุ พุทธกิจในรอบวันของพระพทุ ธองค์ ๑. ปพุ พณเห ปณิ ฑปาตญจ ตอนเชา้ เสดจ็ ออกบณิ ฑบาตเพอื่ โปรดเวไนยสตั ว์ ๒.สายณเห ธมมเทสน ตอนเยน็ ทรงแสดงธรรมโปรดมหาชนที่มาเขา้ เฝ้า ๓.ปโทเส ภิกขโุ อวาท ตอนหัวค่าประทานโอวาทแกภ่ กิ ษทุ ั้งเกา่ และใหม่ ๔.อฑฒรตเต เทวปญหาน ตอนเทยี่ งคืนทรงวิสชั ชนาปัญหาให้แกเ่ ทวดาชั้นต่างๆ ๕.ปจจสเสว คเต กาเล ภพพาภพเพ วโิ ลกน ตอนใกลร้ ่งุ ตรวจดสู ตั ว์โลกท่ีสามารถและไม่สามารถบรรลธุ รรมได้ แล้วเสดจ็ ไปโปรดถึง ที่ แมว้ ่าหนทางจะลาบากเพยี งใดก็ตาม

ใบความรู้หน่วยที่ 2 เร่อื ง พุทธสาวก พุทธสาวกิ า วชิ า พระพุทธศาสนา ม.4 พระอัสสชะิ หรอื พระอสั สชิเถระ เปน็ พระภกิ ษสุ าวกของพระพุทธเจ้า เปน็ หนึ่งในปัญจวคั คยี ์ พระอัสสชิเกดิ ในตระกลู พราหมณแ์ ห่งกรงุ กบลิ พสั ดุ เมอื่ เจ้าชายสทิ ธตั ถะตรสั รูเ้ ป็นพระพทุ ธเจา้ แล้ว ไดเ้ สด็จมาแสดงปฐมเทศนาแกพ่ ระอสั สชิ ทาให้ทา่ นกราบทูลขอบวช เมื่อไดต้ รสั รู้ธรรมแล้ว มี บทบาทสาคญั ในการชว่ ยเผยแพรพ่ ระพุทธศาสนาในชว่ งต้นพทุ ธกาล ดว้ ยความเปน็ ผมู้ ีมารยาทน่าเลอื่ มใสของทา่ น ทาใหท้ า่ นเปน็ พระสงฆ์คนแรกที่ทาใหอ้ ปุ ติสสะมาณพเลอ่ื มใสในพระพุทธศาสนา ซงึ่ ต่อมามาณพคนนค้ี ือพระสารีบตุ ร ท่านเป็นผู้กลา่ วคาถา สาคัญยงิ่ คาถาหน่ึงในพระพุทธศาสนาคือ พระคาถา เย ธมมฺ า.ทา่ นดารงอายพุ อสมควรแก่กาลก็ดับขนั ธปรนิ พิ พาน ท่านไดรบั การ ยกยอ่ งวา่ มีความสามารถในการเทศนาสง่ั สอนธรรมะแกป่ ระชาชนอย่างไดใ้ จความ สน้ั กระทดั รดั ครอบคลุมหลกั พระพทุ ธศาสนา คณุ ธรรมทคี่ วรยดึ ถอื เป็นแบบอยา่ ง 1. เป็นผู้มคี วามสารวม และเหมาะสมที่จะเปน็ แบบอย่างแกส่ มณะ 2. เป็นผมู้ คี วามอ่อนนอ้ มถ่อมตน ตอ่ บคุ คลที่ท่านแสดงธรรม โดยพูดในทานองว่า ท่านบวชได้ไมน่ าน ยังไมส่ ามารถแสดงธรรมใหพ้ สิ ดารได้ 3. เปน็ ครทู ดี่ ี นอกจากถา่ ยทอดธรรมะแล้ว ยงั ประพฤตติ นเปน็ แบบอย่างทีด่ ีแก่ศิษย์ และบุคคลทัว่ ไปอกี ด้วย 4. เป็นผ้ทู ่มี คี วามเลือ่ มใสในพระพุทธศาสนาและมสี ่วนสาคัญในการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา พระกสี าโคตมเี ถรี พระกีสาโคตมเี ถรี เดมิ มชี ่อื วา่ กีสา เพราะรปู ร่างผอมบาง ส่วนโคตมีเป็นชื่อโคตร (ตระกลู ) ท่านเป็นธดิ าของตระกลู ทเี่ กา่ แก่ตระกลู หนึ่งในกรุงสาวตั ถี วันหนง่ึ นางเดินไปท่ีตลาดได้เหลอื บไปเหน็ พอ่ คา้ คนหนึ่งนาเอาทองมากองไว้ นงั่ เฝา้ ดงั หน่งึ จะขายใหแ้ ก่คน ทวั่ ไป นางจึงเข้าไปถามดว้ ยคาวา่ “คณุ พอ่ คนอ่นื เขาขายผา้ ขายนา้ ผงึ้ นา้ อ้อย เป็นต้น แต่ทาไมคณุ พ่อนาทองมาขาย “ ดว้ ย คาพูดของนางทาใหพ้ อ่ ค้าทถี่ กู เรียกวา่ “คุณพ่อ” ต่นื เตน้ เปน็ การใหญ่ เนื่องจากพอ่ คา้ คนนเี้ ดมิ เป็นเศรษฐีในเมืองสาวตั ถี จู่ ๆ วนั หนงึ่ ทอง ทม่ี ที ั้งหมดไดก้ ลายเป็นถา่ นซึง่ อาจเกิดจากผลแหง่ บาปกรรมอยา่ งใดอยา่ ง หนง่ึ ของเศรษฐีเองจงึ สร้างความตกใจและ ความโศกเศรา้ แกเ่ ศรษฐีเป็นอยา่ งยิ่ง เมอ่ื เพอื่ นเศรษฐีทีร่ ู้เร่อื งราวก็พากันมาปลอบโยนและแนะนาใหเ้ ศรษฐใี ห้ ลองเอาถา่ นท้งั หมดไปกองไว้ทตี่ ลาดที่คนเดนิ ผา่ น ไปมา หากคนทผ่ี ่านไปมามองเห็น วา่ เป็นถ่านจะพดู อย่างไรกไ็ มต่ ้องไปสนใจ แตเ่ ผ่ือมีใครสกั คนมองเหน็ แลว้ พดู วา่ ทองก็ให้คน ๆ น้ันจบั ถา่ นเหลา่ น้ีแล้ว ถา่ นกอ็ าจกลายเป็นทองได้ เศรษฐจี ึงได้ทาตามคาแนะนาของเพือ่ น เมอ่ื นางกีสาโคตมมี าพบและพูดทักวา่ ทาไมเอาทองมากองดังหนึ่งจะขายดงั กล่าวมา ข้างต้นเศรษฐีจงึ มีความตนื่ เตน้ เป็นอย่างยง่ิ จึงให้นางลองหยิบให้ดู เม่ือนางหยบิ ถ่าน ขึ้นมาก้อนหน่งึ ถา่ นก็กลายเป็นทองจรงิ ๆ และเมื่อนางหยบิ กอ้ นถ่านทงั้ หมด กอ้ นถ่านเหล่าน้ันกก็ ลายเปน็ ทองตามเดิม เศรษฐีรวู้ ่า นางยงั ไม่แต่งงาน จึงไปส่ขู อพ่อแมข่ องนางแต่งงานกับบุตรชายของตนและรบั นางมาอยทู่ ่ตี ระกลู สามี อยู่มาไมน่ าน นางก็ใหก้ าเนดิ บุตรนา่ รกั คนหนงึ่ ยงั ความปลาบปลืม้ แกส่ มาชกิ ในตระกลู เป็นอย่างยง่ิ แต่อยู่ไดไ้ มน่ าน บุตร น้อยของนางกเ็ สียชวี ติ กระทันหนั นางร่าไห้เสยี ใจเป็นอยา่ งมาก จนสติฟน่ั เฟือนครึง่ บ้า ไมย่ อมใหใ้ ครเผาศพลูกชาย คดิ เข้าข้างตัว วา่ ลูกชายของตนยงั ไมต่ าย เพยี งสลบไปเทา่ น้นั มิไยใครเขาจะบอกว่าลูกของนางตายแลว้ กไ็ มฟ่ ัง นางเท่ียวเสาะหาคนที่จะสามารถ รักษาลกู ชายของนางใหก้ ลบั ฟ้ืนไดจ้ นมผี ู้แนะนา ใหน้ างไปเฝ้าพระพทุ ธเจา้ เพอ่ื ใหพ้ ระพทุ ธองค์รักษา นางดใี จเปน็ อยา่ งย่งิ จงึ ไดอ้ ุ้ม

ศพบุตรชายรีบไปเฝา้ พระพุทธเจ้าซึง่ ประทับ อยู่ทพ่ี ระวหิ ารเชตวนั นอกเมอื งสาวัตถีเม่อื เข้าเฝ้าพระพทุ ธเจ้าแล้ว นางได้กราบทลู ให้ พระพทุ ธองคร์ กั ษาบุตรนอ้ ยพระพทุ ธองค์ตรัสใหน้ างไปเอาเมลด็ พันธุ์ผกั กาดมาสักกามือหน่ึง และเมลด็ พนั ธผุ์ ักกาดนั้นจะตอ้ งเอา มาจากบา้ นเรอื นทไี่ มม่ ใี ครตาย เมอื่ ไดม้ าแลว้ พระองคจ์ ะทายาใหน้ างกีสาโคตมอี ุ้มลูกนอ้ ยไปเท่ียวขอเมล็ด พันธุ์ผกั กาดจาก ชาวบ้านท่วั ทุกครัวเรือน ไมไ่ ดแ้ มแ้ ต่เมลด็ เดียว เนอ่ื งจากแตล่ ะครัวเรอื นกม็ คี นตายมาแลว้ ทงั้ สิ้น จนในท่ีสดุ นางกไ็ ดส้ ติกลับคนื มา และคิดได้วา่ ความตายนั้นไม่ใช่ตายเฉพาะลกู เราคนเดียว คนอน่ื กต็ ายด้วย สกั วันหน่งึ เราเองกจ็ ะตอ้ งตายเหมอื นกนั ความตายเป็น สัจจะแห่งชวี ติ ส่งิ ใดมีการเกดิ ขน้ึ สงิ่ นั้นก็มีการแตกดับไปในทสี่ ุด เมอื่ คิดไดด้ งั น้ี แสงสว่างแห่งปญั ญากโ็ พลงข้นึ กลางใจ ความเศรา้ โศกที่แบกรบั มาจนหนักอ้ึงก็ผอ่ นคลายเบาบาง จติ ใจสดช่นื โปรง่ โล่งสบาย นางจดั การเผาศพลกู ชายตนเอง แล้วเขา้ เฝ้า พระพุทธเจ้าซ่ึงพระองคก์ ไ็ ด้ตรัสโลกธรรมสน้ั ๆ ใหฟ้ งั ว่า“มฤตยยู อ่ มพาชีวิตของคนทีย่ ึดตดิ มัวเมาในบตุ รและในทรัพย์สินไป ดจุ เดียวกับกระแสนา้ หลากมาพดั พาเอาชีวติ ของประชาชนผนู้ อนหลับไหลไป ฉะนนั้ ส้ินสดุ พระธรรมเทศนาสนั้ ๆ นางกสี าโคตมกี ไ็ ด้ บรรลโุ สดาปัตตผิ ล กราบทลู ขออปุ สมบทเป็นพระภิกษณุ ี พระองคท์ รงส่งนางไปบวชในสานักภกิ ษณุ สี งฆ์ เมือ่ บวชแล้วได้นาม ตามเดมิ ว่า “พระกสี าโคตมีเถรี” วนั หน่งึ ขณะพระเถรตี ามประทีปใหส้ วา่ งในวหิ าร เหน็ เปลวประทีบลกุ แล้วหรีล่ ง ลกุ แล้วหรลี่ ง เช่นนตี้ ลอด ได้กาหนดเอาแสงประทีปเป็นอารมณ์กรรมฐาน แลว้ เกดิ ความรขู้ ้ึนวา่ ชวี ติ สัตวท์ ัง้ หลายดจุ เดยี วกับแสงประทีป เกดิ ขน้ึ แลว้ กด็ บั ดับแลว้ ก็เกดิ ใหม่ เวียนวา่ ยอยใู่ นวงจรแห่งการเกดิ ดับอยู่ ไม่รู้นานเทา่ ไร จนกวา่ จะบรรลุพระนิพพานนัน้ แหละ จึงจะหยุด วงจรแห่งการเกดิ ดบั น้ไี ด้ ฉับพลันนัน้ เองได้ปรากฏแสงสวา่ งเรอื งรองประหน่งึ พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ มาประทบั ต่อหนา้ นาง พระสรุ เสียง กังวานแว่วมาวา่ “ถกู แล้ว กสี าโคตมี ผ้ใู ดเหน็ แจ้งในพระนพิ พาน แม้จะมชี วี ิตอยเู่ พียงวันเดียว ก็ยังประเสริฐกวา่ ผู้มอี ายตุ ั้งรอ้ ยปแี ต่ ไมเ่ หน็ แจ้ง” เมอื่ สิน้ สดุ พระพุทธภาษติ พระกสี าโคตมีเถรีกไ็ ด้บรรลพุ ระอรหันตผลพรอ้ มปฏสิ ัมภทิ าพระกสี าโคตมเี ถรไี ด้ รับยกย่อง จากพระพทุ ธเจา้ วา่ เปน็ เอตทัคคะ (ความเปน็ เลศิ กว่าผอู้ ืน่ ) ในทางทรงจวี รเศร้าหมอง เป็นผ้ถู ือธดุ งควตั รเครง่ ครัด มีความเป็นอยู่ เรียบงา่ ยอยา่ งย่งิ เปน็ สตรที มี่ ีบทบาทในการจรรโลงพระพุทธศาสนาอยา่ งดยี ิ่งท่านหนง่ึ พระนางมัลลิกา ทม่ี บี ทบาทสาคญั ในพระพทุ ธศาสนามอี ยู่ 2 คน คนหนึง่ เป็นธดิ าของนายมาลาการ (ช่างทาดอกไม)้ ในเมอื งสาวตั ถี ต่อมาไดเ้ ปน็ มเหสีของพระเจ้าปเสนทโิ กศล พระนางมลั ลิกาอีกคนหนึ่งเปน็ ธิดาของมลั ละกษัตริย์องค์หน่งึ ในเมืองกุสนิ ารา ภายหลังไดส้ มรสกับพันธุละเสนาบดี ซงึ่ พระนางมัลลิกาท่จี ะศึกษาในทน่ี ี้ หมายถึง พระนางผเู้ ป็นภรรยาของพนั ธุละเสนาบดี พระนางมัลลิกา เป็นราชธิดาของมลั ลกษัตริย์พระองค์หนึง่ ในเมืองกุสนิ าราแห่งแคว้นมลั ละ พระนางเป็นหญงิ เบญจกบั ยาณีท่มี คี วามงาม พร้อมทุกสดั ส่วน คอื มีผมงาม รมิ ฝปี ากงาม ฟนั งาม ผิวพรรณงาม และวัยงามเมอื่ เจรญิ วัย พระนางมลั ลิกากไ็ ดส้ มรสกับเสนาบดี พันธุละ โอรสของมัลลกษตั รยิ ์อีกพระองคห์ น่ึงในเมืองกุสนิ าราเช่นกนั จากนน้ั ได้พากันอพยพไปอยเู่ มอื งสาวัตถี แคว้นโกศล เพื่อไป พง่ึ บารมพี ระเจา้ ปเสนทิโกศลผู้เปน็ พระสหายสนทิ พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงทราบว่า เสนาบดีพันธลู ะ พระสหายมฝี มี ือในการทา สงคราม จงึ โปรดแตง่ ตัง้ ใหเ้ ป็นเสนาบดีบัญชาการกองทพั เมื่อพระพุทธเจ้า ไดเ้ สด็จมาประกาศพระศาสนา ณ แควน้ โกศล ทาให้ศาสนาไดแ้ พรห่ ลายทเ่ี มอื งสาวัตถี ประชาชนพากัน นบั ถอื พระพุทธศาสนาเป็นจานวนมาก ได้มีการสร้างวดั พระพทุ ธศาสนาขน้ึ 2 วัด คอื วัดเชตวัน สรา้ งถวายโดยอนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี และวัดบุพพาราม สรา้ งถวายโดยนางวิสาขา เสนาบดพี ันธลุ ะและพระนางมลั ลกิ าไดม้ โี อกาสฟงั ธรรมของพระพทุ ธเจา้ และได้ นบั ถือ พระพทุ ธศาสนาจากวดั ทงั้ สองแหง่ นี้ เสนาบดพี ันธลุ ะและ พระนางมลั ลกิ าไดส้ มรสกันแล้วหลายปี แต่ไมม่ บี ตุ รธิดาด้วยกนั ตามธรรมเนียมอนิ เดยี สมัยนนั้ ถือวา่ เครง่ ครดั วา่ ถ้าสตรใี ดไมม่ บี ตุ รกับสามี สตรีนั้นเป็นอปั มงคล เสนาบดีพันธุละจงึ สง่ พระนางมัลลิกากลบั เมอื งกุสินารา การส่งพระ นางมัลลกิ ากลบั นัน้ เทา่ กบั ไม่ยอมรบั ความเป็นภรรยาสามี พระนางมลั ลิกาจงึ ยอมกลบั บา้ นเมืองของตน กอ่ นกลบั ใหไ้ ปกราบทลู

พระพทุ ธเจ้าทเ่ี ชตวนั พระพุทธเจา้ ตรัสถาม ทรงทราบความจริงแลว้ ตรสั แก่พระนางมลั ลกิ าวา่ ไม่ต้องกลับไปบ้านหรอก กลบั ไปอยู่ กับทา่ นเสนาบดีพนั ธลุ ะเถดิ เสนาพนั ธลุ ะไดเ้ ห็นพระนางมัลลิกากลบั มา จงึ ถามว่า กลับมาทาไม เมือ่ พระนางมลั ลกิ าเลา่ เร่อื งทัง้ หมดให้ฟังแลว้ เสนา พันธุละจึงราพึงว่า พระพุทธเจา้ คงเหน็ การณ์ไกลบางอย่าง จงึ ให้พระนางมลั ลกิ ากลับ เสนาบดพี ันธลุ ะจงึ รบั พระนางมลั ลิกาไวเ้ ป็น ชายาตามเดิมต่อมาไม่นานนัก พระนางมัลลกิ าได้ตง้ั ครรภ์ เมอ่ื ครบกาหนดแลว้ คลอดบตุ รแฝดเป็นชายทั้งคู่ เสนาบดพี ันธุละกับพระ นางมัลลกิ าอยรู่ ่วมกนั มบี ตุ รชายอกี 32 คน ล้วนแฝดท้ังส้ิน เม่อื ทกุ คนเตบิ โตก็ไดร้ บั การศึกษาเลา่ เรยี น และไดเ้ ข้ารับราชการทหาร ในกองทพั เสนาบดพี นั ธลุ ะเปน็ นายทหารชนั้ ผู้ใหญ่ท่ีจงรักภกั ดตี อ่ พระเจ้าปเสนทโิ กศล เป็นคนซ่ือตรง จนไดร้ ับแต่งตั้งจากพระเจา้ ป เสนทิโกศลให้เปน็ ผูม้ หี น้าทปี่ รบปรามขา้ ราชการที่ทุจริต ซ่งึ เสนาบดพี นั ธุละไดป้ ฏิบตั หิ นา้ ที่ไดอ้ ยา่ งดี เปน็ ท่เี คารพเช่ือถอื ของ ประชาชนทว่ั ไป แตก่ ารปฏิบัตหิ นา้ ที่ปราบปรามขา้ ราชการที่ทุจริตคดโกงน้ีไดท้ าใหเ้ สนาบดพี ันธุละมศี ตั รมู าก โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ข้าราชการที่สญู เสยี ผลประโยชนแ์ ละอานาจ จงึ ไดย้ ยุ งและใส่ความวา่ เสนาบดพี นั ธลุ ะคดิ จะแย่งอานาจราชบัลลงั ก์จากพระเจา้ ป เสนทโิ กศลคร้งั แรกพระเจ้าปเสนทโิ กศลทรงไม่เชอ่ื แตห่ นักๆ เข้ากม็ พี ระทัยหว่ันไหว ท้ังน้ีเพราะไดส้ งั เกตเห็นความนบั ถือของ ประชาชนชาวเมืองทมี่ ตี อ่ เสนาบดพี ันธลุ ะ พระเจ้าปเสนทิโกศลจึงทรงใหค้ ณะนายทหารวางแผนฆ่าเสนาบดีพนั ธลุ ะ พรอ้ มกบั บตุ รชายทุกคนท่ีเปน็ นายทหาร พระนางมัลลิกาทรงทราบข่าวร้ายจากผ้ทู ี่หวังดที แี่ อบเขยี นจดหมายสง่ ข่าวมาบอกวา่ สามีและบตุ รชายของนางทุกคนถกู ฆ่าตาย ซ่ึงในขณะนน้ั พระนางมลั ลกิ ากาลงั ทาบญุ เลย้ี งพระทบ่ี า้ น การทาบุญเลยี้ งพระในครั้งนัน้ พระนางมัลลิกาได้นมิ นต์พระสารี บุตรมาเป็นประธานสงฆ์ ขณะท่ีกาลงั ทาบญุ เลี้ยงพระอยู่นัน้ หญงิ รบั ใชไ้ ดย้ กถาดอาหารออกมาเพือ่ จะถวายพระสารบี ตุ รหกล้ม ทา ใหถ้ าดอาหารหลุดมือตกลงแตกกระจายตอ่ หน้าพระสารบี ุตรและพระนางมลั ลิกา พระสารบี ุตรจึงกลา่ วเปน็ ทานองให้สติพระนาง มัลลกิ าวา่ สิ่งของแตกสลายเปน็ เรอ่ื งธรรมดา มนั แตกสลายไปแล้วกช็ า่ งเถอะ อยา่ ไดค้ ิดเสยี ใจเลย เมอื่ พระนางมลั ลกิ าไดย้ ินพระสารบี ตุ รกลา่ วดงั น้นั กไ็ ดห้ ยบิ จดหมายลับซึง่ แจ้งข่าวรา้ ยเกย่ี วกับการตายของสามีและลกู ๆ ของนางออกมาอา่ นใหพ้ ระสารบี ตุ รฟัง พร้อมกบั กลา่ วว่า สิ่งของที่แตกสลายนด้ี ิฉันทาใจได้ ไม่คิดเสยี ใจแต่อย่างใด แม้แตข่ ่าวร้าย คอื การตายของพระสวามแี ละลูกๆ ของดฉิ ันยังทาใจได้ไมเ่ สียใจเลย เมื่อพระสารบี ตุ รพร้อมดว้ ยพระสงฆ์ฉนั ภตั ตาหารเสร็จแลว้ ไดก้ ลา่ วอนโุ มนทาแกพ่ ระนางมลั ลิกาว่า ชีวิตของสัตว์ทงั้ หลาย ในโลกนไี้ มม่ เี ครือ่ งหมายบอกใหร้ วู้ า่ อนาคตข้างหนา้ จะเปน็ อยา่ งไร ไมม่ ใี ครรไู้ ด้ ทง้ั ลาบาก ทัง้ อายุส้ัน ซ้าเต็มไปดว้ ยความทกุ ข์ ภายหลงั ทาบญุ เลย้ี งพระเสรจ็ แลว้ พระนางมัลลิกาไดเ้ รยี กลูกสะใภท้ กุ คนมา และเล่าเรื่องทัง้ หมดใหฟ้ งั พรอ้ มกับสอน ลกู สะใภว้ า่ พวกเจ้าอยา่ ได้พยาบาทอาฆาตพระเจ้าปเสนทิโกศล ขอให้คดิ ว่าบดิ าและสามขี องพวกเจา้ ตอ้ งตายครงั้ นี้ไมม่ ีความผดิ เป็นผบู้ รสิ ุทธิ์ แต่ตายเพราะถกู คายยุ ง เนอ่ื งมาจากความอาฆาตรษิ ยา ขอให้คิดว่าบดิ าและสามีของพวกเจา้ ตายเพราะกรรมเก่าท่ี เคยทามากอ่ น ขอให้พวกเจา้ ทุกคนอย่าไดโ้ กรธและอาฆาต เพราะจะเปน็ เวรตดิ ตัวตอ่ ไปอีก ขอให้อภยั แก่พระเจ้าปเสนทโิ กศล เมื่อเสนาบดพี นั ธลุ ะและบตุ รชายทั้งหมดถูกฆา่ ตายแล้ว พระเจา้ ปเสนทโิ กศลไดส้ ง่ หน่วยสืบราชการลบั ตดิ ตามความ เคลอ่ื นไหวของพระนางมลั ลิกาทกุ ฝกี ้าว ทรงทราบเรื่องพระนางมัลลกิ าทาบญุ เลยี้ งพระ และเรือ่ งทีพ่ ระนางมัลลิกาประชุมลกู สะใภ้ ท่ีบ้าน เพ่ือใหอ้ ภัยแกพ่ ระองค์ พระองคท์ รงเสยี พระทยั ย่ิงนกั แตก่ ส็ ายเสียแลว้ พระองคจ์ ึงเสดจ็ ไปที่บา้ นของพระนางมัลลิกา แลว้ ทรงสารภาพวา่ พระองค์เป็นฝ่ายผดิ ขอใหพ้ ระนางมัลลิกายกโทษใหพ้ ร้อมกบั พระราชทานโอกาสแก่พระนางมลั ลิกาวา่ ตอ้ งการ อะไรขอใหบ้ อก จะพระราชทานให้ทุกอยา่ ง พระนางมัลลิกาจึงฉวยโอกาสขอพระราชทานอนญุ าตกกลับไปเมืองกสุ ินารา บา้ นเดมิ ของตน พระเจา้ ปเสนทิโกศลจาตอ้ งพระราชทานโดยไมเ่ ต็มพระทัยนกั แตเ่ พ่อื ชดเชยกบั เรอื่ งนี้ พระเจา้ ปเสนทิโกศลจงึ ไดท้ รง แต่งตงั้ นายทหารผหู้ นงึ่ ชือ่ ทีฆการายนะ ซง่ึ เปน็ หลานชายของเสนาบดีพนั ธุละขน้ึ เปน็ แมท่ ัพใหญ่สบื แทนตาแหน่งของเสนาบดีพันธุ ละพระนางมัลลิกาและลกู สะใภไ้ ดก้ ลบั มาอยู่ทีเ่ มืองกสุ นิ าราดว้ ยความผาสกุ โดยวางใจต้ังมน่ั อยูใ่ นหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา

เม่อื พระพทุ ธเจ้า เสดจ็ มาเมอื งกสุ นิ าราและเสดจ็ ปรินพิ พานทน่ี ัน้ พระนางมลั ลิกาและลูกสะใภก้ ็ได้พากันไปนมัสการพระพทุ ธสรรี ะ ของพระพทุ ธเจา้ ด้วย พระนางมลั ลกิ าได้อยูท่ ี่เมืองกสุ ินาราด้วยความสขุ จนสน้ิ ชีวิต หมอชีวกโกมารภจั จ์ เป็นแพทย์ประจาพระองค์พระโคตมพทุ ธเจ้าและพระเจ้าพิมพสิ ารแห่งแควน้ มคธ อาศัยอยใู่ นราชคฤหช์ ่วง 600–500 ปี กอ่ นคริสตกาล มชี อื่ เสยี งอยา่ งมากในเรอื่ งเล่าขานของเอเชยี ในฐานะแพทย์ตวั อย่าง ทั้งไดร้ บั ยกย่องให้เปน็ แพทย์ตน้ แบบของแพทย์ แผนโบราณในหลายประเทศแถบเอเชยี เร่อื งราวของชีวกะพบได้ในเอกสารพุทธสมยั เรม่ิ แรกของหลาย ๆ วฒั นธรรม เชน่ วัฒนธรรมบาลแี ละวัฒนธรรมมลู สรวา สติวาท ตลอดจนเอกสารสมัยหลังอย่างพระสตู รและอปทาน เอกสารเหลา่ นี้ระบสุ อดคล้องกันวา่ ชีวกะเป็นบุตรของหญิงงามเมืองผู้ หนึ่ง ถกู มารดาท้งิ แตก่ าเนดิ ชาววงั พระเจ้าพิมพสิ ารมาพบเข้าจึงเกบ็ ไปเลี้ยง ครน้ั เติบใหญ่ข้นึ เขาเดนิ ทางไปตักษศลิ าเพ่อื เรียนวิชา แพทยเ์ จด็ ปี สาเร็จแลว้ กเ็ รม่ิ รักษาคนในราชคฤห์ ความสาเร็จในการรักษาของเขาทาใหเ้ ขามชี ื่อเสยี งเลอ่ื งลือ ทง้ั ได้เปน็ แพทย์ ประจาพระองคพ์ ระเจา้ พิมพิสารและพระโคตมพทุ ธเจ้า ยิง่ เขาถวายงานต่อพระพุทธเจา้ เขาก็ยงิ่ เล่อื มใสในพทุ ธศาสนา ทส่ี ุดจงึ ได้ เปน็ อปุ ถัมภกคนสาคัญของศาสนานี้ ทงั้ ไดส้ ร้างวดั นามว่า \"ชีวการามวหิ าร\" ถวายพระพุทธเจา้ ดว้ ย ภายหลัง พระเจา้ อชาตศตั รู พระโอรสพระเจา้ พมิ พสิ าร ปลงพระชนมพ์ ระเจา้ พมิ พสิ ารเพ่อื ชงิ บัลลังก์ ชวี กะก็มีบทบาทในการทาให้พระเจา้ อชาตศตั รูยอมมาเขา้ เฝา้ พระพุทธเจา้ จนพระเจ้าอชาตศัตรสู านกึ ในบาปกรรม เอกสารข้างตน้ มกั พรรณนาวิธกี ารซับซอ้ นท่ีชวี กะใช้ในการแพทย์ เช่น วิธกี ารบางอยา่ งทอ่ี าจตีความไดว้ ่า เป็นการผ่าตดั สมอง แตค่ ณุ คา่ ในทางประวัตศิ าสตรข์ องเนื้อหาเหล่าน้ีเปน็ ท่ีถกเถยี งกนั มายาวนานในหมู่นักวิชาการ ถงึ กระน้นั ชาวพุทธก็ยกยอ่ งชี วกะตลอดมาในหน้าประวัติศาสตร์ของเอเชยี ทงั้ แพทยท์ ีม่ ใิ ช่ชาวพุทธก็นับถอื เขาในระดบั หนง่ึ โดยยกย่องเปน็ แพทย์ตวั อยา่ งและ เป็นนักบุญ นอกจากน้ี มีเอกสารการแพทยจ์ านวนหนึ่งจากยคุ กลางของอนิ เดยี และจนี ทเ่ี ชอ่ื ว่า ชวี กะเปน็ ผู้แตง่ ปัจจุบัน ชาวอนิ เดีย และชาวไทยยกยอ่ งเขาเปน็ ผู้โอบอมุ้ การแพทย์แผนโบราณ ทัง้ เขายงั มบี ทบาทหลกั ในพธิ กี รรมทง้ั หลายทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การแพทย์ แผนไทย อน่งึ ที่ผา่ นมา บทบาทของชีวกะในทางตานานกม็ ีส่วนสาคญั ท่ชี ว่ ยดงึ ดูดผเู้ ล่อื มใสและสรา้ งความชอบธรรมให้แก่พุทธ ศาสนา โดยมกี ารปรบั ปรงุ รายละเอยี ดบางประการใหส้ อดรบั กับบรบิ ทของแตล่ ะท้องที่ ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 พระถังซัมจง๋ั รับราชโองการจกั รพรรดถิ ังไทจ่ งไปเชิญพระไตรปิฎกมาจากอนิ เดีย ไดพ้ บวดั แหง่ หนึ่ง และระบวุ ่า เป็นวัดชีวการามวิหารของหมอชวี กะ สถานที่ที่พระถงั ซมั จั๋งค้นพบนั้นไดร้ ับการขุดค้นในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 19 และถอื เป็นหนึ่งในพุทธสถานอันเก่าแก่ท่สี ดุ ทีย่ งั ดารงอยู่ในปัจจบุ ัน

ใบความรู้หน่วยท่ี 2 เรอื่ ง ศาสนกิ ชนตัวอย่าง วชิ า พระพทุ ธศาสนา ม.4 พระนาคเสน - พระยามลิ ินท์ พระนาคเสน ตามคัมภรี ์บาลกี ล่าวว่า ท่านเกิดท่กี ะชงั คลคาม ใกลภ้ เู ขาหิมาลัย มีชีวิตในราวพุทธศตวรรษท่ี 6 (ประมาณ พ.ศ. 500 เศษ) บดิ าของท่านเป็นพราหมณ์ช่อื วา่ โสณตุ ตระ เม่ือวยั เด็ก นาคเสนกมุ ารไดศ้ กึ ษาเลา่ เรยี นศิลปวิทยาตา่ ง ๆ และเรียน ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วจนจบไตรเพท มพี ระเถระรปู หนึง่ ชอ่ื โรหณเถระ พระเถระรปู นไ้ี ดไ้ ปบณิ ฑบาตทีบ่ า้ นบดิ าของทา่ นเปน็ ประจาทกุ วนั นับเวลาได้ 7 ปี 10 เดือน แตไ่ มไ่ ดร้ บั การยกมือไหว้ การกราบไหว้ หรอื สามีจกิ รรม (การแสดงความเคารพ) ได้แต่คาพดู เยาะเยย้ ถากถางดูหมิน่ จนวันหนึง่ ขณะทพี่ ระเถระได้เดนิ สวนทางกับพราหมณ์โสณุตตระและถูกพราหมณถ์ ามว่าวันน้ี ทา่ นได้อะไรบา้ ง เมอื่ พระเถระตอบว่า ได้ พราหมณร์ สู้ กึ โกรธนางพราหมณผี ูเ้ ปน็ ภรรยามาก จงึ ไดไ้ ปตาหนภิ รรยา แตเ่ มอื่ นางพราหมณตี อบว่าไมไ่ ด้ ให้อะไรเลย จงึ กลับไปตอ่ วา่ พระเถระหาว่าทา่ นพูดโกหก พระเถระจงึ ตอบว่าเราไม่ไดอ้ ะไรจากพราหมณผี ้เู ปน็ ภรรยาของท่านเลย เพยี งแต่ภรรยาของท่านกล่าวกบั เราดว้ ยถ้อยคาอนั ไพเราะ เราจงึ ตอบทา่ นวา่ ได้ เม่ือพราหมณไ์ ด้ฟงั ดงั นั้น จึงเกดิ ความเลื่อมใสต่อ พระเถระมากและได้นมิ นตใ์ ห้พระเถระไปรบั บณิ ฑบาตยัง เรอื นของตนทกุ ๆ วนั วันหน่งึ นาคเสนกุมารไดพ้ บกบั พระเถระ จงึ เขา้ ไปสอบถามวา่ ทา่ นรศู้ ิลปะหรอื ไม่ พระเถระตอบวา่ รู้ และรู้ศลิ ปะสูงสดุ นาคเสนกมุ ารจงึ ขอให้พระเถระบอกศลิ ปะสูงสดุ น้ัน พระเถระกลับตอบว่า ไมส่ ามารถจะให้เรียนได้ ผทู้ จ่ี ะเรยี นศลิ ปะสงู สดุ ตอ้ งบวช เสยี กอ่ น นาคเสนกมุ ารจงึ ไปขออนุญาตบดิ ามารดาเพื่อออกบวช เมอื่ ได้รบั อนญุ าตจากบดิ ามารดาด้วยความมุ่งหวังวา่ เมอื่ นาคเสน กุมารไดบ้ วชและไดเ้ รียนศลิ ปะสงู สุดแล้ว คงสึกออกมาเป็นฆราวาสแนน่ อน นาคเสนกุมารบวชเปน็ สามเณรทีถ่ ้ารักขิต มีพระ โรหณะเถระเป็นพระอุปชั ฌาย์ เมอ่ื ออกบวชแลว้ พระอปุ ชั ฌาย์ไดส้ ่งใหไ้ ปศกึ ษาอภิธรรมอยู่กบั พระอสั สสคุ ตท่ีวตั ตนิยเสนานะ ต่อมาเม่ือท่านอุปสมบทแลว้ วนั หนึ่งพระนาคเสนไดต้ ิดตามพระเถระไปฉนั ภตั ตาหารทีบ่ ้านอุบาสกิ าคนหนงึ่ หลงั ฉันเสรจ็ แล้ว พระ เถระได้ใหพ้ ระนาคเสนกล่าวอนโุ มทนา พระนาคเสนไดก้ ล่าวอนุโมทนาดว้ ยอภิธรรมกถา แสดงโลกตุ รธรรมประกอบด้วยสญุ ญตา นปุ สั สนา อบุ าสิกาฟังไปดว้ ยพจิ ารณาตามไปดว้ ย จนได้บรรลุโสดาปตั ติมรรค ส่วนพระนาคเสนเองกไ็ ดบ้ รรลเุ ป็นพระโสดาบันด้วย หลงั จากน้นั พระอสั สคตุ ตเถระ ไดส้ ่งพระนาคเสนไปอยู่ในสานกั ของพระธรรมรักขิตเถระ ณ อโศการาม เมืองปาตลบี ตุ ร เพือ่ ศึกษาพระพทุ ธวจนะให้ยงิ่ ข้ึน เมอ่ื นาคเสนเรยี นรู้พระไตรปฎิ กมากข้นึ กเ็ กดิ มที ิฐิมานะคิดว่าไม่มใี ครรดู้ เี ทา่ กบั ตน พระธรรม รักขิตเห็นว่าพระนาคเสนเชย่ี วชาญในปริยัตยิ ง่ิ นกั แต่การปฏบิ ตั ิยงั ไม่ถึงท่สี ดุ จงึ กลา่ วเตือนวา่ เดก็ เลย้ี งโค ได้แต่ดแู ลโคให้คนอื่น แตไ่ มไ่ ดด้ ่มื นา้ นมโค ประดจุ คนที่เรยี นรูพ้ ระพทุ ธพจน์มากมายจนเปน็ พหสู ตู รแตถ่ ้าไมป่ ฏบิ ตั ิตามคา สอน กไ็ มม่ โี อกาสไดล้ ิม้ รสพระ ธรรม พระนาคเสนจงึ รสู้ กึ ตวั และได้บาเพ็ญเพียรถ่ายถอนกเิ ลส จนไดบ้ รรลพุ ระอรหันตผล พรอ้ มด้วยปฏิสมั ภทา 4 ได้แก่ ความ แตกฉาน 4 ประการ คอื ในอรรถ (ใจความ) ในธรรม ในภาษา และในปฏภิ าณ ในช่วงเวลาเดยี วกนั ไดม้ ีกษตั รยิ ์เชอื้ สายกรกี พระองคห์ น่ึง พระนามวา่ เมนนั เดอร์ หรอื ที่เรยี กกันตามพระบาลวี ่า พระยา มลิ ินทซ์ ึ่งพระองคไ์ ด้อวดอ้างว่าเปน็ ผู้รูศ้ าสนาและปรัชญามากกว่าใคร ๆ และทา้ โต้วาทะกบั สมณพราหมณ์และประชาชนท่ัวไป เม่ือ ไม่มใี ครมาโต้ด้วย กส็ าคัญผดิ คดิ วา่ ตนเองเปน็ ผมู้ สี ติปัญญาเฉลยี วฉลาดมาก พระยามลิ นิ ท์ตรัสถามพวกอามาตย์ว่า ยังมีภิกษรุ ูปใด ๆในชมพูทวีปอีกบ้างหรือไม่ท่ีสามารถตอบปญั หาและโตว้ าทะกับเราได้ เม่อื อามาตยท์ ลู ว่า มภี ิกษรุ ูปหนงึ่ ช่อื นาคเสน อยู่ ณ สงั ไขย บรเิ วณ ทา่ นเปน็ ผูฉ้ ลาด สามารถคงจะเจรจาและวสัชนาปญั หาตา่ ง ๆ กบั พระองค์ได้ จึงพร้อมด้วยบรวิ ารเปน็ อนั มากเสดจ็ เขา้ ไปหา พระนาคเสน และมกี ารโต้ตอบถามปญั หาซง่ึ กันและกนั การสนทนาโต้ตอบระหวา่ งพระนาคเสนกบั พระยามลิ ินท์ ได้บนั ทึกไวใ้ น หนงั สือ มลิ นิ ทปญั หา ซึ่งเปน็ คมั ภรี ์สาคญั เลม่ หน่ึงในพระพทุ ธศาสนาและเมอ่ื พระยามลิ ินทไ์ ดร้ ับการ ถวายวสิ ชั นาปัญหาจากพระ นาคเสนแล้ว ไดเ้ กดิ ความเขา้ ใจในหลักธรรมแห่งพระพทุ ธศาสนา สละความเห็นผดิ ยอมรับนบั ถือพระพุทธศาสนาในท่ีสุด

สมเดจ็ พระวันรตั (เฮง เขมจาร)ี สมเดจ็ พระวนั รัต มีนามเดมิ ว่า กมิ เฮง บิดาเปน็ พอ่ ค้าชาวจีนช่ือต้วั เกา๊ แซฉ่ ัว่ มารดาชือ่ ทับทิม เสยี ชวี ติ ระหว่างคลอด บตุ รคนท่สี ี่ ทา่ นเกดิ เมือ่ วนั จนั ทร์ ขน้ึ 11 ค่า เดือน 3 ปมี ะเสง็ ตรงกบั วนั ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2424 (นบั แบบปัจจุบนั ตรงกับปี พ.ศ. 2425) ภูมลิ าเนาท่านอยบู่ ้านทา่ แร่ ตาบลสะแกกรัง อาเภอเมอื งอุทัยธานี เมอ่ื อายุได้ 10 ปี ไดเ้ รยี นภาษาไทยกับพระอาจารย์ ชัง วัดขวดิ อยู่ 2 ปี แล้วยา้ ยไปเรยี นกับพระสนุ ทรมนุ ี (ใจ) ขณะยงั เป็นพระปลดั อย่วู ดั มณธี ุดงค์ เมื่ออายไุ ด้ 13 ปี ได้บรรพชาเปน็ สามเณรแล้วเรยี นภาษาบาลที ่วี ัดมณธี ุดงค์ตอ่ จนกระท่งั อายุได้ 16 ปี ตรงกบั ปี พ.ศ. 2440 จงึ ย้ายไปอยวู่ ดั มหาธาตยุ ุวราชรังสฤษฎ์ิ เรียนภาษาบาลีกบั พระยาธรรมปรชี า (ทมิ ) และหลวงชลธธี รรมพิทกั ษ์ (ยิ้ม) เมือ่ ยัง เป็นมหาเปรยี ญ ตอ่ มาเรียนกับพระอมรเมธาจารย์ (เขม้ ธมมฺ สโร) วัดมหาธาตฯุ สมเดจ็ พระวันรตั (แดง สลี วฑฺฒโน) สมเด็จพระวนั รัต (ฑติ อุทโย) และสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส เมอื่ ยงั ดารงพระยศเป็นกรมหลวง จนสอบไดเ้ ปรยี ญธรรม 5 ประโยคในปี พ.ศ. 2444 ถึงปีขาล พ.ศ. 2445 ไดอ้ ุปสมบทเปน็ พระภกิ ษุทวี่ ัดมหาธาตฯุ สมเดจ็ พระวันรตั (ฑติ อทุ โย) เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระธรรมวโรดม (จา่ ย ปุณณฺ ทตโฺ ต) และพระเทพเมธี (เขม้ ธมฺมสโร) เป็นคพู่ ระกรรมวาจาจารย]์ แลว้ เข้าสอบในปี ร.ศ. 122 ได้เพ่มิ อกี 2 ประโยค รวมเป็นเปรียญธรรม 7 ประโยคตอ่ มาเข้าสอบอกี ได้เป็นเปรยี ญธรรม 8 ประโยคในปี ร.ศ. 123และในท่ีสดุ สอบไดเ้ ปรยี ญธรรม 9 ประโยค ในปี ร.ศ. 124 นบั แต่เปน็ สามเณรเปรียญ 4 ประโยค ทา่ นก็ไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ปน็ ครสู อนในมหาธาตุวทิ ยาลัยเมื่อสมเด็จ พระวนั รตั (ฑติ ) ชราภาพ สมเดจ็ กรมพระยาวชิรญาณวโรรสโปรดใหท้ ่านเป็นผจู้ ดั การวัดมหาธาตุแทนมาตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2455[8] เมอื่ สมเดจ็ พระวนั รตั มรณภาพในปี พ.ศ. 2466 ทา่ นจึงได้รับโปรดเกลา้ ใหเ้ ป็นเจา้ อาวาสสืบแทนตลอดชว่ งเวลาที่ครองวัด ทา่ นได้ จดั ระเบยี บวดั ท้ังในด้านการทะเบยี น การทาสังฆกรรม จดั ลาดับช้นั การปกครองคณะ เขม้ งวดกบั จริยวตั รของพระเณรในวดั และ จัดการบรู ณปฏิสงั ขรณ์เสนาสนะทที่ รดุ โทรมและก่อสร้างเพมิ่ เตมิ เพอ่ื ให้เพียงพอกับการขยายการศกึ ษา นอกจากนที้ ่านยงั สนอง งานถวายสมเด็จกรมพระยาวชริ ญาณวโรรสจนเปน็ ทพ่ี อพระทยั เมอ่ื พระราชบัญญตั คิ ณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 ประกาศใช้ ทา่ นไดร้ ับ คัดเลอื กเป็นประธานสงั ฆสภาเป็นรปู แรก

ใบความรู้ หน่วยที่ 2 เร่อื ง ชาดก วิชา พระพุทธศาสนา ม.4 ชาดก (บาล:ี जातक) คือ เรอื่ งราวหรือชีวประวัติในอดตี ชาติของพระโคตมพุทธเจา้ คือ สมัยทพ่ี ระองค์เปน็ พระโพธิสตั วบ์ าเพญ็ บารมีอยู่ พระองคท์ รงนามาเลา่ ใหพ้ ระสงฆฟ์ งั ในโอกาสตา่ ง ๆ เพื่อแสดงหลักธรรมสภุ าษติ ท่พี ระองคท์ รงประสงค์ เรยี กเรื่องในอดตี ของ พระองคน์ ว้ี า่ ชาดก ชาดกเป็นเร่อื งเลา่ คลา้ ยนิทาน บางคร้งั จึงเรยี กวา่ นทิ านชาดก ชาดกทท่ี รงเลา่ นน้ั มหี ลายร้อยเรอ่ื ง วา่ ทรงเคยเกิดเป็น มนุษย์บา้ ง เปน็ สัตว์บา้ ง แตท่ ่รี ้จู กั กันโดยทว่ั ไป คอื 10 ชาติสดุ ท้ายท่เี รียกว่าทศชาตชิ าดก และชาตสิ ดุ ทา้ ยท่ีสุดทท่ี รงเสวยพระชาตเิ ปน็ พระเวสสันดร จงึ เรียกเรือ่ งพระเวสสนั ดรนวี้ ่า มหาเวสสันดรชาดก มหาเวสสนั ดรชาดก เป็นชวี ประวตั เิ รอ่ื งหนง่ึ ในทศชาติชาดก กลา่ วถึงพระชาตสิ ุดทา้ ยของพระโพธสิ ตั วใ์ นการบาเพ็ญทานบารมี ก่อนจะทรงอบุ ตั เิ ปน็ สมเดจ็ พระสมั มาสมั พุทธเจ้า มีช่อื เรยี กอกี อย่างวา่ \"มหาชาติชาดกในการเทศนา เรยี กวา่ \"เทศน์มหาชาติ\" หลังจากสมเดจ็ พระสมั มาสัมพุทธเจา้ ทรงแสดงยมกปาฏหิ ารย์ ทาใหพ้ ระประยูรญาตลิ ะทฐิ ยิ อมถวายบังคม ก็บังเกดิ ฝนโบกขรพรรษ พระภกิ ษทุ ้ังหลายจงึ ไดท้ ลู ถามพระพุทธเจ้า พระพทุ ธองคต์ รสั เลา่ วา่ ฝนชนิดน้ีเคยตกมาแลว้ ในอดตี พระองคจ์ งึ ทรงแสดงธรรมเรื่อง มหาเวสสันดรชาดก หรือเรอื่ งมหาชาติ ท้ัง 13 กัณฑ์ ตามลาดับ ดังน้ี กัณฑ์ท่ี 1 ทศพรา พระอนิ ทร์ประสาทพรแก่พระนางผุสดี ก่อนท่ีจะจตุ ลิ งมาเป็นพระราชมารดาของพระเวสสนั ดร แตป่ างก่อนน้ัน ผสุ ดเี ทวเี สวยชาติเป็นอคั รมเหสขี องพระอินทร์ เมอื่ จะสน้ิ พระชนมายจุ ึงขอกัณฑ์ทศพรจากพระอนิ ทรไ์ ด้ 10 ประการ ทัง้ ยงั เคยโปรยผง จันทรแ์ ดง ถวายพระวปิ ัสสีพุทธเจ้าและอธฐิ านใหไ้ ด้เกดิ เป็นมารดาพระพทุ ธเจ้าดว้ ย พร 10 ประการนนั้ มดี งั น้ี 1. ขอให้เกิดในกรงุ มทั ทราช แควน้ สีพี 2. ขอให้มดี วงเนตรคมงามและดาขลบั ดั่งลูกเนอื้ ทราย 3. ขอให้ค้วิ คมขาด่งั สร้อยคอนกยงู 4. ขอให้ไดน้ าม \"ผุสด\"ี ดงั ภพเดมิ 5. ขอใหพ้ ระโอรสเกรกิ เกยี รตทิ ่สี ดุ ในชมพูทวีป 6. ขอใหพ้ ระครรภง์ าม ไม่ป่องนูนด่งั สตรสี ามญั 7. ขอให้พระถันเปลง่ ปลั่งงดงามไมย่ านคล้อยลง 8. ขอใหเ้ สน้ พระเกศาดาขลับตลอดชาติ 9. ขอให้ผวิ พรรณละเอยี ดบรสิ ุทธด์ิ ุจทองคาธรรมชาติ 10. ขอใหไ้ ด้ปลดปลอ่ ยนักโทษท่ตี อ้ งอาญาประหารได้ กณั ฑ์ท่ี 2 หิมพานต์ พระนางผสุ ดีจตุ ิลงมาเป็นราชธดิ าของพระเจา้ มทั ทราช เมือ่ เจรญิ ชนม์ได้ 16 ชันษา จงึ ไดอ้ ภิเษกสมรสกบั พระเจา้ กรงุ สญชยั แหง่ สวี ิรัฐนคร ต่อมาได้ประสูติพระโอรสนามว่า \"เวสสันดร\" ในวนั ที่ประสตู นิ ้นั ไดม้ นี างชา้ งฉันททันตต์ กลูกเปน็ ช้างเผอื กขาวบรสิ ทุ ธ์จิ งึ ได้นามาไวใ้ นโรงชา้ งต้นคบู่ ารมี ให้นามวา่ \"ปจั จัยนาค\" เมือ่ พระเวสสนั ดรเจรญิ ชนม์ 16 พรรษา พระราชบดิ าก็ ยกราชสมบตั ใิ หค้ รอบครองและทรงอภเิ ษกกบั นางมัทรี พระราชธดิ าราชวงศ์มทั ทราช มีพระโอรสช่อื ชาลี พระธดิ าชอื่ กัณหา พระองค์ไดส้ ร้างโรงทาน บริจาคทานแกผ่ ู้เข็ญใจ ตอ่ มาพระจา้ กาลงิ คะแหง่ นครกลิงคราษฎร์ ไดส้ ง่ พราหมณม์ าขอพระราชทานช้าง

ปจั จยั นาคเพ่อื ให้ฝนตกในบ้านเมอื งท่แี ห้งแลง้ กนั ดาร พระองค์จึงพระราชทานชา้ งปัจจยั นาคใหแ้ กพ่ ระเจ้ากาลิงคะ ชาวกรุงสญั ชัยไม่ พอใจทพี่ ระราชทานชา้ งค่บู ้านค่เู มอื งไป จงึ เนรเทศพระเวสสนั ดรออกนอกพระนคร กณั ฑ์ที่ 3 ทานกัณฑ์ พระเวสสนั ดรทรงมหาสัตตสดกทาน คือ การแจกทานครงั้ ยง่ิ ใหญ่ก่อนท่ีพระเวสสันดรพรอ้ มดว้ ยพระนาง มทั รี ชาลีและกณั หาออกจากพระนคร จึงทูลขอพระราชทานโอกาสบาเพญ็ มหาสตั ตสดกทาน คอื การให้ทานครัง้ ย่ิงใหญ่ อนั ได้แก่ ชา้ ง มา้ รถ โคนม นารี ทาสี ทาสา รวมทั้งสุราบาน อย่างละ 700 กณั ฑท์ ่ี 4 วนประเวศน์ เป็นกัณฑ์ท่สี ก่ี ษตั รยิ เ์ ดินทางสู่เขาวงกต เมอื่ เดินทางถงึ นครเจตราชทง้ั สก่ี ษตั รยิ จ์ ึงแวะเขา้ ประทับหน้า ศาลาพระนคร กษัตรยิ ์ผคู้ รองนครเจตราชจงึ ทูลเสด็จครองเมือง แต่พระเวสสันดรทรงปฏิบัติ กษตั รยิ ์เจตราชจึงมอบหมายใหพ้ รานเจต บุตรผมู้ ีความเชยี่ วชาญชานาญปา่ เปน็ ผูร้ ักษาประตปู า่ ไม้ กษตั รยิ ์ทั้ง 4 พระองค์ปลอดภัย และเมอ่ื เสด็จถึงเขาวงกตไดพ้ บอาศรม ซง่ึ ท้าววิษณกุ รรมเนรมิตตามพระบญั ชาของพระอนิ ทร์ กษัตรยิ ท์ ง้ั ส่ีจึงทรงผนวชเปน็ ฤาษพี านักในอาศรมสบื มา กัณฑ์ที่ 5 ชูชก ในแคว้นกาลงิ คะมีพราหมณ์แกช่ ่อื ชชู กพานักในบ้านทุนวิฐะเท่ียวขอทานตามเมอื งต่าง ๆ เม่ือไดเ้ งินถงึ 100 กหาปณะ จงึ นาไปฝากไวก้ บั พราหมณผ์ ัวเมยี แล้วออกเดินทางขอทานตอ่ ไป เม่อื เห็นวา่ ชูชกหายไปนานจึงได้นาเงนิ ไปใชเ้ ปน็ การส่วนตัว เมอ่ื ชชู กเดนิ ทางมาทวงเงนิ คนื จงึ ยกนางอมิตดาลกู สาวให้แกช่ กู ชก นางอมิตดาเมอื่ มาอยู่ร่วมกบั ชชู กได้ทาหนา้ ท่ขี องภรรยาที่ดี ทาให้ ชายในหม่บู ้านเปรยี บเทยี บกับภรรยาของตน หญงิ ในหม่บู า้ นจงึ เกลยี ดชังและรมุ ทารา้ ยทบุ ตีนางอมติ ดา ชชู กจึงเดนิ ทางไปทูลขอกัณหา ชาลีเพ่ือมาเป็นทาสรับใช้ เมื่อเดนิ ทางมาถึงเขาวงกตก็ถูกขดั ขวางจากพรานเจตบตุ รผรู้ กั ษาประตปู า่ กัณฑ์ที่ 6 จลุ พน พรานเจตบุตรหลงกลชูชก ที่ได้ชูกลกั พรกิ ขงิ ให้พรานดู อา้ งว่าเป็นพระราชสาสนข์ องพระเจา้ กรงุ สญชยั จะ นาไปถวายพระเวสสันดร พรานเจตบุตรจงึ ตอ้ นรบั และเล้ียงดูชูชกเป็นอย่างดแี ละไดพ้ าไปยังตน้ ทางทจี่ ะไปอาศรมฤาษี กัณฑท์ ่ี 7 มหาพน เมื่อถึงอาศรมไดพ้ บกบั อจตุ ฤาษี ชกู ชกใชค้ ารมหลอกลอ่ จนอจุตฤาษใี หท้ พี่ กั หนงึ่ คืนและบอกเส้นทางไปยัง อาศรมพระเวสสนั ดร พรอ้ มพรรณนาหมสู่ ัตว์และพรรณไมต้ ามเส้นทางใหช้ ูชกฟัง กัณฑท์ ่ี 8 กัณฑ์กุมาร เปน็ กัณฑ์ท่ีพระเวสสนั ดรทรงให้ทานสองโอรสแกเ่ ฒ่าชชู ก พระนางมทั รฝี นั รา้ ยเหมอื นบอกเหตุแหง่ การ พลดั พราก รงุ่ เชา้ เมือ่ พระนางมทั รีเขา้ ป่าหาอาหารแลว้ ชชู กจงึ เขา้ เฝ้าทูลขอสองกมุ าร สองกมุ ารลงไปซ่อนตวั อยูท่ ส่ี ระ พระเวสสันดร จงึ เสด็จติดตามหาสองกุมารแลว้ มอบให้แกช่ ูชก กัณฑท์ ่ี 9 กัณฑม์ ทั รี พระนางมทั รีเดินเข้าไปหาผลไมใ้ นป่าลึกจนคลอ้ ยเย็นจึงเดนทางกลบั อาศรม แตม่ เี ทวดาแปลงกายเป็นเสอื นอนขวางทางจนคา่ เมื่อกลับถึงอาศรมไม่พบโอรสธดิ าและพระเวสสันดรได้กล่าวว่านางนอกใจ พระนางมทั รีจึงออกเทีย่ วหาโอรสธิดา และกลับมาสิ้นสตติ ่อเบื้องพระพักตร์ พระองค์ทรงตกพรทัยลืมตนวา่ เป็นดาบสจึงทรงเข้าอมุ้ พระนางมทั รแี ละทรงกนั แสง เมอ่ื พระนาง มัทรีฟ้นื จึงถวายบงั คมประทานโทษ พระเวสสันดรจึงบอกความจรงิ วา่ ได้ประทานโอรสธิดาแก่ชชู กแลว้ หากชวี ติ ไม่สิ้นคงจะไดพ้ บกัน พระนางมทั รีจึงได้ทรงอนุโมทนาในปิยบตุ รทานนนั้ กัณฑท์ ี่ 10 สกั รบรรพ พระอนิ ทร์เกรงวา่ พระเวสสนั ดรจะประทานพระนางมทั รีใหแ้ กผ่ ู้ทมี่ าขอ จงึ แปลเป็นพราหมณ์เพอื่ มาทลู ขอพระนางมทั รี พระเวสสันดรจึงประทานให้พระนางมทั รีกย็ ินดอี นโุ มทนาเพอ่ื ร่วมทานบารมีใหส้ าเรจ็ พระสมั โพธิญาณ เปน็ เหตใุ ห้เกดิ แผน่ ดินไหวสะท้าน พระอินทรใ์ นรา่ งพราหมณ์จงึ ฝากพระนางมทั รไี วย้ ังไมร่ ับไป แลว้ ตรัสบอกความจริงและถวายคนื พร้อมถวายพระพร 8 ประการ

กัณฑท์ ี่ 11 มหาราช เม่อื เดนิ ทางผา่ นปา่ ใหญช่ ูชกจะผกู สองกมุ ารไว้ท่โี คนตน้ ไม้ สว่ นตนเองปนี ขนึ้ ไปนอนต้นไม้ เหล่าเทพ เทวดาจึงแปลงรา่ งลงมาปกปอ้ งสองกุมารจนเดนิ ทางถงึ กรุงสพี ี พระเจา้ กรุงสพี ีเกดิ นิมติ ฝันตามคาทานายนน้ั นามายงั ความปตี ปิ ราโมทย์ เม่ือเสดจ็ ลงหนา้ ลานหลวงตอนรุ่งเช้า ทอดพระเนตรเหน็ ชูชกและกมุ ารทง้ั สองพระองค์ ทรงทราบความจรงิ จึงพระราชทานค่าไถ่คืน ตอ่ มาชูชกกถ็ ึงแกค่ วามตายเพราะกินอาหารมากเกินขนาดจนไม่ยอ่ ย พระชาลจี งึ ได้ทลู ขอให้ไปรบั พระบดิ าพระมารดานวิ ัตพิ ระนคร ใน ขณะเดยี วกนั เจ้านครลิงคราษฏรไ์ ด้คนื ช้างปัจจยั นาคแก่นครสีพี กัณฑ์ที่ 12 ฉกษัตริย์ พระเจ้ากรงุ สญชัยใชเ้ วลา 1 เดือน กบั 23 วนั จงึ เดินทางถึงเขาวงกต เสียงโหร่ ้องของทหารทัง้ 4 เหล่า ทาให้พระเวสสันดรทรงคิดว่าเป็นข้าศกึ มาโจมจีนครสีพี จงึ ชวนพระนางมทั รขี ึ้นไปแอบดูท่ยี อดเขา พระนางมัทรีทรงมองเหน็ กองทพั พระ ราชบดิ าจึงไดต้ รสั ทูลพระเวสสันดร และเมอ่ื ทงั้ หกกษตั ริยไ์ ดพ้ บกนั ทรงกันแสงสดุ ประมาณ รวมทง้ั ทหารเหล่าทัพทาให้ปา่ ใหญส่ นั่นครนั่ ครนื พระอนิ ทรจ์ ึงไดท้ รงบนั ดาลให้ฝนโบกขรพรรษตกลงมาประพรมกษตั ริย์ให้หายเศร้าโศกและฟืน้ พระองค์ กณั ฑท์ ี่ 13 นครกณั ฑ์ พระเจา้ กรุงสญชยั ตรสั สารภาพผดิ พระเวสสันดรจึงทรงลาผนวชพรอ้ มทงั้ พระนางมทั รี และเสดจ็ กลับสู่ สพี นี คร เม่อื เสดจ็ ถึงจงึ รบั สั่งให้ชาวเมืองปล่อยสตั วท์ กี่ กั ขัง คร้นั ยามราตรีพระเวสสนั ดรทรงปรวิ ติ กวา่ ร่งุ เชา้ ประชาชนจะแตกตน่ื มารบั บรจิ าคทาน พระองค์จะประทานสิง่ ใดให้แก่ประชาชน ทา้ วโกสยี ไ์ ด้ทราบจึงบันดาลให้มฝี นแก้ว 7 ประการ ตกลงมาในนครสีพสี ูงถึง หนา้ แขง้ พระเวสสันดรจงึ ทรงประกาศให้ประชาชนมาขนเอาไปตามปรารถนา ท่ีเหลือใหข้ นเข้าพระคลงั หลวง ในกาลตอ่ มาพระเวสสันดรเถลงิ ราชสมบัตปิ กครองนครสีพโี ดยทศพิธราชธรรม บา้ นเมืองร่มเยน็ เป็นสขุ ตลอดพระชนมายุ

ใบงานที่ 9 หนว่ ยที่ 3 เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา วิชา พระพทุ ธศาสนา ม.4 ตอนท่ี 1 เติมควำมหมำยของพระรตั นตรยั ลงในช่องว่ำง พระรัตนตรยั พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ตอนท่ี 2 จดั ทำแผนผงั ควำมคิดเกี่ยวกบั คณุ ค่ำของพทุ ธคณุ ชอ่ื - นามสกุล.......................................................................................เลขที่....................ชั้น...............

ใบงานที่ 10 หน่วยที่ 3 เร่ือง หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา วชิ า พระพทุ ธศาสนา ม.4 ให้นักเรียนเขียนวิเครำะหค์ ณุ ค่ำของพระพทุ ธตำมประเดน็ ที่กำหนด  พระปญั ญาคณุ พระองคท์ รงแสวงหาปญั ญาตั้งแตย่ งั ทรงพระเยาวแ์ ละทาความเข้าใจ พระองคท์ รงแสวงหาปัญญาต้งั แต่ยงั ทรงพระเยาว์และทาความเขา้ ใจ พระองคท์ รงแสวงหาปัญญาตั้งแตย่ ังทรงพระเยาวแ์ ละทาความเข้าใจ พระองคท์ รงแสวงหาปญั ญาตั้งแตย่ ังทรงพระเยาว์และทาความเขา้ ใจ พระองคท์ รงแสวงหาปญั ญาตงั้ แตย่ งั ทรงพระเยาว์และทาความเข้าใจ พระองคท์ รงแสวงหาปญั ญาต้ังแตย่ งั ทรงพระเยาว์และทาความเขา้ ใจ พระองคท์ รงแสวงหาปัญญาตง้ั แตย่ ังทรงพระเยาว์และทาความเข้าใจ คณุ คา่ ของ  พระวิสุทธคิ ณุ พระพทุ ธ - พระองค์ปราศจากกิเลสเครอื่ งเศร้าหมองทั้งปวง ไมก่ ระทาชว่ั พระองคท์ รงแสวงหาปญั ญาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์และทาความเขา้ ใจ พระองคท์ รงแสวงหาปัญญาตั้งแตย่ ังทรงพระเยาว์และทาความเขา้ ใจ พระองคท์ รงแสวงหาปัญญาตง้ั แตย่ ังทรงพระเยาว์และทาความเขา้ ใจ พระองคท์ รงแสวงหาปัญญาตง้ั แต่ยงั ทรงพระเยาว์และทาความเขา้ ใจ  พระกรุณาคุณ ทรงพระกรณุ าท่จี ะชว่ ยเหลือผอู้ ่นื ให้พน้ ทกุ ข์ โดยไมจ่ ากัดชาติ ชน้ั พระองคท์ รงแสวงหาปัญญาตั้งแต่ยังทรงพระเยาวแ์ ละทาความเขา้ ใจ พระองคท์ รงแสวงหาปัญญาตง้ั แตย่ ังทรงพระเยาว์และทาความเข้าใจ พระองคท์ รงแสวงหาปญั ญาตง้ั แต่ยงั ทรงพระเยาว์และทาความเขา้ ใจ พระองคท์ รงแสวงหาปญั ญาต้ังแตย่ ังทรงพระเยาวแ์ ละทาความเข้าใจ ชื่อ - นามสกลุ .......................................................................................เลขที่....................ชั้น...............

ใบงานที่ 11 หนว่ ยท่ี 3 เรื่อง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา วิชา พระพทุ ธศาสนา ม.4 วเิ คราะห์อริยสัจ 4 และสรปุ ลงในตาราง อริยสัจ 4 ความสาคญั ของหลักธรรม ความหมาย และตัวอย่าง ตัวอย่างการนาไปใช้ใน ทกุ ข์ หลกั ธรรมที่เก่ียวข้อง ชีวิตประจาวัน สมุทยั นิโรธ มรรค ชอื่ - นามสกุล.......................................................................................เลขที.่ ...................ช้ัน...............

ใบงานท่ี 12 หน่วยที่ 3 เรื่อง หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา วิชา พระพทุ ธศาสนา ม.4 อา่ นกรณีตวั อยา่ งแล้ววิเคราะหต์ ามหลักอริยสัจ 4 สุนทรี เปน็ พนักงานบริษัทช่ือดังแห่งหนึ่ง แม้วา่ สนุ ทรจี ะได้เงนิ เดือนจากการทางานคอ่ นข้างสงู เม่อื เทยี บกบั คนท่ัวไป แต่เธอก็ต้องประสบปัญหาทางการเงนิ เนอ่ื งจากเปน็ คนชอบใช้ของหรหู ราราคาแพง เชน่ เสื้อผา้ รองเท้า ในแตล่ ะเดอื นจะเสียคา่ ใช้จ่ายไปกับสิ่งของเหล่านี้จานวนมากจนเงนิ เดอื นไม่พอใช้ ตอ้ งหยิบ ยมื จากคนอื่น ทาใหเ้ ปน็ หนบ้ี ตั รเครดติ และหนน้ี อกระบบอีกจานวนมาก แม้วา่ เธอจะมสี ่ิงของหรหู รามากแต่ เธอก็มคี วามทกุ ข์มากเชน่ กนั ใหน้ ักเรยี นวิเคราะห์สภาพปัญหาและแนวทางการแกป้ ัญหาตามหลักอริยสจั 4 ทกุ ข์ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... สมทุ ัย ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... นิโรธ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... มรรค ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ขอ้ คิดที่ได้จากเรอื่ งนี้ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ช่อื - นามสกุล.......................................................................................เลขที.่ ...................ชนั้ ...............

ใบความรู้หนว่ ยท่ี 3 เรอ่ื ง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา วชิ า พระพทุ ธศาสนา ม.4 พระรตั นตรัย ความหมายของพระรตั นตรัย พระพทุ ธศาสนามีองคป์ ระกอบสาคญั สามประการ คอื พระรตั นตรยั ซง่ึ แปลวา่ แกว้ ประเสรฐิ 3 ดวง อันได้แก่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ พระพุทธ หมายถึง องคส์ มเดจ็ พระสัมมาสมั พุทธเจา้ ผซู้ ึ่งทรงเป็นศาสดาของศาสนาคือเปน็ ผทู้ รงคน้ พบสัจธรรมโดย การตรสั รเู้ อง และสอนใหผ้ ูอ้ น่ื รูต้ าม พระธรรม หมายถึง คาสัง่ สอนของพระพุทธเจา้ ทั้งท่ีเปน็ คาอธบิ ายเกยี่ วกับความเปน็ จริงของชวี ติ มนษุ ย์ และเป็น คาสัง่ สอนให้มนษุ ยป์ ฏิบัตดิ ตี ่อกนั พระสงฆ์ หมายถงึ หมสู่ าวกทศี่ ึกษาและปฏบิ ตั ิตามคาสอนของพระพทุ ธเจ้าและเผยแผ่คาสอนให้แก่คนทว่ั ไป พุทธคณุ ๓ • พระคณุ ของพระพทุ ธเจ้าทม่ี ตี อ่ มวลมนษุ ย์ในโลกอย่างมาก คือ การเสยี สละอนั ย่งิ ใหญข่ องพระองคใ์ นการละทิง้ ความสขุ สบาย ท้งั หลายทง้ั ปวง เพ่ือออกผนวชและแสวงหาหนทางดบั ทกุ ข์ ซ่ึงพระองค์ทรงมุ่งประโยชนส์ ุขของส่วนรวมมากกว่าสง่ิ อ่นื ใด • พระคุณของพระพทุ ธเจา้ มี ๓ ประการ ดังน้ี พระปัญญาคณุ • พระพทุ ธเจา้ มคี วามรู้ทงั้ ดา้ นทางโลก รูก้ ารเกดิ และการตายของสตั วโ์ ลก รู้การหลดุ พ้นจากกเิ ลสของพระองค์ ในที่สดุ พระองค์ทรง ค้นพบความจรงิ ๔ ประการ คอื • รู้ทกุ ข์ • ร้เู หตุทท่ี าใหเ้ กดิ ความทกุ ข์ (สมทุ ยั ) • ร้คู วามดับทุกข์ (นโิ รธ) • รู้ข้อปฏบิ ัตใิ หถ้ งึ ความดบั ทุกข์ (มรรค) • ทง้ั หมดนีเ้ ป็นพระคณุ ของพระพทุ ธเจ้าทเ่ี รียกวา่ พระปญั ญาคณุ พระบรสิ ุทธคิ ณุ • พระพุทธเจา้ ทรงบาเพ็ญเพียรจนไดบ้ รรลธุ รรมและหลดุ พน้ จากกิเลส คือ • ความอยาก (โลภ) • ความเกลยี ด ไมพ่ อใจ (โกรธ) • ความหลง (โมหะ)

• ดวงจิตของพระองค์ทส่ี ะอาดบรสิ ทุ ธิ์ สงบผ่องใสท้งั หมดนี้ เปน็ คณุ ของพระพุทธเจา้ ทเี่ รยี กว่า พระบรสิ ุทธิคุณ พระกรณุ าคณุ • หลงั จากท่ีพระพุทธเจา้ ตรัสรแู้ ล้วพระองคไ์ ดเ้ สดจ็ ไปสงั่ สอนประชาชนใหไ้ ด้รู้พระธรรมทีพ่ ระองค์รูแ้ จง้ โดยมิรจู้ ักเหนด็ เหนือ่ ย พระองค์ทรงสงั่ สอนคนทุกคนเสมอเหมอื นกนั หมดเป็นเวลา ๔๕ ปี การกระทาทั้งหมดนเ้ี ป็นพระคณุ ของพระพุทธเจา้ ทเ่ี รียกว่า พระกรณุ าคณุ อรยิ สัจ 4 มคี วามจริงอยู่ 4 ประการคอื การมอี ยขู่ องทกุ ข์ เหตแุ หง่ ทกุ ข์ ความดบั ทุกข์ และ หนทางไปสูค่ วามดับทุกข์ ความ จรงิ เหล่านเี้ รียกว่า อริยสจั 4 1. ทกุ ข์ คอื การมอี ยขู่ องทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ และตายลว้ นเป็นทกุ ข์ ความเศรา้ โศก ความโกรธ ความอจิ ฉารษิ ยา ความวติ กกังวล ความกลัวและความผดิ หวงั ล้วนเปน็ ทุกข์ การพลัดพรากจากของทรี่ กั ก็เปน็ ทกุ ข์ ความเกลยี ดกเ็ ป็นทกุ ข์ ความอยาก ความยดึ ม่นั ถอื มน่ั ความยึดตดิ ในขันธ์ทง้ั 5 ล้วนเป็นทกุ ข์ 2. สมทุ ยั คอื เหตุแห่งทุกข์ เพราะอวชิ า ผู้คนจงึ ไม่สามารถเห็นความจริงของชวี ติ พวกเขาตกอย่ใู นเปลวเพลิงแหง่ ตณั หา ความ โกรธ ความอจิ ฉารษิ ยา ความเศร้าโศก ความวติ กกงั วล ความกลัว และความผิดหวงั 3. นโิ รธ คือ ความดบั ทกุ ข์ การเขา้ ใจความจรงิ ของชีวิตนาไปสูก่ ารดบั ความเศรา้ โศกทัง้ มวล อันยังให้เกิดความสงบและความเบกิ บาน 4. มรรค คือ หนทางนาไปสูค่ วามดับทกุ ข์ อนั ได้แก่ อรยิ มรรค 8 ซ่ึงไดร้ บั การหล่อ เลีย้ งด้วยการดารงชวี ิตอย่างมีสติความมสี ติ นาไปสสู่ มาธิและปญั ญาซึ่งจะปลดปล่อย ให้พ้นจากความทุกข์และความโศกเศรา้ ทงั้ มวลอนั จะนาไปสคู่ วามศานตแิ ละ ความเบิก บาน พระพุทธองคไ์ ด้ทรงเมตตานาทางพวกเราไปตามหนทางแห่งความรู้แจ้งนี้

ใบงานท่ี 13 หนว่ ยที่ 4 เร่ือง พทุ ธศาสนสุภาษิตและพระไตรปฏิ ก วิชา พระพุทธศาสนา ม.4 ให้นักเรยี นนาข่าว หรอื ภาพขา่ ว หรอื การสมั ภาษณ์บคุ คลทสี่ อดคล้องกับพทุ ธศาสน สภุ าษิต มาวเิ คราะห์ แล้วตอบคาถาม 1.บคุ คล หรือกลุ่มบุคคลที่มกี ารกระทาสอดคล้องกบั พุทธศาสนสุภาษิตคอื ใคร ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... 2.บุคคล หรอื กลุ่มบคุ คลมีการกระทาท่ีสอดคล้องกับพุทธศาสนสภุ าษติ ในเรื่องใด ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... 3.ตวั อยา่ งการกระทาที่สอดคล้องกบั พทุ ธศาสนสุภาษติ มอี ะไรบา้ ง ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 4.ผลของการกระทาในขอ้ 3 มผี ลต่อตนเอง และสงั คมส่วนรวมอยา่ งไร ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 5.นกั เรยี นสามารถนาแบบอย่างการปฏบิ ตั ิตนของบุคคล หรอื กลุม่ บคุ คลดังกล่าวไปประยุกตป์ ฏิบตั ติ น ได้อยา่ งไร และคาดวา่ ผลท่ีได้รบั จะเป็นอย่างไร ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ช่ือ - นามสกุล.......................................................................................เลขท่ี....................ชน้ั ...............

ใบงานที่ 14 หน่วยที่ 4 เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิตและพระไตรปิฏก วชิ า พระพทุ ธศาสนา ม.4 จงอธิบายเกี่ยวพุทะศาสนสุภาษิตตามประเด็นท่ีกาหนดพร้อมทั้งเติมคาในชอ่ งวา่ ง 1. พุทธศาสนสุภาษติ - จิตตฺ ทนตฺ สขุ าวห คาแปล........................................................................................................................ ................................... ความหมาย.................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... ........................................................................................................................................................ ............... 2. พุทธศาสนสภุ าษิต - น อจุ ฺจาวจ ปณฑฺ ิตา ทสฺสยนฺติ คาแปล........................................................................................................................................................... ความหมาย..................................................................................................................... ............................... ............................................................................................................................. .......................................... .................................................................................. ..................................................................................... 3. พุทธศาสนสุภาษติ - นตฺถิ โลเก อนินทฺ โิ ต คาแปล........................................................................................................................ ................................... ความหมาย..................................................................................................................... ............................... ................................................................................................... .................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... 4. พุทธศาสนสภุ าษติ - โกธ ฆตฺวา สุข เสติ คาแปล........................................................................................................................ ................................... ความหมาย.................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. .......................................... ช่ือ - นามสกลุ .......................................................................................เลขท.่ี ...................ชน้ั ...............

ใบงานที่ 15 หน่วยที่ 4 เร่ือง พุทธศาสนสภุ าษิตและพระไตรปฏิ ก วิชา พระพทุ ธศาสนา ม.4 อา่ นสถานการณท์ ่กี าหนดให้ แล้วเลอื กนาพทุ ธศาสนสภุ าษติ มาปรับใชใ้ ห้เข้ากับ สถานการณ์ สถานการณท์ ี่ 1 สถานการณท์ ี่ 2 ปทั มาเปน็ พนกั งานทมี่ คี วามขยันขนั แขง็ สายฟ้าทางานมานานแตร่ ู้สกึ ว่าไมม่ ี ต้งั ใจทางานมาก ไม่นานผลงานของเธอกท็ า ความกา้ วหน้าทางการงาน จงึ เปลย่ี นงาน ให้ลูกค้าพอใจ ทาใหเ้ ลอ่ื นตาแหน่งอย่างเร็ว ใหม่ท่มี ่นั คง เธอจงึ ไปปรกึ ษาครอบครัว และ แต่กลบั ถูกเพอ่ื นร่วมงานท่ีอายงุ านมากกว่า คนอ่นื ๆ แตล่ ะคนกใ็ หค้ าแนะนาแตกต่างกัน ไมพ่ อใจ และพูดลับหลงั เมอื่ ปัทมาไดย้ ินจึง ไป ทาให้สายฟา้ ไมส่ ามารถตดั สนิ ใจได้ โกรธมาก พทุ ธศำสนสภุ ำษิต พทุ ธศำสนสภุ ำษิต ...................................................... ...................................................... เหตุผลทเ่ี ลือก เหตุผลทเ่ี ลือก ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ช่ือ - นามสกุล.......................................................................................เลขท่.ี ...................ช้ัน...............

ใบงานที่ 16 หนว่ ยท่ี 4 เรื่อง พทุ ธศาสนสุภาษิตและพระไตรปิฏก วิชา พระพทุ ธศาสนา ม.4 ตอบคาถามเก่ยี วกบั พระไตรปฎิ ก 1. พระไตรปฎิ กคอื อะไร และแบง่ ออกเปน็ อะไรบ้าง ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. พระไตรปฎิ กมคี วามสาคัญอย่างไร ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. นักเรยี นมีแนวทางหรือวอธีการศึกษาพระไตรปิฏกอย่างไร ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 4. ประโยชน์ทนี่ กั เรียนจะไดร้ บั จากการศกึ ษาพระไตรปฎิ กคืออะไร ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ชอ่ื - นามสกลุ .......................................................................................เลขท่.ี ...................ชนั้ ...............

ใบงานที่ 17 หนว่ ยที่ 4 เร่ือง พทุ ธศาสนสุภาษิตและพระไตรปิฏก วชิ า พระพทุ ธศาสนา ม.4 อา่ นขอ้ ความแล้วแบง่ หมวดหมู่ของพระไตรปิฎกใหถ้ กู ตอ้ ง 1. ประมวลกฎขอ้ บังคับเกี่ยวกบั การปฏิบติของพระภกิ ษุและภิกษุณี ............................................................................................................................................................ 2. ศกึ ษาขันธ์ 5 อิทธบิ าท 4 ............................................................................................................................................................ 3. รวบรวมคาถาภาษติ ที่พระพุทธเจ้าตรสั และกลา่ วตอบบุคคลตา่ งๆ ............................................................................................................................................................ 4. การอุปสมบท ............................................................................................................................................................ 5. คาถาม - คาตอบพระพุทธศาสนา ............................................................................................................................................................ 6. ข้อบญั ญตั ิปลกี ย่อยเรื่องเสนาสนะ สังฆเภท และวตั รต่างๆ ............................................................................................................................................................ 7. คาถาแสดงคตธิ รรมท่ีพระพุทธเจ้าตรสั ในอดีตชาติ ............................................................................................................................................................ 8. การอธิบายธรรมทล่ี กึ ซึ้งต่างๆ ของพระสารบี ุตร ............................................................................................................................................................ 9. คมู่ อื ถามตอบซ้อมความรู้พระวินยั ............................................................................................................................................................ 10. นาหลกั ธรรมมาชี้แจง แยกแยะ อธบิ ายให้ชัดเจนเปน็ เรอ่ื งๆ ............................................................................................................................................................ ชื่อ - นามสกลุ .......................................................................................เลขท.่ี ...................ชน้ั ...............

ใบความรู้ หนว่ ยที่ 4 เรอ่ื ง พุทะศาสนสุภาษติ และพระไตรปฏิ ก วชิ า พระพทุ ธศาสนา ม.4 พทุ ธศาสนสุภาษิต พทุ ธภาษิต คอื พระวจนะของพระพทุ ธเจา้ หมายถึงเป็นถอ้ ยคาท่ี (เราเชอื่ กนั ว่า) พระพุทธองคต์ รสั จรงิ ๆ ส่วนมากมกั จะเป็น “คาถา” หรอื เปน็ บทกวนี ิพนธ์ เชน่ คาถาธรรมบท เปน็ ตน้ สว่ น “พทุ ธศาสนสภุ าษิต” แปลวา่ คาสภุ าษติ ของพุทธศาสนา หมายถงึ ถ้อยคาท่พี ดู ดีมเี หตุผล ท่ีสอดคลอ้ งกบั หลกั คา สอนของพระพุทธเจา้ เนน้ ตรงที่ “สอดคล้องกับคาสอนของพระพทุ ธเจ้า” จติ ฺต ทนฺติ สขุ าวห อ่านว่า จิต-ตัง-ทัน-ตงั -ส-ุ ขา-วะ-หัง แปลว่า จติ ทีฝ่ ึกดีแลว้ นาสุขมาให้ ความหมาย จติ ทีฝ่ กึ ดแี ลว้ หมายถงึ จิตทไ่ี ด้รบั การฝกึ อบรมและดแู ลรกั ษามาเป็นอยา่ งดี ทาใหเ้ ป็นคนหนกั แนน่ มัน่ คง ไมห่ ว่ันไหว ในสิง่ แวดล้อมท่ีมากระทบ มีความสงบเยือกเยน็ จุดมงุ่ หมาย มุ่งใหฝ้ ึกอบรมจติ ซงึ่ ทาไดห้ ลายทาง เช่น การตั้งสติกาหนดพิจารณาสงิ่ ตา่ งๆ ให้รแู้ ละเขา้ ใจสภาพทีเ่ ปน็ จรงิ เช่น การ ระลกึ ถงึ ศลี การระลึกถงึ จาคะ การระลกึ ถงึ เทวดา และวิธกี ารกาหนดลมหายใจเข้าออก เป็นต้น น อุจฺจาวจ ปณฑฺ ติ า ทสฺสยนฺติ อา่ นวา่ นะ-อุจ-จา-วะ-จัง-ปนั -ท-ิ ตา-ทสั -สะ-ยัน-ติ แปลว่า บณั ฑติ ย่อมไม่แสดงอาการขึ้นๆ ลงๆ ความหมาย บณั ฑติ หมายถงึ ผู้มปี ัญญา ผดู้ าเนินชีวติ โดยยดึ หลกั ความดีงาม ใช้ปญั ญาในการดาเนินชีวิต และมีจติ ใจหา่ งไกลจาก สิง่ ช่วั ร้ายหรอื อบายมุขต่างๆ บณั ฑิตต้องมจี ติ ใจม่นั คง ยึดม่นั ในคณุ งามความดี ทาความดีเสมอตน้ เสมอปลาย ทั้งตอ่ หน้าและลบั หลัง ไม่แสดงอาการขึ้นๆ ลงๆ จดุ ม่งุ หมาย ตอ้ งการสอนใหผ้ อู้ ยูใ่ นวัยเรยี น มคี วามมัน่ คงในการทาความดี เข้าใจถงึ ลักษณะของผเู้ ปน็ บณั ฑติ ซง่ึ ผา่ นการศกึ ษา และการฝกึ อบรมมาดแี ล้ว ต้องมีจติ ใจมัน่ คงเข้มแขง็ ในการทาสง่ิ ทดี่ ถี กู ต้องดงี าม ไมด่ ื้อร้นทาตามใจตวั เอง แต่ตอ้ งยดึ หลักธรรมเป็น ใหญ่ นตฺถิ โลเก อนินทฺ ิโต อ่านวา่ นตั -ถ-ิ โล-เก-อะ-นิน-ทิ-โต แปลว่า คนท่ีไม่ถูกนนิ ทา ไมม่ ใี นโลก ความหมาย การนินทา หมายถึง การติเตยี นลับหลัง หลักธรรมในพระพทุ ธศาสนาเรือ่ ง โลกธรรม 8 สอนว่า การนินทาเป็นเรอ่ื ง ธรรมดาของโลก สรรเสรญิ กับนนิ ทาเปน็ ของคู่กนั บุคคลท่ีไดร้ บั การสรรเสริญ ก็ยอ่ มถกู นนิ ทาไดเ้ ชน่ กนั จุดมงุ่ หมาย สอนใหช้ าวพทุ ธเข้าใจธรรมชาติของโลกและมนุษย์ เพอ่ื ให้สามารถดาเนินชีวิตในสังคมได้อยา่ งมีความสุข ตอ้ งตระหนัก ว่าไม่มใี ครในโลกรอดพน้ จากการนินทา

โกธ ฆตฺวา สขุ เสติ อา่ นวา่ โก-ธงั -คัด-วา-ส-ุ ขงั -เส-ติ แปลว่า ฆา่ ความโกรธไดย้ ่อมอยูเ่ ปน็ สุข ความหมาย ความโกรธ เป็นความรสู้ ึกไม่พอใจอยา่ งรนุ แรงตอ่ บคุ คล หรอื ต่อสถานการณ์อยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง ความโกรธเป็นอารมณ์ ของคนท่มี ีความทกุ ข์ เมอื่ เกิดความโกรธอาจตดั สนิ ใจใช้อารมณร์ นุ แรงกระทาตอ่ บุคคลหรอื ส่ิงของส่งผลเสยี หายร้ายแรงตามมา ดังนั้นการกาจัดความโกรธออกไป จุดมงุ่ หมาย สอนใหช้ าวพทุ ธร้จู ักโทษและผลเสียของความโกรธ รจู้ กั ฝึกระงับความโกรธ มใิ หเ้ กิดขึ้นงา่ ยๆ โดยใช้หลกั ไตรสิกขา ได้แก่ การรกั ษาศีล การเจรญิ สมาธิ การเจรญิ ปัญญา พระไตรปฎิ ก พระไตรปฎิ ก (บาล:ี तिपिटक ติปฏิ ก; สันสกฤต: त्रिपिटक ตฺรปิ ฏิ ก) เป็นคมั ภีร์ทบ่ี นั ทกึ คาสอนของพระโคตม พทุ ธเจ้า ไตรปฎิ ก แปลวา่ ตะกร้า 3 ใบ เพราะเนื้อหาแบ่งเปน็ 3 หมวดใหญ่ ๆ คือ พระวินัยปฎิ ก วา่ ดว้ ยพระวนิ ยั สิกขาบทตา่ ง ๆ ของภิกษแุ ละภิกษณุ ี พระสตุ ตันตปฎิ ก ว่าดว้ ยพระสตู รซ่ึงเปน็ พระธรรมเทศนาของพระโคตมพุทธเจา้ และพระอรหันตสาวก ทีแ่ สดงแก่บคุ คล ต่างชัน้ วรรณะและการศึกษา ตา่ งกรรมต่างวาระกนั มีท้ังท่เี ปน็ รอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรอง พระอภธิ รรมปฎิ ก วา่ ดว้ ยพระอภธิ รรมหรอื ปรมตั ถธรรม ซึ่งเป็นธรรมะขัน้ สูง อธิบายดว้ ยหลักวชิ าล้วน ๆ โดยไมอ่ ้างอิง เหตกุ ารณแ์ ละบคุ คล คาสั่งสอนของพระพุทธเจา้ ในยุคแรกเรยี กวา่ พระธรรมวินยั จนกระท่งั การสงั คายนาครงั้ 3 จึงแยกเน้อื ทเี่ กย่ี วกับปรมัตถ ธรรมออกมาเป็นอกี หมวดหนึง่ เรยี กว่าพระอภิธรรมปฎิ ก ในศาสนาพทุ ธยคุ แรก แตล่ ะนิกายต่างมคี มั ภรี เ์ ป็นของตนเอง บางนกิ ายมี 5 ปฎิ ก บางนิกายมี 7 ปิฎก แตพ่ ระไตรปฎิ ก ฉบับสมบรู ณ์ที่ตกทอดมาจนถึงปัจจบุ ันมเี พยี งพระไตรปิฎกภาษาบาลขี องฝ่ายเถรวาท ในปัจจุบนั คาวา่ พระไตรปฎิ ก ใชห้ มายถงึ คัมภรี ์ในศาสนาพทุ ธโดยรวม ซ่งึ มีอยทู่ ้ังสน้ิ 3 สารบบ ได้แก่ พระไตรปฎิ กภาษาบาลี ใชใ้ นนกิ ายเถรวาท พระไตรปิฎกภาษาจีน ใชใ้ นนิกายมหายาน พระไตรปฎิ กภาษาทิเบต ใชใ้ นศาสนาพทุ ธแบบทิเบต

ใบงานที่ 18 หนว่ ยที่ 5 เรื่อง หนา้ ทีช่ าวพุทธและมารยาทชาวพุทธ วิชา พระพุทธศาสนา ม.4 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. หน้าที่ชาวพุทธต่อการปฏบิ ตั ิตนเป็นชาวพุทธท่ีดตี ่อพระภิกษมุ ีอะไรบ้าง ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 2. หน้าท่ชี าวพุทธต่อการปฏบิ ัติตนเป็นสมาชิกท่ดี ีของครอบครวั และสงั คมมีอะไรบา้ ง ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 3. มารยาทชาวพทุ ธต่อการปฏิบัตติ นตอ่ พระภิกษุทางกาย วาจา และใจประกอบดว้ ยเมตตา ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 4. มารยาทชาวพทุ ธต่อการปฏิสันถารตอ่ พระภิกษใุ นโอกาสต่าง ๆ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ชือ่ - นามสกุล.......................................................................................เลขที.่ ...................ชนั้ ...............

ใบงานที่ 19 หนว่ ยท่ี 5 เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพทุ ธ วชิ า พระพุทธศาสนา ม.4 ให้พจิ ารณาภาพกจิ ของสงฆ์ วเิ คราะหว์ า่ เป็นกิจของสงฆ์ วเิ คราะหว์ า่ กิจของสงฆด์ ้านใดแล้ว บอกการปฏบิ ัตแิ ละยกตวั อยา่ งการปฏสิ ัมพันธใ์ หส้ มั พนั ธ์กัน ด้าน............................................... การปฏบิ ตั .ิ .............................................................................. ................................................................................................ ตวั อยา่ งการปฏิบัติ................................................................. ................................................................................................ ดา้ น............................................... การปฏิบตั ิ............................................................................... ................................................................................................ ตวั อยา่ งการปฏิบัติ................................................................. ................................................................................................ ด้าน............................................... การปฏิบตั .ิ .............................................................................. ................................................................................................ ตวั อยา่ งการปฏบิ ตั ิ................................................................. ................................................................................................ ช่อื - นามสกลุ .......................................................................................เลขท่ี....................ชน้ั ...............

ใบงานท่ี 20 หน่วยที่ 5 เร่ือง หน้าที่ชาวพทุ ธและมารยาทชาวพทุ ธ วชิ า พระพุทธศาสนา ม.4 จงแก้ไขขอ้ ความทกี่ าหนดใหเ้ ป็นขอ้ ความทีเ่ หมาะสมเมอ่ื สนทนากบั พระภกิ ษุ 1. พระสวดมนตเ์ ยน็ กีโ่ มงคะ ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. 2. สวสั ดีคะ่ ทา่ นเจ้าอาวาส วนั นไี้ ด้รบั งานทไี่ หนไวค้ ะ ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. 3. ขอเชิญพระสงฆุ์ทกุ รปู รบั ประทานอาหาร ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. 4. หลวงพ่อคะ ข้าพเจ้าขอมอบเงินทนุ สมทบทุนการศึกษาให้สามเณรค่ะ ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. 5. หลวงพ่อนอนกโ่ี มงคะ ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. 6. อาการป่วยของหลวงพอ่ ดีขนึ้ รึยงั คะ ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. 7. วนั นี้หลวงพ่อสอนเร่ืองอะไรคะ ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. 8. หลวงพอ่ ข้นึ สวดศพตอนก่ีโมงครบั ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. ช่อื - นามสกุล.......................................................................................เลขท.่ี ...................ชน้ั ...............

ใบงานท่ี 21 หน่วยท่ี 5 เร่ือง หนา้ ท่ชี าวพุทธและมารยาทชาวพุทธ วชิ า พระพุทธศาสนา ม.4 ใหพ้ ิจารณาภาพแลว้ วเิ คราะห์หนา้ ทช่ี าวพทุ ธและประโยชน์ทไี่ ด้รบั หนา้ ท่ีชาวพทุ ธ............................................... ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั .............................................................. .......................................................................................... .......................................................................................... ......................................................................................... หน้าทช่ี าวพทุ ธ............................................... ประโยชนท์ ี่ได้รับ.............................................................. .......................................................................................... .......................................................................................... ......................................................................................... หนา้ ทีช่ าวพุทธ............................................... ประโยชน์ที่ไดร้ ับ.............................................................. .......................................................................................... .......................................................................................... ......................................................................................... ชือ่ - นามสกลุ .......................................................................................เลขท.่ี ...................ชั้น...............

ใบงานท่ี 22 หนว่ ยที่ 5 เรื่อง หน้าท่ชี าวพทุ ธและมารยาทชาวพทุ ธ วิชา พระพุทธศาสนา ม.4 ให้บอกวิธปี ฏบิ ตั ติ นต่อพระสงฆ์ทีถ่ ูกตอ้ ง 1. ผหู้ ญงิ มอบของให้พระสงฆ์ ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... 2. พระสงฆเ์ ดินมาหยดุ เฉพาะหน้า ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... 3. นักเรยี นนงั่ บนรถโดยสาร และมพี ระสงฆม์ าดว้ ย ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... 4. นกั เรียนจะทาบญุ ตกั บาตร มพี ระสงฆเ์ ดนิ มา 4 รปู ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... 5. พิธกี รกล่าวทกั ทายในทปี่ ระชุม และมีพระสงฆ์อยรู่ ่วมดว้ ย ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ช่อื - นามสกุล.......................................................................................เลขท่.ี ...................ช้นั ...............

ใบงานท่ี 23 หนว่ ยที่ 5 เร่ือง หน้าทีช่ าวพทุ ธและมารยาทชาวพุทธ วิชา พระพุทธศาสนา ม.4 จงทาเครอ่ื งหมาย ✓ หนา้ ขอ้ ความที่กล่าวถูก และทาเครอ่ื งหมาย X หนา้ ข้อความทก่ี ล่าว ผิด พร้อมแก้ไขขอ้ ความใหถ้ ูกตอ้ ง 1. การทโ่ี รงเรยี นนานักเรียนเข้าคา่ ยพุทธบตุ ร ทาใหด้ ารงสบื ทอดพระพุทธศาสนาไว้ได้ แกไ้ ขข้อความ................................................................................................................ 2. การที่บตุ รปฏบิ ัติต่อมารดา สามปี ฏบิ ตั ติ อ่ ภรรยา ไม่เกี่ยวข้องกบั มารยาทชาวพุทธ แกไ้ ขขอ้ ความ................................................................................................................ 3. การถวายปจั จยั หรอื เงินใหก้ ับพระสงฆ์ทาให้มคี วามสะดวกสบาย แกไ้ ขขอ้ ความ................................................................................................................ 4. การท่ชี าวพุทธเคารพพระสงฆ์ เป็นตามหลกั ทศิ เบื้องหนา้ ในทศิ 6 แก้ไขข้อความ................................................................................................................ 5. ประเพณอี ย่างหนึง่ ของชาวพุทธคอื นยิ มรักษาศลี 8 ในวันพระ แก้ไขขอ้ ความ................................................................................................................ 6. ทานทด่ี ีคือการทาทานด้วยปัจจยั เงนิ แก้ไขขอ้ ความ................................................................................................................ 7. การให้ทีด่ ีควรแต่สิ่งทีเ่ ป็นคุณ กอ่ ประโยชน์แก่ผ้รู ับ แก้ไขขอ้ ความ................................................................................................................ 8. ถงึ แม้ว่าผูท้ ่ีเมาสรุ าขอรับทาน เรากค็ วรหาให้ แก้ไขข้อความ................................................................................................................ 9. ทายก คือ ผูน้ าในการทาบุญ แก้ไขขอ้ ความ................................................................................................................ 10. การใหอ้ ภยั ถือเปน็ การใหท้ านอย่างหน่ึง แก้ไขขอ้ ความ................................................................................................................ ชื่อ - นามสกลุ .......................................................................................เลขที่....................ช้นั ...............

ใบงานท่ี 24 หน่วยท่ี 5 เร่ือง หน้าท่ีชาวพทุ ธและมารยาทชาวพุทธ วชิ า พระพทุ ธศาสนา ม.4 เติมแนวทางการปฏบิ ัติลงในชอ่ งว่าง ตอ่ พระภิกษุ ตอ่ ตนเอง หน้าทีช่ าวพุทธ ตอ่ ครอบครวั ต่อองคก์ รชาวพุทธ ชือ่ - นามสกุล.......................................................................................เลขท.่ี ...................ช้ัน...............

ใบความรู้ หน่วยที่ 5 เรื่อง หนา้ ท่ีชาวพุทธและมารยาทชาวพทุ ธ วชิ า พระพุทธศาสนา ม.4 หนา้ ทชี่ าวพุทธ พทุ ธศาสนิกชนยดึ ถือพระพทุ ธศาสนาเป็นสรณะในการดารงชวี ิต ในประเทศไทยประชาชนมากกวา่ รอ้ ยละ ๙๕นบั ถือพระพทุ ธศาสนาเปน็ เวลากว่าพนั ปแี ลว้ ที่พระพุทธศาสนาไดเ้ ขา้ มาผสมกลมกลืนกบั วถิ ชี วี ิตความเปน็ อยขู่ องคนไทย จนแยกกันไม่ ออก ความเจรญิ หรอื ความเล่ือมของพระพทุ ธศาสนาย่อมมผี ลกระทบต่อสังคมไทย พวกเราชาวพทุ ธจงึ มีหน้าท่ีจะทานบุ ารุง พระพุทธศาสนาใหเ้ จริญมัน่ คงสบื ไป หนา้ ที่สาคญั ของชาวพุทธมดี งั นี้ บทบาทของพระภกิ ษุในการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา พระภกิ ษุสงฆ์ ซึง่ เป็นบรรพชิตในพระพุทธศาสนา มหี น้าท่ีศกึ ษาปฏบิ ตั ิธรรม เผยแผค่ าสอน สบื ต่อ พระพทุ ธศาสนา มีคณุ ธรรมและหลกั ความประพฤติท่ตี อ้ งปฏิบตั ิมากมาหนา้ ทข่ี องพระภกิ ษทุ ี่สมั พันธ์กบั คฤหสั ถ์ ไดแ้ ก่ การใหค้ วาม อนเุ คราะห์ชาวบา้ น ตามหลักปฏบิ ตั ใิ นฐานะท่พี ระภิกษุเป็นเสมือนทศิ เบอื้ งบนได้แก่ ๑. ห้ามปรามสอนใหเ้ วน้ จากความช่วั คอื งดเว้นจากการเบยี ดเบียนกัน ไม่ทาลายทั้งชวี ติ ตนเองและผอู้ ื่น ๒. แนะนาส่ังสอนให้ต้งั อยู่ในความดี งดเวน้ อบายมุข 6 ๓. อนุเคราะหด์ ว้ ยความปรารถนาดีดว้ ยน้าใจอนั งามโดยยดึ ถอื หลักสงั คหวตั ถุ 4 ๔. ให้ไดฟ้ ังได้รสู้ ่ิงทย่ี ังไมเ่ คยรไู้ มเ่ คยฟัง คือ สอนให้รจู้ ักแยกแยะมิตรแท้ มติ รเทียม ให้คบบณั ฑติ เพอ่ื ประโยชน์ในการ ดารงชีพ ๕. ชแ้ี จงอธิบายทาสิ่งท่เี คยฟังแลว้ ใหเ้ ขา้ ใจแจม่ แจ้ง ในส่งิ ท่ีสดับเล่าเรยี นมาแล้ว เช่น การแสวงหาทรพั ยโ์ ดยวธิ สี จุ รติ การ รู้จักรักษาทรพั ย์ และการดารงชวี ิตตามฐานะ ๖. บอกทางสวรรค์ให้ คือ การแนะนาวิธคี รองตน ครองคน ครองงาน หรือวธิ คี รองชวี ิตให้ได้รบั ผลดีมคี วามสุข บทบาทของพระภิกษุในการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา อาจทาได้ดังตอ่ ไปน้ี ๑. การปฏบิ ตั ติ ามคาสอนของพระพทุ ธเจา้ ซ่ึงเมอ่ื พระภิกษปุ ระพฤตปิ ฏบิ ตั ชิ อบตามหลกั ธรรมคาสอนของพระพทุ ธเจา้ แล้วยอ่ มนามาซงึ่ ความเล่ือมใสศรทั ธาของพุทธศาสนิกชนและบคุ คลผ้พู บเหน็ โดยท่ัวไป ๒. การส่งั สอนในรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ การเทศนา ปาฐกถาธรรม หรอื เผยแผธ่ รรมทางสือ่ มวลชน ๓. การทากิจกรรมอนั เปน็ การสงเคราะห์ชาวบ้าน เชน่ ชว่ ยสร้างสิง่ สาธารณประโยชน์ เป็นผนู้ าชาวบา้ นในกิจกรรมทเี่ ป็น ประโยชน์ เชน่ รักษาปา่ ขดุ ลอกหนองบึง ส่งเสริมอาชีพสุจริต ตัง้ กลมุ่ สัจจะออมทรพั ย์ ธนาคารข้าว ธนาคารโคกระบือ เป็นต้น ๔. จัดกิจกรรมอนั เปน็ ประเพณีและศาสนพธิ ใี นโอกาสตา่ ง ๆ เชน่ วันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา เพ่อื ใหช้ าวบ้านได้ทา กิจกรรมทางพระพทุ ธศาสนาร่วมกัน อันจะทาให้เกดิ ความรกั สามคั คีในหมู่บ้าน ชมุ ชน สังคม รวมทง้ั การถอื โอกาสเทศนาธรรมส่ัง สอนใหง้ ดเวน้ จากอบายมขุ ใหป้ ระพฤติดี หลกี หนีความชว่ั ๕. การเป็นผูน้ าในการปฏิบตั ิธรรม เช่น ฝึกสมาธิเพือ่ ให้ประชาชนไดเ้ ขา้ ถงึ พระพุทธศาสนาจากการปฏบิ ตั ิอยา่ งแทจ้ รงิ การแสดงธรรมและการปาฐกถาธรรม การแสดงธรรมและการปาฐกถาธรรมของพระภิกษุ สามารถกระทาได้ท้งั ภายในวดั และภายนอกวัด การเผยแผ่ ภายในวัด เช่น มีการแสดงพระธรรมเทศนาในวนั ธรรมสวนะ มกี ารบรรยายธรรมหรอื พระธรรมเทศนาในวนั อาทติ ย์ ตงั้ ศนู ยศ์ กึ ษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เปน็ ตน้ สว่ นการเผยแผภ่ ายนอกวดั เช่น การสนทนาธรรมตามบา้ นเรือนประชาชนในโอกาสอันสมควร

การบรรยายธรรมหรือการแสดงพระธรรมเทศนาตามท่ีมผี นู้ มิ นตก์ ารแสดงธรรมหรอื การปาฐกถาธรรมของพระภกิ ษุ หมายถงึ การ กล่าวสั่งสอนหลกั ธรรมคาสอนของพระพุทธเจา้ เพ่ือให้พุทธศาสนกิ ชนสามารถนาเอาหลกั ธรรมคาสอนเหลา่ นไี้ ปประพฤติ เพ่ือการ ดารงชีวิตอย่างมีความสันตสิ ขุ พระภกิ ษุจงึ มีหลักการและวิธีการที่ แสดงธรรมดงั น้ี ๑. ภกิ ษผุ ู้แสดงธรรมจะตอ้ งเป็นผปู้ ระพฤติดปี ฏิบตั ชิ อบ ๒. แสดงธรรมตามหลักธรรมท่พี ระพทุ ธองค์ไดท้ รงตรสั ไว้ ๓. แสดงธรรมโดยเคารพตอ่ ผู้ฟงั ธรรม ไม่ว่าบุคคลนั้นจะเป็นชนชน้ั ใด ไม่แบ่งแยกชนั้ วรรณะ ๔. แสดงธรรมตามหลกั องค์ธรรมกถึก คอื ธรรมทผ่ี ูแ้ สดงธรรมควรตง้ั ไวใ้ นใจ ๕ ประการคือ ๔.๑ แสดงธรรมไปตามลาดับ คือแสดงหลักธรรมหรือเน้อื หาวิชาตามลาดับความง่ายยาก มเี หตผุ ลสัมพนั ธต์ อ่ เนือ่ งกัน เปน็ ลาดบั ๔.๒ ชแี้ จง ยกเหตผุ ลมาแสดงให้เข้าใจ คือ ช้แี จงใหเ้ ขา้ ใจชดั ในแตล่ ะแง่แตล่ ะประเดน็ โดยอธิบายขยายความตาม แนวเหตผุ ล ๔.๓ แสดงธรรมด้วยเมตตา คือ สอนผู้ฟงั ด้วยจิตเมตตา มุ่งจะใหเ้ ป็นประโยชนแ์ กผ่ ู้ฟังอยา่ งแท้จริง ๔.๔ ไมแ่ สดงธรรมด้วยการเหน็ แกอ่ ามสิ คือ สอนโดยไมห่ วังผลประโยชนต์ อบแทน ๔.๕ แสดงธรรมไมก่ ระทบตนและผู้อ่ืน คอื สอนตามหลักเนอื้ หาวชิ า มุ่งแสดงธรรม ไมก่ ลา่ วยกย่องตนเองและไมก่ ลา่ ว เสยี ดสี กลา่ วขม่ ผอู้ น่ื หรอื กล่าว“ยกตนข่มท่าน” ๕. แสดงธรรมโดยยดึ ลักษณะการสอนของพระพุทธเจ้า เรยี กว่า อาการท่พี ระพทุ ธเจ้าทรงส่ังสอน ๓ ประการคือ ๕.๑ ผแู้ สดงธรรมต้องมีความรอู้ ย่างแท้จริง และสามารถถา่ ยทอดความรขู้ องตนให้กับผูอ้ ่ืนรแู้ จง้ เหน็ จรงิ ตามดว้ ย ๕.๒ แสดงธรรมด้วยเหตแุ ละผล ไมก่ ล่าวเล่ือนลอย หรอื กลา่ วโดยไมม่ หี ลักฐานยนื ยนั ชัดเจน ๕.๓ แสดงธรรมใหเ้ หน็ จริง มองเหน็ ชดั เจนจนตอ้ งยอมรับ และนาไปปฏบิ ตั ใิ หไ้ ดผ้ ลจริง ๖. ผู้แสดงธรรมจะตอ้ งประกอบไปดว้ ยความดี ๓ ประการคือ ไม่มรี าคะ (ความกาหนดั ) ไมม่ โี ทสะ (ความคิดประทษุ รา้ ย ) ไมม่ โี มหะ(ความหลงผดิ ) ๗. แสดงธรรมโดยหลกั การสอน ๔ วิธคี ือ ๑ ) สอนดว้ ยวิธีละมุนละม่อม ๒ ) สอนด้วยวธิ ีรนุ แรง (สอนโดยการว่ากลา่ วตกั เตือน) ๓ ) สอนด้วยวิธีละมุนละมอ่ มและรุนแรง ๔ ) ฆ่าเสยี (สอนโดยไม่วา่ กลา่ วตักเตอื นสั่งสอนบคุ คลนนั้ เลย) ๘. เมอ่ื แสดงธรรมถา้ จะระบถุ ึงบคุ คล จะตอ้ งเปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ ๖ประการคือ ๘.๑ เพอื่ แสดงถึงการกระทาของคนโดยเฉพาะตวั ๘.๒ เพือ่ แสดงถึงอนันตรยิ กรรม (กรรมหนัก เช่น ฆ่าบดิ ามารดา เป็นต้น) ๘.๓ เพอื่ แสดงถึงพรหมวิหาร 4 (เมตตา กรณุ า มทุ ิตา อเุ บกขา) ๘.๔ เพอ่ื แสดงถึงบพุ เพนิวาสานสุ ติญาณ (เป็นบพุ เพสันนวิ าส) ๘.๕ เพอ่ื แสดงถึงทกั ขิณาวสิ ทุ ธิ (ความบรสิ ุทธขิ์ องการทาบญุ )

๘.๖ เพื่อไมล่ ะทง้ิ สมมตขิ องโลก (ส่ิงทีส่ มมตขิ ึน้ ) ๙. การแสดงธรรมตามหลกั การแสดงของพระพทุ ธเจา้ ๒ ประการคือ แสดงธรรมแบบย่อ (เฉพาะหัวข้อ) และแสดงธรรม โดยพิสดาร(แสดงแยกแยะหัวขอ้ ธรรม) ๑๐. ไม่แสดงธรรมในเรื่องราวท่ีพระภกิ ษไุ ม่ควรสนทนากัน เชน่ เรอ่ื งพระราชา เร่ืองโจร เรอ่ื งสงคราม เป็นตน้ ๑๑. แสดงธรรมในส่งิ ที่เปน็ คณุ เปน็ ประโยชน์ ตอ่ ผ้ฟู งั ๑๒. แสดงธรรมและฟังธรรมดว้ ยความเคารพ การประพฤตติ นให้เปน็ แบบอย่างของพระภกิ ษุ พระภิกษุต้องหมน่ั พจิ ารณาตนเอง คือ พจิ ารณาเตอื นใจตนเองอยเู่ สมอตามหลักปพั พชติ อภณิ หปจั จเวกขณ์ (ธรรม ท่บี รรพชิตควรพิจารณาเนอื ง ๆ ) ๑๐ ประการ ดังน้ี ๑. พระภกิ ษุมเี พศตา่ งจากคฤหสั ถ์ สลดั แล้วซึง่ ฐานะ ควรเปน็ อยงู่ า่ ย จะจู้จถ้ี อื ตัวเอาแต่ใจตนไม่ได้ ๒. ความเป็นอยู่ของพระภกิ ษตุ ้องพ่งึ พิงผอู้ ืน่ ต้องอาศัยเขาเลี้ยงชีพ ควรทาตวั ใหเ้ ขาเล้ยี งง่าย และบริโภคปจั จัย 4 โดย พจิ ารณา ไม่บรโิ ภคดว้ ยตณั หา ๓. พระภิกษมุ ีอากปั กริ ิยาที่พึงทาต่างจากคฤหสั ถ์ อาการกริ ยิ าใด ๆ ของสมณะ พระภิกษุตอ้ งทาอาการกิรยิ านั้น ๆ และ ยังจะต้องปรับปรงุ ตนใหด้ ยี ิ่งข้ึนไปกวา่ นี้ ๔. พระภิกษตุ เิ ตยี นตวั เองได้โดยศลี ๕. เพ่อื นพรหมจรรย์ทัง้ หลาย ผเู้ ปน็ วิญญชู น พิจารณาแล้ว ยงั ตเิ ตียนติเตียนไดโ้ ดยศลี ๖. พระภกิ ษุจกั ต้องมีความพลดั พรากจากของรักของชอบใจไปทัง้ สน้ิ ๗. พระภกิ ษมุ กี รรมเปน็ ของตน หากทากรรมใด ดกี ็ตาม ชั่วก็ตามจกั ต้องเป็นทายาทของกรรมน้ัน ๘. วันคืนลว่ งไป ๆ บดั นีพ้ ระภกิ ษทุ าอะไรอยู่ (ทาในส่ิงท่เี ป็นประโยชน์หรือไม)่ ๙. พระภิกษุยนิ ดีในท่สี งดั อยหู่ รือไม่ ๑๐. คณุ วิเศษยง่ิ กวา่ มนษุ ยส์ ามัญทพี่ ระภิกษบุ รรลุแล้วมอี ยู่หรอื ไม่ ท่ีจะใหเ้ ป็นผไู้ มเ่ ก้อเขิน เม่ือถกู เพอื่ นบรรพชิตถามใน กาลภายหลัง พทุ ธศาสนกิ ชนสามารถนาขอ้ วัตรปฏิบัตขิ องพระภิกษทุ ง้ั สิบประการดงั กล่าวมา นาเปน็ แบบอยา่ งในการประพฤติ ปฏบิ ัติในชีวติ ประจาวันได้ ซึง่ จะทาใหเ้ กดิ ความเจรญิ แกผ่ ูป้ ระพฤตปิ ฏิบัตนิ ้ัน การเปน็ ลูกที่ดี ตามหลักทศิ เบ้ืองหน้า ในทศิ 6 พ่อแมท่ า่ นจัดว่า เป็นทศิ เบอ้ื งหน้าของลกู ก็โดยฐานทพ่ี อ่ แม่ เป็นผู้ให้กาเนดิ และบารงุ เลยี้ งพทิ กั ษ์รักษามากอ่ น นับไดว้ ่า เปน็ เจา้ ของชีวิตของพอ่ แมก่ ็ได้ เพราะเหตวุ า่ นบั แตล่ ูกอยใู่ นครรภ์ จนถึงคลอดมาทกุ ระยะของวัย ลูกยังไม่รจู้ กั คมุ้ ครอง รักษาตวั เองได้ ชวี ิตยังตกอยู่ในความคุ้มครองของพ่อแมอ่ ยู่ จนตราบนน้ั รวมความวา่ พอ่ แมม่ ีอุปการคณุ แก่ลูก ๒ ประการคือ เปน็ ผู้ใหก้ าเนิด และเป็นผู้อุปการะเลี้ยงดู ดงั น้ันในฐานะท่เี ป็นลกู ทด่ี ี พงึ ปฏิบตั ติ อ่ พอ่ แม่ ผเู้ ปรยี บเหมือน ทศิ เบื้องหน้า ดงั นี้ ๑. ทา่ นเลย้ี งเรามา เลย้ี งทา่ นตอบ การเลีย้ งดพู ่อแม่ หมายถึงการเลย้ี ง ๒ อย่างคอื การเลยี้ งใหท้ า่ นมคี วามสุขกาย เชน่ แบ่งปันสิ่งของใหต้ ามอตั ภาพ ให้การดแู ลเอาใจใสเ่ ลีย้ งดทู ่านและยามเจ็บไขไ้ ดป้ ว่ ย คอยปรนนิบัตเิ อาใจใส่อยา่ งใกล้ชดิ และการ เล้ียงให้ท่านสขุ ใจ เช่น การเชอ่ื ฟังคาสงั่ สอนของทา่ น การประพฤติตนเป็นคนดี การพัฒนาตนเองใหเ้ จรญิ ก้าวหนา้ เปน็ ต้น

๒. ช่วยทากจิ ธุระการงานใหท้ า่ น หมายถงึ ให้ลูกถอื ว่า งานการทกุ อย่างของพอ่ แม่ เหมือนกับการงานของตน เม่ือทา่ น มอบหมายใหท้ า กม็ ีความเตม็ ใจทากิจกรรมน้ัน ๆ ใหส้ าเร็จลลุ ว่ งไปดว้ ยดี เมอื่ ช่วยงานทา่ น กต็ งั้ ใจทาจรงิ เตม็ ความรูค้ วามสามารถ ดว้ ยความสมัครใจ ไม่อ้างหรือหลกี เลี่ยงหนงี านทท่ี ่านมอบหมาย เปน็ ต้น ๓ .ดารงวงศส์ กลุ ของท่าน หมายถงึ การรกั ษาชือ่ เสียงวงศต์ ระกูล หรือสรา้ งวงศต์ ระกลู ให้รุง่ เรอื ง ใหเ้ จรญิ กา้ วหน้า ไม่ สรา้ งความเดือนรอ้ น หรอื ความดา่ งพร้อยมาสู่วงศ์ตระกลู เปน็ ตน้ นอกจากนัน้ การรกั ษาเครือญาตไิ วอ้ ยา่ งม่นั คง มคี วามสามัคคีรัก ใครก่ ลมเกลียวกนั ระหว่างเครือญาติ การอยู่ร่วมกนั อย่างมคี วามสุข สงบ เปน็ ตน้ ๔. ประพฤตติ นให้เหมาะสมกับการเป็นทายาท หมายถึงการปฏิบตั ใิ หเ้ ป็นผสู้ มควรไดร้ บั ทรัพยม์ รดก นั่นคอื การประพฤติ ตนเปน็ คนดี โดยเว้นจากอบายมขุ ซ่งึ เปน็ หนทางแหง่ ความเส่ือมท้งั หลาย มคี วามเพียรต้ังหน้าทามาหากจิ โดยชอบธรรม ไมป่ ระพฤติ ชว่ั ทง้ั กาย วาจาและใจ เป็นต้นนอกจากนัน้ ยังรู้จักการทามาหากินเพม่ิ พูนทรัพยส์ นิ และรักษาทรัพยส์ นิ ท่มี อี ยู่ เช่น รจู้ ักการ ประหยดั อดออม มีความสันโดษ พอ่ แมก่ ม็ ีความอิ่มเอมใจและเต็มใจที่จะยกทรพั ยส์ มบตั ใิ ห้ ๕. เมอื่ ท่านล่วงลับไปแล้ว อทุ ิศสว่ นกศุ ลให้ทา่ น เปน็ กจิ ที่ลูกจะต้องปฏบิ ัติ เป็นส่วนของการให้ทานในส่งิ ที่สมควรกระทา แก่พอ่ แม่ผู้ล่วงลับไปแลว้ บญุ ท่ีจะพงึ ประกอบกค็ อื ท่านท่บี รจิ าคแกบ่ คุ คลผคู้ วรได้รับ เช่น พระภิกษสุ ามเณร และผทู้ รงศลี ตลอด ถึงคนอนาถา คนชรา คนพิการและทานทเี่ ปน็ สว่ นสงเคราะหแ์ กค่ นท่วั ๆ ไป เช่น การกอ่ สรา้ งสาธารณสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น และกุศลท่ีเกิดจากการปฏบิ ตั ิ เชน่ การรกั ษาศลี การเข้าวดั บวชเรยี น เปน็ ต้น เหลา่ น้เี ปน็ บุญทค่ี วรอุทศิ ทง้ั สน้ิ การทาบุญอุทศิ น้ี จดุ มงุ่ หมายสาคญั คอื เพือ่ ไม่ใหล้ ูกหลานลมื พอ่ แม่ เมอื่ ล่วงลับไปแลว้ มารยาทชาวพุทธ การตอ้ นรบั (ปฏิสันถาร) มรรยาท หมายถงึ กริ ยิ าวาจาที่ถอื วา่ สภุ าพเรยี บรอ้ ย มรรยาทชาวพุทธ จงึ หมายถึง กิริยาวาจาท่ีสภุ าพเรยี บรอ้ ยที่ พุทธศาสนกิ ชน ควรปฏิบตั ิ ทสี่ าคญั ได้แก่ ๑. มรรยาททางกาย เชน่ การกนิ พระพทุ ธศาสนาสอนใหบ้ รโิ ภคอาหารดว้ ยการสภุ าพเรยี บรอ้ ยไมก่ ินอยา่ งมูมมาม เคียว ขา้ วดว้ ยอาการสารวม ไม่อา้ ปากเคีย้ วขา้ ว แต่ปิดปากเคย้ี วด้วยความสารวม เคยี้ วช้า ๆ ใหแ้ หลกเสยี ก่อนแล้วจงึ กลนื เป็นตน้ การแต่งกาย เครื่องนงุ่ ห่มควรจะเหมาะสมแก่ภูมปิ ระเทศและตวั ผใู้ ช้ มุ่งเอาความเรียบร้อย เหมาะสมแก่ กาลเทศะและสภาพสงั คมเครอ่ื งน่งุ หม่ ตอ้ งสะอาดไมเ่ หม็นสาบการฟงั ฟงั ด้วยความเคารพ ควรถามบา้ งเม่ือผู้พดู เปดิ โอกาสใหถ้ าม ไมแ่ สดงกริ ยิ าอาการอันส่อความไม่สุภาพการฟงั พระธรรมเทศนาตอ้ งเคารพตอ่ พระธรรมและเคารพตอ่ ผแู้ สดงธรรมไมค่ ยุ กนั ในขณะฟงั ธรรมควรประนมมือซ่ึงเปน็ กิริยาอาการแสดงความเคารพต่อพระธรรมและผู้แสดงธรรมการแสดงความเคารพ ไดแ้ ก่ ๑) การยืน การยืนเพื่อแสดงความเคารพ ใชใ้ นโอกาสเมอื่ ถวายความเคารพพระมหากษตั รยิ ์ และพระมเหสี เมอ่ื เชิญธง ชาติขน้ึ และลงจากเสา เม่อื ได้ยนิ เสียงเพลงชาติ เพลงสรรเสริญพระบารมี และกรณอี ืน่ ๆ ทต่ี ้องแสดงความเคารพดา้ ยการยืน ๒) การประนมมือ คือการยกมือทงั้ สองขน้ึ กระพุ่มตง้ั ไวร้ ะหวา่ งอก ใหป้ ลายนิว้ มอื ทง้ั สองข้างประกบชดิ กนั ในลกั ษณะ ต้ังขึ้นข้างบน อย่าใหน้ ้ิวมือก่ายกันและหกั ช้ีลงข้างลา่ ง ๓) การไหว้ คือ การทาความเคารพโดยยกกระพุ่มมอื ท่ปี ระนมขน้ึ ไว้ ณ สว่ นบนของรา่ งกายตามความเหมาะสม ได้แก่ การไหว้พระรตั นตรยั การไหวบ้ ิดามารดาครูอาจารย์ การไหว้บุคคลทคี่ วรเคารพท่วั ไป และการไหว้บคุ คลท่เี สมอกนั การไหว้แตล่ ะ อยา่ งควรทาให้ถูกต้องตามแบบอย่างการไหว้

๔) การกราบ คือ การแสดงความเคารพดว้ ยวธิ ปี ระนมมอื ขึ้นเสมอหน้าผากแล้วนอ้ มศรี ษะลงจรดพ้ืน หรอื การกราบ แบบเบญจางคประดษิ ฐ์ ๒.มรรยาททางวาจา ชาวพทุ ธทด่ี ี ควรมีวาจาสุภาพอ่อนโยน เว้น วจที ุจริต 4 ประการ ได้แก่ พดู เทจ็ พดู คาหยาบ พดู สอ่ เสยี ด และพูดเพ้อเจ้อ ประพฤตวิ จีทจุ ริต 4 ประการ ได้แก่ ไม่พดู เท็จ ไม่พดู คาหยาบ ไมพ่ ดู ส่อเสียด และไมพ่ ดู เพอ้ เจอ้ ควร สารวมระวังรกั ษากริ ิยาในการวาจา ไม่เอะอะตะโกนเสยี งดัง ไมพ่ ดู จากอ่ ความราคาญหรือความเคียดแค้นชิงชังตอ่ กนั และกันการ ต้อนรบั (ปฏสิ นั ถาร) ๑. การลกุ ขึน้ ยนื รบั พระสงฆ์ เม่อื พระสงฆม์ าถงึ สถานที่ประกอบพิธีต่าง ๆ คฤหัสถ์ชายหญิงซึ่งนงั่ อยู่ ณ ทน่ี ้ัน ถ้านัง่ เกา้ อ้ี ลกุ ขึ้นยนื รบั เมอ่ื พระสงฆ์เดนิ ผา่ นมาตรงหนา้ นอ้ มตัวลงยกมือไหว้ เม่อื พระสงฆ์นง่ั เรยี บรอ้ ยแลว้ จึงน่ังลงตามเดมิ เมอื่ นงั่ กบั พ้นื ไมน่ ิยมลุกขึ้นยืนรบั เม่อื พระสงฆเ์ ดินผ่านถึงเฉพาะหน้านยิ มยกมอื ไหว้หรือกราบตามความเหมาะสมแกส่ ถานท่ีนน้ั ๒. การใหท้ น่ี ัง่ แก่พระสงฆ์ เมอ่ื พระสงฆ์มาในงานพธิ นี ้นั ถา้ สถานที่น้นั จัดใหน้ ัง่ เก้าอี้ คฤหัสถ์ชายหญงิ นยิ มลุกขนึ้ หลกี ไป ใหโ้ อกาสพระสงฆน์ ่ังเกา้ อ้แี ถวหน้า ถา้ คฤหสั ถ์ชายจาเปน็ ต้องนงั่ เกา้ อแ้ี ถวเดยี วกบั พระสงฆ์ นิยมนง่ั เกา้ อ้ดี า้ นซ้ายของพระสงฆ์ หากเปน็ หญิงไม่นยิ มนัง่ เกา้ อี้เดยี วกัน เวน้ แต่สภุ าพบรุ ษุ น่งั ค่ันในระหวา่ ง ถา้ สถานทนี่ ั้นจดั ใหน้ ่งั กบั พืน้ นยิ มจดั อาสนะสงฆไ์ วเ้ ปน็ สว่ นหนึ่งต่างหาก ๓. การตามส่งพระสงฆ์ เม่ือพระสงฆ์กลับจากพธิ ี คฤหสั ถ์ชายหญงิ ที่อยใู่ นพิธีน้นั หากน่ังเก้าอี้นยิ มลกุ ขึน้ เมอื่ พระสงฆ์ เดินผา่ นและนอ้ มตัวลงพรอ้ มทั้งยกมือไหว้ หากนั่งอยู่กบั พนื้ ไมต่ อ้ งยนื ส่งเม่ือพระสงฆเ์ ดนิ ผา่ นมาถงึ ให้กราบหรือยกมอื ไหวต้ ามแต่ กรณสี าหรบั เจา้ ภาพควรเดนิ ตามและส่งท่านจนพ้นบริเวณงาน และน้อมตวั ลงยกมือไหว้แสดงความเคารพ ๔. การหลกี ทางให้พระสงฆ์ หากพระสงฆเ์ ดนิ มาขา้ งหลัง คฤหัสถ์ชายหญิงทีก่ าลงั เดิน ควรหลกี ทางชดิ ขา้ งซา้ ยมือ พระสงฆ์ แลว้ ยนื ตรง มอื ท้ังสองหอ้ ยประสานกนั ไว้ขา้ งหน้า หันหน้ามาทางทา่ น เมื่อพระสงฆเ์ ดินผา่ นมาถงึ เฉพาะหน้าใหน้ ้อมตวั ยก มอื ไหว้เมื่อยกมอื ไหวล้ ดมือทัง้ สองลงประสานกันไวข้ า้ งหนา้ จนกวา่ ท่านจะเลยไป จึงเดนิ ตามหลงั - ถา้ เดินสวนทางกบั พระสงฆใ์ หห้ ลกี เขา้ ชดิ ข้างดา้ นซา้ ยมอื พระสงฆ์ แล้วปฏบิ ตั ิเชน่ เดยี วกับการปฏิบัตเิ มือ่ พระสงฆ์ เดนิ มาขา้ งหลงั - ถ้าพระสงฆ์ยืนอยู่ ให้หยดุ ยนื ตรง นอ้ มตวั ลงยกมอื ไหว้ ถา้ ทา่ นพูดดว้ ยให้ประนมมอื พูดกบั ทา่ นแล้วเดนิ หลีกไป ทางซ้าย - ถา้ พบพระสงฆน์ งั่ อยู่ ใหห้ ยดุ ลง ถา้ พืน้ สะอาดนิยมนง่ั คกุ เขา่ หรอื น่งั พับเพียบ ถ้าพืน้ ไมส่ ะอาด นยิ มน่งั กระหย่ง น้อม ตวั ลงยกมอื ไหว้ - ถ้าท่านพดู ด้วย ประนมมอื พูดกบั ท่าน ถา้ ทา่ นมไิ ด้พดู ด้วยใหล้ กุ เดนิ หลีกไปทางซา้ ยของพระสงฆ์ ถ้าพระสงฆอ์ ยู่ในท่ี กลางแจ้ง มีเงาปรากฏอยู่ คฤหัสถช์ ายหญิงไมเ่ ดนิ เหยียบเงาของพระสงฆ์ ไหเ้ ดนิ หลกี ไปเสยี อีกทางหนึ่งการเดินตามหลงั พระสงฆใ์ ห้ เดนิ ไปตามหลังของพระสงฆ์ โดยใหเ้ ยอ้ื งไปทางซ้ายของท่าน เว้นระยะห่างประมาณ 2-3 กา้ วเดินตามทา่ นไปด้วยกิรยิ าอาการ สารวมเรียบรอ้ ย

มรรยาทของผู้เปน็ แขก พุทธศาสนกิ ชนผู้ประสงคจ์ ะไปหาพระสงฆ์ที่วัด พึงรกั ษากริ ิยามารยาททางกาย ทางวาจา ตลอดถงึ จิตใจให้ เรยี บร้อย เปน็ การแสดงถงึ ความมศี รัทธาเลอ่ื มใสการไปหาพระสงฆ์เพ่อื นิมนตท์ ่านไปเจรญิ พระพุทธมนตใ์ นพธิ ใี ดกต็ าม นยิ มมี เครื่องสกั การบชู า เช่น ดอกไม้ ธปู เทยี น เป็นต้น ไปถวายเพื่อแสดงความเคารพบชู าท่านด้วย นยิ มแตง่ กายสภุ าพเรยี บรอ้ ย ไมน่ ิยม แตง่ กายดว้ ยเครือ่ งอาภรณส์ ีฉดู ฉาดบาดตา ก่อนเขา้ พบท่าน นิยมไตถ่ ามพระภิกษสุ ามเณรหรอื ศิษย์วดั ว่า ทา่ นอย่หู รือไม่ ท่านวา่ ง หรือไมว่ ่าง สมควรจะเขา้ พบท่านหรือไม่ ถ้าท่านอยูแ่ ละสมควรเข้าพบ แจง้ ความจานงขออนญุ าตเขา้ พบก่อน เมอื่ ไดร้ บั อนญุ าตแลว้ จึงเขา้ พบถา้ ไม่พบใครพอไต่ถามได้ รอดจู ังหวะอันสมควร กระแอม หรอื เคาะประตูใหเ้ สียงกอ่ นเพ่ือให้ทา่ นทราบ เม่ือทา่ นอนุญาต แลว้ จึงนยิ มเปดิ ประตเู ขา้ ไปเฉพาะผชู้ าย ส่วนผหู้ ญงิ ไม่ตอ้ งเขา้ ไปหาพระสงฆใ์ นห้อง เม่ือทา่ นนัง่ เรยี บรอ้ ยแลว้ ผเู้ ข้าไปหาคุกเข่า กราบด้วยเบญจางคประดษิ ฐ์ 3 คร้งั แลว้ นัง่ พับเพยี บ ไม่น่งั บนอาสนะเสมอกบั พระสงฆเ์ มื่อสนทนากบั พระสงฆ์ หากทา่ นเป็นพระ เถระผูใ้ หญ่ นยิ มประนมมือพดู กับท่านและรบั คาพดู ของท่าน ไม่นยิ มพดู ล้อเลน่ พดู คาหยาบกับท่าน ไมเ่ อาเร่อื งสว่ นตวั ไปเลา่ ให้ ท่านฟงั ไม่ยกตนเสมอทา่ นคลา้ ยเพอื่ นเลน่ เมอ่ื เสรจ็ ธรุ ะแลว้ รบี ลาท่านกลับ กอ่ นกลับ น่ังคุกเข่ากราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครั้ง แล้วเดนิ เขา่ ออกไป การแตง่ กายไปวดั การแต่งกายไปงานมงคล งานอวมงคล ๑. การแตง่ กายไปวดั ชาวพุทธทดี่ ีจะไปวดั เพ่อื ประกอบพิธที าบญุ หรือไปในกรณยี กิจใด ๆ กต็ าม จักตอ้ งปฏิบัติตนตอ่ วดั ด้วยความสุภาพและความเคารพ การปฏิบตั ิตนอย่างไมส่ มควรและอยา่ งไมม่ ีมรรยาทในเขตวัด ไมเ่ ป็นการกอ่ ให้เกดิ สิริมงคลแก่ ตวั เองและยงั มผี ลกระทบไปถึงพระพทุ ธศาสนาดว้ ย ดังน้นั การแต่งกายไปวดั ควรแตง่ กายใหส้ ะอาดเรยี บร้อย สีเรียบ ๆ ไม่มี ลวดลายหรือสีฉดู ฉาดจนเกนิ ควร ไม่ควรแตง่ กายให้หรหู ราล้าสมยั จนเกินไป สตรไี ม่ควรแต่งกายแบบวบั ๆ แวม ๆ หรอื ใส่เส้ือบาง จนเห็นเสือ้ ชั้นใน กระโปรงไมค่ วรสน้ั จนเกนิ ไป หรอื ผา่ หน้าผา่ หลังเพอื่ เปิดเผยร่างกาย เครอื่ งประดบั กใ็ ส่พอควร เพราะวดั ควรเปน็ ท่ที เ่ี ราไปเพอื่ จะขดั เกลากิเลสมากกว่า ๒. การแต่งกายไปในงานมงคล ควรแตง่ กายใหเ้ หมาะสมกับงานนั้น ๆ เพ่ือเปน็ การใหเ้ กียรตเิ จ้าภาพ บางทีตัวเราเอง อยากแตง่ ตวั ง่าย ๆ แตก่ ต็ อ้ งคานงึ ถงึ ความรสู้ กึ ของเจา้ ของงานดว้ ย นอกจากน้ี ในบตั รเชญิ อาจมกี ารกาหนดใหแ้ ตง่ กายอยา่ งไร ก็ ควรแต่งกายตามน้ันควรไปถงึ งานตรงตามเวลาหรอื กอ่ นเวลาเล็กนอ้ ยควรไปพบเจา้ ของงานก่อนและถา้ มีของขวญั จะใหก้ ็มอบเลย แลว้ นง่ั ในท่ีท่ีเหมาะสมตามอาวโุ สของตน ไม่ควรคานึงเรื่องที่ไมเ่ ปน็ มงคลมาสนทนาในงานนน้ั หากเปน็ งานท่มี ีการอวยพร ในขณะ ท่มี ีผูก้ ลา่ วคาอวยพร ควรสงบน่งิ ฟงั ไม่ควรคยุ กนั ไม่ควรเดินไปเดนิ มาไม่ควรรับประทานอาหารต่อในขณะนัน้ เพราะเปน็ การไมใ่ ห้ เกียรตเิ จา้ ของงานและผู้กลา่ วคาอวยพรและหากเมื่อจะกลับควรหาโอกาสลาเจา้ ของงานก่อน ๓. การแตง่ กายไปงานอวมงคล ควรแตง่ ตัวตามประเพณีนยิ ม ชายแต่งสากลนยิ มสเี ขม้ เนคไทสดี า รองเท้าดา หาก เป็นงานศพควรสวมปลอดแขนทกุ ข์ทแ่ี ขนเส้อื ขา้ งซ้ายเหนอื ศอก หรอื แตง่ กายชดุ ไทยพระราชทานสดี าท้ังชดุ หรอื เสอื้ สขี าวกางเกง สีดาหรอื สเี ขม้ หญงิ นงุ่ ผา้ ซิน่ หรอื กระโปรงตามสมัยนยิ ม เสอ้ื แบบเรยี บ รองเท้าหุ้มส้นสีดา หรือแต่งกายให้สุภาพ ไม่ใช้เส้ือผา้ และ รองเท้าสีฉูดฉาด ไมส่ มควรพูดคยุ หัวเราะกนั อยา่ งสนุกสนาน เพราะไม่ใชง่ านแสดงความยนิ ดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook