Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CH103-part Periodic table

CH103-part Periodic table

Description: CH103-part Periodic table

Search

Read the Text Version

ตารางธาตุ อาจารยน ิรวรรณ ธรรมขันธุ ภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร มหาวทิ ยาลัยแมโจ Copyright © The McGraw-Hill Companies, Inc. Permission required for reproduction or display.

วิวัฒนาการของตารางธาตุ โยฮนั เดอเบอไรเนอร นกั เคมคี นแรก(ป ค.ศ. 1817) ท่ี พยายามจดั ธาตุเปน กลุม ๆ ละ 3 ธาตุ ตามสมบัติที่คลายคลงึ กัน เรยี กวา ชุดสาม (Triad) และพบวา ธาตุกลางจะมีมวลอะตอม เปน คา เฉลยี่ ของมวลอะตอมของอกี สองธาตุทเี่ หลือ ตัวอยา งธาตชุ ดุ สามของเดอเบอไรเนอร เชน ชุดท่ี 1 Li มวลอะตอม = 7.0 Na มวลอะตอม = ( 7.0+39.1) / 2 = 23 K มวลอะตอม = 39.1

วิวฒั นาการของตารางธาตุ จอหน เอ อาร นิวแลนดส (ป ค.ศ. 1864) พบวาถานําธาตุ มาเรยี งตามมวลอะตอม จากนอยไปมากแลว จะพบวาธาตุที่ 8 จะมีสมบัติทางเคมแี ละกายภาพ คลายธาตุที่ 1 และจะเกิดข้ึน ทุกๆ ชว งของธาตุท่ี 8 เรียกการจดั นี้วา Law of Octaves (กฎคแู ปด) และกฎนี้ใชไ ดถ งึ แคลเซียม (Ca) ที่มีมวล อะตอม 40 เทา น้ัน

การจัดเรยี งธาตุตามกฎคูแ ปดของนิวแลนดส No.1 No. 2 No. 3 No. 4 No. 5 No. 6 No. 7 No. 8 H 1 F 8 Cl 15 Co, Ni 22 Br 29 Pd 36 I 42 Pt, Ir 50 Li 2 Na 9 K 16 Cu 23 Rb 30 Ag 37 Cs 44 Tl 51 G 3 Mg 10 Ca 17 Zn 25 Sr 31 Cd 38 Ba, V 45 Pb 54 Bo 4 Al 11 Cr 19 Y 24 Ce, La 33 U 40 Ta 46 Th 56 C 5 Si 12 Ti 18 In 26 Zr 32 Sn 39 W 47 Hg 52 N 6 P 13 Mn 20 As 27 Di, Mo 34 Sb 41 Nb 48 Bi 55 O 7 S 14 Fe 21 Se 28 Ro, Ru 35 Te 43 Au 49 Os 51

วิวฒั นาการของตารางธาตุ เมนเดเลเอฟ กฎพิริออดกิ กลาววา ถาจัดเรียงธาตุตามมวล อะตอมของธาตุตา ง ๆ จากนอยไปมาก ธาตุท่ีมสี มบัตคิ ลายกันจะ ปรากฎซํ้ากันและอยตู รงกนั เปนชวง ๆ เดอเบอไรเนอร มวลอะตอม นวิ แลนดส เมนเดเลเอฟ

คาํ ทาํ นายของ Dmitri Mendeleev (1869) ตารางธาตุของ Mendeleev มีธาตุที่รูจักแลวเพยี ง 66 ตัว Eka-Aluminum (Ea) Gallium (Ga) Atomic mass 68 amu 69.9 amu Melting point Low 30.15 oC Density 5.9 g/cm3 5.94 g/cm3 Formula of oxide Ea2O3 Ga2O3

ววิ ฒั นาการของตารางธาตุ โมสลยี  (ค.ศ.1913) พบวา การเรียงธาตตุ าม เลขอะตอม (จาํ นวนโปรตอนหรอื อเิ ล็กตรอน) จะสอดคลองกับกฎพิรอิ อ ดกิ โดยไมต อ งสลับท่ีธาตกุ ันเหมอื นการเรียงตามมวลอะตอม และไดน ํามาใชการจดั ตารางธาตใุ นปจจุบัน

ลาํ ดบั การคน พบธาตุ Ds Rg Uub Uut Uuq Uup Uuh Uus Uuo

ธาตุทส่ี ังเคราะหข้ึน การสรา งธาตุลาํ ดบั ที่ 43 , 61, 85, 87 และการเกิดธาตุลําดับที่ 93 ธาตุ วิธที ใี่ ชผลติ ปท ผี่ ลติ ได ผูค น พบ 43 Tc AMo(d,n) (A+1)Tc 1937 E. Se’gre และ C.Perrier(USA) 61 Pm ปฏิกิรยิ าฟสชนั ของ 1945 J. Marinskii และ ธาตุยูเรเนียม 85 At 209Bi(α,2n) 211At L. Glendinin(USA) 1940 E. Se’gre และ C.Perrier(USA) 87 Fr 227Ac α 223Fr 93 Np ปฏกิ ิริยาฟสชนั 1939 M.Perey (France) 1940 E.M. McMillan และ P.H. Abelson

Synthetic From decay Ds Rg Uub Uut Uuq Uup Uuh Uus Uuo

ธาตุที่สังเคราะหขึ้น Mt = meitnerium 209Bi + 58Fe → 266Mt + 1n Ds = darmstadtium ปจ จบุ นั นกั วทิ ยาศาสตรไดสรา งธาตทุ ่หี นกั ข้ึน โดยการระดมยิงธาตุที่หนกั กวา Pb ดวยไอออนของธาตทุ เี่ บากวา Cr เพือ่ ใหได ธาตทุ เี่ รียกวา ธาตหุ นกั ยง่ิ ยวด (super heavy elements) เชน ธาตุลาํ ดับท่ี 112 หรือ 114 ซึง่ คาดวา จะเปนธาตทุ มี่ คี ร่ึงชีวติ ยาวเปนหลายรอ ยลา นป

หมู การจัดธาตใุ นแนวตง้ั ของตารางธาตุ 1A Representative Element 8A 2A 3A 4A 5A 6A 7A Ds Rg Uub Uut Uuq Uup Uuh Uus Uuo

คาบ การจดั ธาตุในแนวตง้ั ของตารางธาตุ 1 2 3 4 5 6 7 Ds Rg Uub Uut Uuq Uup Uuh Uus Uuo

โลหะแอลคาไล กา ซเฉื่อย หรอื กา ซมีตระกลู โลหะแอลคาไลนเอิรท แฮโลเจน แทรนซชิ ัน Ds Rg Uub Uut Uuq Uup Uuh Uus Uuo แลนทาไนด แอกทไิ นด

โลหะ กึง่ โลหะ อโลหะ Ds Rg

กงึ่ โลหะ แสดงสมบตั ิเปนไดท ้งั โลหะและอโลหะ สมบตั ขิ องโลหะ สมบตั ขิ องอโลหะ 1. เปน s ทีอ่ ณุ หภูมิหอ ง เวน ปรอท เปน l 1. ทอี่ ณุ หภมู ิหอ งมีทกุ สถานะ 2. เปนมันวาว 3. นาํ ไฟฟาและความรอ น 2. ไมเ ปนมนั วาว 4. เคาะจะมเี สียงกังวาน 5. แขง็ +เหนียว ตเี ปนแผน , เสนได 3. ไมนาํ ไฟฟา และความรอน เวน แกรไฟต 6. จุดหลอมเหลว จดุ เดอื ด ความหนาแนน 4. เคาะจะไมม เี สยี งกงั วาน สงู 5. สวนมากเปราะ ไมสามารถตีเปน แผน , เสน ได 6. สวนมาก จุดหลอมเหลว จุดเดอื ด ความ หนาแนนตาํ่



1.แนวโนม ขนาดอะตอมตามตารางธาตุ คาบเดยี วกัน  ขนาดเล็กลงจากซา ยไปขวา เนื่องจากในคาบเดียวกนั เมอื่ เลขอะตอมเพมิ่ ข้ึน สวนอเิ ลก็ ตรอนจะเพม่ิ ขนึ้ ในระดบั พลงั งานเดยี วกนั ดงั นนั้ “โปรตอนในนิวเคลยี สเพม่ิ ขนึ้ แตระดับพลงั งานเทาเดิม” ประจทุ ่ีเพมิ่ ข้นึ จะดงึ อเิ ลก็ ตรอนใหเ ขา ใกลน วิ เคลียสขน้ึ อะตอมจงึ เลก็ ลง + e- 2+ e-e- e- e- 4+ e- e- e- e- e-e- e- e- e-e- e- e- ee-e- - Li Be e- e- e- e- 3+ e- 5+ 6+ e- 7+ B CN e- e- F O

• หมเู ดยี วกัน  ขนาดใหญข น้ึ จากบนลงลา ง ee--ee--+ee-- e- e- ท้งั ที่ประจุในนวิ เคลยี สเพิม่ ข้นึ จากบนลงลาง e- นา จะดึงอิเลก็ ตรอนไดแรงขนึ้ แตช นั้ ของอเิ ลก็ ตรอนกเ็ พิ่มขึ้นเชน กนั e- ee-ee---ee--+eeee---- e-e- e- e- ทําใหระยะหางระหวางนวิ เคลียสกับอิเลก็ ตรอน e- ช้นั นอกสดุ เพ่ิมมากขนึ้ อกี ท้งั อเิ ลก็ ตรอนชนั้ ใน e- ยงั เปนตวั กน้ั การดึงดดู จากนวิ เคลยี สอกี ดว ย ดงั นนั้ ขนาดอะตอมจงึ เพมิ่ ขึ้นจากบนลงลา ง



ขนาดอะตอม

เรยี งลาํ ดับรศั มีอะตอมของธาตุตอไปนจ้ี ากเลก็ ไป หาใหญ P, Si, N N < P < Si Li, C, Be, C < Be < Li Na, Al, P, Cl, Mg Cl < P < Al < Mg < Na

ขนาดไอออนเทียบกบั ขนาดอะตอม Atom Anion Atom Cation

แคทไอออน มีขนาด เล็กกวา ขนาดอะตอม ของมันเสมอ แอนไอออน มขี นาด ใหญกวา ขนาดอะตอม ของมนั เสมอ

รัศมีของไอออน 8.3

ไอออนใดมีขนาดใหญกวาในแตล ะคูตอ ไปน้ี N3-, F- N3- Mg2+, Ca2+ Ca2+ Fe2+, Fe3+ Fe2+ O2-, Cl- Cl-

2. พลงั งานไอออไนเซชัน พลงั งานนอ ยท่ีสุดท่ีตอ งการใชในการแยก อิเลก็ ตรอนออกจากอะตอมอสิ ระในสภาวะพ้นื ของอะตอมนนั้ IE1 + X (g) X+(g) + IE1 first ionization energy IE2 + X (g) e- X2+(g) + e- IE2 second ionization energy IE3 + X (g) X3+(g) + e- IE3 third ionization energy IE1 < IE2 < IE3 แนวโนม พลงั งานไอออไนเซชัน คาบเดยี วกนั เพ่มิ ขนึ้ จากซา ยไปขวา หมเู ดยี วกัน ลดลงจากบนลงลาง

First Ionization Energy เพ่ิมข้ึน แนวโนมพลงั งงานไอออไนซข น้ั ท่ี 1 First Ionization Energy เพิ่มขึ้น Ds Rg Uub Uut Uuq Uup Uuh Uus Uuo 8.4

ความสัมพนั ธร ะหวา งพลงั งานไอออไนซข้ันท่ี 1 กับ เลขอะตอม Filled n=1 shell Filled n=2 shell Filled n=3 shell Filled n=4 shell Filled n=5 shell 8.4

แนวโนม พลังงานไอออไนเซชันตามคาบและหมู

3. สมั พรรคภาพอิเลก็ ตรอน (Electron affinity, EA) คอื พลงั งานที่ปลดปลอ ยออกมาจากการรับอิเล็กตรอนเขาไป 1 อเิ ล็กตรอน ของอะตอมธาตุแลว เกิดเปนแอนไอออน ณ สถานะแกส X(g) + e- X-(g) + EA F (g) + e- X-(g) O (g) + e- O-(g) แนวโนมสัมพรรคภาพอเิ ลก็ ตรอน คาบเดียวกัน เพิม่ ขึ้นจากซา ยไปขวา หมเู ดยี วกัน ลดลงจากบนลงลา ง



ทาํ ไมโลหะหมู 2A จงึ รบั อเิ ล็กตรอนไดย ากกวาโลหะหมู 1A โลหะหมู 2A มีอเิ ลก็ ตรอนอยเู ต็ม subshell s แลว อเิ ลก็ ตรอนที่เขามาใหมจ ะอยูหา งจากนวิ เคลยี สและถกู shield มากกวา ในกรณขี องโลหะหมู 1A ที่ยังมีทว่ี างใน subshell s ธาตุใดมีคา electron affinity สูงกวา Li, Na Li O, F F

•สงั เกต คาสัมพรรคภาพอเิ ลก็ ตรอนของโลหะหมู IIA มคี าเปนบวก เพราะ โลหะหมู IIA มีการจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนชนั้ นอกสดุ เปน ns2 การทจ่ี ะรบั อิเลก็ ตรอนเพม่ิ เขาไป อเิ ลก็ ตรอนตวั ใหมจะไป อยทู ่ี np-ออรบทิ ัล ซ่ึงไกลจากนวิ เคลียสและยังมอี ิเลก็ ตรอนใน ns2 กั้นแรงดงึ ดดู จากนวิ เคลียสไว ดังนน้ั อิเลก็ ตรอนทีเ่ พิ่มเขา ไปจงึ ไมเสถียรนัก

4. อิเล็กโตรเนกาตวิ ติ ี (Electronegativity, EN) ความสามารถในการดงึ ดูดอเิ ล็กตรอนเขา มาหาอะตอมน้นั ธาตุทม่ี คี าอเิ ล็กโตรเนกาตวิ ติ สี ูง ธาตุทีม่ คี วามสามารถในการดงึ ดูดอิเล็กตรอนคทู ีใ่ ชใน การสรา งพนั ธะไดมาก แนวโนม คาอเิ ลก็ โตรเนกาตวิ ติ ี คาบเดียวกัน เพิ่มขน้ึ จากซายไปขวา หมูเดยี วกนั ลดลงจากบนลงลา ง



ความสัมพันธแบบทะแยงมุม (diagonal relationships) 8.6

ท้ัง IE, EA และ EN ตา งก็เกีย่ วของกบั การ ดงึ ดดู อิเลก็ ตรอนของธาตุ ธาตุทดี่ ึงดดู อเิ ล็กตรอนไดดีมากจะมคี าท้ัง 3 สูง สรุป IE, EA และ EN เพ่มิ ข้ึน IE, EA และ EN ลดลง

แนวโนม ของสมบัติทางกายภาพ แรงยึดเหนยี่ วระหวางธาตุ แบงได 3 แบบ คอื พันธะโลหะ แรงแวนเดอรวาลสหรือแรงลอนดอน และ พนั ธะโคเวเลนต • ธาตกุ ลุม s กลมุ d กลมุ f และกลมุ p บางสว นยดึ กนั ดว ยพนั ธะ โลหะ • ธาตบุ ริเวณทางขวา เชน N, O, Cl กอ พนั ธะโคเวเลนต • ธาตุหมู 0 ยึดกนั ดว ยแรงแวนเดอรว าลส

พนั ธะโควาเลนต (โครงรา งตาขา ย) มาก มาก นอย ขนาดอะตอมเลก็ พันธะโลหะ นอย นอ ย ขนาดใหญ แรงลดลง มาก ขนาดอะตอมใหญ แรงแวนเดอรว าลส

พนั ธะโควาเลนตแ บบโครงรา งตาขา ย - ขนาดอะตอมใหญขนึ้ ความแข็งแรงลดลง ไมสามารถบอก ไดวา โมเลกลุ หน่งึ ประกอบดวยกี่อะตอม เปนโครงรางแบบ ตาขาย แรงยึดเหนยี่ วแบบนีจ้ งึ แขง็ แรงมาก พันธะโลหะ - เปน แรงดงึ ดูดระหวา ง ไอออนบวกของโลหะกบั ทะเล e- - ความแขง็ แรงขึ้นกบั ปริมาณ e- ในโครงผลึก ขนาดของ ประจุบวกและขนาดของอะตอม - แข็งแรงมากขนึ้ เมือ่ อะตอมมีขนาดเล็กลง แรงแวนเดอรว าลส - เปน แรงทอ่ี อนมาก พบในอะตอมและโมเลกลุ ทุกชนิด

1. ความหนาแนน • ขน้ึ กับ ขนาด มวลของอะตอม โครงสรางผลกึ และแรงยึด เหนี่ยวระหวางกนั • ขนาดเลก็ มวลมาก และพันธะโลหะแข็งแรง ความหนาแนน สงู Be > Li, Ti > Ca • โมเลกลุ อะตอมเดยี่ ว ความหนาแนน ตํา่ • กลมุ ทีม่ โี ครงรางตาขาย ความหนาแนน ปานกลาง • ธาตุแทรนซชิ นั มคี วามหนาแนนสงู สุด

กลมุ โลหะ - ในคาบเดียวกนั ธาตุทางขวาซ่งึ มขี นาดเล็ก แตมวล มากกวา และพันธะโลหะแข็งแรงกวา จะมคี วาม หนาแนน สงู กวา ธาตุทางซาย - ธาตุหมู 1A มีความหนาแนนตํ่าทสี่ ุด (มีขนาดอะตอม ใหญ)

- ในหมเู ดียวกัน ธาตุหนักจะมคี วามหนาแนนสูงกวา ธาตุเบา เน่อื งจากมอี ตั ราการเพม่ิ มวลเรว็ กวา การ เพมิ่ ปรมิ าตร ตวั อยา งเชน K (เลขมวล 39) และ Rb (เลข มวล 85) มีรศั มีอะตอมเปน 203 และ 216 pm ดังนน้ั Rb จึงควรมีความหนาแนน มากกวา

โลหะทรานสิชัน มขี นาดเลก็ และมวลมาก พันธะโลหะแขง็ แรง ความหนาแนนสูงท่ีสุด

2. การหลอมเหลวและกลายเปนไอ เปนการใชพลงั งานความรอนแยกโมเลกลุ ที่จดั ตัวเปน ระเบียบในผลกึ ใหห างกนั เคลอื่ นทีไ่ ปมาไดบ างจนถึงแยก จากกนั โดยเดด็ ขาดในสภาวะแกส หมู IA หมู IVA หมู VA หมู 0 สูง ต่าํ ตํา่ สูง

โครงสรา งโมเลกลุ แบบเดี่ยว ใชค วามรอ นทําลายแรงแวน เดอรวาลส ซ่ึงเปน แรงขนาดออน จุดหลอมเหลวและจุด เดอื ดจงึ ตํา่ แตจ ะสูงขึ้นเม่อื โมเลกลุ มีขนาดใหญข ้ึน พันธะโลหะและโครงรางตาขาย ใชความรอนทําลายพันธะ โลหะ หรือพันธะโคเวเลนซตามลาํ ดับ จึงตอ งใชพ ลงั งาน มากกวา ****โลหะทรานสิชัน มีจุดเดอื ดและจดุ หลอมเหลวสูงท่ีสุด (เชื่อมกันดวยพันธะโลหะ) มีความหนาแนนสงู เนื่องจากมี มวลมาก รองลงมาคอื กลมุ โครงรางตาขา ย

3. การนําไฟฟา และความรอ น ธาตุบรสิ ทุ ธิ์มีอิเล็กตรอนอิสระ นําไฟฟา และความรอ นได โลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ

แนวโนมของสมบัติทางเคมี เลขออกซิเดชนั : สารประกอบมกั จะแสดงเลข ออกซเิ ดชนั ท่มี ีคา เทา กบั เลขหมนู ้นั • ธาตกุ ลมุ s หมู IA และ IIA มเี ลขออกซิเดชนั เปน +1 และ +2 ตามลาํ ดับ • ธาตกุ ลุมอ่นื ๆ สวนใหญจะมเี ลขออกซเิ ดชันไดม ากกวา หน่งึ คา

แนวโนมของสมบัตทิ างเคมี ศกั ยไฟฟามาตรฐาน (E0) ตัวออกซไิ ดซ F F2 บ+ว2กe-มาก2F- แนวโนมของศักยไฟฟา มาตรฐานเปน ดงั รปู รบั อเิ ลก็ ตรอน Li+ + e- Li Li เปน บวกมากขนึ้ I I2 + 2e- 2I- ตวั รดี วิ ซ บวกนอ ย Cs+ + e- Cs Cs ลบมาก ใหอิเลก็ ตรอน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook