Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานNSRU31 ก.ค2560

งานNSRU31 ก.ค2560

Published by prnsru, 2017-07-31 23:29:47

Description: งานNSRU31 ก.ค2560

Keywords: pr,nsru

Search

Read the Text Version

NAKHONSAWAN RAJABHAT UNIVERSITYจดหมายข่าว รายสัปดาห์ ฉบับท่ี 5 ประจาวันที่ 31 กรกฏาคม 2560 ปีท่ี 1ปีท่ี1มรภ.นว. อบรมยทุ ธศาสตรท์ างการเงนิ วนั จันทร์ที่ 31 ก.ค. 2560 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จดั การประชมุ สมั มนาเชิงปฏิบตั ิการ เรอื่ งการจัดทาแผนกลยุทธท์ างการเงินเพ่อื กากบั การประคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน โดยมี ผศ.ดร.บัญญตั ิ ชานาญกจิ อธิการดี เป็นประธานในพธิ เี ปิด พรอ้ มทงั้ ไดร้ ับเกียรติ จาก ผู้ชว่ ยศาสตราจารยป์ รานี พรรณวิเชยี ร เป็นวทิ ยากร ดารงตาแหน่งท่ีปรึกษา มหาวทิ ยาลัยราชมงคลธญั บุรี มาบรรยายในหวั ข้อยทุ ธศาสตรท์ างการเงนิ เพอ่ื ให้หนว่ ยงานคณะ สานักต่างๆภายในมหาวิทยาลยั ฯ ทางานได้อย่างถูกตอ้ ง ตามหลกั กฎระเบียบ ทีส่ ว่ นกลางไดต้ ั้งไวต้ ัง้ แตเ่ วลา08.30-18.00 น. ณ หอ้ งอมราวดี อาคาร 14 ชนั้ 3 ม.ราชภฏั นครสวรรค์ เปดิ หลกั สตู ร คปู องครู ดร.สาธร ทรพั ย์รวงทอง คณบดีคณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค์ ไดก้ ลา่ วา่ ในการเปดิ หลักสตู ร คปู องนนั้ เพ่ือให้ครูในทอ้ งถน่ิ ได้ในประโยชนจ์ ากการ อบรมไปปรับใชใ้ นการสอน จงึ เปิดหลกั สตู ร 5 หลกั สตู ร ดังนี้ 1.การพฒั นาสอื่ การ เรียนการสอนที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล : ชดุ การสอนและชดุ กิจกรรม,2.การพฒั นาทักษะการจดั บรกิ ารแนะแนวและการใหค้ าปรึกษาในศตวรรษท่ี 21, 3.เทคนิคการจัดการเรยี นรูเ้ พือ่ พฒั นาทกั ษะการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 , 4.หลักการทอดสอบสมรรถภาพทางกาย และวิธปี ระเมนิ ผลดว้ ยระบบ คอมพิวเตอร,์ 5.หลกั สูตรฝกึ อบรมการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี21,เมอ่ื วันเสารท์ ี่ 29 - 30 ก.ค. 2560 ซึ่งจะมหี ลกั สตู รใหอ้ บรมได้อยา่ งตอ่ เนื่อง สาหรบั ท่านทสี่ นใจสามารถสอบถามข้อมูลไดท้ ่ี เพจคณะครศุ าสตร์ https://www.facebook.com/edu.nsru หรอื เบอร์โทรศัพท์ กลาง 099 - 2964911ตดิ ตามแฟนเพจ Facebook: https://www.facebook.com/nsrunewsเว็ป www.nsru.ac.th 056-219100 ต่อ 0หรือ 1144 บรรณาธกิ าร:กลมุ่ งานประชาสมั พนั ธ์และสื่อสารองค์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ ภาพ: นายอภชิ าต จุมพล นางสาวนฤภร ศรีบรรเทา เครอื ขา่ ยประชาสมั พนั ธ์ทกุ คณะ

1 จดหมายขา่ ว NAKHONSAWAN RAJABHAT UNIVERSITY ฉบบั ท่ี 5 เดอื น กรกฏาคม 2560 @PR NSRUเม่ือวันที่ 29 ก.ค. 2560 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรคจ์ ัดโครงการอบรมหลักสูตรคปู องครู ได้เปิดการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ หลกั สตู ร การทดสอบสมรรถภาพทางกายและวิธีการประเมินผลด้วยระบบคอมพวิ เตอร์ ร่นุ ท่ี1 วนั ท2ี่ 9-30 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องพลบดี คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ โดยมอี าจารย์สุทธิกร แกว้ ทอง อาจารยป์ ระจาภาควชิ าพละศกึ ษา เป็นวทิ ยากรในการอบรม มีท้งั ฝึกการปฏบิ ตั ิและการสอนใชร้ ะบบการประเมินผล เพ่อื ความสะดวก รวดเรว็ ของอาจารยห์ รือครผู ูฝ้ ึก ให้สามารถนาระบบไปใชไ้ ดใ้ นการสอน โครงการคปู องครู หลักสตู ร\"เทคนิคการ จดั การเรียนร้เู พ่ือพัฒนาทักษะการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นใน ศตวรรษท2ี่ 1\" รนุ่ ท่2ี ได้รับเกียรติจาก ผศ.ดร.เยาวเรศ ภักดีจิตร เปน็ วิทยากรในคร้งั นี้ ระหว่างวนั ท่ี29-30 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องประชมุ นนทรี ตกึ 13 คณะ ดร.สาธร ทรัพย์รวงทอง คณบดคี ณะครศุ าสตร์ ทาพธิ เี ปิดหลักสูตร\"การอบรม การวิจัยและ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีพฒั นาหลักสตู รเพอื่ สง่ เสริมความคิดสร้างสรรค์ดว้ ยโปรแกรม Scratch รนุ่ ท่ี1 ดร.สิริรฏั ฐ์กาญจนโพธ์ิ และผศ.วฒุ ิชยั พิลกึ เปน็ วทิ ยากรในครั้งนี้ ซ่งึ อยู่ในโครงการ คูปองครู ระหว่างวนั ที่29-30 กรกฎาคม 2560 ณ อาคาร 9 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์(ย่านทรี) ดร.สาธร ทรพั ยร์ วงทอง คณบดีคณะครุศาสตร์ เขา้ รว่ มพิธีปิดโครงการอบรมครปู ระจาการหลกั สตู รการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 รนุ่ ท่ี 2 คณะครศุ าสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ ณ หอ้ งเฟืองฟา้ อาคาร 1

โครงการพฒั นาศกั ยภาพนกั ศกึ ษา โครงการพัฒนาศกั ยภาพนกั ศกึ ษาภาคปกติคณะวิทยาการจดั การ กจิ กรรม อบรมทางวิชาการดา้ นพฒั นาศกั ยภาพนกั ศึกษาสู่วชิ าชีพสาขาวิชาการบญั ชี โดยมี อาจารยม์ านิตย์ สงิ หท์ องชัย คณบดคี ณะวิทยาการจดั การเปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ ได้รบั เกียรติ จากคุณวรรณิศา กลน่ิ ชัย และ คุณจริ กิตต์ สังขเ์ มือง ผ้มู ากคณุ วุฒใิ นเร่อื งการบญั ชี มาเป็นวทิ ยากร การจัดโครงการน้ีขึ้นมาเพื่อให้นกั ศกึ ษาเข้าในสาขาวชิ าการบญั ชที ผี่ เู้ รยี นไดเ้ ลือกเรียน วา่ มีความสาคัญอย่างไร พรอ้ มทง้ั ปลกุ ความใฝร่ ู้ใหก้ บั นักศึกษาหากวนั หนง่ึต้องจบออกไป จะสามารถใช้ศักยภาพท่ีเรียนมาในเรือ่ งทางการบญั ชีไดอ้ ย่างถูกต้องและชใี หเ้ หน็ วา่ ระบบของการบัญชมี ีความสาคัญอยา่ งไร จัดขึน้ วนั ท่ี 31 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องประชุมเฟอ่ื งฟ้า อาคาร1คณะวิทยาการจัดการมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครสวรรค์ “เปิดบ้านเทคโนโลยี ครั้งที่ 4”ระหวา่ งวันท่ี 3-5 สิงหาคม 2560 ณ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครสวรรค์ ศนู ย์การศึกษาย่านมัทรี กิจกรรม ดังนี้ - จดั “เปิดบ้านเทคโนโลยี ครง้ั ที่ 4” : แนะหลกั สูตรที่เปิดสอน - สาธติ การปฏิบตั งิ านจริงในห้องปฏบิ ัตกิ าร งานฟาร์ม - จัดแสดงนิทรรศการผลงานทางวชิ าการและสิ่งประดษิ ฐ์ - จัดประกวดแข่งขนั ทางวชิ าการ สงิ่ ประดษิ ฐ์ นวตั กรรม และเกม - จัดอบรมบรกิ ารวิชาการ ขอเชญิ ชวนอาจารย์ นักศึกษา และนกั เรียน เขา้ ร่วมกิจกรรม และชมงาน “เปดิ บ้านเทคโนโลยี ครง้ั ท่ี 4”

เมอื่ วนั ท่ี 27-28 ก.ค. 2560 ดร.สายทิตย์ ยะฟูรองคณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พรอ้ มดว้ ย ดร.ไกรวิชญ์ ดเี อม ผู้อานวยการศูนย์พัฒนาวิชาชีพครูและฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครูผู้ชว่ ยศาสตราจารยน์ ันทวัช นนุ ารถ และ อาจารย์ทองแดง สกุ เหลือง นาสโมสรนักศึกษา คณะครศุ าสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครสวรรค์ เขา้ ร่วมศึกษาดูงานและแลกเปลยี่ นความรู้ในงานกิจการนกั ศึกษา ณ คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาญจนบุรี ซึ่งโครงการดงั กลา่ ว ไดร้ ับการต้อนรับและดูแลเป็นอย่างดีนกั ศกึ ษาสโมสรนักศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ ได้รบั การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ทางด้านการบรหิ ารและการจดั การวางแผนงานต่างๆ ทัง้ นีย้ ังไดส้ ร้างเครือข่ายความรว่ มระหว่าง 2 มหาวทิ ยาลยั ฯเปน็ โครงการทปี่ ระสบความสาเร็จ และยงั ได้รูจ้ ักเพื่อนๆ ทีมงานสโมสรตา่ งมหาวิทยาลัยอีกดว้ ย

ปฏิเสธ ไม่ได้ว่า ยคุ น้ีเป็นยุคแหง่ เทคโนโลยี สามารถกดคียบ์ อรด์ ได้ถนัด ประกอบกบั ตัวแปน้ คยี ์บอร์ดควรมที ่ี และสาหรับคอเทคโนโลยที ้งั หลาย คณุ อาจ รองรบั ข้อมลู ไม่ใหเ้ กิดการกระดกขอ้ มอื ซ้า ๆ ดว้ ย ส่วนเก้าอ้คี วร กาลงั เสย่ี งโรคร้ายอกี หลายโรค เพือ่ เป็นการ เป็นแบบปรับข้นึ ลงได้ และควรมพี นักพงิ ท่สี ามารถรองรบั ศรี ษะ ป้องกันสุขภาพ เราจงึ มี 10 วิธีปอ้ งกันโรค ได้ ร้ายมาบอกคะ่ จรงิ ๆ 8. เปดิ เพลง ดงั ๆ ไม่ใช่เร่อื งดแี น่นอน ถา้ คุณไมไ่ ด้ยนิ เสยี งรอบตวั ยามทีเ่ สยี บหฟู งั แล้วละ่ ก็ คณุ ควรจะลดระดบั เสยี งลง หากเพอ่ื นขา้ ง ๆ ยงั ไดย้ นิ เสยี งจากหูฟงั ของเรา นั่นแปลว่า ยงั ดงั เกินไปอย่นู ะคะ 1. แว่นตา หรอื คอนแทคเลนส์ทัว่ ไป อาจจะไมเ่ พยี งพอ 9. ปอ้ งกันอาการปวดหลังด้วยการปรับเกา้ อ้ีให้มคี วามต่อการปอ้ งกนั แสง สาหรบั คนทางานหน้าคอมพวิ เตอรเ์ ป็นระยะ สูงพอเหมาะ และใกลก้ บั คอมพิวเตอร์มากพอทเ่ี ราจะไมต่ ้องกม้เวลานาน จงึ ควรเลอื กแว่นตา หรอื คอนแทคเลนส์ทเี่ คลือบ ตัว ในระหวา่ งนง่ั ให้วางเทา้ อยู่กบั พนื้ เพอื่ ช่วยลดแรงกดด้านหลงัปอ้ งกนั แสงจากหน้าจอโดยเฉพาะดีกวา่ 10. บางครงั้ อาการปวดท่หี ลงั ส่วนบนหรอื แม้แตอ่ าการ 2. หลายคนรสู้ ึกสบายกวา่ เวลาที่ดวงตาของเรามองลง ปวดศีรษะ อาจเป็นเพราะวา่ หลังของเราเหน่ือยล้ากบั การตอ้ งต่า ถ้าจะให้ดหี น้าจอควรอยตู่ ่ากวา่ ระดบั สายตา 15-20 องศา รับน้าหนกั แขน ตรงนลี้ ะ่ ทเี่ ทา้ แขนสามารถชว่ ยได้ มันจะรบัหรือประมาณ 4-5 น้ิว และเว้นระยะห่างจากดวงตาของเรา 20- น้าหนักของแขนเอาไว้ ทาให้คอและหัวไหลไ่ ดผ้ อ่ นคลาย28 นว้ิ ในยุคปจั จุบันเราไม่สามารถหลกี เลีย่ งเทคโนโลยีได้ แต่ 3. เพ่อื ป้องกันไมใ่ หด้ วงตาเม่อื ยลา้ อย่าลมื พกั สายตาเม่อื เราปอ้ งกันตัวเราเองไดเ้ พ่ือสุขภาพทด่ี ขี องเราค่ะใช้คอมพิวเตอรเ์ ป็นระยะเวลานาน ทกุ ๆ สองชัว่ โมง ควรพกัสายตา 15 นาที และทุก ๆ ชัว่ โมงใหล้ องมองออกไปไกล ๆ 20วนิ าที 4. ลดแรงลงหน่อย หลาย ๆ คนใชแ้ รงมากเกินกว่าท่ีจาเป็นในงานท่ตี ้องใช้มอื ถ้าคุณตอ้ งนงั่ พิมพเ์ ปน็ ระยะเวลานานพิมพ์เบา ๆ ก็พอ 5. พกั มอื และข้อมอื โดยการยดื และงอ อย่าสะบัด หรือหากเปน็ ไปไดก้ ็ควรหนั ไปทางานอย่างอนื่ ๆ แทนสกั พัก 6. สาหรับคนอยใู่ นออฟฟิศท่ีเปดิ แอร์เยน็ ความอบอนุ่ของมือน้นั กส็ าคัญมากเช่นกนั ถา้ มอื ของคุณอยใู่ นทเ่ี ย็น ก็ยงิ่ เส่ียงต่ออาการปวดหรือตงึ มอื ถา้ ปรับอุณหภมู ไิ มไ่ ด้ ก็ควรหาถงุ มอืแบบทไ่ี มม่ ีนิ้วใส่ เพอื่ ให้องุ้ มือและขอ้ มืออุ่นตลอดเวลา 7. ผศ.นพ.วิษณุ กมั ทรทรัพย์ ภาควชิ าเวชศาสตรฟ์ น้ื ฟูคณะแพทยศาสตร์ ศิรริ าช-พยาบาล แนะนาภายในการประชุมวิชาการเร่ือง Office syndrome ว่าใหเ้ ราจัดโตะ๊ ทางานให้เปน็ ระเบียบ ด้านขวาของโต๊ะปลอ่ ยโลง่ ไม่มีสิ่งของมากีดขวางและควรเลอื กโต๊ะทางานทม่ี รี ะดับพอดีกับข้อศอก เพอ่ื ให้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook