Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนสังคม ป.4-Active Learning

แผนการสอนสังคม ป.4-Active Learning

Description: แผนการสอนสังคม ป.4-Active Learning

Search

Read the Text Version

บนั ทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรียนวดั พชื นิมิต (คำสวัสดิร์ าษฎร์บำรงุ ) ท่ี……………………วนั ที่ ………………………………… เร่ือง ขออนญุ าตใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ เรียน ผู้อำนวยการโรงเรยี นวัดพืชนมิ ติ (คำสวสั ดิ์ราษฎร์บำรุง) ดว้ ยขา้ พเจา้ นางสาวอญั ชลี อ่นุ ทะยา ตำแหนง่ ครู โรงเรยี นวดั พชื นมิ ติ (คำสวสั ด์ริ าษฎร์บำรงุ ) ได้รับ มอบหมายใหป้ ฏิบตั ิหนา้ ท่กี ารสอน รายวิชาสังคมศกึ ษา รหัสวิชา ส14101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 บัดนี้ ข้าพเจ้าได้จัดเตรียมการสอน และจัดทำแผนการสอนโดยใช้กระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning ข้าพเจา้ จงึ ขออนญุ าตดำเนนิ การสอนตามแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ีจดั เตรียมไว้ ซ่งึ แนบเอกสารหนว่ ยการเรียนท่ี 13 ชอื่ หน่วย จังหวดั ของเรา เวลาเรียน 8 ชัว่ โมง มาพรอ้ มกบั เอกสารนี้ จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ ลงช่ือ.............................................................. (นางสาวอัญชลี อุน่ ทะยา) ตำแหนง่ ครู ลงชื่อ.............................................................. (นางสาวจีรวรรณ ปฏิวงศ์) หัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ ความเห็นผูอ้ ำนวยการโรงเรียน อนุญาต ไมอ่ นุญาต เพราะ ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื .............................................................. (นางอัจฉรา รกั ษาชนม์) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นวดั พชื นมิ ิต (คำสวัสด์ริ าษฎรบ์ ำรงุ ) ............./................../.............

ส๑๔๑๐๑ สังคมศกึ ษา ฯ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เวลา ๘๐ ชั่วโมง ศึกษาความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา สรุปพุทธศาสนา (ทบทวน) พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก ศาสนิกชน ตัวอย่าง พระรัตนตรัย ไตรสิกขา โอวาท ๓ พุทธศาสนสุภาษิตตัวอย่าง การกระทำความดีของตนเองและบุคคลใน ครอบครัว โรงเรยี นและชมุ ชน สวดมนต์ไหวพ้ ระ สรรเสรญิ คุณพระรัตนตรยั และแผ่เมตตา หลักธรรมเพอื่ การอยู่ร่วมกัน อย่างสมานฉันท์ ประวัติศาสดา ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนสถาน การแสดงความเคารพต่อศาสนสถาน การบำรุง ศาสนสถาน มรรยาทของศาสนิกชน การปฏิบัติตนในศาสนพิธีการเข้าร่วมกิจกรรมประชาธิปไตยของชุมชน แนวทางการปฏิบตั ิตนเปน็ สมาชิกท่ดี ีของชมุ ชน การเปน็ ผู้นำและผู้ตามที่ดี สิทธิพ้ืนฐานของเดก็ วฒั นธรรมในภาคต่าง ๆ ของไทยที่แตกต่างกัน ปัญหาและสาเหตุของการเกดิ ความขัดแย้งในชีวิตประจำวัน แนวทางการแก้ปญั หาความขัดแยง้ ด้วยสันติวิธี อำนาจอธิปไตย ความสำคัญของการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย บทบาทหน้าที่ของพลเมืองใน กระบวนการเลือกตั้ง สถาบันพระมหากษัตรยิ ใ์ นสังคมไทย ความสำคัญ ของสถาบันพระมหากษัตริย์ในสังคมไทย สินค้า และบริการที่มีอยู่หลากหลายในตลาดที่มีความแตกต่างด้านราคาและคุณภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและ บริการที่มีมากมาย ซึ่งขึ้นอยู่กับผู้ซื้อ ผู้ขาย และตัวสินค้า สิทธิพื้นฐานของผู้บริโภค สินค้าและบริการที่มีเครื่องหมาย รับรองคุณภาพ หลักการและวิธีการเลือกบริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการดำรงชีวิต อาชีพ สินค้าและบริการต่าง ๆ ที่ผลิตในชุมชน การพึ่งพาอาศัยกันภายในชุมชนทางด้าน เศรษฐกิจ การสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนด้วยการใช้สิ่งของที่ผลิตในชุมชน ความหมายและประเภทของเงิน หน้าท่ี เบื้องต้นของเงินในระบบเศรษฐกิจ สกุลเงินสำคัญทีใ่ ชใ้ นการซื้อขายแลกเปล่ียนระหว่างประเทศ การใช้แผนที่ ภาพถ่าย ลักษณะทางกายภาพของจังหวัดปทุมธานี แหล่งทรัพยากรและสิ่งต่าง ๆในจังหวัดปทุมธานี การใช้แผนที่แสดง ความสมั พนั ธ์ของสิง่ ต่าง ๆ ทีม่ ีอยู่ในจงั หวัดปทุมธานี ลกั ษณะทางกายภาพ(ภมู ิลักษณ์หรอื ภมู ิประเทศและภูมอิ ากาศ) ท่ี มีผลต่อสภาพสังคมของจังหวัดปทุมธานี สภาพแวดล้อมทางกายภาพของชุมชน ที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนใน จังหวัดปทุมธานี การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในจังหวัดปทุมธานีและผลที่เกิดจากการเปลี่ยน แปลง การอนุรักษ์ ส่ิงแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติในจงั หวดั ปทุมธานี โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบคน้ ขอ้ มูล การอธบิ าย การวิเคราะห์และการ อภิปราย กระบวนการกลมุ่ เกมสร้างทักษะ เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสาร สิ่งท่เี รียนรู้ มคี วามสามารถในการใช้ทักษะชีวิต การคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจและการแก้ปัญหา เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถปรับตัวเองกับ บรบิ ทสภาพแวดล้อม เปน็ พลเมอื งดี มีความรักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซ่อื สัตยส์ จุ ริต มีวินัย รักความเปน็ ไทย ใฝเ่ รียนรู้ มีจติ สาธารณะ และมีคณุ ธรรมและค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด ส ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗, ป.๔/๘ ส ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ส ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ ส ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ส ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ส ๓.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ ส ๕.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ส ๕.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ รวม ๘ มาตรฐาน ๓๐ ตวั ชี้วดั

แผนผังมโนทัศนเ์ ปา้ หมายการเรียนร้/ู หลักฐานการเรียนรู้ ความรู้ (Knowledge : K) ทักษะ/กระบวนการ (Process : P) คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ลักษณะทางกายภาพในจังหวัด : 1. การสืบคน้ ข้อมูล 1. มวี นิ ยั ลักษณะภูมปิ ระเทศ 2. การต้งั คำถามเชงิ ภูมิศาสตร์ 2. ใฝเ่ รียนรู้ 2. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 3. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน 2. ลักษณะทางกายภาพในจังหวดั : 3. การอธบิ าย ลักษณะภูมิอากาศ 4. การนำความรไู้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน 3. ลกั ษณะทางกายภาพในจังหวดั : ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสถานที่สำคญั ในจงั หวดั ปทุมธานี เปา้ หมายการเรยี น เรอื่ ง จงั หวดั ของเรา หลกั ฐานการเรียนรู้ 1. จดบนั ทึกความรู้ลงสมดุ 2. ช้นิ งาน เรอ่ื ง ลกั ษณะภมู ิประเทศของภาคตา่ ง ๆ ในประเทศไทย 3. ใบงาน เร่ือง อำเภอและสถานทส่ี ำคัญในจังหวัดปทมุ ธานี 4. ใบงาน เร่ือง ปทมุ ธานีนา่ รู้ 5. แบบทดสอบกอ่ นเรียน - หลังเรียน

แผนผงั มโนทศั น์ข้นั ตอนการทำกิจกรรมประกอบการจัดการเรียนรดู้ ว้ ย การสอนแบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ศกึ ษามาตรฐานการรเรยี นรู้ / ตัวชี้วัด และจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น ทำกิจกรรมโดยใชก้ ระบวนการจดั การเรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ขนั้ ท่ี 1 การต้ังคำถามเชิงภูมิศาสตร์ ขนั้ ท่ี 2 การรวบรวมข้อมลู ข้ันที่ 3 การจัดการข้อมลู ขน้ั ท่ี 4 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ขน้ั ที่ 5 การสรปุ เพือ่ ตอบคำถาม ทดสอบหลังเรยี น (ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 60)

แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 13 เรอ่ื ง จังหวัดของเรา กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม วิชาสังคมศกึ ษา ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 คำช้แี จง ให้นักเรียนเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. แผนที่รัฐกิจใหข้ อ้ มูลอะไร ก. ลกั ษณะพื้นที่ ข. ลกั ษณะปา่ ไม้ ค. ลกั ษณะแหลง่ แร่ ง. ลักษณะการแบง่ เขตจังหวัด 2. รปู ถา่ ยทางภมู ิศาสตรใ์ หข้ อ้ มูลอะไร ก. สถานทส่ี ำคัญทางภูมศิ าสตร์ ข. สถานทแี่ นวเฉยี งของจงั หวัด ค. ภาพมมุ กวา้ ง ง. ภาพมุมสงู 3. แม่น้ำไหลจากภาคเหนือส่ภู าคกลางของประเทศ หมายความว่าอยา่ งไร ก. พนื้ ทภ่ี าคเหนอื มีปา่ ไมม้ าก ข. พ้นื ทีภ่ าคกลางเปน็ ท่ีราบล่มุ ค. พน้ื ทีภ่ าคกลางสามารถรบั น้ำไดม้ าก ง. พ้ืนทภ่ี าคเหนือมภี มู อิ ากาศฝนชกุ รอ้ นชนื้ 4. คำกล่าวใดเป็นลกั ษณะพนื้ ทท่ี างภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ก. ลักษณะภูมปิ ระเทศส่วนใหญ่เป็นทร่ี าบ ข. ลักษณะภมู ปิ ระเทศสว่ นใหญเ่ ปน็ ทร่ี าบสงู ค. ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นท่ีราบระหว่างภเู ขา ง. ลักษณะภมู ปิ ระเทศส่วนใหญเ่ ป็นทวิ เขาเป็นแนวยาว 5. คำกลา่ วใดหมายถึงภูมปิ ระเทศทเี่ ปน็ ทวิ เขา ก. พ้ืนทีส่ ูงฐานกวา้ งยอดเลก็ ข. พื้นที่ท่ีอยสู่ ูงมขี อบสงู ชันอยา่ งนอ้ ย 2 ด้าน ค. แนวทอดตัวของภูเขาทล่ี อ้ มรอบด้วยพน้ื ที่ตำ่ ง. พน้ื ทสี่ งู จากบริเวณโดยรอบลักษณะเปน็ ลูกคล่ืน 6. พื้นทช่ี ายฝ่ังทะเล อ่าว มีทรัพยากรอะไร ก. ดนิ อดุ มสมบรู ณ์ ข. สัตวท์ ะเล ค. นำ้ ตก ง. แม่น้ำ

7. “น้ำตก” เป็นสถานท่ีสำคญั ที่เกิดจากภูมิประเทศแบบใด ก. ที่ราบเชิงเขา ข. เนนิ เขา ค. ที่ราบ ง. ภูเขา 8. แผนท่ีทอ่ งเทีย่ ว เราใช้สืบค้นขอ้ มลู เก่ยี วกับอะไร ก. แหล่งทรัพยากร ข. ลักษณะภมู ิอากาศ ค. ลักษณะภมู ิประเทศ ง. สถานที่สำคัญทางภูมศิ าสตร์ 9. ลกั ษณะทางกายภาพทเ่ี ป็นทีร่ าบส่งผลให้ทรัพยากรประเภทใดอุดมสมบรู ณ์ ก. ปา่ ไม้ แม่น้ำ ข. ปา่ ไม้ น้ำตก ค. แมน่ ำ้ แร่ ง. ดิน น้ำ 10. ปา่ ชายเลน มักเกิดในบริเวณทม่ี ีพืน้ ท่ีลกั ษณะทางกายภาพอย่างไร ก. ทีร่ าบลุ่มน้ำทว่ มถงึ ข. ชายฝง่ั ทะเล ค. ท่รี าบเชงิ เขา ง. ชายหาด เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-Test) 1. ง 2. ก 3. ข 4. ข 5. ค 6. ข 7. ง 8. ง 9. ง 10. ข

แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 13 เร่อื ง จังหวัดของเรา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม วิชาสังคมศึกษา ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. แผนทีร่ ัฐกิจใหข้ อ้ มูลอะไร ก. ลักษณะพืน้ ที่ ข. ลักษณะป่าไม้ ค. ลักษณะแหลง่ แร่ ง. ลักษณะการแบง่ เขตจังหวัด 2. รูปถ่ายทางภูมศิ าสตร์ให้ข้อมูลอะไร ก. สถานที่สำคัญทางภูมศิ าสตร์ ข. สถานท่ีแนวเฉยี งของจังหวัด ค. ภาพมุมกว้าง ง. ภาพมมุ สูง 3. แมน่ ้ำไหลจากภาคเหนอื สู่ภาคกลางของประเทศ หมายความวา่ อยา่ งไร ก. พ้นื ทภ่ี าคเหนอื มีปา่ ไมม้ าก ข. พ้ืนทีภ่ าคกลางเปน็ ที่ราบลุ่ม ค. พืน้ ทีภ่ าคกลางสามารถรบั นำ้ ไดม้ าก ง. พืน้ ที่ภาคเหนือมีภมู อิ ากาศฝนชกุ ร้อนชน้ื 4. คำกล่าวใดเปน็ ลักษณะพื้นทที่ างภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ก. ลกั ษณะภูมิประเทศสว่ นใหญ่เปน็ ทร่ี าบ ข. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศส่วนใหญ่เปน็ ทีร่ าบสูง ค. ลักษณะภมู ิประเทศสว่ นใหญ่เป็นทรี่ าบระหว่างภูเขา ง. ลกั ษณะภูมิประเทศสว่ นใหญเ่ ป็นทวิ เขาเป็นแนวยาว 5. คำกลา่ วใดหมายถงึ ภมู ปิ ระเทศทเ่ี ป็นทิวเขา ก. พ้ืนที่สูงฐานกว้างยอดเล็ก ข. พนื้ ทท่ี อ่ี ยู่สูงมขี อบสูงชนั อย่างน้อย 2 ด้าน ค. แนวทอดตวั ของภเู ขาที่ลอ้ มรอบดว้ ยพื้นที่ตำ่ ง. พ้ืนที่สูงจากบริเวณโดยรอบลักษณะเป็นลูกคล่ืน 6. พืน้ ที่ชายฝ่ังทะเล อ่าว มีทรัพยากรอะไร ก. ดนิ อุดมสมบรู ณ์ ข. สตั ว์ทะเล ค. น้ำตก ง. แม่น้ำ

7. “นำ้ ตก” เปน็ สถานที่สำคญั ที่เกดิ จากภูมปิ ระเทศแบบใด ก. ท่ีราบเชงิ เขา ข. เนินเขา ค. ท่ีราบ ง. ภเู ขา 8. แผนที่ท่องเที่ยว เราใช้สืบค้นข้อมลู เกยี่ วกับอะไร ก. แหลง่ ทรพั ยากร ข. ลักษณะภูมิอากาศ ค. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ง. สถานท่ีสำคญั ทางภูมิศาสตร์ 9. ลกั ษณะทางกายภาพทเ่ี ปน็ ที่ราบส่งผลให้ทรัพยากรประเภทใดอดุ มสมบรู ณ์ ก. ป่าไม้ แม่น้ำ ข. ปา่ ไม้ นำ้ ตก ค. แม่น้ำ แร่ ง. ดนิ นำ้ 10. ป่าชายเลน มกั เกิดในบรเิ วณที่มพี ้ืนท่ีลักษณะทางกายภาพอยา่ งไร ก. ท่รี าบลมุ่ นำ้ ทว่ มถึง ข. ชายฝง่ั ทะเล ค. ที่ราบเชิงเขา ง. ชายหาด เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน (Post -Test) 1. ง 2. ก 3. ข 4. ข 5. ค 6. ข 7. ง 8. ง 9. ง 10. ข

บนั ทึกผลหลังการจดั การเรียนรู้ สรปุ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นร.ู้ .....................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้..................คน คดิ เป็นร้อยละ.................. 2. แนวทางแก้ไขนักเรยี นท่ไี ม่ผา่ นจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ 3. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ไมผ่ ่าน............ คน ผ่าน.............คน ด.ี .................คน ดีเยี่ยม................คน ระดบั ดขี ึ้นไป ร้อยละ..................... 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ไม่ผา่ น............ คน ผ่าน.............คน ดี..................คน ดีเยีย่ ม................คน ระดับดีขนึ้ ไป รอ้ ยละ..................... 5. นกั เรยี นเกิดทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ใดบา้ ง ทำเครือ่ งหมาย  ในช่องวา่ งท่ีตรงกับทักษะทเ่ี กิด 3R  อา่ นออก  เขยี นได้  มีทกั ษะในการคิดคำนวณ 8C  การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา  การสร้างสรรค์  ความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์  การสื่อสาร  ด้านความรว่ มมอื การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ  ทกั ษะการเปลยี่ นแปลง  การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร  ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู้ ผลการจดั การเรียนการสอน/ปญั หา/ อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข • แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 1 เร่อื ง ลักษณะทางกายภาพในจงั หวดั : ลักษณะภมู ปิ ระเทศ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…. .................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. • แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 2 เรือ่ ง ลกั ษณะทางกายภาพในจงั หวัด : ลกั ษณะภมู ิประเทศ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………. .................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………. • แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 เรือ่ ง ลักษณะทางกายภาพในจงั หวัด : ลกั ษณะภมู อิ ากาศ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. .................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….

• แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 4 เรือ่ ง ลักษณะทางกายภาพในจงั หวดั : ทรพั ยากรธรรมชาติและสถานที่สำคญั ใน จงั หวดั ปทุมธานี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. .................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... • แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5 เร่อื ง ลกั ษณะทางกายภาพในจังหวดั : ทรพั ยากรธรรมชาติและสถานทสี่ ำคัญใน จงั หวัดปทมุ ธานี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. .................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... • แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 เรือ่ ง ลกั ษณะทางกายภาพในจงั หวดั : ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสถานทส่ี ำคญั ใน จงั หวัดปทมุ ธานี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. .................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... • แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 7 เรอื่ ง ลักษณะทางกายภาพในจงั หวดั : ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสถานที่สำคญั ใน จังหวัดปทมุ ธานี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. .................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... • แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8 เรือ่ ง ลกั ษณะทางกายภาพในจังหวดั : ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสถานทีส่ ำคญั ใน จงั หวดั ปทมุ ธานี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. .................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ลงชื่อ.................................................. (นางสาวอญั ชลี อุ่นทะยา) ครูผสู้ อน

ความคดิ เห็นหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นร้/ู ผทู้ ไ่ี ด้รับมอบหมาย ตรวจ/นิเทศ/เสนอแนะ/รับรอง ............................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................................................................... ลงชื่อ…………………………………………………… (นางสาวจรี วรรณ ปฏวิ งศ์) หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ...................../......................./......................... ความเหน็ ของหวั หน้าสถานศึกษา ตรวจ/นเิ ทศ/เสนอแนะ/รับรอง ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ …………………………………………………… (นางอัจฉรา รกั ษาชนม์) ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดพชื นิมิต (คำสวสั ด์ริ าษฎร์บำรงุ ) ...................../......................./.........................

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม วชิ าสังคมศึกษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลา 8 ชัว่ โมง หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 13 : จังหวัดของเรา เวลา 1 ชั่วโมง เรอ่ื ง ลกั ษณะทางกายภาพในจังหวดั : ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ 1. สาระสำคญั ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ คอื สภาพทั่ว ๆ ไปของผวิ โลก ประกอบดว้ ยสิ่งทีเ่ กดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติ เชน่ แหล่งน้ำ ที่ ราบ ที่ราบสงู ภเู ขา หุบเขา ทิวเขา และสง่ิ ทเ่ี กดิ จากมนษุ ย์ดัดแปลงหรอื สรา้ งข้ึน เชน่ ถนน เขื่อน พนื้ ท่ีเพาะปลูก บ้านเรอื น สะพาน ประเทศไทยมีลักษณะภมู ิประเทศทแ่ี ตกตา่ งกนั หลายรปู แบบ เช่น ภเู ขา ท่ีราบ ที่ราบสงู ชายฝั่งทะเล เป็นต้น 2. ตัวชี้วัด ส 5.1 ป.4/3 อธิบายลักษณะทางกายภาพท่ีส่งผลต่อแหล่งทรพั ยากรและสถานที่สำคัญในจังหวดั 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของจงั หวดั ทนี่ ักเรยี นอาศยั อยู่ได้ (K) 4. สาระการเรยี นรู้  ลักษณะทางกายภาพในจังหวัด : ลักษณะภูมิประเทศ 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มั่นในการทำงาน 7. บูรณาการ ภาษาไทย ฟัง พูด อา่ น และเขยี นข้อมลู เกยี่ วกบั ลักษณะทางกายภาพในจงั หวัด : ลกั ษณะภูมิ- ประเทศ การงานอาชพี สบื ค้นขอ้ มลู เก่ยี วกบั ลักษณะทางกายภาพในจงั หวดั : ลกั ษณะภูมปิ ระเทศจากแหลง่ การ เรียนรตู้ ่าง ๆ เช่น อนิ เทอร์เนต็ , Google Earth

8. กิจกรรมการเรยี นรู้  วิธีการสอนแบบกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ (Geographic Inquiry Process) ข้นั นำเขา้ สู่บทเรียน 1. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 13 เรอ่ื ง จงั หวัดของเรา 2. นกั เรยี นดรู ูปภาพในหนงั สือเรียนสังคมศกึ ษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หนา้ 170 และครูสนทนาเชื่อมโยงถึง ลักษณะภูมิประเทศของจงั หวดั ที่นักเรยี นอาศยั อยู่ ขั้นสอน ขัน้ ท่ี 1 การต้ังคำถามเชิงภมู ิศาสตร์ 1. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั ตง้ั คำถามเชิงภมู ิศาสตร์  จงั หวดั ของเรามลี ักษณะภมู ปิ ระเทศอย่างไร  ภาคต่าง ๆ ในประเทศไทยของเรามีลักษณะภูมิประเทศอยา่ งไร ขั้นที่ 2 การรวบรวมข้อมลู 1. นกั เรยี นดแู ผนที่ทแี่ สดงลกั ษณะทางกายภาพท่ีสำคัญทางภมู ิศาสตรใ์ นจงั หวัดของนักเรียนนำไปจดั ไว้เปน็ แหล่งเรยี นรู้ของห้องเรียน 2. แบง่ นกั เรียนเปน็ กลมุ่ 6 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มวางแผนและสบื คน้ ขอ้ มูลเกยี่ วกับลกั ษณะภมู ิประเทศของ ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวนั ตก และภาคใต้ ว่ามีลักษณะภมู ปิ ระเทศแบบ ใดบ้าง 3. ครขู ออาสาสมคั รนกั เรยี น 1 คนของแต่ละกลุ่ม เพอ่ื ออกมาแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับลกั ษณะภูมิประเทศ ของภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ตก และภาคใต้ให้เพื่อน ๆ ฟงั โดยครสู รุป ความคิดเหน็ ของนกั เรยี นและให้คำแนะนำหรอื ความรเู้ พิ่มเตมิ 4. ครูเปิด Google Earth ให้นกั เรียนดภู าพจากดาวเทยี มท่ีแสดงลักษณะทางกายภาพบรเิ วณโรงเรยี น ชมุ ชน ของตนเอง ประเทศไทย และสถานท่ที น่ี กั เรยี นสนใจ ซ่งึ นักเรยี นสามารถมาคน้ หาดว้ ยตนเองได้ 9. การวัดและประเมนิ ผล วธิ กี าร เครอ่ื งมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 13 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 13 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมน่ั ในการ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดับคณุ ภาพ 2 ทำงาน ผ่านเกณฑ์ 10. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้ 1. สื่อการเรยี นรู้  หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4  แผนที่ประเทศไทยแสดงลกั ษณะภูมิประเทศ  รูปภาพสถานที่สำคัญ สถานท่ีทอ่ งเทยี่ วในประเทศไทย  Computer 2. แหลง่ การเรียนรู้  หอ้ งเรยี น  อินเทอร์เนต็

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาสงั คมศึกษา ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 เวลา 8 ชัว่ โมง หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 13 : จังหวัดของเรา เวลา 1 ช่วั โมง เรอ่ื ง ลักษณะทางกายภาพในจังหวดั : ลกั ษณะภูมิประเทศ 1. สาระสำคัญ ลักษณะภมู ิประเทศ คอื สภาพทวั่ ๆ ไปของผวิ โลก ประกอบด้วยสิ่งที่เกดิ ขึน้ เองตามธรรมชาติ เชน่ แหลง่ น้ำ ที่ ราบ ทรี่ าบสงู ภเู ขา หุบเขา ทวิ เขา และส่งิ ทเ่ี กิดจากมนษุ ย์ดดั แปลงหรอื สร้างข้ึน เชน่ ถนน เข่ือน พ้ืนทีเ่ พาะปลกู บ้านเรือน สะพาน ประเทศไทยมลี กั ษณะภมู ิประเทศทแ่ี ตกต่างกนั หลายรูปแบบ เชน่ ภเู ขา ท่ีราบ ที่ราบสูง ชายฝ่งั ทะเล เปน็ ตน้ 2. ตวั ชี้วดั ส 5.1 ป.4/3 อธบิ ายลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลตอ่ แหล่งทรพั ยากรและสถานท่ีสำคัญในจงั หวดั 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. บอกลักษณะภูมิประเทศของจงั หวัดทน่ี กั เรยี นอาศยั อยู่ได้ (K) 4. สาระการเรยี นรู้  ลกั ษณะทางกายภาพในจงั หวัด : ลักษณะภมู ปิ ระเทศ 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน 7. บรู ณาการ ภาษาไทย ฟัง พดู อา่ น และเขยี นข้อมลู เกย่ี วกับลกั ษณะทางกายภาพในจังหวัด : ลกั ษณะภูมิ- ประเทศ ศลิ ปะ ระบายสีชน้ิ งาน เรอ่ื ง ลกั ษณะภมู ิประเทศของภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย

8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำเขา้ สู่บทเรียน 1. นักเรียนและครูรว่ มกนั พดู คยุ เกยี่ วกับจงั หวัดของเรามีลักษณะภมู ปิ ระเทศอยา่ งไร , ภาคต่าง ๆ ในประเทศ ไทยของเรามลี ักษณะภูมิประเทศอยา่ งไร เป็นการทบทวนความรเู้ ดิมในคาบท่ีแล้ว ขนั้ สอน 1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั ตัง้ คำถามเชงิ ภมู ศิ าสตร์  ลกั ษณะภูมปิ ระเทศในแบบต่าง ๆ สง่ ผลให้เกิดสิ่งใดบ้าง ยกตวั อยา่ งประกอบด้วย 2. นกั เรียนดแู ผนท่ีประเทศไทยแสดงลักษณะภูมิประเทศ และครอู ธิบายเน้ือหาเกีย่ วกบลักษณะภมู ิประเทศ โดยใชส้ อ่ื การเรียนรู้ตา่ ง ๆ เช่น แผนท่ีลกั ษณะภูมิประเทศของประเทศไทย ภาพถ่ายลกั ษณะภูมิประเทศแบบต่าง ๆ ประกอบการอธบิ าย 1. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ นำข้อมูลความรู้ทสี่ บื ค้นมาจดั กลมุ่ คำตอบตามประเด็นคำถามท่กี ำหนดไว้ในขน้ั ที่ 1 2. นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ รว่ มกันพิจารณาความน่าเช่ือถือของขอ้ มูล 3. นักเรยี นทำชิน้ งาน เร่ือง ลกั ษณะภูมิประเทศของภาคตา่ ง ๆ ในประเทศไทย 4. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ นำขอ้ มลู มาวิเคราะห์หาคำตอบตามประเด็นคำถาม 5. ครูขออาสาสมคั รจำนวน 6 กล่มุ สง่ ตัวแทนนำเสนอข้อมูลทไี่ ด้จากการศึกษาค้นควา้ ทห่ี นา้ ชัน้ เรียน ข้นั สรปุ 1. นักเรยี นรว่ มกนั สรปุ เกี่ยวกับลกั ษณะทางกายภาพในจังหวัดท่นี ักเรยี นอาศัยอยู่ 2. นกั เรียนรว่ มกันสรปุ เกี่ยวกับลกั ษณะทางกายภาพในจังหวัดที่นักเรยี นอาศัยอยูว่ า่ แผนท่แี ละรูปถ่ายเป็น เคร่อื งมือท่ีใชแ้ สดงลกั ษณะทางกายภาพ แหลง่ ทรัพยากรและสถานที่สำคัญในจงั หวัดของตน 9. การวัดและประเมินผล วิธีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ ตรวจชิน้ งาน เร่อื ง ลกั ษณะภูมิประเทศของภาค ช้ินงาน เร่ือง ลกั ษณะภมู ิประเทศของภาค ต่าง ๆ ในประเทศไทย ตา่ ง ๆ ในประเทศไทย รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ มัน่ ในการ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ทำงาน ผ่านเกณฑ์ 10. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ส่ือการเรียนรู้  หนังสือเรียนรายวิชาพนื้ ฐาน สงั คมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  แผนทป่ี ระเทศไทยแสดงลักษณะภูมิประเทศ  รปู ภาพสถานท่ีสำคญั สถานท่ีทอ่ งเท่ียวในประเทศไทย  ชนิ้ งาน เรื่อง ลักษณะภมู ิประเทศของภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย 2. แหล่งการเรยี นรู้  หอ้ งเรียน  อนิ เทอร์เนต็

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 3 กลุม่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วชิ าสังคมศึกษา ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลา 8 ช่ัวโมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 13 : จังหวัดของเรา เวลา 1 ชวั่ โมง เรอื่ ง ลักษณะทางกายภาพในจังหวัด : ลกั ษณะภมู ิอากาศ 1. สาระสำคัญ ลักษณะภูมิอากาศ คอื ลักษณะอากาศท่ีเกิดข้นึ เป็นประจำหรือมีลักษณะเฉลีย่ ของพ้นื ทใี่ ดพืน้ ทีห่ นึง่ ซง่ึ เกิด ติดตอ่ กนั มาเปน็ เวลนาน ลักษณะภมู อิ ากาศของจังหวัดต่าง ๆ ในประเทศไทยส่วนใหญค่ ล้ายคลึงกัน มแี ตกต่างกนั เพยี ง เล็กน้อยในบางพ้นื ท่ี ลักษณะภูมิอากาศของจังหวดั ตา่ ง ๆ ในประเทศไทยสว่ นใหญ่อยูใ่ นเขตอากาศร้อนชื้น อุณหภูมเิ ฉล่ยี ตลอดทง้ั ปี 27 องศาเซลเซยี ส ทง้ั น้ี อุณหภูมอิ าจแตกต่างกันในแต่ละจังหวดั ประเทศไทยแบ่งออกเป็น 3 ฤดู ไดแ้ ก่ ฤดู รอ้ น ฤดูฝน และฤดหู นาว 2. ตัวช้ีวัด ส 5.1 ป.4/3 อธบิ ายลกั ษณะทางกายภาพที่ส่งผลตอ่ แหลง่ ทรัพยากรและสถานท่ีสำคญั ในจงั หวดั 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกลกั ษณะภูมอิ ากาศของจังหวัดทน่ี ักเรยี นอาศยั อยูไ่ ด้ (K) 4. สาระการเรยี นรู้  ลกั ษณะทางกายภาพในจังหวัด : ลักษณะภูมอิ ากาศ 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 7. บรู ณาการ ภาษาไทย ฟัง พูด อ่าน และเขยี นขอ้ มูลเกยี่ วกบั ลกั ษณะทางกายภาพในจงั หวัด : ลกั ษณะภมู ิอากาศ 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำเข้าส่บู ทเรยี น 1. นกั เรียนดูรปู ภาพการเปลยี่ นเคร่อื งทรงพระแกว้ มรกต และครูอธบิ ายเชอื่ มโยงเพือ่ นำไปสู่เน้ือหาเกยี่ วกบั เร่อื ง ลกั ษณะภมู อิ ากาศในประเทศไทย ขน้ั สอน 1. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคดิ  ภูมอิ ากาศ คืออะไร  ปัจจยั ใดบ้างท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่ ภมู อิ ากาศ  ประเทศไทยมกี ฤี่ ดู ฤดอู ะไรบา้ ง 2. ครูเฉลยคำตอบและอธบิ ายเพมิ่ เติมเน้อื หาเกย่ี วกบั ภูมอิ ากาศโดยใชส้ ื่อการเรียนรูต้ า่ ง ๆ เช่น ภาพแสดง ทิศทางของลมประจำทพ่ี ัดผ่านเขา้ มาในประเทศไทยประกอบการอธบิ าย

3. นกั เรียนและครรู ่วมกันวิเคราะหเ์ กย่ี วกับปัจจยั อะไรบ้างที่ทำใหล้ กั ษณะภมู ิอากาศในแต่ละจังหวัดมคี วาม แตกตา่ งกัน 4. ครูอธิบายเกีย่ วกับลมมรสมุ ตา่ ง ๆ ท่ีทำให้เกดิ ฤดูกาลต่าง ๆ ในประเทศไทย 5. ครูเสริมความรใู้ นส่วนท่นี กั เรยี นขาดหรอื ยังไมเ่ ข้าใจให้กับนกั เรยี น แลว้ ให้นักเรียนบนั ทึกความรูล้ งในสมุด ขั้นสรปุ 1. นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สรุปความรูเ้ กีย่ วกับลักษณะภมู ิอากาศของภาคตา่ ง ๆ ในประเทศไทย และครูอธิบาย เพิม่ เติมเก่ยี วกบั ลกั ษณะภูมอิ ากาศของภาคต่าง ๆ ในประเทศไทยเพอ่ื ให้นักเรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจมากย่งิ ข้ึน สามารถ นำไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดำเนินชวี ติ ประจำวนั ได้อยา่ งถกู ต้อง 9. การวัดและประเมินผล เคร่ืองมือ เกณฑ์ วิธีการ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล ระดบั คุณภาพ 2 สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล (บนั ทึกลงสมุด) ผ่านเกณฑ์ (บนั ทึกลงสมุด) แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ระดบั คณุ ภาพ 2 สังเกตความมวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มน่ั ในการ ผ่านเกณฑ์ ทำงาน 10. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. ส่ือการเรียนรู้  หนังสือเรยี นรายวชิ าพนื้ ฐาน สังคมศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4  แผนทปี่ ระเทศไทย  รปู ภาพพระแก้วมรกต  Computer 2. แหลง่ การเรยี นรู้  ห้องเรียน  อินเทอร์เนต็

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 4 กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม วชิ าสงั คมศึกษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 13 : จังหวัดของเรา เวลา 8 ชว่ั โมง เร่อื ง ลกั ษณะทางกายภาพในจังหวัด : ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสถานทส่ี ำคัญในจังหวัดปทมุ ธานี เวลา 1 ช่วั โมง 1. สาระสำคญั ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิง่ ต่าง ๆ ท่ีเกดิ ขึ้นเองหหรอื มอี ย่ตู ามธรรมชาติ ซึ่งมนษุ ย์ไดน้ ำมาใช้ประโยชน์ใน การดำรงชวี ติ ทัง้ โดยตรงและโดยออ้ ม ทรพั ยากรธรรมชาติท่ีสำคัญของแตล่ ะจงั หวดั ได้แก่ บรรยากาศ ดนิ นำ้ ป่าไม้ ทงุ่ หญา้ สตั ว์ป่า แรธ่ าตุ พลงั งาน จังหวัดปทุมธานี เป็นจงั หวัดท่ีต้งั อยใู่ นภาคกลาง มีลักษณะภูมปิ ระเทศเป็นแบบทรี่ าบลุม่ แม่น้ำเจ้าพระยา มี ทง้ั หมด 7 อำเภอ มีอาณาเขตและการปกครอง ทิศเหนอื ติดกบั จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา และจงั หวดั สระบุรี ทิศใต้ ติดกบั จงั หวดั นนทบรุ ี และกรุงเทพมหานคร ทิศตะวันออก ตดิ กบั จงั หวัดนครนายก และจังหวัดฉะเชิงเทรา และทิศตะวันตก ตดิ กับจังหวัดนนทบุรี 2. ตวั ชี้วัด ส 5.1 ป.4/2 ระบแุ หล่งทรัพยากรและสถานทส่ี ำคญั ในจงั หวดั ของตนเองดว้ ยแผนทแี่ ละรปู ถา่ ย 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อแหลง่ ทรพั ยากร และสถานทส่ี ำคญั ในจงั หวดั ได้ (K,P) 4. สาระการเรียนรู้  ลักษณะทางกายภาพในจงั หวัด : ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสถานทีส่ ำคญั ในจังหวัดปทุมธานี 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. รักความเปน็ ไทย 7. บูรณาการ ภาษาไทย ฟัง พดู อ่าน และเขียนขอ้ มูลเกย่ี วกบั ลกั ษณะทางกายภาพในจงั หวัด : ทรพั ยากรธรรมชาติ และสถานทส่ี ำคญั ในจังหวดั ปทุมธานี 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้ันนำเข้าสูบ่ ทเรยี น 1. ครูให้นักเรยี นดู YouTube เกีย่ วกบั ทรัพยากรธรรมชาตใิ นประเทศไทย และครอู ธบิ ายเชื่อมโยงเข้าสบู่ ทเรยี น ขนั้ สอน 1. ครูสนทนาซกั ถามความรขู้ องนกั เรยี นเก่ยี วกบั ทรัพยากรธรรมชาตใิ นประเด็นตา่ ง ๆ เชน่  ทรพั ยากรธรรมชาติ คืออะไร  ทรพั ยากรธรรมชาติท่สี ำคัญได้แกอ่ ะไรบา้ ง

 ในจงั หวัดปทุมธานมี ที รัพยากรธรรมชาติอะไรบ้าง 2. ครขู ออาสาสมคั รนักเรยี น 5 คน เพือ่ ใหบ้ อกเก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติท่สี ำคญั ในจังหวัดของเรา วา่ มี อะไรบา้ ง 3. นกั เรียนรว่ มกนั อธบิ ายถงึ ความสำคัญของทรพั ยากรดนิ น้ำ ปา่ ไม้ แร่ธาตุ วา่ มีความสำคญั อย่างไรบ้าง พร้อม ยกตวั อยา่ งประกอบ 4. ครูกล่าวชมเชยนักเรยี น และครูสรปุ ความคดิ เหน็ ของนักเรียนและใหค้ ำแนะนำหรือความร้เู พิ่มเติม 5. นกั เรยี นร่วมกนั บอกถึงวธิ ีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่มี ีอยู่ในจงั หวดั ของตนเองใหค้ ุ้มค่าและเกิดประโยชน์ สูงสดุ ได้อย่างไรบา้ ง ข้ันสรปุ 1. นกั เรยี นและครูรว่ มกนั สรุปเก่ยี วกับทรพั ยากรธรรมชาตใิ นจังหวัดของตน 2. ครูแนะนำใหน้ กั เรียนนำความรู้เรือ่ งทรัพยากรธรรมชาติในจังหวดั ของตนไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนินชีวิต ประจำวนั ได้อยา่ งถกู ต้อง 9. การวัดและประเมนิ ผล เครื่องมอื เกณฑ์ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นของผูเ้ รยี น วธิ กี าร แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สงั เกตความมวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ และมุง่ ม่นั ในการ ทำงาน 10. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้ 1. สอื่ การเรยี นรู้  หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4  รูปภาพทรัพยากรธรรมชาติ  Computer 2. แหล่งการเรียนรู้  ห้องเรยี น  อินเทอรเ์ นต็

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5 กล่มุ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม วิชาสงั คมศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 13 : จังหวัดของเรา เวลา 1 ชัว่ โมง เรอ่ื ง ลกั ษณะทางกายภาพในจังหวัด : ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสถานทีส่ ำคญั ในจงั หวัดปทมุ ธานี เวลา 1 ชั่วโมง 1. สาระสำคญั ลักษณะทางกายภาพหรอื สงิ่ แวดล้อมในจงั หวัด ประกอบดว้ ยลกั ษณะภมู ิประเทศ ลกั ษณะภมู อิ ากาศ และ ทรพั ยากรธรรมชาติมผี ลต่อการเกิดสถานทสี่ ำคญั บางแหง่ ของจงั หวดั จังหวัดปทมุ ธานี เปน็ จงั หวัดท่ีตง้ั อยู่ในภาคกลาง มลี ักษณะภูมปิ ระเทศเป็นแบบทรี่ าบล่มุ แมน่ ำ้ เจา้ พระยา มี ทงั้ หมด 7 อำเภอ มีอาณาเขตและการปกครอง ทิศเหนือ ติดกับจังหวดั พระนครศรีอยุธยา และจงั หวดั สระบุรี ทศิ ใต้ ติดกับจังหวัดนนทบรุ ี และกรุงเทพมหานคร ทิศตะวนั ออก ตดิ กับจงั หวัดนครนายก และจังหวดั ฉะเชิงเทรา และทิศตะวนั ตก ตดิ กับจงั หวดั นนทบรุ ี 2. ตวั ช้ีวัด ส 5.1 ป.4/3 อธบิ ายลกั ษณะทางกายภาพท่ีสง่ ผลต่อแหลง่ ทรัพยากรและสถานที่สำคัญในจงั หวัด 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลกั ษณะทางกายภาพท่สี ง่ ผลต่อแหลง่ ทรพั ยากร และสถานท่ีสำคญั ในจงั หวดั ได้ (K,P) 2. บอกสถานท่ีสำคญั ในจังหวดั ของตน และจังหวดั ต่าง ๆ ในประเทศไทยได้ (K) 4. สาระการเรียนรู้  ลกั ษณะทางกายภาพในจงั หวดั : ทรัพยากรธรรมชาติและสถานท่สี ำคญั ในจังหวัดปทุมธานี 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. รักความเป็นไทย 7. บรู ณาการ ภาษาไทย ฟงั พดู อ่าน และเขยี นข้อมูลเกยี่ วกบั ลักษณะทางกายภาพในจงั หวดั : ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสถานทีส่ ำคัญในจังหวดั การงานอาชีพ สืบคน้ ขอ้ มูลเก่ยี วกบั ลกั ษณะทางกายภาพในจงั หวัด : ทรัพยากรธรรมชาติและสถานท่ี สำคัญในจงั หวัดจากแหลง่ การเรียนรูต้ ่าง ๆ เชน่ อินเทอร์เนต็ , Google Earth

8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้ันนำเขา้ สบู่ ทเรยี น 1. ครใู หน้ กั เรยี นดู YouTube เกี่ยวกับสถานทีส่ ำคัญหรอื สถานทที่ ่องเที่ยวในจังหวัด และในประเทศไทย และครู อธิบายเชอ่ื มโยงเขา้ สูบ่ ทเรียน ขั้นสอน 1. ครูอธบิ ายลกั ษณะทางกายภาพทีก่ อ่ ให้เกิดสถานท่ีสำคัญตา่ ง ๆ วา่ มกี ป่ี ระเภท และมีประเภทใดบ้าง พรอ้ ม ยกตวั อยา่ งรปู ภาพประกอบ 2. ครูขออาสาสมัครนกั เรียน 5 คน เพ่อื ให้นกั เรยี นออกมาเล่าประสบการณ์เกยี่ วกับสถานท่ีท่องเท่ียวทน่ี กั เรียน เคยไป วา่ คอื สถานที่ใดบ้าง และมีลกั ษณะอยา่ งไร พรอ้ มกบั ใหน้ กั เรียนคน้ หาสถานทีท่ ่นี ักเรยี นเคยไปใน Google Earth 3. ครูอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ถึงสถานทีท่ นี่ กั เรยี นออกมาเล่าประสบการณ์ ขนั้ สรปุ 1. นักเรียนและครูร่วมกนั สรปุ เก่ยี วกับลักษณะทางกายภาพทกี่ อ่ ให้เกดิ สถานท่สี ำคัญตา่ ง ๆ รวมไปถึงสถานท่ี ท่องเทยี่ วท่นี ักเรียนเคยไป 2. ครูแนะนำใหน้ กั เรยี นนำความรู้ทไ่ี ดเ้ รียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 9. การวัดและประเมินผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์ แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี นของผู้เรียน วธิ ีการ แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนของผูเ้ รียน ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ และมุง่ มน่ั ในการ ทำงาน 10. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้ 1. สื่อการเรียนรู้  หนงั สือเรียนรายวิชาพนื้ ฐาน สังคมศึกษา ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4  รปู ภาพสถานที่สำคัญ สถานท่ีท่องเที่ยวในประเทศไทย  Computer 2. แหลง่ การเรียนรู้  หอ้ งเรยี น  อินเทอรเ์ น็ต

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 6 กล่มุ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม วิชาสังคมศึกษา ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 13 : จังหวัดของเรา เวลา 1 ช่วั โมง เรอ่ื ง ลกั ษณะทางกายภาพในจังหวัด : ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสถานที่สำคญั ในจังหวดั ปทุมธานี เวลา 1 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ ลักษณะทางกายภาพหรือสิ่งแวดล้อมในจังหวัด ประกอบดว้ ยลักษณะภมู ิประเทศ ลกั ษณะภูมอิ ากาศ และ ทรพั ยากรธรรมชาตมิ ีผลต่อการเกิดสถานที่สำคญั บางแหง่ ของจงั หวัด จงั หวัดปทุมธานี เปน็ จงั หวดั ที่ต้ังอยใู่ นภาคกลาง มลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศเป็นแบบท่รี าบลุ่มแม่น้ำเจา้ พระยา มี ท้งั หมด 7 อำเภอ มีอาณาเขตและการปกครอง ทิศเหนือ ติดกบั จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา และจงั หวัดสระบรุ ี ทิศใต้ ตดิ กับจังหวดั นนทบรุ ี และกรงุ เทพมหานคร ทศิ ตะวันออก ตดิ กับจงั หวดั นครนายก และจังหวดั ฉะเชิงเทรา และทศิ ตะวนั ตก ตดิ กับจังหวัดนนทบรุ ี 2. ตัวชี้วดั ส 5.1 ป.4/3 อธิบายลกั ษณะทางกายภาพท่ีส่งผลตอ่ แหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญในจงั หวัด 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. บอกสถานท่ีสำคญั ในจังหวดั ของตน และจังหวดั ตา่ ง ๆ ในประเทศไทยได้ (K) 4. สาระการเรยี นรู้  ลกั ษณะทางกายภาพในจงั หวดั : ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสถานทีส่ ำคัญในจงั หวดั ปทุมธานี 5. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. รักความเป็นไทย 7. บูรณาการ ฟัง พูด อ่าน และเขยี นข้อมลู เกี่ยวกบั ลักษณะทางกายภาพในจงั หวัด : ภาษาไทย ทรพั ยากรธรรมชาติและสถานทีส่ ำคญั ในจังหวัด สืบค้นข้อมูลเกีย่ วกับลกั ษณะทางกายภาพในจังหวดั : ทรพั ยากรธรรมชาติและสถานท่ี การงานอาชีพ สำคญั ในจงั หวดั จากแหลง่ การเรียนรตู้ ่าง ๆ เช่น อินเทอร์เนต็

8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น 1. นกั เรียนและครูสนทนาพูดคยุ เกี่ยวกบั สถานทีส่ ำคัญ สถานที่ทอ่ งเที่ยวทไ่ี ดเ้ รียนไปในชวั่ โมงท่ีแลว้ เพ่ือเป็น การทบทวนความรู้เดมิ กอ่ นเข้าสเู่ นื้อหาตอ่ ไป ขน้ั สอน 1. ครูยกตัวอยา่ งสถานท่ีสำคญั สถานที่ทอ่ งเทย่ี วท่โี ดดเด่นในแต่ละภาคของประเทศไทย ว่ามีที่ใดบ้าง อยใู่ น จงั หวดั ใดบ้าง พรอ้ มกับให้นักเรียนยกตัวอยา่ งมาคนละ 1 สถานท่ี 2. ครูนำเสนอเกมในการใช้สอนโดยใช้รูปแบบ Coding ช่อื เกม “ทายชือ่ สถานท่ีทอ่ งเทย่ี วจากภาพ” โดยผา่ น ชอ่ งทาง YouTube และเกม “ใบ้คำสถานท่ีท่องเที่ยว” 3. ครูอธบิ ายกตกิ าข้อตกลงในการเลน่ เกม ขัน้ สรปุ 1. นกั เรียนและครรู ว่ มกนั สรปุ เกย่ี วกบั ความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการเลน่ เกมทายชื่อสถานที่ทอ่ งเท่ียว 2. ครูแนะนำให้นกั เรียนนำความรู้ท่ไี ด้เรียนไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวันไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 9. การวัดและประเมนิ ผล เครื่องมือ เกณฑ์ แบบสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นของผู้เรยี น วธิ ีการ แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นของผู้เรียน ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตความมีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการ ทำงาน 10. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 1. สอ่ื การเรียนรู้  หนงั สอื เรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน สงั คมศึกษา ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4  รปู ภาพสถานที่สำคัญ สถานท่ีทอ่ งเทีย่ วในประเทศไทย  Computer 2. แหล่งการเรยี นรู้  ห้องเรียน  อนิ เทอรเ์ น็ต

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 7 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม วิชาสงั คมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 13 : จังหวัดของเรา เวลา 1 ชัว่ โมง เร่อื ง ลักษณะทางกายภาพในจังหวัด : ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสถานที่สำคัญในจังหวัดปทุมธานี เวลา 1 ช่วั โมง 1. สาระสำคัญ ลักษณะทางกายภาพหรือสง่ิ แวดลอ้ มในจังหวดั ประกอบด้วยลกั ษณะภูมิประเทศ ลักษณะภมู อิ ากาศ และ ทรพั ยากรธรรมชาติมผี ลต่อการเกิดสถานท่สี ำคญั บางแหง่ ของจังหวัด จงั หวัดปทุมธานี เปน็ จงั หวดั ท่ีตง้ั อยใู่ นภาคกลาง มลี กั ษณะภูมิประเทศเป็นแบบท่รี าบลมุ่ แมน่ ้ำเจ้าพระยา มี ทั้งหมด 7 อำเภอ มีอาณาเขตและการปกครอง ทิศเหนือ ติดกบั จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวดั สระบรุ ี ทิศใต้ ตดิ กบั จังหวัดนนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ทศิ ตะวันออก ตดิ กับจังหวดั นครนายก และจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา และทิศตะวนั ตก ติดกบั จังหวดั นนทบุรี 2. ตัวชี้วดั ส 5.1 ป.4/3 อธบิ ายลกั ษณะทางกายภาพที่สง่ ผลตอ่ แหล่งทรัพยากรและสถานท่ีสำคัญในจังหวัด 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกสถานที่สำคญั ในจังหวดั ของตน และจังหวดั ตา่ ง ๆ ในประเทศไทยได้ (K) 4. สาระการเรียนรู้  ลักษณะทางกายภาพในจงั หวัด : ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสถานที่สำคัญในจังหวดั ปทุมธานี 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. รกั ความเปน็ ไทย 7. บรู ณาการ ฟงั พดู อ่าน และเขียนข้อมูลเก่ยี วกบั ลักษณะทางกายภาพในจังหวดั : ภาษาไทย ทรพั ยากรธรรมชาติและสถานท่สี ำคัญในจังหวดั สืบคน้ ขอ้ มลู เก่ยี วกับลกั ษณะทางกายภาพในจงั หวดั : ทรัพยากรธรรมชาติและสถานที่ การงานอาชีพ สำคญั ในจงั หวดั จากแหล่งการเรยี นร้ตู า่ ง ๆ เช่น อนิ เทอร์เนต็ , Google Earth

8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น 1. ครใู หน้ ักเรียนเล่นเกมทายช่อื จงั หวดั จากภาพสถานทที่ ่องเที่ยวโดยผ่านชอ่ งทาง YouTube และครอู ธิบาย เชื่อมโยงเขา้ สู่บทเรยี น ขนั้ สอน 1. ครูขออาสาสมคั รนักเรียน 5 คน เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นออกมาเล่าประสบการณ์เกีย่ วกบั สถานท่ีท่องเท่ียวทน่ี ักเรียน เคยไป วา่ คือสถานท่ีใดบ้าง และมลี กั ษณะอย่างไร พร้อมกับใหน้ กั เรียนค้นหาสถานทท่ี ีน่ ักเรียนเคยไปใน Google Earth 2. ครอู ธิบายเพิ่มเตมิ ถึงสถานทที่ ี่นกั เรยี นออกมาเล่าประสบการณ์ 3. ครูแนะนำนักเรยี นเกย่ี วกับสถานที่ที่สำคญั ในจังหวัดปทมุ ธานี ว่าถา้ มีโอกาสกใ็ หพ้ อ่ แม่ ผู้ปกครองของ นกั เรียนพาไปเท่ียวชมหาความรู้ 4. นักเรียนรว่ มกนั เล่นเกม (Lucky Number) เพื่อเพ่มิ เติมความรู้ โดยมขี นั้ ตอนดงั นี้ - ให้นกั เรยี นแบง่ เปน็ 2 กลมุ่ กล่มุ ละเท่า ๆ กัน - ครูติดแผ่นป้ายท่มี ีหมายเลขเขียนกำกบั ไวด้ ้านหน้าของคำตอบทั้งหมด 10 ข้อบนกระดาน - จับฉลากว่านกั เรียนกลมุ่ ไหนได้เร่มิ เลน่ เกมก่อน และใหต้ วั แทนของแต่ละกลุม่ ออกมาเปดิ ป้าย หมายเลขว่าจะเจอคำตอบทีถ่ ูกตอ้ งหรือไม่ โดยครูจะเป็นคนอา่ นคำถาม - กลุ่มไหนทีเ่ ปิดปา้ ยหมายเลขท่เี ปน็ คำตอบที่ถูกต้องไดเ้ ยอะทีส่ ุดกจ็ ะเปน็ ฝ่ายชนะ 5. นกั เรียนทำช้นิ งาน เรอ่ื ง สถานทท่ี ่ีสำคัญในจงั หวดั ปทุมธานี ขน้ั สรุป 1. นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรุปเกย่ี วกบั สถานที่ทอ่ งเท่ยี วทนี่ ักเรียนเคยไป 2. นักเรียนและครรู ว่ มกันสรุปเกย่ี วกบั ความร้ทู ่ไี ด้จากการเล่นเกมทายชื่อจงั หวดั จากภาพสถานท่ีท่องเท่ยี ว 3. ครแู นะนำใหน้ กั เรยี นนำความรูท้ ่ีได้เรียนไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 9. การวัดและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื เกณฑ์ ชิ้นงาน เร่ือง สถานทส่ี ำคัญในประเทศไทย วธิ กี าร ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจชิ้นงาน เรือ่ ง สถานทส่ี ำคญั ในประเทศไทย แบบสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นของผู้เรยี น ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤติกรรมการเรียนของผู้เรยี น แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตความมวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ ม่ันในการ ทำงาน 10. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้ 1. ส่ือการเรียนรู้  หนังสือเรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน สังคมศึกษา ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4  รปู ภาพสถานท่ีสำคัญ สถานที่ทอ่ งเทยี่ วในประเทศไทย  Computer 2. แหลง่ การเรยี นรู้  หอ้ งเรยี น  อนิ เทอร์เนต็

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม วชิ าสังคมศึกษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 13 : จังหวัดของเรา เวลา 8 ชว่ั โมง เร่ือง ลกั ษณะทางกายภาพในจงั หวัด : ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสถานที่สำคัญในจงั หวดั ปทมุ ธานี เวลา 1 ช่ัวโมง 1. สาระสำคัญ ลกั ษณะทางกายภาพหรือส่งิ แวดล้อมในจงั หวัด ประกอบด้วยลกั ษณะภมู ิประเทศ ลักษณะภมู อิ ากาศ และ ทรพั ยากรธรรมชาตมิ ีผลต่อการเกิดสถานท่ีสำคัญบางแห่งของจงั หวัด จังหวัดปทมุ ธานี เปน็ จังหวดั ท่ีตงั้ อยูใ่ นภาคกลาง มลี กั ษณะภูมิประเทศเป็นแบบท่ีราบลมุ่ แม่น้ำเจา้ พระยา มี ทง้ั หมด 7 อำเภอ มีอาณาเขตและการปกครอง ทิศเหนือ ตดิ กบั จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา และจงั หวดั สระบุรี ทศิ ใต้ ติดกบั จงั หวัดนนทบรุ ี และกรงุ เทพมหานคร ทิศตะวนั ออก ติดกับจงั หวัดนครนายก และจงั หวัดฉะเชงิ เทรา และทิศตะวนั ตก ตดิ กับจังหวดั นนทบรุ ี 2. ตวั ช้ีวดั ส 5.1 ป.4/3 อธิบายลกั ษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อแหล่งทรพั ยากรและสถานที่สำคัญในจงั หวัด 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกสถานที่สำคัญในจงั หวัดของตน และจงั หวดั ตา่ ง ๆ ในประเทศไทยได้ (K) 4. สาระการเรียนรู้  ลักษณะทางกายภาพในจงั หวดั : ทรัพยากรธรรมชาติและสถานที่สำคญั ในจงั หวดั ปทมุ ธานี 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. รักความเปน็ ไทย 7. บรู ณาการ ฟัง พดู อา่ น และเขยี นข้อมูลเก่ยี วกับลกั ษณะทางกายภาพในจังหวัด : ภาษาไทย ทรพั ยากรธรรมชาติและสถานท่ีสำคัญในจังหวัด 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นำเข้าสูบ่ ทเรยี น 1. นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สนทนาพดู คยุ เก่ียวกับสถานท่ีสำคญั สถานที่ทอ่ งเที่ยวในจังหวัดของตน และในภาค ตา่ ง ๆ ของประเทศไทยทไ่ี ด้เรียนไปในช่ัวโมงแรก ขน้ั สอน 1. ครูทบทวนเกยี่ วกับเร่ือง ทรพั ยากรธรรมชาติ ลักษณะทางกายภาพท่กี อ่ ใหเ้ กิดสถานที่สำคัญต่าง ๆ และ สถานท่ีสำคัญของจังหวัดท่ีนกั เรยี นอาศยั อยู่ 2. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนซกั ถามข้อสงสัยต่าง ๆ ท่ไี ด้เรยี นมา

3. ครูเสริมความรู้ในส่วนที่นักเรยี นขาดหรือยังไมเ่ ขา้ ใจใหก้ ับนกั เรียน 4. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 13 เรอื่ ง จังหวัดของเรา ข้นั สรปุ 1. นักเรียนและครูรว่ มกนั สรุปเกี่ยวกับเร่ือง ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะทางกายภาพท่ีก่อให้เกิดสถานท่สี ำคญั ต่าง ๆ และสถานทีส่ ำคญั ของจังหวัดท่นี ักเรียนอาศยั อยู่ 2. ครูแนะนำให้นักเรียนนำความรู้ทไ่ี ดเ้ รียนไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ย่างถกู ต้อง 9. การวัดและประเมนิ ผล วิธีการ เครื่องมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 13 แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 13 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการเรยี นของผูเ้ รียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี นของผเู้ รยี น ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มน่ั ในการ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดับคณุ ภาพ 2 ทำงาน ผา่ นเกณฑ์ 10. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ส่ือการเรยี นรู้  หนังสือเรียนรายวิชาพ้นื ฐาน สงั คมศึกษา ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4  แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 13 เรื่อง จังหวัดของเรา 2. แหล่งการเรยี นรู้  ห้องเรียน  อนิ เทอรเ์ น็ต

พ.น./วก. 02 โรงเรยี นวัดพชื นิมติ (คำสวัสด์ิราษฎร์บำรงุ ) แบบประเมินหนว่ ยการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 13 เร่ือง จงั หวัดของเรา เวลาท่ีใช้ 8 ชัว่ โมง รหสั วชิ า ส 14101 รายวิชา สังคมศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 ครผู ้สู อน นางสาวอัญชลี อนุ่ ทะยา กล่มุ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดับการประเมิน มีความสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสม 5 หมายถงึ มากสุดที่สดุ 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง นอ้ ย 1 หมายถงึ น้อยท่สี ุด ข้อ รายการประเมิน ระดับคะแนน ท่ี 54321 1 ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้น่าสนใจ กะทดั รัด ชัดเจน ครอบคลมุ เนอื้ หาสาระ 2 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู/้ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคม์ ีความเช่อื มโยงกันอยา่ งเหมาะสม 3 ความสอดคลอ้ งของสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั /ผล การเรยี นรู้ 4 ความสอดคลอ้ งของสาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดกับสาระการเรียนรู้ 5 ความเช่อื มโยงสัมพนั ธก์ ันระหว่างช่อื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวดั / ผลการเรียนรสู้ าระสำคญั /ความคดิ รวบยอดสาระการเรยี นรแู้ ละกจิ กรรมการเรยี นรู้ 6 กิจกรรมการเรยี นรสู้ อดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด/ผลการเรยี นรแู้ ละสาระการ เรยี นรู้ 7 กจิ กรรมการเรียนรู้มคี วามครอบคลมุ ในการพัฒนาผ้เู รยี นใหม้ คี วามรู้ทกั ษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 8 กิจกรรมการเรียนร้มู ีความเหมาะสมสามารถนำผูเ้ รยี นไปสกู่ ารสรา้ งชิ้นงาน/ภาระงาน 9 มีการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ัด/กจิ กรรม การเรยี นรู้ 10 ประเดน็ และเกณฑก์ ารประเมินสามารถสะทอ้ นคุณภาพผู้เรยี นตามมาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ 11 ส่อื การเรียนรู้ในแตล่ ะกจิ กรรม มคี วามเหมาะสมกับเวลาและการนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง 12 กำหนดเวลาได้เหมาะสมกบั กจิ กรรม และสามารถนำไปปฏบิ ัตจิ ริงได้ ขอ้ เสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................................. (.................................................................) ผ้ปู ระเมนิ

พ.น./วก. 03 โรงเรยี นวัดพืชนิมติ (คำสวัสดิ์ราษฎร์บำรุง) สรปุ ผลการประเมินหนว่ ยการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 13 เร่ือง จงั หวัดของเรา เวลาท่ีใช้ 8 ช่ัวโมง รหสั วิชา ส 14101 รายวิชา สงั คมศึกษา ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ครูผ้สู อน นางสาวอญั ชลี อ่นุ ทะยา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- แบบประเมนิ หนว่ ยการเรียนรู้ ซ่ึงเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) จำนวน 12 ข้อ มีระดับการประเมิน 5 ระดบั คือ 5 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชือ่ มโยง/เหมาะสม มากท่สี ุด 4 หมายถึง มีความสอดคลอ้ ง/เช่ือมโยง/เหมาะสม มาก 3 หมายถงึ มีความสอดคลอ้ ง/เช่ือมโยง/เหมาะสม ปานกลาง 2 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชอื่ มโยง/เหมาะสม นอ้ ย 1 หมายถึง มีความสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/เหมาะสม น้อยที่สุด ซ่ึงถอื เกณฑ์ในการแปลความหมายของคา่ เฉล่ีย ดังน้ี 4.50 – 5.00 หมายความวา่ มีความสอดคล้อง/เช่ือมโยง/เหมาะสม มากท่ีสดุ 3.50 – 4.49 หมายความวา่ มคี วามสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสม มาก 2.50 – 3.49 หมายความวา่ มคี วามสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสม ปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายความวา่ มีความสอดคล้อง/เช่อื มโยง/เหมาะสม น้อย 1.00 – 1.49 หมายความว่า มคี วามสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/เหมาะสม น้อยที่สุด คะแนนของผู้ประเมนิ คา่ การแปล ขอ้ ที่ รายการประเมิน คนท่ี คนท่ี คนที่ เฉลย่ี ความหมาย 123 1 ช่ือหน่วยการเรยี นรนู้ า่ สนใจ กะทัดรดั ชัดเจน ครอบคลุมเนอื้ หาสาระ 2 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วดั /ผลการเรยี นร/ู้ สมรรถนะสำคญั ของ ผเู้ รยี น และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคม์ คี วามเชอื่ มโยงกันอยา่ ง เหมาะสม 3 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดกับมาตรฐานการ เรียนรู/้ ตัวชวี้ ัด/ผลการเรียนรู้ 4 ความสอดคล้องของสาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดกับสาระการเรยี นรู้ 5 ความเชอ่ื มโยงสมั พนั ธก์ นั ระหว่างชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนร้สู าระสำคัญ/ความคิดรวบยอดสาระการ เรยี นรแู้ ละกิจกรรมการเรียนรู้ 6 กิจกรรมการเรยี นรสู้ อดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ดั /ผลการ เรียนรู้และสาระการเรยี นรู้ 7 กจิ กรรมการเรียนรู้มคี วามครอบคลมุ ในการพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีความรู้ ทักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น และคณุ ลกั ษณะอัน พงึ ประสงค์ 8 กจิ กรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมสามารถนำผเู้ รียนไปส่กู ารสรา้ ง ชน้ิ งาน/ภาระงาน

คะแนนของผปู้ ระเมนิ ค่า การแปล ข้อที่ รายการประเมนิ คนที่ คนที่ คนท่ี เฉลี่ย ความหมาย 123 9 มีการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วดั /กจิ กรรมการเรยี นรู้ 10 ประเดน็ และเกณฑ์การประเมินสามารถสะทอ้ นคุณภาพผู้เรยี นตาม มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั /ผลการเรยี นรู้ 11 สื่อการเรียนรู้ในแตล่ ะกิจกรรม มีความเหมาะสมกับเวลาและการนำไป ประยุกตใ์ ชไ้ ด้จรงิ 12 กำหนดเวลาไดเ้ หมาะสมกบั กจิ กรรม และสามารถนำไปปฏิบตั ิจริงได้ ภาพรวม สรปุ ผลการประเมิน  ผา่ น (ความสอดคล้อง/เช่อื มโยง/เหมาะสมตั้งแต่ระดบั ปานกลางขึ้นไป)  ผา่ น (ความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสมต่ำกว่าระดบั ปานกลาง) ลงชื่อ.................................................. (...................................................) ประธานกรรมการ ลงชือ่ .................................................. ลงชอ่ื .................................................. (...................................................) (...................................................) กรรมการ กรรมการ

พ.น./วก. 04 โรงเรียนวดั พืชนมิ ิต (คำสวัสด์ริ าษฎรบ์ ำรงุ ) แบบประเมินแผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 13 เร่อื ง จงั หวัดของเรา เวลาทใ่ี ช้ 8 ช่วั โมง รหสั วิชา ส 14101 รายวิชา สงั คมศึกษา ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ครูผสู้ อน นางสาวอญั ชลี อุ่นทะยา กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดบั การประเมิน 5 หมายถึง มคี วามเหมาะสมในระดับ ดมี าก 4 หมายถึง มคี วามเหมาะสมในระดับ ดี 3 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดบั พอใช้ 1 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดบั ปรับปรุง ข้อท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 54321 1 แผนการจดั การเรยี นร้สู อดคลอ้ งสมั พนั ธก์ ับหนว่ ยการเรียนรทู้ ่กี ำหนดไว้ 2 แผนการจดั การเรยี นรมู้ ีองค์ประกอบสำคญั ครบถ้วนสัมพันธ์กัน 3 การเขียนสาระสำคญั ในแผนถูกต้อง 4 จดุ ประสงค์การเรียนรู้มีความชัดเจนครอบคลุมเนื้อหาสาระ 5 กำหนดเนือ้ หาสาระเหมาะสมกบั เวลา 6 กิจกรรมการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกับจุดประสงคแ์ ละเนอื้ หาสาระ 7 กิจกรรมการเรยี นรสู้ อดคล้องกับจดุ ประสงค์และระดบั ช้ันของนกั เรียน 8 กจิ กรรมการเรยี นรู้มีความหลากหลายและสามารถปฏบิ ัตไิ ดจ้ ริง 9 กิจกรรมการเรยี นรเู้ ปน็ กจิ กรรมทีส่ ง่ เสรมิ กระบวนการคดิ ของนกั เรียน 10 กจิ กรรมการเรียนรสู้ อดคล้องแทรกคณุ ธรรมและคา่ นิยมที่ดงี าม 11 กิจกรรมการเรยี นรูเ้ นน้ ให้ผ้เู รียนมีส่วนร่วมในชั้นเรยี น 12 วสั ดอุ ปุ กรณ์ สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีมีความหลากหลาย 13 วสั ดุอปุ กรณ์ สอ่ื และแหล่งเรียนรูเ้ หมาะสมกับเน้ือหาสาระ 14 ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นค้นคว้าหาความรู้ จากแหลง่ เรียนรตู้ ่าง ๆ 15 มีการวดั และประเมินผลทส่ี อดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้

ขอ้ เสนอแนะ ดา้ นเนื้อหาสาระ....................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ดา้ นกจิ กรรมการเรียนการสอน................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ด้านการวดั และประเมนิ ผล...................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ดา้ นอน่ื ๆ (โปรดระบ)ุ ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... (ลงช่ือ)..................................................ผู้ประเมิน (.................................................) ............./.................../............. สง่ิ ทไี่ ดด้ ำเนินการแก้ไข ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... (ลงชอื่ )..................................................ผู้สอน (นางสาวอัญชลี อนุ่ ทะยา) ............./.................../............

พ.น./วก. 05 โรงเรยี นวัดพชื นิมติ (คำสวัสดริ์ าษฎร์บำรุง) สรปุ ผลการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 13 เรือ่ ง จังหวัดของเรา เวลาทใี่ ช้ 8 ช่ัวโมง รหสั วิชา ส 14101 รายวิชา สังคมศึกษา ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ครผู ู้สอน นางสาวอญั ชลี อุน่ ทะยา กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดับการประเมิน 5 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดับ ดมี าก 4 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดบั ดี 3 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดับ นอ้ ย 1 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดับ นอ้ ยมาก ซง่ึ ถอื เกณฑใ์ นการแปลความหมายของคา่ เฉลย่ี ดงั นี้ (ธานินทร์ ศลิ ปะจารุ. 2555:112) 4.50 – 5.00 หมายความว่า มีความเหมาะสมในระดบั ดีมาก 3.50 – 4.49 หมายถงึ หมายความวา่ มีความเหมาะสมในระดับ ดี 2.50 – 3.49 หมายถงึ หมายความวา่ มีความเหมาะสมในระดบั ปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายถงึ หมายความวา่ มคี วามเหมาะสมในระดบั นอ้ ย 1.00 – 1.49 หมายถงึ หมายความว่า มีความเหมาะสมในระดับ นอ้ ยมาก ขอ้ ท่ี รายการประเมิน คะแนนของผปู้ ระเมิน คา่ การแปล คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 เฉลี่ย ความหมาย 1 แผนการจดั การเรียนรูส้ อดคลอ้ งสัมพันธ์กับหน่วยการเรยี นรทู้ ี่ กำหนดไว้ 2 แผนการจดั การเรียนรมู้ ีองคป์ ระกอบสำคญั ครบถ้วนสัมพันธก์ ัน 3 การเขยี นสาระสำคัญในแผนถูกตอ้ ง 4 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้มคี วามชดั เจนครอบคลุมเนอื้ หาสาระ 5 กำหนดเนอ้ื หาสาระเหมาะสมกบั เวลา 6 กจิ กรรมการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกับจุดประสงค์และเน้อื หาสาระ 7 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์และระดับชน้ั ของ นกั เรียน 8 กิจกรรมการเรียนรมู้ คี วามหลากหลายและสามารถปฏิบัตไิ ด้จรงิ 9 กิจกรรมการเรยี นรเู้ ปน็ กิจกรรมทีส่ ่งเสรมิ กระบวนการคิดของ นกั เรยี น 10 กจิ กรรมการเรยี นรสู้ อดคล้องแทรกคณุ ธรรมและคา่ นิยมทดี่ ีงาม 11 กิจกรรมการเรียนรูเ้ นน้ ใหผ้ ู้เรยี นมีส่วนร่วมในช้ันเรยี น 12 วัสดอุ ุปกรณ์ สือ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยมี ีความหลากหลาย 13 วัสดุอปุ กรณ์ ส่ือ และแหล่งเรียนรู้เหมาะสมกับเน้อื หาสาระ 14 สง่ เสริมให้ผู้เรยี นคน้ คว้าหาความรู้ จากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ 15 มีการวัดและประเมินผลที่สอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์การเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ดา้ นเนอ้ื หาสาระ....................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ดา้ นกจิ กรรมการเรียนการสอน................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ดา้ นการวัดและประเมินผล....................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... สรปุ ผลการประเมิน  ผ่าน (มีความเหมาะสมตั้งแต่ระดับปานกลางขึ้นไป)  ผ่าน (ความเหมาะสมต่ำกวา่ ระดบั ปานกลาง) ลงชื่อ.................................................. (...................................................) ประธานกรรมการ ลงชื่อ.................................................. ลงชื่อ.................................................. (...................................................) (...................................................) กรรมการ กรรมการ

ภาคผนวก

กจิ กรรมการเรยี นการสอน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook