Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่มไฟล์กรอบการวิจัยปี 65 E-book

รวมเล่มไฟล์กรอบการวิจัยปี 65 E-book

Published by srirat ant, 2021-06-28 09:39:32

Description: รวมเล่มไฟล์กรอบการวิจัยปี 65 E-book

Search

Read the Text Version

สารบญั หน้า 1. สำนกั งำนกำรวจิ ัยแห่งชำตใิ นบทบำทของหนว่ ยบริหำรทนุ วิจยั และนวัตกรรม 1 2. แผนงำนเชงิ กลยทุ ธ์ด้ำนทนุ วจิ ยั ด้ำนวิทยำศำสตร์ วิจัย และนวตั กรรม (ววน.) 2 ภำยใต้กำรบรหิ ำรของสำนกั งำนกำรวิจยั แหง่ ชำติ (วช.) 3. รำยละเอียดของแผนงำน ประจำปงี บประมำณ 2565 3 4. กระบวนกำรบรหิ ำรทุนวิจยั และนวตั กรรมของสำนกั งำนกำรวิจัยแหง่ ชำติ (วช.) 4 5. กรอบกำรวจิ ัยและนวตั กรรม ประจำปงี บประมำณ 2565 P1-1-P17-5 แพลตฟอรม์ ที่ 1 การพฒั นากาลังคน ยกระดบั สถาบันความรู้ และระบบนเิ วศดา้ นวิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม  โปรแกรมท่ี 1 สร้างและผลติ กาลังคนดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม P1-1 - P1-3  โปรแกรมท่ี 5 สง่ เสรมิ การวิจยั ขัน้ แนวหนา้ และการวจิ ยั พนื้ ฐานทป่ี ระเทศไทยมี P5-1 – P5-6 ศกั ยภาพ แพลตฟอรม์ ที่ 2 การวิจยั และสร้างนวตั กรรมเพื่อตอบโจทยท์ า้ ทายของสังคม  โปรแกรมท่ี 7 แกไ้ ขปัญหาท้าทายและยกระดบั การพัฒนาอยา่ งย่ังยนื ดา้ น P7-1 – P7-24 ทรัพยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ มและการเกษตร  โปรแกรมที่ 8 รองรบั สังคมสงู วยั อยา่ งมีคุณภาพ P8-1 – P8-7  โปรแกรมที่ 9 แกไ้ ขปัญหาท้าทายและยกระดบั การพัฒนาอยา่ งย่ังยนื ดา้ นสงั คมและความ มั่นคงทุกมิติ  โปรแกรมท่ี 9a แกไ้ ขปญั หาท้าทายและยกระดับการพฒั นาอย่างย่ังยนื ดา้ นสังคมและ P9a-1 – P9a-13 ความมัน่ คงทกุ มติ ิ  โปรแกรมที่ 9b สง่ เสรมิ การวิจยั ด้านสงั คมและมนุษยอ์ ยา่ งรอบดา้ น P9b-1 – P9b-2 แพลตฟอร์มที่ 3 การวิจยั และสร้างนวตั กรรมเพือ่ เพ่ิมขีดความ สามารถในการแข่งขันพรอ้ มทัง้ ยกระดบั การพ่ึงพาตนเองในระดบั ประเทศ  โปรแกรม 10 ยกระดับความสามารถการแข่งขนั และวางรากฐานทางเศรษฐกิจเพ่อื การ พึง่ พาตนเองในระดบั ประเทศ  โปรแกรม 10a ยกระดับความสามารถการแขง่ ขันและวางรากฐานทางเศรษฐกิจ เพอื่ การ P10a-1 – P10a-6 พึง่ พาตนเองในระดับประเทศในอตุ สาหกรรมเปา้ หมายอนื่ ทไ่ี มใ่ ช่ เศรษฐกจิ ชวี ภาพ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น และเศรษฐกจิ สีเขียว (Non-BCG)  โปรแกรม 10b ยกระดบั ความสามารถการแขง่ ขันและวางรากฐานทางเศรษฐกจิ เพอ่ื การ P10b-1 – P10b-6 พงึ่ พาตนเองในระดบั ประเทศในเศรษฐกิจชวี ภาพ เศรษฐกจิ หมุนเวยี น และเศรษฐกิจสเี ขยี ว (BCG)  โปรแกรม 10c วิจยั และสร้างนวตั กรรมด้านวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ วทิ ยาการหนุ่ ยนต์ P10c-1 – P10c-3 ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ดจิ ทิ ัลเทคโนโลยี และเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั โปรแกรมที่ 16 ปฏิรูประบบการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม P16-1 – P16-3 โปรแกรมที่ 17 แก้ปญั หาวกิ ฤตเิ รง่ ด่วนของประเทศ P17-1 – P17-5 กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565

สานักงานการวจิ ัยแหง่ ชาตใิ นบทบาทของหน่วยบริหารทนุ วจิ ัยและนวตั กรรม สานกั งานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารทุนวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ วช.ได้วางแผนและพัฒนากลไกสาคัญ ในการสร้างองค์ความรู้และพัฒนานวัตกรรม เพ่ือขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ตามยุทธศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยมุ่งเน้นการได้ผลสาเร็จจากการวิจัยที่มุ่งสู่การแก้ไขปัญหาสาคัญ การพัฒนา ประสิทธิภาพระบบ การลดต้นทุนการผลิต และการเพิ่มคุณภาพชีวิต รวมทั้งการยกระดับขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ โดยมีกระบวนการท่ีเชื่อมโยงกับกรอบการวิจัยท่ีใช้จัดสรรทุน ประจาปีงบประมาณ 2565 ซึ่งเป็นไปตามทิศทางของสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ และ คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กสว.) พร้อมกับนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2563 – 2570 รวมทั้ง วช.ยังให้ความสาคัญกับการสนับสนุน แผนงานวิจัยและโครงการวิจัยท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และแผนหลักของประเทศ มุ่งเน้นการพัฒนาชุดข้อมูล งานวิจัยไปสู่การพัฒนานโยบาย ส่งต่อผลสาเร็จจากกระบวนการวิจัยและนวัตกรรมไปเป็นผลผลิตที่ใช้ในการ กาหนดเป้าหมายหลักและทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Objectives) รวมถึงประเด็นสาคัญ (Key Issues) ในการวางนโยบายด้านการวิจัยโดยเนน้ ความตอ้ งการของผู้ใช้ประโยชน์เป็นสาคัญ (Demand-driven) โดยในแตล่ ะ แพลตฟอรม์ และโปรแกรม วช.ได้สนับสนนุ แผนงานวิจัยและโครงการวิจัยท่ีมุ่งตอบเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ทสี่ าคัญ (Objectives and Key Results: OKRs) และนาผลสาเร็จจากการวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ประเทศในทกุ มติ ิ (ดร.วภิ ารัตน์ ดอี อ่ ง) ผู้อานวยการสานักงานการวจิ ัยแหง่ ชาติ มถิ ุนายน 2564 กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 1

















โปรแกรม 1 สรา้ งและผลติ กาลังคนด้านวทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม เป้ าหมาย (Objectives: O) O1.1 ใช้ความรู้ การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อให้ประเทศมีกาลังคนของระบบวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมรองรับการพฒั นาประเทศ ผลสัมฤทธทิ์ ่สี าคญั (Key Results: KRs) KR1.1.1 สัดสว่ นของบุคลากรดา้ นการวิจัยและพฒั นาตอ่ ประชากรเพิ่มข้ึน KR1.1.2 (สัดส่วนเพ่มิ ข้ึนเป็น 27 คนตอ่ ประชากร 10,000 คน) KR1.1.3 (เพอื่ ให้บรรลุ 30 คน ต่อประชากร 10,000 คน ในปี 2570) KR1.1.4 จานวนระบบประมาณการและวางแผนความต้องการกาลังคนของระบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมท่มี ีประสิทธิภาพและบรู ณาการของประเทศ (1 ระบบ) จานวนระบบในการสร้างและสนับสนุนเส้นทางอาชีพนักวิจัยและความต่อเน่ืองของการ วจิ ยั เพ่อื เพ่มิ จานวนนักวจิ ยั และพฒั นาเป็น 27 คนตอ่ ประชากร 10,000 คนของประเทศ (1 ระบบ) จานวนระบบและกลไกดึงดูดที่สนับสนุนการเคล่ือนย้ายบุคลากรวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ ทง้ั ในและตา่ งประเทศ เพอ่ื ใหเ้ กิดการถา่ ยทอดความรแู้ ละเทคโนโลยีของประเทศ (5 ระบบ) กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P1-1

แผนพัฒนานกั ประดิษฐ์และนักวจิ ัยรุ่นใหม่ KR1.1.1 สดั สว่ นของบคุ ลากรด้านการวจิ ยั และพฒั นาต่อประชากรเพิ่มข้นึ (สัดสว่ นเพ่มิ ขน้ึ เปน็ 27 คนตอ่ ประชากร 10,000 คน) (เพอื่ ให้บรรลุ 30 คน ตอ่ ประชากร 10,000 คน ในปี 2570) ผลผลิต นักประดิษฐ์และนักวิจัยรุ่นใหมท่ ี่มีความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ และศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมเพม่ิ ขน้ึ กรอบการสง่ เสรมิ และสนับสนุนการวิจยั และนวัตกรรม 1) การพัฒนากาลังคน นักประดิษฐ์และนักวิจัยรุ่นใหม่ ให้มีทักษะ ความรู้ และความสามารถด้าน วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม เพือ่ ประโยชน์ตอ่ วงการวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี องประเทศไทย 2) การผลักดันนักประดิษฐ์และนักวิจัยรุ่นใหม่ท่ีมีความพร้อมสู่เวทีการแข่งขันระดับชาติและ นานาชาติ กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P1-2

แผนงานโครงการตน้ แบบนกั ประดิษฐไ์ ทย นกั ประดิษฐ์โลก KR1.1.1 สดั ส่วนของบุคลากรด้านการวิจยั และพัฒนาตอ่ ประชากรเพิ่มขึ้น (สดั สว่ นเพม่ิ ขึน้ เป็น 27 คนต่อประชากร 10,000 คน) (เพอื่ ให้บรรลุ 30 คน ต่อประชากร 10,000 คน ในปี 2570) ผลผลิต 1) (ทีม) นกั ประดษิ ฐ์คณุ ภาพที่จะพัฒนาส่กู ารเป็นนวตั กร 2) ผลงานประดษิ ฐค์ ิดค้นถูกนาไปใช้ประโยชน์ในเชงิ พาณชิ ยแ์ ละเชงิ สาธารณะ กรอบการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การวจิ ัยและนวัตกรรม 1) การพัฒนาศักยภาพ (ทีม) นักประดิษฐ์ผ่านกลไกการสร้างทีมภายใต้การปรึกษาแนะนาของ นักประดษิ ฐ์ท่เี ป็นต้นแบบ 2) การผลักดันผลงานประดิษฐ์คิดค้นท่ีมีต้นแบบอยู่แล้วสู่การพัฒนาต่อยอดและใช้ประโยชน์เชิง พาณชิ ย์และเชงิ สาธารณะ 3) การสรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมือระหว่างนักประดิษฐภ์ ายในประเทศและต่างประเทศ กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P1-3

โปรแกรม 5 สง่ เสรมิ การวจิ ัยขนั้ แนวหน้าและ การวจิ ัยพนื้ ฐานท่ปี ระเทศไทยมศี ักยภาพ เป้ าหมาย (Objectives: O) O1.5 พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และเทคโนโลยี เพ่ือสร้างองคค์ วามรู้ ทเ่ี หมาะสมกับลักษณะเฉพาะของคนไทย สร้างโอกาสให้คนไทยเป็นเจ้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่ตอบสนองต่อโจทยท์ ้าทายในอนาคต ผลสัมฤทธิท์ ่สี าคัญ (Key Results: KRs) KR1.5.1 ร้อยละของผลงานวิจัย และองค์ความรู้จากการวิจัยข้ันแนวหน้า (Frontier research) ท่ีระบุว่าจะมีผลงานตีพิมพ์ ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีอยู่ใน ฐานข้อมลู นานาชาติ ในระดบั ควอไทลท์ ี่ 1-2 (รอ้ ยละ 60) KR1.5.2 รอ้ ยละของผลงานวิจัย และองค์ความรู้จากการวจิ ัยพื้นฐาน (Basic research) ที่ระบุว่าจะมี ผลงานตีพมิ พไ์ ด้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาตทิ ่ีอยู่ในฐานข้อมูลนานาชาติ ในระดบั ควอไทล์ที่ 1-2 (ร้อยละ 60) KR1.5.3 ร้อยละของผลงานวิจัย องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีระบุว่าจะมีผลงานตีพิมพ์ ในระดับชาติ ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ในฐานข้อมูลที่ได้รับการ ยอมรบั (ร้อยละ 100) KR1.5.4 ร้อยละของโครงการท่ีระบุว่าจะมีสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ได้ย่ืนขอจดสิทธิบัตรหรือ อนสุ ทิ ธิบตั รขององค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (รอ้ ยละ 70) KR1.5.5 รอ้ ยละท่ีเพ่ิมข้ึนของโครงการวิจัยรว่ มกับกลุม่ วิจัยสาคญั ของโลกหรือจานวนโครงการที่ได้รับ ทนุ วิจยั จากหนว่ ยงานให้ทนุ สาคัญของโลก (ร้อยละ 10) กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P5-1

แผนงานการสรา้ งเส้นทางอาชี พนักวิจยั และเสริมสร้างเกียรติภูมบิ ุคลากร และหนว่ ยงานวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม KR1.5.2 ร้อยละของผลงานวิจัย และองค์ความรู้จากการวิจัยพื้นฐาน (Basic research) ที่ระบุว่า จะมีผลงานตีพิมพ์ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล นานาชาติ ในระดับควอไทลท์ ่ี 1-2 (ร้อยละ 60) KR1.5.3 รอ้ ยละของผลงานวิจัย องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ระบุว่าจะมีผลงานตีพิมพ์ ในระดับชาติ ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติท่ีอยู่ในฐานข้อมูลท่ีได้รับการ ยอมรบั (รอ้ ยละ 100) KR1.5.4 ร้อยละของโครงการท่ีระบุว่าจะมีสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ได้ยื่นขอจดสิทธิบัตรหรือ อนุสิทธิบตั รขององคค์ วามรู้ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม (รอ้ ยละ 70) ด้วย วช. มีแผนงานสาหรับการส่งเสริมและสนับสนุนเพื่อสร้างเส้นทางอาชีพนักวิจัยและเสริมสร้าง เกียรติภูมิบุคลากรและหน่วยงานวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ใน 4 แผนงานหลัก ที่เป็นไปตามขั้นบันได อาชพี นักวิจยั ดงั น้ี 1. การพัฒนาและส่งเสรมิ นักวจิ ัยรนุ่ เยาว์ ประกอบดว้ ย 1) ทุนพฒั นาบัณฑติ ศึกษา ระดบั ปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอก 2) โครงการพฒั นานกั วิจยั และงานวจิ ัยเพ่อื อุตสาหกรรม (พวอ.) ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก 3) โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) 2. การพฒั นาและสง่ เสรมิ นักวิจยั รุน่ ใหม่ ประกอบด้วย 1) ทนุ อจั ฉริยภาพนกั วิจัยรุ่นใหม่ 2) ทุนพฒั นาเส้นทางอาชพี นักวิจัยร่นุ ใหม่ 3. การพฒั นาและส่งเสรมิ นักวจิ ัยรนุ่ กลาง ประกอบด้วย 1) ทนุ พัฒนานกั วิจยั รุ่นกลาง 2) ทุนอจั ฉรยิ ภาพนักวิจัยรนุ่ กลาง 4. การพัฒนาและส่งเสริมนกั วจิ ัยอาวโุ ส ประกอบด้วย 1) ทนุ ส่งเสรมิ กลุ่มวิจยั (เมธวี ิจัยอาวุโส) 2) ทุนศาสตราจารย์วจิ ัยดีเด่น ผลผลติ 1) ผลิตผ้ชู ่วยนักวิจยั ในระดับปริญญาโทและปรญิ ญาเอก ไม่น้อยกวา่ 250 คนต่อปี 2) ผลติ นักวจิ ยั รุ่นใหม่ และผู้ช่วยวจิ ยั สร้างทมี นกั วจิ ยั และพฒั นา ไม่นอ้ ยกวา่ 150 คนตอ่ ปี 3) ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ หรือนานาชาติ หรือจดสิทธิบัตร หรอื สามารถต่อยอด นาไปส่เู ชิงพาณิชย์ ไม่น้อยกว่า 500 เรอื่ ง กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P5-2

กรอบการวิจัยและนวัตกรรม โดยจัดสรรงบประมาณให้กับข้อเสนอการวิจยั ใน 6 กลุ่มสาขาตาม Organization for Economic Co-Operation and Development (OECD) ได้แก่ 1) กลุ่มสาขาวิศวกรรมและเทคโนโลยี (1) วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมด้านสถาปัตยกรรม วิศวกรรมและวิทยาศาสตร์ ด้านอาคาร วิศวกรรมด้านการก่อสร้าง วิศวกรรมด้านโครงสร้างและ เทศบาลนคร วิศวกรรมการขนส่งและวิชาอื่น ๆ ทีใ่ กลเ้ คยี งกนั (2) วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมสารสนเทศ วิศวกรรมไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (เฉพาะการพัฒนาฮาร์ดแวร์) การออกแบบหุ่นยนต์และการควบคุม แบบอัตโนมัติ เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม วิชาการบิน การผลิตด้วยเคร่ืองจักรและระบบควบคุม และ วิชาอน่ื ๆ ที่ใกลเ้ คียงกนั (3) วิศวกรรมเครื่องกล เครื่องกลโรงงาน กลศาสตร์ประยุกต์ เทอร์โมไดนามิกส์ การสร้าง ยานอวกาศ วิศวกรรมนวิ เคลยี ร์ วิศวกรรมด้านเสยี ง และวชิ าอื่น ๆ ทใี่ กลเ้ คียงกนั (4) วิศวกรรมเคมี วิศวกรรมเคมี (พืช, ผลิตภัณฑ์) วิศวกรรมว่าด้วยกระบวนการ ทางเคม-ี เคมภี ัณฑ์ อุตสาหกรรมเคมี และวชิ าอนื่ ๆ ที่ใกลเ้ คยี งกัน (5) วศิ วกรรมโลหะและวัสดุ โลหะและวัสดุ การวิเคราะห์ระบบโลหะกรรม เซรามิก การเคลอื บ และฟิลม์ วัสดุหลากองค์ประกอบอ่ืน ๆ พลาสติกเสริมความเหนียว เทคโนโลยีส่ิงทอและอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ยกเวน้ วสั ดชุ ีวภาพ จดั อยูใ่ นเทคโนโลยชี วี ภาพอุตสาหกรรม (6) วิศวกรรมการแพทย์ วิศวกรรมที่เกี่ยวข้องทางการแพทย์ เทคโนโลยีห้องปฏิบัติการ ทางการแพทย-์ วินจิ ฉยั โรค ยกเวน้ วัสดุชีวภาพ จัดอยใู่ น เทคโนโลยชี ีวภาพอตุ สาหกรรม (7) วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมที่เกี่ยวกับพื้นดิน, เหมืองแร่, การปรับแต่งแร่, ปโิ ตรเลียม, พลังงานและเชอื้ เพลงิ , การสารวจทรพั ยากรธรรมชาตโิ ดยใชด้ าวเทียมและอื่น ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง (8) เทคโนโลยีชีวภาพส่ิงแวดล้อม เทคโนโลยีชีวภาพส่ิงแวดล้อม การรักษาและการ วินิจฉัยโรคทางด้านชีวภาพ (DNA chips และอุปกรณ์ตรวจจับทางชีวภาพในการจัดการสิ่งแวดล้อม) จรยิ ธรรมกับเทคโนโลยชี วี ภาพส่ิงแวดล้อมและอื่น ๆ ที่เกยี่ วขอ้ ง (9) เทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหการ เทคโนโลยีเก่ียวกับชีวภาพ อุตสาหกรรมเทคโนโลยี การแปรรูปทางชีวภาพ กระบวนการเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ การหมักผลผลิตทางชีวภาพท่ีผลิตขึ้นโดยใช้ วัสดทุ างชวี ภาพเป็นวตั ถดุ บิ พลาสติกชวี ภาพ เชือ้ เพลงิ ชีวภาพ เคมภี ณั ฑ์จากชีวภาพ และวชิ าอ่ืน ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง (10)นาโนเทคโนโลยี วัสดุนาโน (การผลิตและคุณสมบัติ) กรรมวิธีทาง นาโนเทคโนโลยี ยกเวน้ วสั ดุชวี ภาพ (11)วิศวกรรมและเทคโนโลยอี นื่ ๆ อาหารและเครอ่ื งด่ืม วิศวกรรมและ เทคโนโลยอี น่ื ๆ กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P5-3

2) กลมุ่ สาขาวทิ ยาศาสตรธ์ รรมชาติ (1) คณิตศาสตร์ ทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ประยุกต์ สถิติและความนา่ จะเปน็ รวมถึง วิธีการทางสถติ ิ แต่ไมร่ วมถึงงานวิจัยเก่ียวกับสถิติประยกุ ต์ ซ่ึงควรจดั อยใู่ นสาขาที่เกยี่ วขอ้ ง เช่น เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา เปน็ ต้น (2) วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ (เฉพาะซอฟต์แวร์) วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาการสารสนเทศ และชวี สารสนเทศศาสตร์ (3) วิทยาศาสตร์กายภาพ ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ท่ัวไป (พ้ืนฐาน) ฟิสิกส์ประยุกต์ โมเลกุลและฟิสิกส์ เคมี ฟิสิกส์พลาสมา ฟิสิกส์ของไหล นิวเคลียร์ฟิสิกส์ กัมมันตภาพรังสี การแผ่รังสี แม่เหล็กไฟฟ้า การสะท้อน ของแม่เหล็กเกี่ยวกับเสียง แสง ความร้อน การควบแน่น ภาวะตัวนาย่ิงยวด เลนส์ (รวมถึงเลเซอร์แสงและ ควอนตมั แสง) ดาราศาสตร์ วทิ ยาศาสตรอ์ วกาศ (4) วทิ ยาศาสตร์เคมี เคมีอินทรยี ์ เคมีอนินทรยี ์ ชีวเคมแี ละเคมนี ิวเคลียร์ เคมีฟสิ ิกส์ พอลิเมอร์ เคมีอิเล็กทรอนิกส์ (เช่น เซลล์แห้ง แบตเตอรี่ เซลล์เช้ือเพลิง โลหะการกัดกร่อนด้วยกระแสไฟฟ้า การแยก สารประกอบเคมดี ว้ ยกระแสไฟฟา้ ) คอลลอยด์และเคมีวเิ คราะห์ (5) วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ชีววิทยา เซลล์วิทยา จุลชีววิทยา ไวรัสวิทยา ชีวเคมีและชีววิทยา โมเลกุล เห็ดราวิทยา ชีวฟิสิกส์ พันธุศาสตร์ พฤกษศาสตร์ แบคทีเรียวิทยา จุลชีววิทยา สัตววิทยา กีฏวิทยา ยกเวน้ วทิ ยาศาสตรเ์ กีย่ วกับการรักษาสตั ว์และคลินิก (6) วิทยาศาสตร์ส่ิงแวดล้อม วิทยาศาสตร์ด้านพ้ืนดิน-ธรณีวิทยาภูมิศาสตร์ กายภาพและวิชา เกี่ยวกับแร่ ฟอสซิล ปฐพีเคมี ธรณีฟิสกิ ส์อุตุนิยมวิทยา วิทยาศาสตร์ด้านบรรยากาศ-ภูมิอากาศ ภูมิศาสตร์ทาง ทะเล สมทุ รศาสตร์ อทุ กศาสตร์ ทรัพยากรนา้ และทีเ่ กย่ี วข้องกับส่ิงแวดล้อมอน่ื ๆ (7) วทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติอืน่ ๆ (วชิ าทใ่ี กลเ้ คียงกนั อนื่ ๆ) 3) กลมุ่ สาขาเกษตรศาสตร์ (1) เกษตรกรรม, ป่าไม้, ประมง สาขาวิชาการที่เก่ียวกับพืชไร่ พืชสวน ประมง ป่าไม้ อารกั ษ์ขาพืช และวิชาอนื่ ๆ เกี่ยวข้อง ยกเวน้ เทคโนโลยชี ีวภาพทางการเกษตร (2) สตั วศาสตร์ สตั วบาลและวชิ าว่าด้วยผลติ ภณั ฑน์ ม สัตวเ์ ลีย้ ง (3) สตั วแพทย์ศาสตร์ การรกั ษาพยาบาลสัตวใ์ นรูปแบบต่าง ๆ และอืน่ ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง (4) เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านการเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพทางด้าน การเกษตรและด้าน อาหาร เทคโนโลยจี เี อม็ (พชื ผลและปศุสตั ว์) การตัด ต่อพนั ธกุ รรมพืช การโคลนนิ่งทางปศุสัตว์ การคัดเลอื ก โดยใช้มาร์กเกอร์ช่วย การวินิจฉัย (การฝังชิป DNA และอุปกรณ์การตรวจหาโรค) โรคทางการเกษตร เทคโนโลยีการผลิตอาหารสัตว์จากชีวมวล การทาฟาร์มชีวภาพ จริยธรรมเก่ียวกับ เทคโนโลยีชีวภาพ ทางดา้ นเกษตรและทเ่ี ก่ยี วข้องอน่ื ๆ (5) วิทยาศาสตรท์ างด้านการเกษตรอืน่ ๆ ศาสตร์ทางการเกษตรท่ยี งั สรปุ ไม่ไดอ้ นื่ ๆ กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P5-4

4) กลุม่ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทยแ์ ละสขุ ภาพ (1) การแพทย์พื้นฐาน กายวิภาคและสัณฐานวิทยา (ยกเว้น พืช) พันธุศาสตร์มนุษย์ เภสัช วิทยาและเภสัชกรรม พิษวิทยา สรีรวิทยา รวมทั้งเซลล์วิทยา วิทยาศาสตร์ทางยาและสมุนไพร วิทยา ภมู คิ ้มุ กนั ประสาทวิทยา เคมคี ลินกิ จลุ ชีววิทยาคลนิ กิ พยาธิวทิ ยา (2) การแพทย์คลินิก สูติศาสตร์ (แพทย์ศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกับการดูแลการตั้งครรภ์ การคลอดลูก และภาวะหลังคลอด) นารีเวชน์วิทยา กุมารเวช ระบบหัวใจและหลอดเลือด โลหิตวิทยา วิสัญญีวิทยา ศัลยกรรม ทันตวิทยา รังสีวิทยา การบาบัดรักษา ผิวหนังวิทยา กามโรควิทยา เบาหวาน ระบบทางเดิน อาหาร ระบบสืบพันธุ์ มะเร็ง เน้ืองอก จักษุวิทยา จิตบาบัด ประสาทวิทยาคลินิก อายุรเวช แพทย์ทางเลือก และสาขาแพทยศ์ าสตรท์ ี่เก่ยี วข้องกับหู คอ จมกู และกล่องเสยี ง วิชาแพทยค์ ลนิ กิ อื่น ๆ (3) วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิชาและงานบริการดูแลสุขภาพ รวมถึงการบริหาร ในโรงพยาบาล การเงิน นโยบายและบริการด้านสุขภาพ การพยาบาล โภชนาการ สาธารณสุขศาสตร์และอนามัยสิ่งแวดล้อม เวชศาสตร์เขตร้อน ปรสิตวิทยา โรคติดต่อ ระบาดวิทยา อนามัยในอาชีพ วิทยาศาสตร์การกีฬาและ ที่เกี่ยวข้อง การแพทย์ชีวภาพด้านสังคม รวมท้ังการวางแผนครอบครัว อนามัยทางเพศ วิชาว่าด้วยการบาบัดรักษาเนื้องอก ทางจติ วิทยา ผลทางการเมือง และสังคมของการวจิ ยั ทางการแพทยช์ ีวภาพ จริยธรรมทางการแพทย์ (4) เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านการแพทย์ เทคโนโลยีชีวภาพท่ีเกี่ยวกับ สุขภาพ การจัดการ เซลล์-เนื้อเยื่อ-อวัยวะหรือร่างกาย (การสืบพันธุ์โดยใช้ วิธีทางการแพทย์ช่วย) เทคโนโลยีที่เก่ียวกับการระบุ การทาหน้าท่ีของ DNA โปรตีนและเอนไซม์ รวมทั้งการมีอิทธิพลต่อการเกิดโรค (การวินิจฉัยทางยีนส์ และ การบาบดั รักษา pharmacogenomics การรักษาทางยีนส์ วัสดุชีวภาพ (ที่เกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายทางการ แพทย)์ จริยธรรมทเ่ี ก่ียวกบั เทคโนโลยชี ีวภาพทางการแพทย์และวชิ าอืน่ ๆ ที่ใกลเ้ คยี งกนั (5) วิทยาศาสตรท์ างการแพทยอ์ ืน่ ๆ นติ ิวิทยาศาสตร์, นติ ิเวช และวิชาอนื่ ๆ ทีใ่ กล้เคยี งกนั 5) กลมุ่ สาขาสงั คมศาสตร์ (1) จิตวิทยา รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์-เคร่ืองจักร จิตวิทยา เฉพาะด้าน รวมถึง การบาบัดเพอ่ื การเรียนรู้ การพูด การไดย้ ิน การมองเหน็ และความพกิ ารทางกายภาพและจติ อนื่ ๆ (2) เศรษฐศาสตร์ เศรษฐมิติ ศาสตร์ที่ว่าด้วยเศรษฐกิจ แรงงานสัมพันธ์ ธุรกิจและการจัดการ และที่เก่ยี วขอ้ งอน่ื ๆ (3) ศึกษาศาสตร์ การศึกษาท่ัวไป รวมถึงการฝึกอบรม วิชาการสอน แบบวิภาษวิธี การศึกษา เฉพาะด้าน (ผทู้ ่มี ีความสามารถพิเศษ ผู้ทพ่ี ิการดา้ นการเรียนรู)้ และวชิ าอืน่ ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง (4) สังคมศาสตร์ มานุษยวิทยา สังคมและวัฒนธรรม และชาติพันธ์ุวิทยา ประชากรศาสตร์ หวั ขอ้ ทางดา้ นสงั คม (การศึกษาเก่ียวกับสตรีและเพศ หวั ข้อดา้ นสงั คม การศกึ ษาเกย่ี วกับครอบครัว) (5) นติ ศิ าสตร์ ศาสตร์ว่าด้วยกฎหมาย อาชญาวทิ ยา ทัณฑวทิ ยา และอนื่ ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง (6) รัฐศาสตร์ ศาสตรว์ ่าดว้ ยการปกครอง รัฐประศาสนศาสตร์ ทฤษฎอี งค์กร และอ่ืน ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง (7) ภูมศิ าสตร์ทางสังคมและเศรษฐกจิ ภูมศิ าสตรท์ างสังคมวัฒนธรรม และทางเศรษฐกิจ การวางผงั เมอื งและชนบท และอืน่ ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง (8) นิเทศศาสตร์และสื่อสารมวลชน วารสารศาสตร์ บรรณารักษ์ศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์ (เฉพาะทางสังคม) การสอื่ สารอื่น ๆ วชิ าการทาง สงั คมศาสตรอ์ น่ื ๆ และศาสตร์ทเ่ี กย่ี วข้องอน่ื ๆ (9) สังคมศาสตร์อ่นื ๆ กิจกรรมทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น สหสาขาวทิ ยาการ ระเบยี บวธิ แี ละประวัติศาสตร์ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั วชิ าในกลุ่มนี้ กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P5-5

6) กลมุ่ สาขามนษุ ยศาสตร์ (1) ประวัติศาสตร์และโบราณคดี ประวัติศาสตร์ การศึกษาเรื่องก่อน ประวัติศาสตร์และ ประวัติศาสตร์ พรอ้ มทง้ั สาขาวิชาการท่ีเก่ียวข้องกับ ประวัติศาสตร์ทใ่ี ห้ประโยชน์ เช่น การศึกษาจากเหรียญ ภูมศิ าสตรด์ ึกดาบรรพ์ การสืบเผา่ พนั ธ์ุ เป็นต้น (2) ภาษาและวรรณคดี ภาษาโบราณและสมัยใหม่และวรรณคดี ภาษาศาสตร์ วิชาทาง มนุษยศาสตรอ์ น่ื ๆ (3) ปรัชญา จริยธรรมและศาสนา รวมถึงประวตั ิความเป็นมาของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จริยธรรม เทววิทยา ศาสนศึกษา ยกเวน้ จริยธรรมในสาขายอ่ ยน้นั ๆ (4) ศิลปกรรม ประวัติศาสตร์ศิลป์ นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ ทัศนศิลป์ หัตถศิลป์ ศิลปะวิจารณ์ จิตรกรรม ประติมากรรม การออกแบบทางสถาปัตยกรรม ดนตรี ศิลปะการแสดง การละคร คติชนวิทยา ศึกษา งานเขียน การศึกษาเก่ียวกับภาพยนตร์ วิทยุและ โทรทัศน์ และศาสตร์อื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง ยกเว้นการ วจิ ัยทางศลิ ปะอน่ื ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ศาสนา เทววทิ ยา (5) มนษุ ยศาสตร์อ่ืน ๆ ทเ่ี กยี่ วข้องกับมนุษยศาสตร์ กจิ กรรมทางดา้ น ระเบยี บวธิ ีประวตั ิศาสตร์ และกิจกรรมทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ื่น ๆ ที่เกีย่ วข้องกบั วิชาในกลุ่มน้ี ทั้งนี้ มุ่งเน้นการสนับสนุนให้ผลิตบุคลากรที่มีความรู้เช่ียวชาญในกลุ่มสาขาท่ีขาดแคลน หรือสาขาเฉพาะทาง ได้แก่ - Disruptive technologies ในด้านการผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์ เคร่ืองมือชีวเภสัชภัณฑ์ อวัยวะทดแทน การผลิตอาหารเฉพาะบุคคล โดยวิธีท่ีทั่วโลกกาลังพัฒนาจากการพิมพ์ 3 มิติ หรือ 4 มิติ สู่การผลิตสมยั ใหมท่ ี่จะทาใหอ้ ุตสาหกรรมการผลิตเปลี่ยนแปลง ซ่ึงทาใหป้ ระหยดั และเปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม - Data Science (วิทยาศาสตร์เชิงข้อมูล) หรือ Data Analytics (ข้อมูลวิเคราะห์) เป็นสหสาขาวิชาซ่ึงต้องใช้ความรู้ท้ังคณิตศาสตร์ สถิติ คอมพิวเตอร์ วิศวกรรมอุตสาหการ เศรษฐศาสตร์ ธรุ กิจ เป็นต้น - Actuarial Science (วิทยาศาสตร์การประกัน) มีความสาคัญอย่างยิ่งในสถานการณ์ปัจจุบัน ท่ีเส่ียงต่ออุบัติการใหม่ ๆ เช่น การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ภัยอุบัติธรรมชาติ ฯลฯ เปน็ สหสาขาวิชาซ่งึ ต้องใช้ความรู้ทัง้ คณติ ศาสตร์ สถิติ การบัญชี คอมพิวเตอร์ ประชากรศาสตร์ สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ธุรกจิ การเงนิ การคลัง เป็นตน้ - Artificial intelligence (AI) เพื่อการพัฒนาแรงงานด้านปัญญาประดิษฐ์และดิจิทัล ทาให้เกิด กาลังคนป้อนตลาดแรงงานที่สามารถทางานโดยใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง (AI/Machine Learning) ได้ รวมถึงเทคโนโลยีอ่ืน ๆ ที่นาไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก (Assistive Technology) - Quantum สร้างทีมวิจัยท่ีมีความเป็นเลิศทางวิชาการสามารถรองรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี ควอนตมั หรอื ตอ่ ยอดเป็นผู้นาเทคโนโลยคี วอนตมั ในระดบั ประเทศอาเซียน กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P5-6



โปรแกรม 7 แกป้ ั ญหาทา้ ทายและยกระดบั การพฒั นาอย่างยัง่ ยนื ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม และการเกษตร เป้ าหมาย (Objectives: O) O2.7 ใช้ความรู้ การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อจัดการกับปัญหาท้าทายของประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม และการเกษตร และบรรลุเปา้ หมายการพัฒนาที่ยั่งยนื ผลสมั ฤทธิท์ ่สี าคญั (Key Results: KRs) KR 2.7.1 จานวนนวัตกรรม องค์ความรู้ และเทคโนโลยีใหม่ ที่ถูกสร้างเพื่อแก้ไขปัญหาและ/หรือ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หรือยกระดับการพัฒนาอย่างย่ังยืน เพ่ือตอบโจทย์ท้าทายด้าน ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม และการเกษตร (100 ชิน้ ) KR 2.7.2 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรมและนโยบายทีถ่ กู นาไปใช้ในทางปฏิบัติ เพื่อการ แกไ้ ขปัญหา หรือยกระดับการพัฒนาอย่างยงั่ ยนื เพ่ือตอบโจทย์ทา้ ทายด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และการเกษตร (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ถูกสร้างท้ังหมดใน 3 ปี คือ 2563 – 2565) KR 2.7.3 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมท่ีนาไปใช้ขยายผลต่อ ยอดจากโครงการต้นแบบหรือโครงการขนาดเล็ก ไปยังพ้ืนที่อ่ืน หรือกลุ่มเป้าหมายอ่ืน เพ่ือการ แก้ไขปัญหา หรือยกระดับการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพ่ือตอบโจทย์ท้าทายด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม และการเกษตร (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากโครงการต้นแบบหรือ โครงการขนาดเลก็ ทั้งหมดใน 3 ปี คอื 2563 – 2565) หมายเหตุ ระดับความพรอ้ มทางเทคโนโลยี (Technology Readiness Levels, TRL) เร่ิมจากระดับ 3 โดยคาดหวัง TRL ระดบั 4-7 หลังโครงการแล้วเสร็จ กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-1

แผนงานวจิ ยั และนวัตกรรมดา้ นการจดั การขยะและของเสยี เป้ าหมาย ลดขยะครัวเรือนลงร้อยละ 10 ต่อปี ลดขยะอุตสาหกรรมร้อยละ 10 ต่อปี และเพิ่ม อัตราการนาขยะจากทุกกระบวนการกลับมาใช้ข้ึนร้อยละ 10 ต่อปี โดยเปรียบเทียบ จากปีฐานของงานวิจัยนั้น ๆ (ปีฐาน คอื ปีกอ่ นการดาเนนิ งานของโครงการ) ผลผลิต 1) นโยบายและเคร่ืองมือการจัดการเพื่อการขบั เคล่ือนนโยบายท่ีเกี่ยวกับการจัดการขยะทุกประเภท บนบกและในทะเลใหส้ ามารถนาไปสู่การปฏบิ ัติไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 2) ต้นแบบนวัตกรรมทางสังคมและเทคโนโลยีเก่ียวกับการลดขยะ ให้เกิดต้นแบบการจัดการขยะ อย่างยัง่ ยืนแบบบรู ณาการ 3) แนวทางหรือต้นแบบธุรกิจต่อเน่ืองเพ่ือเติมเต็มระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน และสร้างเครือข่าย อจั ฉรยิ ะสู่ต้นแบบการจัดการของเสยี อยา่ งบูรณาการ 4) เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาขยะชุมชน ขยะพลาสติก ขยะอุตสาหกรรมและขยะจาก ภาคการเกษตรทั้งในระดบั พน้ื ทีแ่ ละในระดบั ประเทศ 5) แนวทางหรือต้นแบบการพัฒนาสือ่ สงั คมเพอื่ ขบั เคลื่อนเชงิ พฤตกิ รรมการลดขยะท่วั ประเทศ กรอบการวิจัยและนวตั กรรม 1) การจดั การขยะมูลฝอยชมุ ชน ประเด็นมงุ่ เน้น - การวางระบบจัดการขยะมูลฝอยชุมชน การผลิตและการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อม การถอดบทเรียน การกาหนดบทบาท รวมทั้งกฎระเบียบท่ีเกี่ยวข้อง โดยเน้นการจัดการขยะ มลู ฝอยชมุ ชนครบวงจร - การใช้กลไกทางกฎหมายและเศรษฐศาสตรใ์ นการขับเคลื่อนชุมชน Zero Waste - การลดการเกดิ ขยะมูลฝอยชมุ ชนโดยการเปลย่ี นพฤติกรรม - การจัดการ Food waste / Food loss และขยะทะเล - การจัดการขยะมูลฝอยชมุ ชนโดยระบบ Digital Technology 2) การจัดการของเสียอนั ตรายชมุ ชน ประเด็นม่งุ เนน้ - การวางระบบจดั การของเสยี อนั ตรายชุมชน การผลิตและการออกแบบผลติ ภัณฑ์ท่ีเปน็ มติ ร กับสิ่งแวดล้อม การถอดบทเรียน การกาหนดบทบาท รวมท้ังกฎระเบยี บท่ีเกี่ยวข้อง โดยเน้นการจัดการของเสีย อนั ตรายชุมชนครบวงจร - การใช้กลไกทางกฎหมายและเศรษฐศาสตร์ในการขับเคล่ือนการจัดการของเสียอันตราย ชมุ ชน - การพัฒนาระบบและกลไกการคัดแยก และการกาจดั ของเสียอันตรายชุมชน - การจดั การของเสยี อนั ตรายชมุ ชนนาเข้าจากต่างประเทศ กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-2

กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม 3) การจดั การกากของเสียอุตสาหกรรม ประเด็นมงุ่ เนน้ - การจัดการกากของเสียอุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบ การใช้ประโยชน์กากของเสีย อตุ สาหกรรม การแลกเปลยี่ นของเสยี อตุ สาหกรรมของโรงงาน การประยุกตใ์ ชห้ ลกั การเศรษฐกิจหมุนเวียน - การปรับปรุง/พัฒนาระบบสารสนเทศและกฎหมายการจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม (ระบบการติดตาม การประเมิน กฎระเบียบท่เี ก่ียวข้อง) 4) การจัดการมูลฝอยติดเช้อื ประเดน็ มงุ่ เนน้ - ระบบติดตาม ตรวจสอบ รายงาน และการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในแหล่งกาเนิดขนาดเล็ก และกระจายตัวโดยใช้ระบบ (Manifest Online) และระบบ GPS เช่น คลินิก สถานีอนามัย คลินิกและ โรงพยาบาลสัตว์ สถานเลย้ี งดูคนสูงอายหุ รือผูป้ ว่ ยติดเตยี ง และโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพ เปน็ ตน้ - การพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู และสารสนเทศมูลฝอยติดเชือ้ ท่ัวประเทศ - พัฒนานวัตกรรม วัสดุ บรรจุภัณฑ์ (ในการรวบรวม) เพื่อการป้องกันและกาจัดขยะติดเช้ือ (ทมี่ ตี น้ ทุนต่า และใช้ครงั้ เดียว) 5) การจดั การวัสดเุ หลือใช้ทางการเกษตร ประเด็นม่งุ เนน้ - การถอดบทเรียน Best Practice และ key success factors ของระบบการนาวัสดุเหลือ ใชก้ ลับมาแปรรปู ใช้ใหม่อยา่ งยั่งยนื รวมถงึ ความเป็นไปได้ในการกาหนดเป็นกฎระเบยี บในอนาคต - การพัฒนาระบบการลดปรมิ าณวัสดุเหลอื ใชท้ างการเกษตร - การใช้นวัตกรรม และ Digital technology ในการทาระบบ greening supply chain/ value chain 6) การบริหารจัดการของเสยี เชิงสงั คม/เชงิ พ้นื ที่ ประเด็นมุ่งเน้น - การสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ การตระหนักรู้ และการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะ ของทุกภาคส่วน เน้นการสร้างจิตสานึกและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมต้ังแต่ระดับเยาวชนเพ่ือให้เกิดการ ขับเคลื่อนทางสงั คม (Social movement) - การสรา้ งแรงจูงใจในการจัดการกลไกทางเศรษฐศาสตรแ์ ละกลไกทางสงั คม 7) การบริหารจดั การขยะเชิงนโยบาย ประเดน็ มุ่งเน้น - การสร้างระบบ กลไก เครือข่ายในการขับเคลอ่ื นศนู ยก์ าจัดขยะชุมชน - การพัฒนาและเช่ือมโยงระบบฐานข้อมูลผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน และ ภาคีเครอื ข่ายทุกภาคส่วน เพอื่ ใหเ้ กดิ การจัดการอยา่ งมีประสิทธภิ าพ - การพัฒนานโยบาย เคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตร์ และการสร้างกลไกทางกฎระเบียบและ ทางสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมรวมทั้งการเปล่ียนพฤติกรรม การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ และการใช้ Digital technology ในการจัดการขยะ กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-3

แผนงานวิจัยและนวัตกรรมด้าน Haze Free Thailand และปั ญหา PM2.5 เป้ าหมาย ลดการปลดปล่อย PM2.5 จากแหล่งกาเนิด และจานวนวันที่มีปริมาณ PM2.5 เกินค่า มาตรฐาน (50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) ลดลง ผลผลติ 1) แนวทาง/ต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมทางสังคม/ภูมิปัญญาชาวบ้าน/สื่อสังคมเพ่ือขับเคล่ือน เชงิ พฤติกรรมลด PM2.5 ทว่ั ประเทศ 2) นวัตกรรม และเทคโนโลยที ี่รวบรวมสังเคราะห์เพ่ือจัดการปัญหา PM2.5 3) แนวทางหรือแผนการสร้างการมีส่วนร่วมให้แหล่งกาเนิด PM2.5 ลดลง โดยมีนวัตกรรมเพื่อลดและ จดั การ PM2.5 4) แนวทางหรือแผนปฏิบตั ิเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมให้ปริมาณ PM2.5 จากแหลง่ กาเนดิ ลดลงร้อยละ 50 5) ระบบหรือกลไกการจัดการของเสยี ภาคเกษตรเพื่อลดการเผา 6) ระบบและกลไกในการลดการเผาในพื้นท่ีปา่ อนุรักษ์และพื้นทีป่ ่าสงวน รวมทัง้ พ้นื ท่ีปา่ อื่น ๆ ท่ีรัฐดูแล กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม 1) การพยากรณ/์ คาดการณป์ ริมาณ PM2.5 ประเด็นมุง่ เนน้ - ปัจจัยทางอุตุนิยมวิทยาที่มีผลต่อการกระจายตัวของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพ้ืนทต่ี ่าง ๆ - การพยากรณ์/คาดการณ์ปรมิ าณ PM2.5 2) การลด PM2.5 จากแหล่งกาเนิด ประเดน็ ม่งุ เนน้ - การลดปัญหา PM2.5 จากแหล่งกาเนดิ ประเภทต่างๆ และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา PM2.5 เชิงพ้ืนที่ ไดแ้ ก่ แหล่งกาเนิดจากภาคอุตสาหกรรม แหล่งกาเนิดจากภาคการจราจร และแหลง่ กาเนิด ในพืน้ ทปี่ ่า พื้นท่ีเกษตร หรอื แหล่งกาเนดิ PM2.5 ทุตยิ ภูมิ - การพัฒนาการผลิตอุปกรณ์และเครื่องมือกล และกลไกการผลิตทางการเกษตรในประเทศ เพอื่ ลดการเผาทางการเกษตร - การประยุกต์ใช้เคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตร์ในการเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การชดเชยมูลค่า ระบบนิเวศบริการ (Payment for Ecosystem Services (PES)) - การจดั ระเบียบการเผาท่ีไดร้ ับการยอมรบั กับทุกภาคสว่ น และลดผลกระทบ PM2.5 3) การบรรเทาปัญหา PM2.5 ทั้งด้านเศรษฐกิจสังคม สงิ่ แวดล้อม ระบบนิเวศและสขุ ภาพ อนามัย ประเดน็ มุ่งเน้น - แนวทางการฟื้นฟูป่าเพื่อลดการเกิดและการลุกลามของไฟป่า เพื่อเป็น buffer zone และ เพิ่มพืน้ ท่สี เี ขยี ว นวัตกรรมการใชพ้ ชื - การวิเคราะห์ความเป็นไปได้และความเหมาะสมในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการบาบัด ฝนุ่ PM2.5 ในบรรยากาศ และการควบคมุ มลพิษจากแหลง่ กาเนดิ - Safe zone ในพื้นที่ที่มีความอ่อนไหว ท้ังใน indoor/outdoor เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล บา้ นพกั คนชรา เป็นต้น และนวตั กรรมในการป้องกนั ตนเองจากมลพษิ ทางอากาศ กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-4

กรอบการวจิ ัยและนวัตกรรม 4) การสรา้ งความรบั รขู้ องประชาชน ประเด็นม่งุ เนน้ - การวิจัยเชิงลึกด้านพฤติกรรม การสื่อสาร ในพื้นท่ีท่ีมีการเผาต่อเน่ืองและเป็นสาเหตุ ของการเกิดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) รวมท้ังการถอดบทเรียนเชิงวิทยาศาสตร์และ พฤตกิ รรมในพนื้ ทีป่ ลอดการเผา หรอื ในพน้ื ที่เผาซ้าซาก - การวิจัยเชิงพฤติกรรมของแหล่งกาเนิดท่ีทาให้เกิดไฟป่าในพ้ืนท่ีป่า(ป่าอนุรักษ์/ป่าสงวน) ในการรกุ พื้นท่ี 5) การบรหิ ารจัดการ PM2.5 ประเด็นมุ่งเน้น - การบริหารจัดการเชิงนโยบาย การควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา PM2.5 เชิงพื้นที่ เชิง กิจกรรม หรือชมุ ชน การถอดบทเรียนระดบั พืน้ ท่ีท่ปี ระสบความสาเรจ็ เพือ่ ขยายผลและปรับปรุงกฎระเบียบท่ี เก่ียวขอ้ ง - การบรหิ ารจดั การบนฐานการประเมินมาตรการทางเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมจากทางเลอื กต่าง ๆ - การสร้างภมู ิคมุ้ กันทางธรรมชาติ การต่อยอดภมู ิปญั ญาท้องถ่ินในการรองรับปัญหาในระยะยาว - การพัฒนามาตรฐาน PM2.5 Air Quality Health Index ซึ่งพิจารณาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพท่ีเหมาะสมกับประเทศไทย รวมทั้งพิจารณาเร่ืองเทคโนโลยี และปรับปรุงกฎระเบียบต่าง ๆ ท่เี กีย่ วข้อง - แนวทางแก้ไขปัญหาและผลกระทบมลพิษ PM2.5 ข้ามพรมแดน (Trans boundary haze pollution) กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-5

1แผนงานวิจัยด้านการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ แผนงานวจิ ัยและนวัตกรรม ดา้ นการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เป้ าหมาย ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 20 - 25 ในปี 2573 เทียบกับกรณีปกติ โดย เพ่ิมสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียน ร้อยละ 30 ในปี 2579 และลดความเข้มการใช้ พลงั งานลงรอ้ ยละ 30 ในปี 2579 เทียบกับ ปี 2553 ผลผลติ 1) นโยบาย แนวทาง มาตรการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงาน ของภาคส่วนทเี่ กีย่ วขอ้ ง 2) ข้อเสนอแนะ แนวทาง มาตรการในการสร้างขีดความสามารถของประชาชนในการรับมือและ ปรับตัว เพื่อลดความสูญเสียและความเสียหายจากภัยธรรมชาติและผลกระทบท่ีเก่ียวข้องกับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศในภาคส่วนตา่ ง ๆ กรอบการวิจยั และนวตั กรรม 1) การบรู ณาการการปรับตวั ตอ่ ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ประเด็นม่งุ เน้น - การประเมินผลประโยชน์ร่วมระหว่างการลดก๊าซเรือนกระจกและการปรับตัวฯ ตามกรอบ ข้อตกลงระหว่างประเทศต่อประเทศไทยในด้านต่าง ๆ (อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง ภมู ิอากาศ ความตกลงปารีส ฯลฯ) และการวิเคราะห์และประเมินข้อตกลงและผลของการเจรจาใหม่ ๆ เช่น Koronivia Joint Work on Agriculture - การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการคาดการณ์ผลการเปล่ียนสภาพภูมิอากาศต่อ ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบเตือนภัย และระบบติดตามการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และข้อเสนอเชิง วธิ ีการป้องกนั ผลกระทบเหลา่ น้ี - แนวทางการปรับตัว การวิเคราะห์ความอ่อนไหวของพ้ืนที่ และการใช้นวัตกรรมและ ต่อยอดภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ เพ่ือรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศและการแปรปรวนของสภาพอากาศ ตอ่ ภาคสว่ นต่าง ๆ - การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตปัจจัย 4 และการประยุกต์ใช้ทฤษฎี เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อรองรับการปรบั ตวั ตอ่ การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและการแข่งขนั เชิงธุรกิจ 2) การลดก๊าซเรือนกระจกและเปา้ หมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การลดกา๊ ซเรอื นกระจก และส่งเสรมิ การเติบโตท่ีปล่อยคาร์บอนตา่ ประเดน็ มุง่ เน้น - แนวทาง รปู แบบ และกลไกในการส่งเสริมและสนับสนนุ การลดก๊าซเรือนกระจกในทุกภาคส่วน - การพฒั นา ค่าสมั ประสิทธกิ์ ารปล่อย (Emission Factor) จากแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทีส่ าคัญของไทย กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-6

กรอบการวจิ ัยและนวัตกรรม - กลไกการลดก๊าซเรือนกระจกให้เพ่ิมขึ้นจากเป้าหมายของประเทศที่เสนอไว้ในความตกลง ปารีส และเป้าหมายอื่นๆท่ีจะตามมา รวมท้ังการประเมินศักยภาพขงประเทศไทยท่ีจะดาเนินการได้จาก กจิ กรรมตา่ งๆ ตามเป้าหมาย การพัฒนาทีย่ ั่งยืน ปี ค.ศ. 2030 และ ปี ค.ศ. 2050 - การพฒั นา Low Carbon Technology และกิจกรรมการลดกา๊ ซเรอื นกระจก - มาตรการทางกฎหมาย มาตรการจูงใจ และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในกระบวนการ ผลิตของภาคสว่ นตา่ ง ๆ เพื่อลดการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกท้งั ธรุ กจิ และอตุ สาหกรรม - การประเมินศกั ยภาพการลดกา๊ ซเรือนกระจกโดย Blue Carbon - การศึกษา Co-benefits ของ air pollution control mitigation การใช้วัสดุทดแทน วัสดุ แปรใช้ใหม่ (Recycle) ในภาคอุตสาหกรรมก่อสร้าง และผลกระทบในภาคธุรกิจ และภาคอ่ืนๆ ในการ ดาเนนิ การมาตรการท่กี าหนดไว้ กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-7

2แผนงานวจิ ยั ดา้ นการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ แผนงานวจิ ัยและนวัตกรรม ด้านอตั ราการสญู เสียแหลง่ ท่อี ยู่อาศัยตามธรรมชาติ เป้ าหมาย อัตราการสูญเสียแหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ รวมทั้งพ้ืนท่ีป่าไม้และพื้นท่ีทางทะเล และชายฝัง่ ลดลง ร้อยละ 50 จากปีฐาน 2557 ผลผลติ 1) แนวทางหรือแผนการเพ่ิมพื้นท่ีป่าเพื่อการอนุรักษ์ร้อยละ 35 และพื้นท่ีป่าเศรษฐกิจเพื่อการใช้ ประโยชนร์ ้อยละ 15 2) ฟ้ืนฟูความสมบูรณ์ของระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่งเพิ่มข้ึน มีดัชนีคุณภาพมหาสมุทร ไม่ต่า กว่า 70 คะแนน ในพื้นท่เี ปา้ หมาย 3) การจดั การ การปอ้ งกนั ฟนื้ ฟู และอนรุ กั ษช์ นิดพนั ธุ์และประชากรของสิ่งมีชวี ติ ทถี่ ูกคุมคาม กรอบการวจิ ยั และนวัตกรรม 1) การจดั การ ปอ้ งกัน ฟนื้ ฟู และอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ง้ั ทางทะเลและทางบก ประเดน็ มุ่งเน้น - วิจัยเพ่ือให้พันธ์ุพืช พันธ์ุสัตว์พ้ืนถ่ินกลับมาเจริญเติบโตเพียงพอต่อความอุดมสมบูรณ์และ ความหลากหลาย สามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ดส้ งู สดุ บนพ้ืนฐานการพฒั นาท่ยี ั่งยืน - การสร้างนวัตกรรมเพ่ืออนุรักษ์ทรัพยากรและลดการสูญเสียแหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ ในพืน้ ทปี่ ่าไม้ ปา่ ชายเลน พ้ืนท่ชี ุม่ น้า แหล่งหญ้าทะเล ปะการงั และพ้นื ที่นอกชายฝง่ั - การวเิ คราะหแ์ นวโนม้ การเปล่ยี นแปลงระดบั น้าทะเล 2) การจดั การและคมุ้ ครอง รวมทง้ั การสรา้ งสมดุลระบบนิเวศท้ังทางทะเลและทางบก ประเด็นมงุ่ เน้น - การวิจยั เพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศและฐานทรัพยากรธรรมชาติท่ีอยู่ในภาวะเสี่ยงหรอื ภาวะวิกฤต หรือในพ้ืนท่ีวิกฤต พร้อมกาหนดมาตรการสาหรับพื้นที่ที่มีความอ่อนไหวหรือความเปราะบางเพื่อลด ผลกระทบทอ่ี าจเกิดขน้ึ - การวิจัยความเชื่อมโยงของระบบนิเวศ : ดิน น้า ปา่ คน เพ่อื การอยู่แบบพึ่งพาอาศัยรว่ มกัน อยา่ งสมดลุ - การสรา้ งระบบและกลไกในการเพม่ิ พื้นทีป่ า่ อนรุ ักษ์และพ้ืนท่ีปา่ เศรษฐกิจ - การจดั การและบรหิ ารพืน้ ท่ีป่าเพอ่ื ลดผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 3) การรับมือภยั พบิ ตั ิ ประเดน็ มงุ่ เน้น - การศึกษาแนวโน้มภัยพิบัติในอดีต เพ่ือให้เข้าใจลักษณะของพ้ืนที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัย พิบัติ (exposure) วัฏจักร ผลกระทบและภัยธรรมชาติต่าง ๆ ที่ได้เคยเกิดขึ้นมาแล้ว รวมท้ังสามารถ คาดการณแ์ นวโนม้ การเกิดภยั พิบัติที่คาดวา่ จะเกดิ ในอนาคต - การสรา้ งเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมเตือนภัยเพอ่ื การรับมือกับภยั พิบตั ิ - วิธีการ แนวทางที่มีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลสูงในการสร้างความรู้ความตระหนัก ความพร้อม ในการรบั มอื ในพน้ื ท่แี ละชมุ ชนกลมุ่ เส่ยี ง รวมถึงความพร้อมในการฟืน้ ฟูพนื้ ท่ีกลับสู่สภาพเดิม - การจดั การความเส่ยี งและลดผลกระทบในพ้ืนทเ่ี สยี่ งภยั พบิ ตั ิ กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-8

แผนงานวจิ ยั และนวัตกรรมดา้ นเศรษฐกจิ สีน้าเงิน เป้ าหมาย - อตั ราการสูญเสียแหล่งท่ีอยอู่ าศยั ตามธรรมชาติ รวมท้ังพื้นที่ป่าไม้และระบบนเิ วศทาง ทะเลลดลง ร้อยละ 50 จากปฐี าน 2557 - ฟ้ืนฟูความสมบูรณ์ของระบบนิเวศทางทะเลและชายฝ่ังเพิ่มขึ้น เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม โดยมดี ัชนคี ุณภาพมหาสมทุ รของประเทศไมต่ ่ากว่า 70 คะแนนในพน้ื ท่ีเป้าหมาย ผลผลิต 1) นโยบายและเครื่องมือด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านเศรษฐศาสตร์ เพื่อนาไปสู่การจัดการกิจกรรม และฐานทรัพยากรทางทะเลอย่างยง่ั ยืน 2) เทคโนโลยี นวัตกรรม เพอ่ื ให้เกิดกิจกรรมเศรษฐกจิ จากฐานทรัพยากรทางทะเลอย่างย่ังยืน 3) เทคโนโลยี นวัตกรรม เพ่ือทาให้ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งได้รับการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู สร้างใหม่ และใชป้ ระโยชนอ์ ย่างเหมาะสม เพื่อสนับสนุนเศรษฐกจิ จากฐานทรัพยากรทางทะเลอย่างย่ังยืน กรอบการวจิ ัยและนวัตกรรม 1) การเสริมสร้างความพร้อมของรากฐานความรู้และข้อมูลทเี่ ป็นองค์ประกอบจาเป็นต่อการ พฒั นานโยบายและยุทธศาสตร์ทางทะเล ประเดน็ มุง่ เนน้ - การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้อันเป็นพ้ืนฐานท่ีจาเป็นในการพัฒนานโยบายทางทะเล ในส่วนทเ่ี ก่ียวข้อง - การวิจัยและพัฒนาดัชนีคุณภาพมหาสมุทร (Ocean Health Index) ระดับต่างๆ ที่เหมาะสม กับประเทศไทย (ซึ่งครอบคลุมทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม ท่ีเหมาะสมกับประเทศ ไทย รวมทง้ั พิจารณาเรื่องเทคโนโลยีและปรบั ปรุงกฎระเบียบต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง) - การวิจัยและพัฒนาเพื่อการวางแผนเชิงพื้นที่ทางทะเล (Marine Spatial Planning; MSP) ในระดบั ต่าง ๆ เพื่อนาไปส่กู ารใชป้ ระโยชน์อยา่ งยงั่ ยนื 2) การเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจภาคทะเล ติดตามแนวโนม้ ความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เพ่ือแสวงหา โอกาสทางเศรษฐกิจ การลงทุน และลดความเส่ยี งทม่ี ีผลตอ่ เศรษฐกิจภาคทะเล ประเด็นมุง่ เน้น - การเพม่ิ ผลิตภาพทางทะเล (Productivity) เพื่อสนบั สนุนการขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ สีน้าเงิน - การพัฒนาและสง่ เสริมกิจกรรมเศรษฐกิจภาคทะเลอยา่ งย่ังยืน เช่น การทอ่ งเที่ยวทางทะเล ที่ใช้ประโยชน์จากทะเลบนพื้นฐานศักยภาพการรองรับของพื้นท่ี (Carrying Capacity) และการเพาะเลี้ยง นอกชายฝ่งั เปน็ ต้น 3) การรกั ษาทนุ ธรรมชาติทางทะเลและชายฝั่ง : พัฒนาและสง่ เสรมิ ภาคส่วนท่ีมศี ักยภาพสูง ประเด็นมุ่งเน้น - การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมในการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู อนุรักษ์ สร้างใหม่และใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรทางทะเลเพอ่ื ความยั่งยนื - การวิจยั บทบาทในการกกั เก็บคารบ์ อนของระบบนเิ วศต่าง ๆ ทางทะเล - การวจิ ัยความเสี่ยงหรอื โอกาสสญู เสยี ทรพั ยากรทางทะเล กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-9

แผนงานวิจยั และนวัตกรรมด้านพลังงานอนาคตและพลังงานทางเลอื กเพ่ือชุมชน เป้ าหมาย ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 20 - 25 ในปี 2573 เทียบกับกรณีปกติ โดยเพ่ิม สัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียน ร้อยละ 30 ในปี 2579 และลดความเข้มการใช้ พลังงานลงร้อยละ 30 ในปี 2579 เทยี บกับ ปี 2553 ผลผลติ 1) เทคโนโลยี นวัตกรรม และกระบวนการในการพัฒนาความสามารถในการผลิตและบริหาร จัดการพลงั งานอย่างมีประสิทธิภาพ 2) กลไก/ระบบการจัดการพลงั งานทัง้ ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) ทเ่ี ปน็ มิตรกับ ส่งิ แวดล้อม 3) เครือขา่ ยการจัดการพลังงานแบบบูรณาการจากการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคสว่ น 4) ข้อมูลทางวิชาการที่มีความแม่นยาและน่าเช่ือถือเพื่อใช้ประกอบการกาหนดนโยบาย รวมทั้งการ ปรับปรุง/เพมิ่ เติม กฎกระทรวง กฎระเบียบ พ.ร.บ. กรอบการวิจยั และนวตั กรรม 1) การวิจยั และพฒั นาแหลง่ และศกั ยภาพพลงั งานหมุนเวยี น/พลงั งานทดแทน ประเด็นมุ่งเน้น - การพัฒนาศักยภาพพลังงานลม (Wind Energy) พลังน้าขนาดเล็ก (Small Hydropower) พลังงานจากชีวภาพ (Bioenergy) และพลงั งานจากขยะ (Waste to Energy) - การพฒั นาพลงั งานระดับชุมชนเพือ่ ใหเ้ กดิ พลงั งานชมุ ชนหรือโรงไฟฟ้าชมุ ชน - การใช้สมาร์ทเทคโนโลยี เช่น GIS AI ในการจัดการแหล่งพลังงานในระดับพ้ืนท่ีเพื่อให้เกิด ความคุ้มทุนทางเศรษฐศาสตร์ (จากชีวมวล การปลูกไม้โตเร็ว ขยะ และศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าจาก พลงั งานเหลา่ น)ี้ - การสร้างเครือข่ายการจัดการพลังงานแบบบูรณาการจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน รวมท้ังการสร้างความเข้าใจและการสร้างสาธารณประโยชนต์ ่อสังคมและชุมชน 2) การวิจัยและนวัตกรรมประสทิ ธิภาพพลังงาน ประเด็นมุ่งเน้น - เพิ่มประสทิ ธิภาพพลงั งาน (Energy Efficiency Improvement) ในภาคอุตสาหกรรม ภาค พาณิชย์ ท่ีอยู่อาศัย ภาคขนส่ง และภาคเกษตรกรรม โดยใช้สมาร์ทเทคโนโลยีในการบริหารจัดการพลงั งาน เช่น block chain เป็นต้น - การศึกษาความคุ้มค่าด้านเศรษฐศาสตร์พลังงาน และเศรษฐศาสตร์ส่ิงแวดล้อมใน เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น ยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicles) แบตเตอร่ี Battery Pack/Repack รวมทั้ง ระบบ Battery Management System (BMS) และระบบอดั ประจุแบตเตอร่ี (Battery Charging Systems) 3) การวิจัยเชิงนโยบายและมาตรการเชงิ เศรษฐศาสตร์พลงั งานและสิ่งแวดล้อม ประเด็นมุ่งเน้น - การวิจัยเชิงเศรษฐกิจของศักยภาพพลังงานหมุนเวียน และพลังงานทดแทน เช่น indirect benefit / เศรษฐศาสตร์พลังงาน และเศรษฐศาสตรส์ ่ิงแวดล้อม - การวิจัยเชงิ นโยบายระดับภาค ระดบั ภมู ิภาค (Regional policy) จนถงึ ระดับชมุ ชน กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-10

แผนงานวจิ ยั และนวตั กรรมดา้ นการบริหารจัดการทรัพยากรน้าอยา่ งมนั่ คง เป้ าหมาย ลดความเสี่ยงหรือความเสียหายจากการขาดแคลนน้า อุทกภัย และน้าไม่มีคุณภาพลง ร้อยละ 50 ผลผลิต 1) แนวทาง/มาตรการในการดาเนนิ การเพอ่ื เพิ่มประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การนา้ ของประเทศ 2) ต้นแบบที่สนับสนุนการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการประหยดั น้า การจัดการน้าเสีย การนาน้าเสียกลบั มา ใช้ประโยชน์ 3) กลไกในการสนับสนุนการดาเนินงานร่วมกันในการจัดการทรัพยากรน้าในระดับพื้นท่ีระหว่าง ภาควิชาการ ชุมชน และหน่วยงานภาครฐั 4) พัฒนาระบบ และสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารจัดการน้าใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ และเปน็ รูปธรรม 5) แนวทางการปฏบิ ตั ิการบรหิ ารจัดการนา้ แบบบรู ณาการในพนื้ ที่เมอื ง/พน้ื ทล่ี ุ่มน้า/พนื้ ที่พิเศษท้งั ใน และนอกเขตชลประทาน 6) แนวทางในการป้องกนั ภัยพิบตั ทิ างนา้ ในพ้ืนท่ีเกดิ ภยั พบิ ัตซิ ้าซาก กรอบการวิจยั และนวตั กรรม 1) การสรา้ งความมน่ั คงของน้าภาคการผลิต ประเดน็ ม่งุ เนน้ - การปรับปรุง และพัฒนาแหล่งเก็บกักน้าและระบบส่งน้าให้เต็มศักยภาพให้พ้ืนที่ และเพ่ิม ประสทิ ธภิ าพ/ผลิตภาพการใช้นา้ - แนวทางหรือต้นแบบการสร้างความสามารถในการแข่งขันและด้านการสร้างโอกาสและ ความเสมอภาคทางสงั คมเพือ่ ยกระดบั ผลติ ภาพดา้ นนา้ ท้งั ระบบ 2) การจดั การคุณภาพและอนุรกั ษท์ รัพยากรน้า ประเด็นมุ่งเนน้ - การปรับปรุง พัฒนา และเพ่ิมประสิทธิภาพระบบรวบรวม และระบบบาบัดน้าเสยี รวมของ ชมุ ชน รวมท้งั การนานา้ ทิง้ กลบั มาใช้ใหม่ - การบรหิ ารจัดการนา้ เสีย เพอื่ แก้ไขปญั หาน้าเสยี ในพน้ื ท่วี กิ ฤต/พ้ืนทแี่ หลง่ ท่องเทย่ี ว - แนวทางปฏิบัติหรือแผนการอนุรักษ์ รักษา และฟื้นฟูระบบนิเวศแม่น้า ลาคลอง แหล่งน้า ธรรมชาติ พน้ื ท่ชี มุ่ น้า 3) การอนุรกั ษ์ ฟื้นฟสู ภาพปา่ ตน้ น้าทเี่ สอ่ื มโทรม และป้องกนั การพังทลายของดิน ประเดน็ มุ่งเนน้ - นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและสังคมในการฟ้ืนฟู อนรุ ักษ์ และป้องกนั พื้นท่ีปา่ ตน้ น้าที่เสือ่ มโทรม - การปรับปรุง พัฒนา และเพิ่มประสิทธิภาพการเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินใน พื้นที่ต้นน้าและพื้นทลี่ าดชัน กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-11

กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม 4) การจดั การนา้ แลง้ นา้ ทว่ มและอทุ กภัย ประเด็นมงุ่ เนน้ - การปรับปรุง พัฒนา และเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้า การจัดระบบป้องกันน้าท่วม ชุมชนเมือง การจัดการพื้นที่น้าท่วมและพ้ืนท่ีชะลอน้า รวมทั้งการบรรเทาอุทกภัยในเชิงพ้ืนท่ีอย่างเป็น ระบบในระดับลุ่มน้าและพ้ืนท่ีวิกฤต (Area based) ลุ่มน้าขนาดใหญ่ ลุ่มน้าสาขา รวมทั้งการแก้ไขปัญหา พน้ื ทน่ี ้าท่วม/นา้ แลง้ ซา้ ซาก - การบริหารจัดการน้าให้มีประสิทธิภาพเชิงปริมาณและคุณภาพในพ้ืนท่ีน้าท่วม/น้าแล้ง ซ้าซาก ท้ังระดับผิวดิน และ ใต้ผิวดิน (Sub-surface storage) เพ่ือการกักเก็บ และคงคุณภาพน้าไว้ เช่น การถอดบทเรียนในพนื้ ทบี่ างระกา จังหวดั พษิ ณุโลก และขยายผลในพนื้ ที่อ่ืน ๆ 5) การจดั การนา้ อปุ โภคและบริโภค ประเดน็ มุ่งเน้น - การจดั หาแหล่งนา้ สารองในพ้ืนท่ีซงึ่ ขาดแคลนแหล่งน้าตน้ ทุน โดยการบูรณาการการใช้น้า ผวิ ดินและน้าใต้ดนิ - การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมน้าสะอาดเพื่อการอุปโภคบริโภค และการพัฒนาน้าด่ืม ให้ไดม้ าตรฐานในราคาที่เหมาะสมในพ้ืนทีว่ กิ ฤต - การศึกษาและสารวจการตกค้างของยา ยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมน ยาฆ่าแมลง และสารอื่นใน แหล่งนา้ น้าประปา และนา้ ดมื่ วธิ กี ารจัดการปญั หาและมาตรฐานท่ีเหมาะสม - การสร้างเทคโนโลยีและนวตั กรรมเพอ่ื การประหยดั น้าใช้ภาคครวั เรือน บรกิ าร 6) การบริหารจดั การ ประเด็นมงุ่ เนน้ - การแกไ้ ขปัญหาทรพั ยากรน้าอย่างครบวงจร ท้งั น้าท่วม น้าแลง้ และน้าเสีย ในระดบั พ้นื ท่ี ชุมชน พื้นท่ีลมุ่ น้า และลุม่ น้าสาขา - การจัดการน้าเค็มรุกล้า รวมถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศน้ากร่อย ที่ส่งผลกระทบต่อการ อปุ โภค บริโภค และเกษตรกรรม - การส่งเสริมการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพ่อื สรา้ งจิตสานกึ ในการอนุรักษ์ทรัพยากรน้า กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-12

1แผนงานวิจัยดา้ นพืชสาคัญเพ่ือมุ่งเป้ าตอบสนองความต้องการของประเทศ การวิจัยเพ่มิ ผลผลติ และพัฒนา อุตสาหกรรมอ้อยและน้าตาล KR 2.7.1 จานวนนวัตกรรม องค์ความรู้ และเทคโนโลยีใหม่ ที่ถูกสร้างเพ่ือแก้ไขปัญหาและ/หรือ เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม หรือยกระดับการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพ่ือตอบโจทย์ท้าทายด้าน ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม และการเกษตร (100 ช้นิ ) KR 2.7.2 รอ้ ยละขององคค์ วามรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรมและนโยบายท่ีถูกนาไปใชใ้ นทางปฏิบัติ เพื่อ การแก้ไขปัญหา หรือยกระดับการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อตอบโจทย์ท้าทายด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม และการเกษตร (ร้อยละ 60 เทียบกบั องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีถูกสร้างทั้งหมดใน 3 ปี คือ 2563 – 2565) KR 2.7.3 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมท่ีนาไปใช้ขยายผล ต่อยอดจากโครงการต้นแบบหรือโครงการขนาดเล็ก ไปยงั พื้นที่อนื่ หรือกลมุ่ เป้าหมายอนื่ เพ่ือ การแก้ไขปัญหา หรือยกระดับการพัฒนาอย่างย่ังยืน เพ่ือตอบโจทย์ท้าทายด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการเกษตร (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากโครงการต้นแบบหรือ โครงการขนาดเลก็ ทั้งหมดใน 3 ปี คือ 2563 – 2565) ผลผลิต 1) ผลผลิตอ้อยต่อไร่ของพื้นที่ศึกษาเพิ่มขึ้น 1 - 2 ตันต่อไร่ และต้นทุนการผลิตอ้อยต่อไร่ของ เกษตรกรลดลง 5 - 10% โดยใช้เทคโนโลยดี า้ นการจดั การพันธุ์อ้อยที่เหมาะสม การใช้เคร่ืองจักรกลการเกษตร การจัดการพื้นที่และปัจจัยการผลิต เช่น การจัดการดิน ปุ๋ย การจัดการโรคและแมลงท่ีเหมาะสม เพื่อลดความ สูญเสียอ้อยในไร่ การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการระบุตาแหน่งด้วยดาวเทียม เพื่อใช้ในการทา smart farming และ precision agriculture เป็นตน้ 2) การใช้ประโยชน์จากทุกกระบวนการผลิต (Zero waste) เช่น Molasses โดยเพ่ิมประสิทธิภาพ การใช้ประโยชน์สิ่งเหลือใช้ของโรงงานน้าตาล และลดปริมาณเศษเหลือทิ้งที่ไม่ใช้จากโรงงาน สร้างผลิตภัณฑ์ มูลคา่ เพิ่มจากอุตสาหกรรมน้าตาลและอุตสาหกรรมต่อเนื่องทม่ี ีศักยภาพเพ่อื ส่งต่อไปสูก่ ารพัฒนาด้านการตลาด ลดการสูญเสียในกระบวนการผลิตนา้ ตาล ใหม้ ปี ระสิทธิภาพการผลติ มากกว่า 90 เปอรเ์ ซน็ ต์ กรอบการวิจยั และนวัตกรรม 1) การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมสาหรับการเพ่ิมผลผลิตของเกษตรกร รวมถึงการ บรหิ ารจดั การเคร่อื งกลเพอ่ื ลดปัญหาแรงงานและตน้ ทนุ การผลติ 2) การวจิ ัยและพัฒนากระบวนการผลติ น้าตาลและผลิตภณั ฑ์มลู ค่าเพ่ิมของอตุ สาหกรรมอ้อยและ นา้ ตาล เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-13

ประเดน็ มงุ่ เน้น 1) การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือการจัดการพันธ์ุอ้อยท่ีเหมาะสม สาหรับพ้ืนที่ปลูกอ้อย การจัดการไร่ รวมทั้งการจัดการดา้ นการเก็บเกย่ี ว เพ่ือความสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของอตุ สาหกรรม 2) การวจิ ัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือลดการสูญเสียที่เกิดจากศตั รูพืชต่ออุตสาหกรรมอ้อยและ น้าตาล เชน่ การจัดการด้านโรค แมลง และวชั พชื 3) การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเคร่ืองจักรกลทางการเกษตร เพื่อยกระดับ ประสิทธภิ าพและมาตรฐานการผลิตออ้ ย 4) การพัฒนาระบบบริหารจัดการและประเมินความเส่ียง ทรัพยากรน้าในภาคการเกษตร รวมถึงความเสยี หายทีเ่ กดิ จากภัยธรรมชาติ สภาพภูมิอากาศท่ีเปลี่ยนแปลง 5) การวิจยั และพฒั นาดา้ นการบรหิ ารจัดการดนิ เพ่อื การเกษตรอย่างย่งั ยืน 6) การลดการสูญเสียในกระบวนการผลติ และเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ น้าตาล 7) การวิจัยเชิงนโยบายและประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านอ้อยและน้าตาลเพื่อให้ สามารถแขง่ ขนั ไดต้ ามการเปล่ียนแปลงของโลก และการพัฒนาในอนาคต 8) การใช้ประโยชน์สิ่งเหลือใช้ของโรงงานน้าตาล เพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับอุตสาหกรรมอ้อย และนา้ ตาล เพอ่ื เพิม่ มูลคา่ ของอตุ สาหกรรม 9) พัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่ม เพ่ือสร้างผลิตภัณฑ์ให้กับอุตสาหกรรมด้วยกระบวนการทาง ชีวภาพ 10) การใชป้ ระโยชน์จากน้าตาล เพ่ือผลติ เป็นผลติ ภณั ฑ์เพ่ิมมูลค่าใหก้ ับอตุ สาหกรรม 11) การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี Industry 4.0 อินเตอร์เน็ตของสรรพส่ิง (Internet of Things : IOT) ปญั ญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ฐานขอ้ มลู ขนาดใหญ่ (Big data) วทิ ยาศาสตร์ ข้อมูล (Data science) คลาวด์คอมพิวติ้ง (Cloud computing) ระบบอัตโนมัติ (Automation) และ ห่นุ ยนต์ (Robot) เพอื่ ยกระดบั ประสิทธภิ าพการผลติ และจดั การคุณภาพออ้ ยในระดับอุตสาหกรรม กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-14

2แผนงานวจิ ัยดา้ นพชื สาคัญเพ่อื มุ่งเป้ าตอบสนองความต้องการของประเทศ การพัฒนานวัตกรรมการแปรรูปยางพารา เพ่ือสร้างผลติ ภัณฑ์มูลค่าเพ่ิม KR 2.7.1 จานวนนวัตกรรม องค์ความรู้ และเทคโนโลยีใหม่ ที่ถูกสร้างเพื่อแก้ไขปัญหาและ/หรือ เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม หรือยกระดับการพัฒนาอย่างย่ังยืน เพื่อตอบโจทย์ท้าทายด้าน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม และการเกษตร (100 ชิน้ ) KR 2.7.2 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายท่ีถูกนาไปใช้ในทางปฏิบัติ เพื่อ การแก้ไขปัญหา หรือยกระดับการพัฒนาอย่างย่ังยืน เพื่อตอบโจทย์ท้าทายด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการเกษตร (ร้อยละ 60 เทียบกบั องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทีถ่ ูกสร้างทั้งหมดใน 3 ปี คือ 2563 – 2565) ผลผลิต 1) ระบบฐานข้อมูลหรือแพลตฟอร์มดา้ นยางพารา ได้แก่ ข้อมลู ตวั ช้ีบอกและแนวทางการจดั การสวน ยางพาราในรูปแบบทเ่ี หมาะสมตามมาตรฐานการรบั รองการจัดการปา่ ไม้ของ FSC และสอดคล้องกบั สถานภาพ การจัดการในประเทศไทย และข้อมูลด้านติดตามตรวจสอบสุขภาพ คาดการณ์ผลผลิต และเตือนภัย เพ่ื อ นาไปใชใ้ นการบริหารจัดการผลิตยางพาราดว้ ยเทคโนโลยีการสารวจระยะไกลดว้ ยดาวเทียม 2) นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีการทดสอบด้านยางพาราสมัยใหม่ เช่น ชุด Test kit เพื่อการตรวจวัด ปริมาณโปรตีนที่ละลายและไม่ละลายน้าในน้ายางธรรมชาติ และชุดตรวจวัดจานวน VFA ในน้ายางพาราแบบ รวดเร็ว เปน็ ตน้ 3) กระบวนการหรือเทคโนโลยีในการทดสอบและข้อมูลสาหรับจัดทามาตรฐานผลิตภัณฑ์ต้นแบบ เช่นผลิตภัณฑ์ท่ีเก่ียวกับช้ินส่วนยานยนต์และยางล้อ ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ผลิตภัณฑ์ทางด้านการจราจร ผลติ ภณั ฑ์ทางดา้ นการเกษตรและปศสุ ตั ว์ กรอบการวจิ ยั และนวัตกรรม 1) การวิจัยพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว เช่น ผลิตภัณฑ์ย่อยสลายได้ ลดการใช้สารเคมี ลดของเสีย หรอื ไมม่ ีของเสยี และการนาของเสียกลบั มาใช้ประโยชน์ 2) การพัฒนาระบบอัตโนมัติ (Automation) และระบบปฏิบัติ (Platform) ท่ีทันสมัยสาหรับ อุตสาหกรรมยางพาราทง้ั ระบบ 3) การพัฒนารายกลุม่ อตุ สาหกรรมเปา้ หมายท่โี ดดเด่นเพ่ือเพิ่มปริมาณการใชน้ ้ายางพารา - กลมุ่ อุตสาหกรรมถงุ มอื ยาง - กลมุ่ ยางลอ้ ยางล้อรถยนตไ์ ฟฟา้ - กลมุ่ ชน้ิ ส่วนสาหรับยานยนต์ทางบกทงั้ ระบบราง ถนน และการจราจร - กลุ่มชิน้ สว่ นสาหรบั งานด้านวิศวกรรม และการกอ่ สรา้ ง - พัฒนาดา้ นมาตรฐานผลิตภัณฑแ์ ละหอ้ งปฏิบัตกิ ารทดสอบและวจิ ัยใหท้ ันสมัย กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-15

กรอบการวิจัยและนวตั กรรม 4) การพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ และปัจจัยสนับสนุนทเ่ี อ้ือต่อการค้า การลงทนุ การสง่ ออก การวจิ ยั พฒั นาและนวตั กรรมของประเทศ ประเดน็ มุ่งเนน้ 1) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในกลุ่มวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น ถุงมือยางทางการแพทย์ รวมทั้งวสั ดุอุปกรณท์ างการแพทยอ์ ื่น ๆ เปน็ ตน้ 2) การพัฒนายางพาราและอุตสาหกรรมยางพาราของประเทศ ซ่ึงจัดอยูใ่ นกลุ่ม First S-curve ด้านอุตสาหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น ผลิตภัณฑ์ชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่ และยางล้อของ รถยนต์ขับเคลอ่ื นด้วยไฟฟา้ (EV) เปน็ ตน้ กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-16

3แผนงานวิจัยดา้ นพชื สาคญั เพ่ือมุ่งเป้ าตอบสนองความต้องการของประเทศ การวจิ ยั มันสาปะหลงั เพ่ือเพ่มิ การใช้ประโยชน์ ตามนโยบาย BCG economy KR 2.7.1 จานวนนวัตกรรม องค์ความรู้ และเทคโนโลยีใหม่ ท่ีถูกสร้างเพ่ือแก้ไขปัญหาและ/หรือ เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม หรือยกระดับการพัฒนาอย่างย่ังยืน เพ่ือตอบโจทย์ท้าทายด้าน ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม และการเกษตร (100 ช้นิ ) KR 2.7.2 ร้อยละขององคค์ วามรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายท่ีถูกนาไปใชใ้ นทางปฏิบัติ เพื่อ การแก้ไขปัญหา หรือยกระดับการพัฒนาอย่างย่ังยืน เพื่อตอบโจทย์ท้าทายด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม และการเกษตร (ร้อยละ 60 เทียบกบั องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทถ่ี ูกสร้างทั้งหมดใน 3 ปี คือ 2563 – 2565) KR 2.7.3 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายด้านส่ิงแวดล้อมท่ีนาไปใช้ขยายผล ตอ่ ยอดจากโครงการต้นแบบหรือโครงการขนาดเลก็ ไปยงั พ้ืนทีอ่ น่ื หรือกลุม่ เป้าหมายอ่ืน เพ่ือ การแก้ไขปัญหา หรือยกระดับการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อตอบโจทย์ท้าทายด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม และการเกษตร (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากโครงการต้นแบบหรือ โครงการขนาดเล็กทั้งหมดใน 3 ปี คือ 2563 – 2565) ผลผลติ 1) เทคโนโลยี/กระบวนการ/นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ประเภทอาหาร ผลิตภัณฑ์ท่ี ไม่ใช่อาหาร ผลิตภัณฑพ์ ลาสตกิ ชีวภาพ 2) สร้างการรวมกลุ่มผู้ผลิต สหกรณ์ และผู้ประกอบการมีศักยภาพในการพัฒนาและสร้างผลิตภัณฑ์ มลู ค่าเพม่ิ จากมนั สาปะหลงั เพ่อื สรา้ งรายไดท้ ี่เพมิ่ ขนึ้ กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม 1) การวจิ ยั และพัฒนาผลิตภณั ฑ์จาก Flour และ starch ในอตุ สาหกรรมต่างๆ ดังนี้ - อตุ สาหกรรมอาหาร - อตุ สาหกรรมทไ่ี มใ่ ชอ่ าหาร - อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ 2) รปู แบบการสร้างและบริหารจัดการกลุ่มผู้ผลติ รายเก่า/รายใหม่ สหกรณ์ ผปู้ ระกอบการ (Start up) ประเดน็ มุง่ เน้น 1) การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก Flour และ starch ในอุตสาหกรรมอาหารกลุ่มผลิตภัณฑ์ เสน้ ปราศจากกลูเตนจากฟลาวหรอื แป้งมันสาปะหลัง กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-17

ประเดน็ มงุ่ เน้น 2) การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก Flour และ starch สาหรับอุตสาหกรรมเครื่องสาอาง เชน่ เมคอพั หรือสกนิ แคร์ (Makeup or Sensorial Modifier in skin care Products) หรอื กลุม่ Thickener 3) การวจิ ัยและพฒั นาพฒั นาประเภทบรรจุภณั ฑใ์ ช้แล้วทงิ้ ยอ่ ยสลายได้ทางชีวภาพจากแปง้ มัน สาปะหลังเช่นพลาสติกใช้ประจาวันสาหรับอาหารเดริเวอร่ี ถุงหูห้ิว พลาสติกเพื่อใช้งานทางด้านการเกษตร ถุงสาหรบั คลุมสง่ิ ของเครื่องใช้ เปน็ ต้น 4) การถ่ายทอดนวัตกรรมแก่เกษตรกรรุ่นใหม่ในการผลิตมันสาปะหลังรูปแบบใหม่ที่ให้ ผลตอบแทนสูง และถ่ายทอดองค์ความรู้แก่เกษตรกรรายเก่าเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสาปะหลัง โดยใช้ตลาดนาการผลิต ทาใหเ้ กษตรกรมีคณุ ภาพชีวิตทีด่ ขี ้ึน และชมุ ชนเขม้ แขง็ พึ่งพาตนเองได้ กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-18

แผนงานวิจัยดา้ นพืชสาคัญเพ่ือมุ่งเป้ าตอบสนองความตอ้ งการของประเทศ 4 เกษตรเชิงนโยบาย KR 2.7.2 ร้อยละขององคค์ วามรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรมและนโยบายที่ถูกนาไปใชใ้ นทางปฏิบัติ เพ่ือ การแก้ไขปัญหา หรือยกระดับการพัฒนาอย่างย่ังยืน เพื่อตอบโจทย์ท้าทายด้าน ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม และการเกษตร (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทีถ่ ูกสร้างท้ังหมดใน 3 ปี คือ 2563 – 2565) KR 2.7.3 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมท่ีนาไปใช้ขยายผล ต่อยอดจากโครงการต้นแบบหรือโครงการขนาดเลก็ ไปยงั พ้ืนทีอ่ ื่น หรือกลุ่มเป้าหมายอนื่ เพื่อ การแก้ไขปัญหา หรือยกระดับการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อตอบโจทย์ท้าทายด้าน ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม และการเกษตร (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากโครงการต้นแบบหรือ โครงการขนาดเล็กทัง้ หมดใน 3 ปี คอื 2563 – 2565) ผลผลติ องค์ความรู้ นวัตกรรม หรอื เคร่ืองมือเชิงนโยบายเกษตรที่เอื้อต่อการนาไปใช้ประโยชน์ในการเพิ่มขีด ความสามารถแข่งขันภาคเกษตรไทย เกษตรกรไทยมีคุณภาพชีวิตท่ีดี มีความม่ันคงในการประกอบอาชีพ การ ผลิตเป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม การใช้ฐานทรพั ยากรธรรมชาตสิ ่กู ารพัฒนาทยี่ ัง่ ยืน ภายใต้ฐานเศรษฐกจิ BCG กรอบการวิจัยและนวตั กรรม 1) ยกระดับเศรษฐกิจการเกษตรจากฐานเศรษฐกิจด้ังเดิมไปสู่ฐานเศรษฐกิจใหม่บนพ้ืนฐานตาม นโยบายเศรษฐกิจ BCG 2) การสร้างมูลค่าเพิ่มจากการปรับเปลี่ยนโซ่อุปทานสินค้าเกษตรเดิมไปสู่การเป็นโซ่คุณค่า ด้วย กลไกนวัตกรรมใหม่ ท้ังท่ีเป็น Process innovation, Product innovation และ Functional innovation รวมถึงกระบวนการการบูรณาการการเกษตรกับการท่องเท่ียวด้วย Social innovation เพื่อสร้างอัตลักษณ์ และมูลคา่ เพ่ิมกบั ชมุ ชน 3) พัฒนากฎระเบียบและประเด็นเชิงข้อกฎหมาย เพื่อลดอุปสรรคและข้อจากัด รวมถึงสร้าง แรงจูงใจให้เอ้ือตอ่ การดาเนินธรุ กจิ นวตั กรรมของชมุ ชนเกษตรและผ้ปู ระกอบการ ประเด็นมงุ่ เนน้ 1) มาตรการและแนวทางสนับสนุนช่วยให้เกษตรกรและผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร สามารถ ปรบั ตัวภายใต้ความเสี่ยงต่างๆ ทั้งจากภัยธรรมชาติ การเปลย่ี นแปลงของสภาพอากาศ รวมถงึ จากโรคระบาด เช่น Covid-19 กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-19

ประเดน็ มงุ่ เน้น 2) โจทย์วิจัยท่ีสามารถให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย และมาตรการที่เก่ียวข้องกับแนวทางการใช้ ประโยชน์ของทรัพยากรทางการเกษตร อาทิ ทรัพยากรท่ีดินทางการเกษตร ทรัพยากรน้า ทรัพยากรป่าไม้ และทรพั ยากรทางทะเล ท่ีมีประสทิ ธิภาพและยัง่ ยนื บนฐานเศรษฐกจิ BCG 3) โจทย์วิจัยท่สี ามารถใหข้ ้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพ่ือลดอุปสรรคและข้อจากดั ทางการคา้ ของสินค้า เกษตร รวมถงึ มาตรการสนับสนุนท่ีช่วยเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้กับเกษตรกรและผู้ประกอบการไทย หมายเหตุ : งานวิจัยท่ีตอบโจทย์นวัตกรรมเชิงนโยบายเกษตรสามารถพิจารณาได้ทั้งในนโยบายระดับชาติ ระดับภูมิภาค หรือในระดับพื้นที่ กรอบพิจารณาสามารถศึกษาจาเพาะเจาะจงในแต่ละสินค้าเกษตร หรือ ตอบขอบเขตของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อาทิ ในพื้นที่ลุ่มน้า พ้ืนท่ีป่า พื้นที่สูง หรือในพ้ืนท่ีชายฝั่งทะเล เป็นต้น โดยงานวิจัยเชิงนโยบายเกษตรจะส่งมอบข้อมูลเชิงสังเคราะห์ ข้อความรู้เชิงประจักษ์ต่อผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องในทางนโยบาย เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ หรือพัฒนาปรับปรุงในโครงการ แผนงาน มาตรการ ขอ้ กาหนดกฎหมาย พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) หรอื ฯลฯ ท่ีเกยี่ วข้อง กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-20

5แผนงานวจิ ัยด้านพชื สาคัญเพ่ือมุ่งเป้ าตอบสนองความต้องการของประเทศ การบูรณาการการจดั การศัตรูพชื โดยชี ววธิ ี KR 2.7.3 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่นาไปใช้ขยายผล ต่อยอดจากโครงการต้นแบบหรือโครงการขนาดเล็ก ไปยงั พน้ื ท่อี ่ืน หรือกลมุ่ เปา้ หมายอนื่ เพื่อ การแก้ไขปัญหา หรือยกระดับการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพ่ือตอบโจทย์ท้าทายด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และการเกษตร (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากโครงการต้นแบบหรือ โครงการขนาดเลก็ ทั้งหมดใน 3 ปี คอื 2563 – 2565) ผลผลิต 1) องคค์ วามรู/้ คู่มอื /แนวทางในการบรู ณาการการจดั การศตั รสู าคัญของพริกหรือทเุ รยี น - พริก การบูรณาการการจัดการโรคท่ีสาคัญ (โรคแอนแทรกโนส) แมลงศัตรูที่สาคัญ (แมลงวัน ทอง แมลงหว่ีขาว เพล้ยี ไฟ) หรือการจดั การศตั รูชนิดอ่ืนๆ ของพรกิ โดยชวี วิธี ตลอดระยะเวลาที่ปลกู จนถึงหลัง การเกบ็ เกีย่ ว - ทุเรียน การบูรณาการการจัดการโรคท่ีสาคัญ (โรคที่เกิดจากเช้ือรา Phytophthora spp.) แมลง ศัตรูทส่ี าคัญ หรอื การจัดการศัตรชู นดิ อน่ื ๆ ของทเุ รียนโดยชีววธิ ี ตลอดระยะเวลาท่ีปลูกจนถึงหลงั การเกบ็ เกีย่ ว 2) แนวทางการขยายผลเพื่อเข้าสู่การปฏิบัติจริง และข้อเสนอเชิงนโยบายในการขับเคล่ือนการผลิต พริก หรอื ทเุ รยี นปลอดภัย 3) ผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรมเพ่ือการควบคุมศัตรูพริกหรือทุเรียนโดยชีววิธี หรือบูรณาการร่วมกับ วธิ ีการอื่นๆ 4) วิธีบูรณาการการบริหารจัดการโรคพืช แมลงศัตรูพืชและวัชพืชของพริกหรือทุเรียนโดยชีววิธี ท่ีสามารถถ่ายทอดให้เกษตรกรเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามอย่างได้ผลในการลดต้นทนุ การผลิต กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม 1) การพัฒนาใช้ชีวินทรีย์ปฏิปักษ์ (ตัวห้า ตัวเบียน และจุลินทรีย์) ท่ีมีความจาเพาะกับชนิดของ ศัตรูพืชเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นวิธีการใช้ที่เหมาะสมต่อสภาพแปลงปลูกพืชของประเทศ และ ง่ายตอ่ การปฎบิ ตั ใิ ห้ไดผ้ ล 2) การวิจัยศึกษาแนวทางการปรับปรุงคุณสมบัติของชีวินทรีย์ปฏิปักษ์ (ตัวห้า ตัวเบียน และ จุลินทรีย์) ให้สามารถดารงชีวิตและเพิ่มปริมาณตนเองได้ในสภาพแปลงปลูกพืชทางการเกษตรของประเทศ และกลายเปน็ ปัจจัยสาคญั ในการควบคมุ ศตั รพู ชื ไดอ้ ย่างยง่ั ยนื ถาวร 3) การวิจัยและพัฒนาการผลิตชีวินทรีย์ปฏิปักษ์ (ตัวห้า ตัวเบียน และจุลินทรีย์) และสารสกัดจากพืช (plant extract) รวมถึงการพัฒนาสูตรผสม (formulation) ของจุลินทรีย์และสูตรผสมของสารสกัดจากพืช ให้ คงทนต่อสภาพแวดล้อมในแปลงพืช และการเก็บรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการควบคุม ศตั รูพชื กรอบการวิจัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-21

กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม 4) รปู แบบ/ตน้ แบบ การบูรณาการการจัดการศัตรพู ืชโดยชีววิธี ที่เหมาะสมกบั พ้ืนที/่ ภูมิภาค/ชนิดของ พืช ท่ีสามารถถ่ายทอดให้เกษตรกรเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามได้ เพ่ือการควบคุมโรคพืช แมลงศัตรูพืชและ วชั พชื ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ สามารถลดตน้ ทนุ การผลติ และเกิดผลสัมฤทธ์ดิ ้านผลผลิตได้สูงสดุ ประเด็นมุ่งเน้น 1) การบริหารจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการวิธึการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี เพื่อการผลิตพริก ปลอดภยั 2) การบริหารจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการวิธึการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี เพ่ือการผลิตทุเรียน ทม่ี ีคุณภาพไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ เพ่อื การค้าและการส่งออก กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-22

แผนงานวิจัยดา้ นสัตว์เศรษฐกิจ เพ่ือเพ่ิมผลิตภาพการเกษตรและ ตอบโจทยท์ ่ีท้าทายของประเทศ KR 2.7.1 จานวนนวัตกรรม องค์ความรู้ และเทคโนโลยีใหม่ ที่ถูกสร้างเพื่อแก้ไขปัญหาและ/หรือ เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม หรือยกระดับการพัฒนาอย่างย่ังยืน เพื่อตอบโจทย์ท้าทายด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม และการเกษตร (100 ชิ้น) KR 2.7.2 ร้อยละขององคค์ วามรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายที่ถูกนาไปใชใ้ นทางปฏบิ ัติ เพื่อ การแก้ไขปัญหา หรือยกระดับการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อตอบโจทย์ท้าทายด้าน ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการเกษตร (ร้อยละ 60 เทียบกบั องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีถูกสร้างทั้งหมดใน 3 ปี คือ 2563 – 2565) ผลผลติ 1) องค์ความรู้/กระบวนการผลิตสัตว์เศรษฐกิจเป้าหมายท่ีมีประสิทธิภาพและเหมาะสมทั้งด้าน ปริมาณที่เพียงพอและมคี ุณภาพ มีความปลอดภยั ทางอาหารตามความต้องการภายในประเทศ และมีศักยภาพ ในการแขง่ ขนั เพ่อื การสง่ ออก 2) นวัตกรรมเพ่ือเพ่ิมมูลค่าและคุณค่าของผลผลิต ผลิตภัณฑ์จากสัตว์เศรษฐกิจเป้าหมาย และ ช่องทางการตลาดทเ่ี หมาะสมของสัตว์เศรษฐกจิ เป้าหมาย 3) องค์ความรู้ด้านสุขภาพและความปลอดภัย ข้อมูลทางโภชนาการ กระบวนการเฝ้าระวัง การ ป้องกนั และควบคุม การตรวจวินิจฉยั และรักษาโรคสัตว์เศรษฐกิจ 4) กลยุทธ์ นโยบาย ชุดองคค์ วามรู้ ที่จะนาไปใช้ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาแนวทางการสนับสนุน ในการดาเนนิ การวิจัยและนวัตกรรมในสตั ว์เศรษฐกิจเป้าหมาย 5) เกษตรกร/ผู้ประกอบการเพ่ิมข้ึน และผู้ได้รับประโยชน์จากการใช้ผลงานวิจัยและนวัตกรรม จานวนไม่น้อยกว่า 15,000 ครัวเรอื น กรอบการวจิ ัยและนวัตกรรม และกิจกรรมการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การวจิ ยั 1) การวิจยั และพฒั นาดา้ นกระบวนการผลิตและการเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต - การวิจัยและพัฒนาระบบและกระบวนการผลิตสัตว์เศรษฐกิจเป้าหมายให้มีปริมาณเพียงพอ ปลอดภัย และยั่งยืน โดยสามารถเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้านผลผลิต ที่คานึงถึงต้นทุนการผลิต ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สวสั ดภิ าพสัตว์ และการใช้ทรัพยากรทางธรรมชาตอิ ย่างเหมาะสม - การวิจัยและพัฒนาวัตถุดิบอาหารสัตว์และทดแทนตามแนวยุทธศาสตร์ 3 S (Safety, Security, Sustainability) และการผลิตอาหารสตั วท์ มี่ ีประสทิ ธิภาพสูง เพอ่ื ลดต้นทนุ การผลิต - การวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ การอนุรักษ์สายพันธ์ุที่ดี การพัฒนาด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ใน การจัดการพอ่ แมพ่ ันธุ์ - การวิจัยเพ่ือสร้างความยั่งยืนและการบริหารจัดการเพ่ือการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ พัฒนาการทาเกษตรปราณีตและเปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-23

กรอบการวิจัยและนวตั กรรม และกจิ กรรมการส่งเสริมและสนบั สนนุ การวิจยั 2) การวจิ ัยและพฒั นาดา้ นการจัดการผลผลิต ผลติ ภัณฑ์ และการตลาด - การวิจัยการสร้างนวัตกรรมเพ่ือเพิ่มมูลค่าและคุณค่า เช่น ด้านการตลาด กรรมวิธีการผลิต สินค้า การแปรรูป การบรรจุภัณฑ์ การเก็บรักษา คุณภาพผลิตภัณฑ์ การขนส่ง การตรวจสอบย้อนกลับ ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม (Carbon foot print) ช่องทางการจัดจาหน่าย และการกาหนดมาตรฐานสินค้า ของผลิตภัณฑ์ท่ีมาจากสัตว์เศรษฐกิจเป้าหมาย รวมถึง การยอมรับผลิตภัณฑ์และพฤติกรรมผู้บริโภคในสัตว์ เศรษฐกิจเปา้ หมาย 3) การวิจยั และพฒั นาดา้ นสขุ ภาพและความปลอดภยั - การวิจัยและพัฒนาด้านการควบคุม การป้องกันโรค ตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคประจาถ่ิน และโรคอบุ ัติใหมใ่ นสตั ว์เศรษฐกิจเปา้ หมาย - การวิจัยการเกิดอาการแพ้ในมนุษย์จากการบริโภคผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสัตว์ เศรษฐกจิ เป้าหมาย 4) การวจิ ัยเชิงนโยบายเพื่อกาหนดแนวทาง/มาตรการ/นโยบายสนบั สนนุ ทางเศรษฐกิจและสังคม - การวิจัยและทบทวนองคค์ วามร้กู ารวจิ ัยและนวัตกรรมเพ่ือกาหนดทิศทางการวจิ ัยในอนาคต - การวิจัยเพ่ือให้เกิดองค์ความรู้หรือข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพ่ือสนับสนุนการขับเคล่ือนการ วจิ ยั และนวตั กรรมในสตั ว์เศรษฐกจิ เปา้ หมาย - การวิจัยเพื่อส่งเสริม พัฒนาระบบ ระเบียบ มาตรการ แนวทางการป้องกันการกีดกันทาง การค้า แนวทางการสนบั สนุนในการดาเนนิ การวจิ ยั และนวัตกรรมในสัตว์เศรษฐกจิ เปา้ หมาย 5) การขยายผลการวจิ ัยและนวตั กรรมสกู่ ารใช้ประโยชน์ - การจัดการความรู้ การวิจัย การต่อยอดองค์ความรู้เพ่ือการขยายผลงานวิจัยสู่การใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาเกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน เกษตรแปลงใหญ่ ก่อให้เกิดการพัฒนา เศรษฐกจิ อยา่ งยงั่ ยืนตามแนวทาง BCG Economy - การบูรณาการแผนการดาเนินงานแบบมีส่วนร่วมกับเกษตรกร ชุมชน ผู้ประกอบการ ตลอด ห่วงโซ่อปุ ทาน เพือ่ เพิ่มผลผลิตและมลู ค่าเชงิ เศรษฐกิจและสงั คมใหก้ ับประเทศ - การส่งเสริมสนับสนุนการสร้างเครือข่ายให้มีความเข้มแข็งและย่ังยืน ท้ังในระดับพ้ืนที่ และ ผูเ้ กี่ยวข้องทุกภาคส่วน การเพ่ิมเกษตรรายใหม่ พัฒนาเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการ พัฒนาอาชีพทางเลือก เพอื่ รองรับความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกจิ ของประเทศ หมายเหตุ : 1) การวิจัยและส่งเสริมการวจิ ยั สตั ว์เศรษฐกจิ เปา้ หมาย ได้แก่ 1.1 ปูมา้ 1.4 ไก่พ้ืนเมอื ง และไกล่ ูกผสมพืน้ เมอื ง 1.2 แพะ (แพะเนอื้ แพะนม) 1.5 สตั วน์ ้าและพรรณไมน้ ้าสวยงาม 1.3 จ้งิ หรีด 2) ยทุ ธศาสตร์ 3S (Safety Security Sustainability) คอื 2.1 Safety (ปลอดภัย) เช่น การผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสัตว์เศรษฐกิจเป้าหมาย การผลติ วัตถุดบิ และอาหารสัตว์ทีป่ ลอดภัยตามมาตรฐานสากล สามารถตรวจสอบยอ้ นกลบั ได้ เป็นต้น 2.2 Security (ม่ันคง) เช่น การผลิตอาหารโปรตีนให้เพียงพอต่อการบริโภคของประชากรใน ประเทศ การมีวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เพียงพอจากการผลิตในประเทศ หรือนาเข้าจากต่างประเทศ การเข้าถึง วัตถุดิบอาหารสัตว์และราคาท่ีเหมาะสม การมีผลผลิตจากการเล้ียงสัตว์ท่ีเพียงพอต่อการบริโภค/การใช้ ประโยชน์ เปน็ ตน้ 2.3 Sustainability (ยั่งยืน) เช่น การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรกับ มนษุ ย์ สัตว์ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีความสมดุลระหว่างพืชอาหารสัตว์และพืชพลังงาน เปน็ ตน้ กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P7-24

โปรแกรม 8 รองรับสงั คมสูงวัยอยา่ งมีคุณภาพ เป้ าหมาย (Objectives: O) O2.8 ใช้ความรู้ การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อพัฒนาคนในทุกช่วงวัยให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดี สามารถดารงชีวิต ด้วยตนเองไดอ้ ยา่ งมีคณุ คา่ และสร้างกลไกท่เี อื้อต่อการอยรู่ ว่ มกนั อย่างมีความสขุ พรอ้ มรับสงั คมสูงวัย ผลสมั ฤทธิท์ ่สี าคญั (Key Results: KRs) KR 2.8.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับสังคมสูงวัย รวมถึงโครงสร้าง ประชากร ระบบบริการ ระบบกาลังคน ระบบข้อมูล ระบบเทคโนโลยี ระบบการเงินการคลัง และกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ทเี่ กีย่ วข้องเปน็ ต้น (100 ช้นิ ) KR 2.8.2 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายท่ีถูกนาไปใช้เตรียมความพร้อม เพื่อรองรับการเข้าสู่สังคมสูงวัย หรือแก้ปัญหาสังคมสูงวัย และสนับสนุนให้คนทุกวัยใช้ชีวิต รว่ มกนั รวมถงึ ลดช่องว่างระหวา่ งวยั ในพ้ืนทท่ี ก่ี ากบั ดแู ลเป็นการเฉพาะ (Sandbox) (รอ้ ยละ 60 เทยี บกบั องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ถกู สร้างทัง้ หมดใน 3 ปี คือ 2563-2565) KR 2.8.3 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายท่ีถูกนาไปใช้ขยายผลต่อยอดจาก โครงการต้นแบบ หรือโครงการขนาดเล็กอย่างครอบคลุมทุกบริบทของประเทศ สามารถ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากรทุกช่วงวัยได้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงวัย ให้สามารถ ดารงชวี ิตได้อยา่ งมคี ณุ คา่ (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากโครงการต้นแบบหรือ โครงการขนาดเล็กท้งั หมดใน 3 ปี คือ 2563-2565) KR 2.8.4 จานวนระบบบริการหรือระบบสนับสนุนสาหรบั ผ้สู ูงอายุ รวมถึงระบบการดูแล ระบบบรกิ าร สุขภาพ และระบบพัฒนาศักยภาพในการทางาน ท่ีพัฒนาเป็นต้นแบบหรือพ้ืนทท่ี ดลอง โดย ใชก้ ารวิจยั และนวัตกรรม (10 ระบบ) KR 2.8.5 จานวนผลงานวิจัยเชิงบูรณาการและ/หรือสหสาขาวิชา ที่นาไปสู่การพัฒนา/ปรับปรุง นโยบาย กฎหมาย มาตรการและแผนงาน/โครงการ ซ่ึงมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพและ สวสั ดภิ าพของผสู้ งู อายุ (50 ชน้ิ ) KR 2.8.6 จานวนนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ช่วยเหลือการดารงชีวิต (Assisted lining) หรือยกระดับ คุณภาพชีวติ สาหรบั ผู้สงู อายุและคนพกิ าร (50 ชนิ้ ) กรอบการวจิ ัยและนวตั กรรม ประจาปี 2565 P8-1

1แผนงานทุนท้าทายไทยเพ่ือรองรบั สงั คมสูงวัย โอกาสและผลกระทบ Aging Society KR 2.8.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีเก่ียวข้องกับสังคมสูงวยั รวมถงึ โครงสร้าง ประชากร ระบบบริการ ระบบกาลังคน ระบบข้อมูล ระบบเทคโนโลยี ระบบการเงินการ คลัง และกฎหมาย กฎ ระเบียบ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งเป็นต้น (100 ชนิ้ ) KR 2.8.4 จานวนระบบบริการหรือระบบสนับสนุนสาหรับผู้สูงอายุ รวมถึงระบบการดูแล ระบบ บริการสุขภาพ และระบบพัฒนาศักยภาพในการทางาน ท่ีพัฒนาเป็นต้นแบบหรือพ้ืนท่ี ทดลอง โดยใชก้ ารวจิ ัยและนวัตกรรม (10 ระบบ) KR 2.8.5 จานวนผลงานวิจัยเชิงบูรณาการและ/หรือสหสาขาวิชา ที่นาไปสู่การพัฒนา/ปรับปรุง นโยบาย กฎหมาย มาตรการและแผนงาน/โครงการ ซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพและ สวัสดภิ าพของผู้สูงอายุ (50 ชิน้ ) ผลผลติ นวตั กรรมทางสังคมทส่ี นบั สนุนให้เกดิ กลไกที่เอื้อต่อการอยู่รว่ มกนั ของคนทกุ วยั กรอบการวิจยั และนวตั กรรม 1) การวิจัยเพื่อเสนอแนะแนวทางและมาตรการเพ่ือรองรับและสร้างสังคมแห่งการอยู่ร่วมกันของ ประชากรทุกชว่ งวัย 2) การศึกษารูปแบบและแนวทางการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมกับสถานการณ์สังคมสูงอายุ เสริมสร้างขดี ความสามารถให้กลไก และระบบการดแู ลด้านสวัสดิการสงั คมในระดับทอ้ งถน่ิ 3) การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือยกระดับการให้บริการ/ สวสั ดกิ ารสาหรับผสู้ ูงอายุและคนทกุ วัย 4) การวิจัยเก่ียวกับการเตรียมพร้อมของคนรุ่นใหม่ที่จะเข้าสู่วัยสูงอายุ เช่น การเปล่ียนทัศนคติ พฤติกรรม สวัสดิการ การเงิน สุขภาพ ที่อยู่อาศัย รวมทั้ง การดาเนินชีวิต เพื่อสามารถดารงชีวิตได้ใน วยั เกษยี ณและมสี ่วนรว่ มกับสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ 5) การวิจัยเก่ียวกับระบบการดูแลผู้สูงอายุ (Community care) ท่ีเหมาะสมกับความต้องการของ ผสู้ งู อายุที่อยู่อาศัยในพนื้ ท่เี ดิม (Aging In Place) (ระบบบรกิ ารทีเ่ หมาะกับความรู้ความสามารถของผู้สูงอายุ/ บุคลากรผดู้ แู ลผ้สู ูงอายุ) หมายเหตุ : 1. แผนงานวจิ ยั ท่ีจะดาเนนิ การควรอยูใ่ น Societal Readiness Level ระดบั Level 3-5 ขึ้นไป 2. กรณีแผนงานวิจัยท่ีมีการสะท้อนความร่วมมือ และมีการสนับสนุนจากหน่วยงานท่ีมีส่วน เกย่ี วขอ้ งในระดบั พื้นท่ี และระบุผูใ้ ช้ประโยชน์อย่างชัดเจน จะไดร้ บั การพิจารณาเปน็ พเิ ศษ กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P8-2

2แผนงานทนุ ทา้ ทายไทยเพ่อื รองรบั สงั คมสงู วยั การอยู่รว่ มกันของคนทกุ วัย (การเอื้ออาทร การ contribute ให้กบั สงั คม) 1KR 2.8.2 ร้อยละขององคค์ วามรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรมและนโยบายทถ่ี ูกนาไปใช้เตรียมความพร้อม เพ่ือรองรับการเข้าสู่สังคมสูงวัย หรือแก้ปัญหาสังคมสูงวัย และสนับสนุนให้คนทุกวัยใช้ ชวี ิตรว่ มกัน รวมถงึ ลดช่องว่างระหวา่ งวัยในพ้นื ท่ที ่ีกากบั ดแู ลเปน็ การเฉพาะ (Sandbox) (ร้อยละ 60 เทยี บกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ถูกสร้างท้ังหมดใน 3 ปี คือ 2563-2565) KR 2.8.5 จานวนผลงานวิจัยเชิงบูรณาการและ/หรือสหสาขาวิชา ท่ีนาไปสู่การพัฒนา/ปรับปรุง นโยบาย กฎหมาย มาตรการและแผนงาน/โครงการ ซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพและ สวสั ดภิ าพของผสู้ งู อายุ (50 ชน้ิ ) ผลผลติ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายหรือมาตรการที่สามารถนาไปสู่การกาหนดเป็นนโยบายหรือมาตรการในระดับ ต่าง ๆ เพ่ือเตรียมความพร้อมคนไทยให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณค่า โดยมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพและเสริมพลัง ผ้สู งู อายุ (Active aging) กรอบการวิจยั และนวัตกรรม 1) การวิจัยเพื่อส่งเสริมคุณค่า ศักดิ์ศรี และศักยภาพทางสังคมให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ศักยภาพ ตนเองได้ 2) พัฒนาศักยภาพและเสรมิ พลงั ผูส้ งู อายุ (Active aging) โดยอาศยั กลไกชุมชนพนื้ ท่ี 3) New Business Models ธุรกิจต้นแบบท่ีปรับเปล่ียนการบริหารจัดการรองรับบุคลากรในยุค สังคมสงู อายุและดิจทิ ัล 4) การวิจัยเกย่ี วกับระเบยี บและกฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ งเพอ่ื สง่ เสรมิ ใหผ้ ้สู งู อายุมีส่วนร่วมกับสงั คม เช่น การ เป็นอาสาสมคั รช่วยเหลือสังคมและได้ผลตอบแทนกลับมาในรูปแบบตัวเงิน หรือการรับบริการด้านสุขภาพฟรี เป็น ตน้ 5) การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุ (Up-skill/Re-skill) เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถ ทางานได้ตามความร้แู ละความสามารถได้อย่างเหมาะสม 6) การวิจัยเกี่ยวกับการทากิจการเพื่อสังคม (Social enterprise) โดยเฉพาะในกลุ่มคนกลุ่มท่ีว่างงาน หรอื เด็กรนุ่ ใหม่ โดยการรวมกลุ่มกันดแู ลผู้สูงอายุ เช่น การดาเนินธรุ กิจที่ไม่แสวงหากาไร หรือไม่ต้องการกาไรมาก เพื่อใหผ้ สู้ ูงอายสุ ามารถอยู่รว่ มกบั ชมุ ชนได้ หมายเหตุ : 1. แผนงานวิจัยท่ีจะดาเนนิ การควรอย่ใู น Societal Readiness Level ระดับ Level 3-5 ข้ึนไป 2. กรณีแผนงานวิจัยที่มีการสะท้อนความร่วมมือ และมีการสนับสนุนจากหน่วยงานที่มีส่วน เก่ยี วข้องในระดับพื้นท่ี และระบผุ ู้ใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งชดั เจน จะได้รับการพจิ ารณาเปน็ พิเศษ กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P8-3

3แผนงานทุนท้าทายไทยเพ่ือรองรบั สังคมสูงวยั เทคโนโลยีหรือนวตั กรรมท่ีช่ วยเหลอื การดารงชี วิต (Assisted living) สาหรับผู ้สูงอายุ 1KR 2.8.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวตั กรรมท่ีเกี่ยวข้องกับสังคมสูงวยั รวมถงึ โครงสร้าง ประชากร ระบบบริการ ระบบกาลังคน ระบบข้อมูล ระบบเทคโนโลยี ระบบการเงินการ คลงั และกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ทีเ่ ก่ียวข้องเปน็ ต้น (100 ช้ิน) KR 2.8.3 ร้อยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและนโยบายที่ถูกนาไปใช้ขยายผลต่อ ยอดจากโครงการต้นแบบ หรือโครงการขนาดเล็กอย่างครอบคลุมทุกบริบทของประเทศ สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากรทุกช่วงวัยได้จริง โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้สูงวัย ใหส้ ามารถดารงชีวิตไดอ้ ย่างมคี ุณค่า (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากโครงการต้นแบบหรือ โครงการขนาดเลก็ ท้งั หมดใน 3 ปี คอื 2563-2565) KR 2.8.6 จานวนนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีช่วยเหลือการดารงชีวิต (Assisted lining) หรือ ยกระดับคณุ ภาพชวี ิตสาหรับผูส้ งู อายุและคนพกิ าร (50 ช้ิน) ผลผลิต 1) เทคโนโลยหี รือนวตั กรรมทจี่ ะช่วยเพมิ่ ประสิทธิภาพในการทางานของผูส้ งู อายุและคนพกิ าร 2) เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่ช่วยเหลือ ดูแล คดั กรอง ส่งเสรมิ ศักยภาพผู้สูงอายุ และลดอุบัติการณ์ การเกิดโรค กรอบการวิจัยและนวัตกรรม 1) การวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยี หรอื นวัตกรรมที่ช่วยเหลือการทางานของผู้สงู อายุและคนพกิ าร 2) การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพ่ือผู้สูงอายุ ที่มีมาตรฐานในระดับอุตสาหกรรม โดยผู้สูงอายุสามารถ เขา้ ถงึ นวตั กรรมได้ 3) การพฒั นาระบบบริการเพือ่ อานวยความสะดวกท่ีจาเป็น สาหรบั การดารงชีวิตของผู้สูงอายุ หมายเหตุ : 1. โจทย์การวิจัยต้องมาจากความต้องการของผู้ใช้งาน และผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม โดยมี ความเป็นไปได้ทางด้านเทคโนโลยี การผลิตและมาตรฐานคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ผู้สูงอายุและคนพิการสามารถ เข้าถงึ ได้ (ด้านราคาและคุณภาพ) และมโี อกาสขยายผลหรือสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณชิ ย์ได้ 2. แผนงานวิจัยที่จะดาเนินการควรอยู่ใน Technology Readiness Level ระดับ Level 3-5 ขึ้นไป 3. แผนงานวจิ ยั ทจ่ี ะดาเนินการควรอยู่ใน Societal Readiness Level ระดบั Level 3-5 ข้ึนไป 4. หากแผนงานวจิ ยั มีผปู้ ระกอบการจากภาคเอกชนรว่ มดาเนินการดว้ ย จะไดร้ บั การพิจารณาเปน็ พเิ ศษ กรอบการวจิ ยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P8-4

แผนงานทนุ ท้าทายไทยเพ่อื รองรบั สงั คมสงู วัย 4 เปล่ยี นเกษียณเป็นพลงั 1KR 2.8.1 จานวนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับสังคมสูงวัย รวมถึงโครงสร้าง ประชากร ระบบบริการ ระบบกาลังคน ระบบข้อมูล ระบบเทคโนโลยี ระบบการเงินการคลัง และกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ท่ีเกี่ยวข้องเป็นตน้ (100 ช้ิน) KR 2.8.3 รอ้ ยละขององค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรมและนโยบายท่ีถกู นาไปใช้ขยายผลต่อยอดจาก โครงการต้นแบบ หรือโครงการขนาดเล็กอย่างครอบคลุมทุกบริบทของประเทศ สามารถ ยกระดับคุณภาพชวี ิตของประชากรทุกช่วงวัยไดจ้ ริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงวยั ใหส้ ามารถ ดารงชวี ติ ได้อยา่ งมคี ณุ คา่ (ร้อยละ 60 เทียบกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากโครงการต้นแบบหรือ โครงการขนาดเล็กทงั้ หมดใน 3 ปี คอื 2563-2565) KR 2.8.4 จานวนระบบบริการหรือระบบสนับสนุนสาหรับผู้สูงอายุ รวมถึงระบบการดูแล ระบบ บริการสุขภาพ และระบบพัฒนาศักยภาพในการทางาน ที่พัฒนาเป็นต้นแบบหรือพื้นที่ ทดลอง โดยใชก้ ารวจิ ัยและนวตั กรรม (10 ระบบ) ผลผลิต นวัตกรรมที่สนับสนุนให้คนเกษียณหรือผู้สูงอายุสามารถเข้าสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือพัฒนาทักษะงานในโลกดิจิตอลหรือทักษะงานเฉพาะท่ียังเป็นที่ต้องการ รวมทั้งสามารถถ่ายทอด ประสบการณ์ให้กับคนรุน่ ถดั ไปได้ กรอบการวจิ ยั และนวัตกรรม 1) การวิจัยเพื่อสร้างกลไกหรือรูปแบบแรงจูงใจให้คนเกษียณหรือผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) เข้าสู่สังคม แห่งการเรยี นรู้ 2) การวิจัยและพัฒนาระบบการทางาน การจ้างงาน รวมทั้งระบบการเรียนการสอนแบบ E-learning สาหรับผูส้ งู อายุ เพอ่ื ให้ผู้สงู อายมุ ีอาชพี และรายไดห้ ลงั วัยเกษียณ 3) การวิจัยเชิงระบบเพ่ือให้ได้รูปแบบและแนวทางการประกอบอาชีพได้ตามทักษะของผู้เกษียณ เพื่อเพิ่มศักยภาพและดูแลตนเองได้ 4) การศึกษารูปแบบการพัฒนาช่องทางการเขา้ ถึงเทคโนโลยสี ารสนเทศของผสู้ ูงอายุ 5) การศึกษาวิจัยและออกแบบหลักสูตรออนไลน์เพื่อพัฒนาคนรุ่นใหม่ผ่านประสบการณ์และทักษะ เฉพาะทางของผู้เกษียณ หมายเหตุ : 1. แผนงานวิจัยทีจ่ ะดาเนนิ การควรอยใู่ น Societal Readiness Level ระดับ Level 3-5 ขน้ึ ไป 2. กรณีแผนงานวิจัยท่ีมีการสะท้อนความร่วมมือ และมีการสนับสนุนจากหน่วยงานที่มีส่วน เกย่ี วข้องในระดบั พ้ืนที่ และระบผุ ้ใู ช้ประโยชน์อย่างชัดเจน จะไดร้ ับการพจิ ารณาเปน็ พเิ ศษ กรอบการวิจยั และนวตั กรรม ประจาปี 2565 P8-5


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook