Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารอยู่ในบุญ ฉบับที่ ๑๙๙ ประจำเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

วารสารอยู่ในบุญ ฉบับที่ ๑๙๙ ประจำเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

Published by pratthana.kay, 2020-06-28 23:12:12

Description: วารสารอยู่ในบุญ ฉบับที่ ๑๙๙ ประจำเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

Search

Read the Text Version

ปที่ ๑๗ ฉบบั ท่ี ๑๙๙ เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒๕ กรกฎาคม ๐- ระหวา งวันที่ โทร. ๑๒๒๘พ๓ฤศ๑จิก๑า๒ยน๓๔พ.ศ. ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

สารบัญ ๐๒ ฉบับที่ ๑๙๙ ประจําเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๐ ๒๐ • ความสงบสุข ณ ไอซแ ลนด ๒๔ • การบวชมอี านสิ งสม ากขนาดไหน ? ๒๘ ๓๔ อานิสงสข องการบวชทส่ี ง ผลยาวนานเปน กปั ๆ คอื อะไร ? ๓๘ • บนั ทึกจากหวั ใจลกู ผชู าย ๔๒ • วนั อาสาฬหบูชาและวันเขา พรรษาน้ี เราจะทาํ อะไรกันดี ? ๔๘ • ขอเปน กาํ ลังใจใหพ ุทธบุตรภาคใตต อไป ๕๒ • เลน หมากรุกยังตอ งคดิ เดนิ หมากชีวติ ไมค ดิ ไดอ ยางไร ๕๖ • ขา วสารเครอื ขา ยคณะศษิ ย ๖๔ • หลักฐานธรรมกายในคมั ภรี พ ทุ ธโบราณ (ตอนที่ ๔๘) • สนั ตภิ าพในเมอื งแหง ทตู สวรรค • ชวนคนทาํ ความดนี ั้น ดีอยางไร ? • ยอ นอดตี …ทอ งประวัติศาสตรพ ระพุทธศาสนา (ตอนท่ี ๑๙) • อาชีพ ๕ อยา ง ทพ่ี ระสมั มาสัมพทุ ธเจา ทรงหา ม ดwาวwนwโห.ลkดaPlyDaF naอmา นiter-ab.ooorkg

“…ในการบาํ เพ็ญภาวนา ความเพยี รเปนขอสาํ คญั ยิ่ง ตอ งทาํ เสมอ ทาํ เนอื ง ๆ ในทุกอริ ยิ าบถ ไมวา นง่ั นอน เดิน ยืน และทําเรอ่ื ยไป อยาหยุด อยา ละ อยาทอดทิ้ง อยา ทอแท มุงรุดหนาเร่ือยไป ผลจะเกดิ วนั หนง่ึ ไมตอ งสงสัย ผลเกดิ อยา งไร ทานรไู ดด วยตัวของทานเอง…” พระมงคลเทพมุนี (สด จนทฺ สโร) ผูคนพบวิชชาธรรมกาย www.kalyanamitra.org

การเดนิ ทางเพอ่ื สนั ติภาพโลก เร่ือง : กองบรรณาธกิ าร ๐๒ อยูในบุญ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

ความสงบสขุ ณ ไอซแ ลนด ไอซแลนดเปนประเทศในกลุมนอรดิกในภูมิภาคยุโรปเหนือ ตั้งอยูบนเกาะในมหาสมุทร แอตแลนตกิ เหนอื ระหวางกรีนแลนด นอรเวย และสหราชอาณาจกั ร ไอซแ ลนดมปี ระชากรประมาณ ๓๕๐,๐๐๐ กวา คน แตส ิง่ ทน่ี า ภมู ใิ จเปน ท่ีสดุ ของคนท่นี ี่ คือ ในป พ.ศ. ๒๕๕๗ ไอซแลนดถ ูกจัดใหเ ปน ประเทศที่สงบสขุ ท่ีสุดในโลก ในดนิ แดนอันสงบสุขน้ีเอง มผี คู นไมนอ ยทส่ี นใจการฝกสมาธมิ าก… กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยูในบญุ ๐๓ www.kalyanamitra.org

๐๔ อยูในบญุ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

ดงั นนั้ พระอาจารย ดร.ปรมยั ธนสิ สฺ โร จงึ ไดร บั เชญิ ใหไ ปสอนการทาํ สมาธทิ เี่ มอื งเคฟลาวกิ (Klefavík) โดย คณุ ซกิ รู เ ดอร ฟอสเตยี นซอน (Sigurður Þorsteinsson) ซง่ึ เปน คนทพี่ ระอาจารย ดร.ปรมยั รจู ักตอนไปประเทศแคนาดา คุณซิกูรเ ดอร ฟอสเตียนซอน ไดเชญิ เพอ่ื น ๆ ผูรวมงาน และผทู สี่ นใจการทาํ สมาธิจาก หลายสาขาอาชีพ เชน แพทย นกั จติ วิทยา และบุคคลทั่วไปไดถ งึ ๕๔ คน มาฝก สมาธิรว มกัน ๑ สปั ดาห ณ อาคารยาอสี (Já.is) ซง่ึ ทาํ ใหท กุ คนมปี ระสบการณก ารทาํ สมาธทิ ดี่ ี เชน รสู กึ ตวั เบา สบาย ตัวหาย เหมือนกง่ึ หลับก่งึ ตื่น แตก ็ม่นั ใจวาไมไดนอนหลับอยู บา งก็รสู ึกเหมอื นกบั วา ตวั เอง ตกลงจากที่สูง บางก็รสู กึ เห็นแสงสเี ขียวในระหวางการทาํ สมาธิ หลาย ๆ คนที่มารวมฝกสมาธิในครั้งนี้ตางสนใจถึงประโยชนของสมาธิ ท่ีมีผลตอ การเปลี่ยนแปลงของคลื่นสมอง ซ่ึงพระอาจารย ดร.ปรมัยไดสรุปเพิ่มเติมวา การทําสมาธิและ ฝกสติในชีวิตประจําวันนั้น ยังชวยใหจิตใจกลับคืนสูสภาวะดั้งเดิม นั่นก็คือ ความบริสุทธิ์ ความสะอาด และความเปนระบบระเบยี บของความคดิ อนั จะนํามาซ่งึ ความสขุ ที่แทจ รงิ ของชีวติ กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยูในบญุ ๐๕ www.kalyanamitra.org

นอกจากน้ี พระอาจารย ดร.ปรมยั ยงั ไปสอนการทาํ สมาธอิ กี แหง หนงึ่ คอื ศนู ยป ฏบิ ตั ธิ รรมโอม (Om Setrið) ซึ่งเปนสถานที่ติดริมทะเลในเมืองเคฟลาวิก และเปนที่สัปปายะเหมาะสมกับ การปฏิบัตธิ รรม ทั้งบรรยากาศภายนอกและภายในศนู ย แตเนื่องจากมีผูคนสนใจการฝกสมาธิลนหลามเกินกวาทางทีมงานศูนยปฏิบัติธรรมโอม จะต้ังรับไหว คือ มีผูสมัครมากถึง ๗๔ คน จึงทําใหตองแบงการสอนสมาธิเปน ๒ รอบ โดยพระอาจารย ดร.ปรมยั ไดบ รรยายธรรมในหวั ขอ เราจะคน หาความสขุ ในชวี ติ ทแ่ี ทจ รงิ ไดอ ยา งไร ? ทา นใหข อ คดิ วา เมอ่ื ใจของคนเราขนุ มวั ไมใ ส กจ็ ะมองอะไรไมถ กู ตอ งตามความเปน จรงิ และบางคร้ังยงั ไมเห็นคณุ คาของคน สัตว สิ่งของ สถานท่ี และโอกาสท่มี ใี นชีวิตของเรา ทาํ ให ตอ งแสวงหาสิ่งใหม ๆ ไปเรอ่ื ย ๆ แตถ าเรามีใจที่สงบ หยดุ นง่ิ จะทําใหเราไดส มั ผัสถึงความสุข ๐๖ อยูในบญุ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

ท่ีประณีตข้ึน เปนความสุขท่ีเกิดจากภายใน โดยเราไมตองไปด้ินรนแสวงหา ซ่ึงหลาย ๆ คน ท่ีมานง่ั สมาธ.ิ .นาจะสัมผสั ไดถึงความสุขน้ี ! เพราะตา งก็พดู วา..เวลานงั่ สมาธแิ ลวเพลิน ไมร สู กึ วา กินเวลาเน่ินนานเลย บางคนก็รูสึกถึงพลังความอบอุนจากภายในท่ีมาพรอมกับความรูสึกดี อยางประหลาด บางคนก็ไมรูสึกถึงรางกาย เหมือนกับวาไมไดอยูตรงนั้น ทุกประสบการณ จากการทาํ สมาธทิ ําใหท กุ ๆ คนสัมผัสไดถึงความพงึ พอใจ สมั ผสั ไดถ งึ ความสงบสุขอันประณตี เหมอื นหยดุ เวลาบนโลกนไ้ี ว ราวกบั เปน ภาวะทปี่ ราศจากกาลเวลา ขนาด และระยะทาง… กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยูในบญุ ๐๗ www.kalyanamitra.org

๐๘ อยูในบญุ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

“คนเราสรา งความดอี ยาคิดวางาย ตองตอ สู ตอ งอดทน และเงยี บ” คณุ ยายอาจารยมหารัตนอุบาสิกาจนั ทร ขนนกยงู ผใู หก ําเนิดวดั พระธรรมกาย สนับสนุนการจดั พิมพวารสารอยูในบุญ เพื่อมอบเปน ธรรมทานโดย เนเจอรก ฟิ คําตอบสุดทา ยสาํ หรับผูท่ีตอ งการมีสขุ ภาพท่ดี ี โทร. ๐ ๒๐๒๔ ๙๓๘๘, www.naturegift.co.th, Naturegift Thailand www.kalyanamitra.org

ทบทวนบญุ เรื่อง : ร.ลิ่วเฉลมิ วงศ การบวชมอี านสิ งสม์ ากขนาดไหน ? อานสิ งสข์ องการบวชทส่ี ง ผลยาวนาน เปนกปั ๆ คืออะไร ? 1๐ อยู่ในบญุ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

หากผ้บู วชและผูส้ นบั สนนุ การบวชไม่ได้ทำ� อนนั ตรยิ กรรม คอื กรรมหนกั ๕ อย่าง ได้แก่ ฆา่ พอ่ ฆ่าแม่ ฆา่ พระอรหันต์ ทำ� พระพุทธเจา้ ให้หอ้ พระโลหิต ท�ำสงฆ์ใหแ้ ตกแยก การบวชซึง่ เป็น มหากศุ ลกจ็ ะมกี ำ� ลงั สง่ ผลมากและมรี ะยะเวลาสง่ ผลยาวนาน คอื จะสง่ ผลใหผ้ บู้ วชและผสู้ นบั สนนุ การบวชวนเวียนอยู่แต่ในสุคติภูมิ และเกิดในดินแดนที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองอย่างตลอด ตอ่ เนอื่ งตามจำ� นวนกปั ทไ่ี ดป้ ระกอบเหตไุ ว้ ดงั ขอ้ มลู จากสบุ นิ กมุ ารชาดก แปลจากบาลฉี บบั ภาษา รามญั (มอญ) วา่ … กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ 11 www.kalyanamitra.org

บุคคลที่มีจิตเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาท่ีอนุญาตและเป็นเจ้าภาพให้ทาสหญิงทาสชาย ของตนและของคนอื่นบวช ถ้าบวชเปน็ สามเณร เจา้ ภาพจะได้อานสิ งส์ ๖ กัป ถ้าได้บวชเป็นพระ เจา้ ภาพจะไดอ้ านสิ งส ์ ๑๒ กปั ชนบางจา� พวกไมม่ บี ุตร ขอบุตรคนอน่ื แลว้ ตัวเองเป็นเจา้ ภาพบวชให้ ถ้าบวชเป็นสามเณร ได้ รับอานิสงส์ ๔ กัป ถ้าได้บวชเป็นพระ ได้รับ อานสิ งส ์ ๘ กปั ชนเหล่าใดอนุญาตให้บุตรของตนบวช ถ้า บวชเป็นสามเณร ได้รับอานิสงส์ ๘ กัป ถ้าบวช เปน็ พระ ไดร้ บั อานสิ งส์ ๑๖ กัป ชนเหล่าใดอนุญาตให้ภริยาของตนบวช ถ้า บวชเปน็ สามเณร ี ไดร้ ับอานิสงส์ ๑๖ กปั ถ้าบวช เป็นภกิ ษุณี ไดร้ บั อานสิ งส์ ๓๒ กปั ชนเหล่าใดได้มีจิตเลื่อมใสแบบ ญาณ- สัมปยุต คือ ผุดข้ึนเองโดยไม่ต้องมีใครชักชวน ถ้าบวชเป็นสามเณร จะได้รับอานิสงส์ ๓๒ กัป ถา้ บวชเปน็ พระได้รบั อานิสงสม์ ากถงึ ๖๔ กปั ๑ กัป..ยาวนานเทาไร ? ๑ กปั อปุ มาเหมอื นการเอาศลิ าแทง่ ทบึ ขนาด กว้าง ๑ โยชน์ ยาว ๑ โยชน์ สูง ๑ โยชน์ (๑ โยชน์ = ๑๖ กิโลเมตร) และทกุ ๆ ๑๐๐ ป  น�าผ้าบางเท่า ควันไฟมาลูบทีหนึ่ง ท�าอย่างนี้จนศิลาแท่งทึบนั้น สึกราบเรียบเสมอกับพื้นดิน อุปมาระยะเวลาอัน ยาวนานนเี้ ทา่ กบั ๑ กัป 1๒ อยู่ในบุญ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 1๓ www.kalyanamitra.org

อานสิ งส์การบวช ๑. สามารถยกฐานะจากคนธรรมดาขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของพระรัตนตรัย ท่ีมนุษย์และเทวดา กราบไหว้ ๒. ผบู้ วชจะไดศ้ กึ ษาธรรมะเพ่ือเอาไวช้ ว่ ยตนเองและผอู้ ื่น ๓. ท�ำใหส้ ามารถบรรลธุ รรมในเบอ้ื งต้นจนถงึ เบ้ืองสูง มมี รรค ผล นิพพาน เปน็ แกน่ สาร ในท่ีสดุ ๔. หากไม่บรรลุธรรมในชาตินี้ บุญกุศลอันมหาศาลจากการบวชย่อมไม่สูญเปล่า จะถูก สง่ั สมไวเ้ ปน็ รากฐานแหง่ การบรรลธุ รรมในชาตติ อ่ ๆ ไป และยงั สง่ ผลใหผ้ บู้ วชมคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื ง ในรม่ เงาพระพุทธศาสนาไปนานถึง ๖๔ กปั ๕. ผลบุญกุศลอันมหาศาลจากการบวชจะไปตัดรอนวิบากกรรมท่ีก�ำลังจะส่งผลจากหนัก ให้เปน็ เบา จากเบาเปน็ หาย แม้ตายก็ไปดี ๖. บญุ กศุ ลอนั มหาศาลจากการบวชจะสง่ ผลใหม้ คี วามกา้ วหนา้ ในหนา้ ทกี่ ารงาน พบชอ่ งทาง ในการประกอบอาชพี ที่ดกี ว่า ร่�ำรวย มีชอื่ เสียง พลิกวกิ ฤตของชวี ิตใหเ้ ป็นโอกาสได้โดยงา่ ย ๗. บุญกุศลจากการบวชสามารถปิดอบาย เปิดทางไปสวรรค์ให้แก่ผู้บวชเอง และส่งผล โดยตรงกับพอ่ แม่ ญาติพ่นี อ้ ง ผู้รว่ มอนุโมทนา และบคุ คลทผี่ ู้บวชตอ้ งการจะอุทิศให้ ๘. เป็นการสร้างความสมัครสมานสามัคคีให้เกิดข้ึนแก่พุทธบริษัท ๔ ทั้งแผ่นดิน เพื่อให้ ทุกภาคส่วนมีบทบาทในการช่วยกันฟื้นฟูศีลธรรม และพัฒนาท้องถิ่นให้มีความเจริญรุ่งเรืองทาง ศลี ธรรม เกดิ ความสงบรม่ เยน็ บนผนื แผน่ ดนิ ไทย ผา่ นพน้ วกิ ฤตไปสคู่ วามเจรญิ ในอนาคตอยา่ งรวดเรว็ ๙. เปน็ การสร้างผนู้ ำ� ทางศลี ธรรมใหเ้ กดิ ขึน้ ทัว่ ผนื แผ่นดินไทย สถาปนาวัดรา้ งให้เปน็ วัดรุ่ง สบื ทอดอายพุ ระพทุ ธศาสนาไปตราบนานเทา่ นาน จะเหน็ วา่ การบวชมอี านสิ งสม์ ากมายจะนบั จะประมาณมไิ ด้ ดว้ ยเหตนุ ที้ ำ� ใหม้ คี นสมคั รบวช ในโครงการตา่ ง ๆ ของวดั พระธรรมกายเปน็ จำ� นวนมาก ซง่ึ ทางวดั ไดจ้ ดั ใหผ้ บู้ วชในหลายโครงการ น้ี เข้าพธิ ีบรรพชาพร้อมกัน ณ วดั พระธรรมกาย ในวนั ที่ ๑๕ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งโครงการ ต่าง ๆ ได้แก่ 14 อยู่ในบญุ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 1๕ www.kalyanamitra.org

๑. โครงการอุปสมบทหม ู่ รุ่นพระพเ่ี ลี้ยงช่วงเขา้ พรรษา ๒. โครงการธรรมทายาทอปุ สมบทหมู่ ระดบั อุดมศกึ ษา รุ่นท ี่ ๔๗ ภาคฤดูฝน ๓. โครงการอุปสมบทหมธู่ รรมทายาทพุทธศาสตรส์ ากล ร่นุ ท่ี ๕ ภาคฤดูฝน ๔. โครงการบรรพชาอุปสมบทหมู่ธรรมทายาทนานาชาติ AEC รนุ่ ท ี่ ๓ ๕. โครงการบรรพชาอุปสมบทหมธู่ รรมทายาทนานาชาต ิ AEC ผู้บรหิ าร รนุ่ ท ี่ ๑ 1๖ อยู่ในบญุ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 1๗ www.kalyanamitra.org

1๘ อยู่ในบญุ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 1๙ www.kalyanamitra.org

จากใจธรรมทายาท เร่ือง : สิทธิวัฒน บนั ทกึ จากหวั ใจลกู ผูชาย พระสทิ ธิ ธมฺมสิทฺโธ (ประสิทธกิ ุลวัฒน) ธรรมทายาทพทุ ธศาสตรสากล รุนท่ี ๕ “เราเกิดมาทําไม ?” ผมรูคําตอบของคําถามนี้ตั้งแตเด็ก ๆ และเขาใจเร่ือง บุญ บาป รวมท้งั มโนปณิธานตา ง ๆ ของหลวงพอ แตผมเองก็ไมไ ดซ าบซง้ึ กบั สิ่งที่ ผูคนมากมายตางแสวงหาขนาดนั้น ผมเพ่ิงมาเขาใจถึงคุณคาของส่ิงเหลาน้ีจริง ๆ ในโครงการอุปสมบทหมธู รรมทายาทพทุ ธศาสตรสากล และผมขอพูดจากใจวา ผม ไมเคยเสยี ใจเลยที่เขาอบรมในโครงการนี้ ผมเองเกดิ ในครอบครวั ธรรมกาย เขา วดั ตงั้ แตอ ยใู นทอ งแม โตมาในครอบครวั ท่ีปลูกฝงหลักธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนาใหผมต้ังแตเด็ก อีกท้ังการมาวัด ทกุ วนั อาทติ ยต น เดอื นและวนั งานบญุ ใหญ ทาํ ใหผ มรสู กึ วา การสรา งบญุ เปน เรอื่ งสาํ คญั เปน สง่ิ ทตี่ อ งทาํ แตพ อผมโตขน้ึ ในชว งชน้ั มธั ยมปลาย ผมตอ งเรยี น รด. ทกุ วนั อาทติ ย บางครงั้ ตอ งสอบตรงกบั วนั งานบญุ ใหญ ทาํ ใหขาดการทาํ บญุ บชู าขา วพระวนั อาทติ ย ตนเดอื นและบุญใหญไ ปหลายครงั้ ประกอบกับการทผ่ี มเริ่มเจอเพ่ือนท่เี ปน มจิ ฉาทฐิ ิ เยอะขนึ้ ผมกเ็ รมิ่ หา งจากคาํ สอนของหลวงพอ ทาํ ใหค วามเขา ใจและซาบซงึ้ ในคาํ สอน ของพระสมั มาสมั พทุ ธเจานอ ยลง เรมิ่ หางวดั ผมมาวดั ตามที่ครอบครวั พามาเทาน้นั ตอนนั้นผมมคี วามคิดผดิ ๆ และเชือ่ มนั่ ในความพยายามของตัวเองเพียงอยา งเดียว คือ “หน่ึงสมอง สองมอื ” ผมตงั้ ใจอา นหนังสอื เรียน ๆ ๆ อยากไดค วามรู อยากมี ความสามารถมาก ๆ ในอนาคตจะไดเอาความรูไปใชหาเงินเยอะ ๆ จนแทบ ลืมนกึ ถงึ ความจริงทว่ี า “บญุ คือส่ิงทอี่ ยูเบื้องหลังความสุขและความสาํ เรจ็ ” 2๐ อยูในบญุ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 21 www.kalyanamitra.org

ในตอนสอบเขามหาวทิ ยาลยั ดว ย ความรูและความต้ังใจ ณ ตอนนน้ั ทําให ผมสามารถสอบเขา ไปได แตผ มอยากได ทุนสูงสุดของมหาวิทยาลยั ดวย (เรยี นฟรี ท้ังหลักสูตรและมีเงินเดือนให) จะได ไมเปนภาระของพอแมและเปนประวัติ ทด่ี ีของตวั ผมเอง ตอนนนั้ ผมตงั้ ใจเขา เรยี นหลกั สตู ร นานาชาติของภาควิชา ซึ่งคาเลาเรียน ตลอดหลกั สตู รประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ บาท ผมเคยลองไปสอบถามเพื่อสมัครสอบ สมั ภาษณ แตเ นอ่ื งจากผมมวี ฒุ กิ ารศกึ ษา ปวช. ไมสามารถสมัครได เขาใหเ ฉพาะ ผทู ม่ี วี ฒุ ิ ม.๖ เทา นน้ั ผมรสู กึ เสยี ดายมาก แตก ็ไมสามารถทําอะไรได หลังจากน้ัน ผมจึงตัดใจไปบวช เพราะครอบครัวอยากใหผมเขารับ การอบรมธรรมทายาทกอนเขาเรียน มหาวิทยาลัย นั้นคือจุดเปล่ียนคร้ังใหญ ในชีวิตของผม 22 อยูในบญุ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ที่จริงแลวผมไมไดอยากเขาอบรม เลย แมจะรูวามันดีตอตัวเราขนาดไหน กต็ าม ผมคดิ วา เขา ไปแลว คงลาํ บาก ไมม ี โทรศัพทใช ตดิ ตอ ใครกไ็ มได ไมไดแตะ เทคโนโลยีเลย ใชแคปากกากับหนังสือ เทานั้น สําหรับเด็กยุคใหมที่เทคโนโลยี เปนเหมือนอวัยวะท่ี ๓๓ มันเปนอะไร ท่ีแย ขาวของหลาย ๆ อยางก็ตองใช เหมอื น ๆ กนั เพื่อฝกความเปนระเบียบ และยงั มกี ฎระเบยี บอะไรอ่นื ๆ อีก www.kalyanamitra.org

ผมใชเวลาประมาณหน่ึงอาทิตย ถึงจะเร่ิมชินกับการใชชีวิตธรรมทายาท ในชว งนนั้ ผมมคี วามสขุ อยกู บั ไมก อ่ี ยา ง เชน การฟง ธรรมจากพระอาจารย ซึ่ง ทําใหมีโอกาสศึกษาเร่ืองกฎแหงกรรม จกั รวาลวทิ ยา มารยาทชาวพทุ ธ ประวตั ิ ความเปน มาของมหาปูชนียาจารย ฯลฯ การฝกตัวภายใตการดูแลจาก พระพ่ีเลี้ยงและพระอาจารยทําใหใจผม ละเอียดข้ึน มีการรับรูและซาบซ้ึงใน ธรรมะเพิ่มข้ึน เวลาในโครงการผานไป จนกระท่ังจบโครงการ ในชวงนั้นผมไดรับโทรศัพทคืน และไดเช็กอีเมล ซ่ึงทําใหผมตกใจและ งงมาก ๆ คือ มีอีเมลจากกองกิจการ- นักศึกษาสงมาวา ผมไดทุนสูงสุดของ มหาวิทยาลัยตามท่ีผมตองการ แมผม ไมสามารถยื่นขอทุนได แตผมก็ไดทุน โดยไมต อ งผา นการสมั ภาษณเ ลย ตอนนนั้ ผมเขาใจเลยวา ท่ีเขาพูดกันวา “สําเร็จ ดว ยบญุ ” เปน อยา งไร หากผมไมไ ดม าบวช และต้ังใจส่ังสมบุญประมาณ ๒ เดือนน้ี ผมคงไมมีโอกาสไดเห็นอานุภาพของบุญ ท่ีเกิดข้ึนทันตาขนาดนี้ และผมคงไมมี โอกาสสัมผัสธรรมะท่ีลึกซึ้งของพระ- สัมมาสัมพุทธเจาและมหาปูชนียาจารย ขนาดนี้ ผมขอขอบคุณโครงการดี ๆ อยา งนม้ี ากครบั และอยากเชญิ ชวนใหม า บวชกันเยอะ ๆ ครบั กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยูในบญุ 2๓ www.kalyanamitra.org

วนั ส�ำ คญั ทางพระพุทธศาสนา เร่อื ง : พระมหาศุภณฐั จนฺทชโย ป.ธ.๙ วันอาสาฬหบูชาและวนั เขา้ พรรษานี้ เราจะทำ� อะไรกันดี ? แมใ้ นยามทส่ี รรพสตั วต์ า่ งถกู ปกคลมุ ดว้ ยความมดื มนอนธการแหง่ กเิ ลสทงั้ หลาย แตแ่ สง แห่งพระสัทธรรมของพระบรมศาสดาก็มิเคยหยุดท�ำหน้าท่ีให้ความสว่างแก่ผู้ประพฤติปฏิบัติ ตามเลย ยังคงเป็นดั่งดวงตะวันและจันทราทค่ี อยให้ความอบอุน่ ช่มุ เยน็ และขจดั ความมดื มิด ใหแ้ กโ่ ลกหลา้ ฉะน้นั 24 อยู่ในบุญ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

ในวันเพ็ญเดือน ๘ หรือท่ีเรียกว่า “วันอาสาฬหบูชา (วันพระธรรม)” ซ่ึงตรงกับ วันท่ี ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ทจี่ ะถึงน้ี นับเป็นอกี วันหนึง่ ทเี่ ราพทุ ธศาสนิกชนท้ังหลาย จะไดม้ ารว่ มกนั ตรกึ ระลกึ นกึ ถงึ พระสทั ธรรมคำ� สอนของพระพทุ ธองค์ ซ่งึ บงั เกดิ มขี น้ึ ครง้ั แรก ในสมัยพทุ ธกาล หลังจากพระพุทธองค์ตรสั รู้ธรรมและเสวยวิมุตติสุขได้ราว ๗ สปั ดาห์ ณ ป่าอสิ ปิ ตนมฤคทายวัน ใกล้กรงุ พาราณสี กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 25 www.kalyanamitra.org

ในครั้งนนั้ มเี หตุการณ์สำ� คัญเกดิ ขน้ึ ๔ ประการดว้ ยกนั คอื ๑. พระพทุ ธองค์ทรงแสดงปฐมเทศนาชือ่ “ธมั มจักกปั ปวตั นสูตร” ๒. พระพทุ ธองค์ทรงไดป้ ฐมสาวก ๓. มีพระสงฆเ์ กิดขึ้นในโลกเปน็ ครัง้ แรก ๔. มพี ระรตั นตรยั ครบองค์ ๓ คือ พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ นอกจากนี้ รุ่งอรณุ ถัดจากวันอาสาฬหบูชา คือ ในวันแรม ๑ ค�่ำ เดือน ๘ (ปนี ้ตี รงกบั วันที่ ๑๗ กรกฎาคม) ก็เป็นวันส�ำคัญอีกวันหนึ่ง คือ “วันเข้าพรรษา” ซ่ึงเป็นวันที่บรรดา พุทธบุตรแก้วต่างต้ังใจแน่แน่วตลอดไตรมาส อธิษฐานพรรษาท่ีจะประพฤติพรหมจรรย์ ใหบ้ รสิ ทุ ธ์บิ ริบูรณ์ยง่ิ ๆ ขึน้ ไป เพื่อชว่ ยตนตลอดจนสรรพสตั ว์ท้งั หลายในสากลโลกให้พ้นไป จากการเป็นบ่าวเป็นทาสของอวิชชา คอื ความไมร่ ู้ อน่ึง เพ่ือเป็นเนติแบบแผนและทิฏฐานุคติอันดีในการบ�ำเพ็ญบุญกุศลเน่ืองในวันส�ำคัญ ทางพระพุทธศาสนา วดั พระธรรมกาย จ.ปทุมธานี จึงไดจ้ ดั บุญพธิ ีมากมาย อาทิ พิธเี จริญ- www.kalyanamitra.org

พระพทุ ธมนต์ พิธถี วายผา้ อาบนำ้� ฝน พธิ ถี วายโคมประทปี เนอ่ื งในเทศกาลเข้าพรรษา และ ร่วมกันสวดธัมมจักกัปปวตั นสูตรให้ครบ ๑,๔๐๐,๐๐๐,๐๐๐ จบ เปน็ ต้น ด้วยเหตุน้ี จึงขอเชิญชวนผู้มีบุญและมีหัวใจยอดกัลยาณมิตรทุกท่านมาร่วมเป็นหนึ่ง ในการสง่ั สมบญุ ทงั้ หลายขา้ งตน้ ในวนั อาสาฬหบชู าทกี่ ำ� ลงั จะมาถงึ นี้ ใหส้ มกบั ทคี่ ณุ ครไู มใ่ หญ่ หมน่ั พร�่ำสอนเสมอวา่ “เราเกดิ มาทำ� พระนิพพานใหแ้ จง้ แสวงบุญ สรา้ งบารม”ี เพราะบญุ แมเ้ พยี งนอ้ ย หากสงั่ สมบอ่ ยมากเขา้ กส็ ามารถเตม็ เปย่ี ม และอำ� นวยความสขุ ความสำ� เรจ็ ให้ เราทง้ั หลายได้ ดงั วาระพระบาลีในขทุ ทกนิกาย ธรรมบท วา่ บุคคลไม่ควรดหู มน่ิ บญุ วา่ บญุ มปี ระมาณน้อยจกั ไม่มาถึง แมห้ มอ้ น�ำ้ ยงั เต็มดว้ ยหยาดน้�ำทตี่ กลงมา (ทลี ะหยาด ๆ) ได้ ฉันใด ธีรชน (ชนผมู้ ีปัญญา) ส่งั สมบญุ แม้ทีละน้อย ๆ ยอ่ มเต็มดว้ ยบุญได้ ฉันน้นั ฯ (ข.ุ ธ.อ. (ไทย) ๔๒/๑๙/๒) ในอวสานกาลสมัยนี้ ผู้เขียนก็ขอตั้งจิตอนุโมทนาบุญกับผู้มีบุญทุกท่าน ซึ่งมีหัวใจ แขง็ แกรง่ ไมห่ วน่ั ไหวตอ่ กเิ ลสและความสะดวกสบายทงั้ หลายในทางโลก มาสรา้ งบารมรี ว่ มกนั อย่างเต็มที่เต็มก�ำลังเสมอมา เสมือนด่ังสิเนรุบรรพตท่ีมิหวั่นไหวต่อการโยกคลอนแผดเผา แหง่ แรงลมและแสงแดด ฉะนนั้ ด้วยอานภุ าพของพระรตั นตรัยอันนับประมาณมิได้ ขอความสุข สวสั ดีมีชัยจงบังเกดิ มีแก่ทุก ๆ ทา่ น มา ณ โอกาสนี้ กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 27 www.kalyanamitra.org

ดบั ไฟใต เรื่อง : สจั จาธิโก www.kalyanamitra.org

ขอเป็นก�ำลงั ใจ ให้พทุ ธบุตรภาคใต้ตอ่ ไป www.kalyanamitra.org

ถาหากการทําดมี ีผลเปนการถกู ปองรา ยถงึ ชวี ติ เราจะยังคงทําความดีอยูไหม ? เชอื่ วา หลายคนคงตัดสินใจลมเลิก หากมิใชเพ่ือความปลอดภัยของตนเอง ก็เพราะเปนหวงจิตใจ ของญาติมิตร ดังนั้นบุคคลท่ีแมจะถูกปองรายดวยศัสตราเพ่ือใหหยุดทําความดี แตยังคง ทําดีตอไปโดยไมหว่ันเกรงอันตรายท่ีจะมาถึงชีวิตของตน จึงสมควรไดรับการยกยองวา เปน บคุ คลผมู ใี จประเสรฐิ เฉกเชน พทุ ธบตุ รทยี่ งั คงปก หลกั เผยแผธ รรมะ เปน ทพี่ งึ่ เปน กาํ ลงั ใจ เปน ดวงปญ ญา ใหแ กพ นี่ อ งประชาชนใน ๔ จงั หวดั ภาคใต ทมี่ ชี วี ติ อยทู า มกลางสภาวะทรี่ อ น เสมือนไฟมาเปน ระยะเวลายาวนาน ๓๐ อยูในบุญ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

ดวยเล็งเห็นหัวใจที่ยิ่งใหญของพุทธบุตรเหลานี้ วัดพระธรรมกาย คณะสงฆภาคใต หนว ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน จงึ รว มกันจัดกจิ กรรมสนบั สนนุ และชวยเหลอื พุทธบุตรทั้งหลายเดือนละคร้ังตลอดมาเปนเวลาถึง ๑๕ ปแลว โดยจัดพิธีถวายสังฆทาน แดคณะสงฆ ๓๒๓ วัด ใน ๔ จงั หวัดภาคใต (ปตตานี ยะลา นราธวิ าส และ ๔ อําเภอ ในจงั หวดั สงขลา) และพธิ ที าํ บญุ อทุ ศิ สว นกศุ ลแดผ วู ายชนมจ ากเหตกุ ารณค วามไมส งบ อกี ทงั้ ยังมีพิธีมอบกองทุนหนุนแรงใจชวยครูใตที่ยืนหยัดเปนแสงสวางแกเยาวชนในดินแดนแถบน้ี ทุกเดือนเปน เวลาถงึ ๑๒ ปแ ลว กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยูในบุญ ๓๑ www.kalyanamitra.org

๓๒ อยูในบญุ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

ในวันท่ี ๒๕ พฤษภาคม และวันที่ ๒๒ มิถุนายน ท่ีผานมา ก็มีการจัดพิธีถวาย สังฆทานฯ และพิธีทาํ บญุ อุทิศสว นกุศลฯ ครัง้ ที่ ๑๔๓ และครงั้ ที่ ๑๔๔ ตามลําดบั รวมทงั้ พธิ มี อบกองทุนหนนุ แรงใจชว ยครูใต คร้งั ที่ ๑๐๘ และ ๑๐๙ กิจกรรมในเดือนพฤษภาคมจัดข้ึนที่ศูนยปฏิบัติธรรมภาคใต จ.สงขลา โดยมีพระครู- วริ ตั ธรรมโชติ วดั ชยั มงคล พระอารามหลวง เจา คณะอาํ เภอเมอื งสงขลา เปน ประธานฝา ยสงฆ และเดอื นมิถนุ ายนจดั ท่ีวดั บณุ ณาราม (โคกงู) จ.นราธวิ าส โดยมีพระครปู ย วรคณุ เจา คณะ อาํ เภอตากใบ เจาอาวาสวดั สิทธิสารประดิษฐ เปนประธานฝา ยสงฆ พิธีกรรมครั้งที่ ๑๔๓ มีพระภาวนาธรรมวิเทศ ผูช วยเจา อาวาสวัดพระธรรมกาย เปน ผูแทนกัลยาณมิตรทั่วโลกถวายสังฆทานและปจจัยไทยธรรม สวนพิธีคร้ังที่ ๑๔๔ ผูแทน กลั ยาณมติ ร คือ พระครสู มหุ จรนิ ทร รตนวณโฺ ณ ผชู วยเจา อาวาสวดั พระธรรมกาย กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยูในบญุ ๓๓ www.kalyanamitra.org

ลกู หลวงพอ เรื่อง : พระมหาภรู ชั ทนตฺ วโํ ส www.kalyanamitra.org

เล่นหมากรกุ ยงั ต้องคิด เดินหมากชีวติ ไม่คดิ ได้อยา่ งไร เพราะกาลเวลาไม่เคยหยุดนิ่ง ชีวิตจึงไม่อาจหยุด อยู่กับที่ คนฉลาดจะใช้เวลาในชีวิตอย่างมีค่า เพื่อวางแผน และดำ� เนินไปในส่ิงท่ตี ัวเองเชือ่ ม่นั ก่อนทมี่ นั จะค่อย ๆ หมด ลงไปเรอ่ื ย ๆ จนถงึ วนั สดุ ทา้ ยทห่ี ลบั ตาลาโลก การตง้ั ตน้ คำ� ถามในการดำ� เนนิ ชวี ติ ทดี่ ที สี่ ดุ นน้ั คงไมใ่ ช่ เรม่ิ ตน้ ทวี่ า่ เราจะดำ� เนนิ ชวี ติ นอี้ ยา่ งไร(notHOW), หรอื ไมใ่ ช่ วา่ เราจะทำ� อะไร (not WHAT), แตเ่ ป็นว่า เราจะดำ� เนนิ ชีวิต ในแตล่ ะวนั ไปทำ� ไม (but WHY) ! ค�ำถามทวี่ ่าท�ำไมนีแ้ หละ ทีเ่ ราตอ้ งตอบตัวเองใหช้ ัด เพือ่ ตั้งวตั ถปุ ระสงคใ์ นสิ่งทเี่ ราต้องการจริง ๆ แลว้ WHAT กับ HOW จงึ จะตามมา “อาตมามฉี ายาว่า ภทฺทธมฺโม ชือ่ เดมิ คอื ชิว ฮ่นั เสยี ง (Chiu Han Xiang) อายุ ๓๘ ปี เปน็ ชาวสงิ คโปร์ สญั ชาติจนี การตง้ั ใจบวชพระในครัง้ นี้ เพ่อื จะตอบแทนพระคณุ พ่อและแม่ เมื่อต้ัง วตั ถุประสงค์ คอื การต้ังใจจะตอบแทนคณุ แล้ว ก็คิดอยู่ตลอดวา่ เราจะท�ำอะไร ทำ� อย่างไร และ แค่ไหนดี จนไดม้ าพจิ ารณาไตรต่ รองตามค�ำสอนที่มแี ตใ่ นพระพทุ ธศาสนาทวี่ า่ ...ถ้าว่าจะแทนคุณมารดาบิดาน่ะ ให้เอาทองค�ำมาทั้งแผ่นน่ันแหละ เป็นเจ้าจักรพรรดิ นิรมิตแผ่นปฐพใี ห้เป็นทองค�ำทั้งแผ่น มอบให้บิดามารดา มอบใหเ้ ปน็ สมบตั ิพตั ราธริ าช ให้บิดา เปน็ เจ้าจักรพัตราธิราช ให้มารดาเป็นพระมเหสีของพระเจ้าจักรพัตราธิราช เป็นแต่กตัญญูต่อ บดิ ามารดา ไม่ใชว่ ่าตอบแทนคณุ แมว้ า่ จะเอาบดิ ามารดาขน้ึ นง่ั ใหม้ ารดาขน้ึ นงั่ บา่ ขวา บดิ าขนึ้ นง่ั บา่ ซา้ ย ถา่ ยอจุ จาระปสั สาวะ บนนนั้ เสร็จ จนหมดอายขุ องลกู น่นั แหละ จะชอื่ ว่าแทนคุณบดิ ามารดาก็หาไม่ หากจะไดช้ อ่ื วา่ เปน็ คนกตญั ญกู ตเวทตี อ่ มารดาบดิ า ชอื่ วา่ แทนคณุ แท้ ๆ แลว้ ตอ้ งใหม้ ารดา บิดาที่ไม่มีศรัทธา ให้มีศรัทธาข้ึน ที่ไม่มีศีล ให้มีศีลข้ึน ท่ีไม่เล่ือมใส ให้เล่ือมใสขึ้น ท่ีไม่รู้จัก กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 35 www.kalyanamitra.org

บาปบญุ คณุ โทษ ใหร้ จู้ กั บาปบญุ คณุ โทษขนึ้ ทงั้ ๔ ประการน้ี ผหู้ ญงิ กแ็ ทนคณุ บดิ ามารดาได้ ผชู้ าย ก็แทนคุณบิดามารดาได.้ .. พระมงคลเทพมนุ ี (สด จนฺทสโร), วันท่ี ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ “อาตมาจึงได้รวู้ ่า วิธีการที่จะตอบแทนคณุ ใหถ้ ูกดแี ละถงึ ดนี ัน้ คงไม่ใช่เพยี งแต่ไม่ทำ� ใหท้ า่ น ทุกข์ หรือให้สมบัติให้ท่านมีความสุขในปัจจุบัน เท่านั้น อาตมาจึงต้ังใจมาบวชให้คุณแม่อีกครั้ง และนเี้ ป็นครัง้ ท่ี ๓ ในชีวติ “หัวใจส�ำคัญของการบวชพระมีเป้าหมาย หลักคือการปฏิบัติธรรมเพ่ือให้หลุดพ้นจาก กองทกุ ข์ แตร่ ะหวา่ งเสน้ ทางการดำ� เนนิ ชวี ติ เราควรศกึ ษาพระธรรมคำ� สอน หมน่ั สงั่ สมบญุ ทกุ บญุ ฝกึ หดั ขัดเกลาตวั เองใหด้ ี และเทศนาโปรดญาตโิ ยมตามสมควร “เม่ืออาตมาได้ปฏิบตั ธิ รรม อาตมาเหน็ ใจตวั เองชัดข้นึ รจู้ ักจดุ แขง็ และจดุ ออ่ นของตวั เรา เอง จนสามารถตดั นสิ ยั ทไี่ มด่ ี และสรา้ งนสิ ยั ทดี่ ใี หเ้ กดิ ขน้ึ ได้ ทำ� ใหเ้ ราเปน็ คนทด่ี กี วา่ เดมิ ซง่ึ อาตมา ชอบวถิ ชี วี ติ ของพระทส่ี งบเรยี บงา่ ยแบบน้ี และรกั การนงั่ สมาธมิ าก เพราะศลี และสมาธทิ ำ� ใหอ้ าตมา มีความสุข เติมเต็มความสมบูรณ์ในใจให้เต็มเปี่ยมเสมอ อีกทั้งสมาธิยังท�ำให้เราเข้าใจผู้อ่ืนได้ มากขนึ้ เอาใจใสต่ อ่ สงิ่ ตา่ ง ๆ ไดด้ ยี ง่ิ ขน้ึ และผา่ นสถานการณท์ เี่ กดิ ขน้ึ ดว้ ยการคดิ บวกอยา่ งทมี่ แี ต่ อารมณ์สบาย และแมก้ ระทงั่ ปลอ่ ยวางไดใ้ นสิ่งท่ยี ึดมนั่ การปฏิบัติธรรมน้เี องจงึ ท�ำใหส้ งิ่ แวดล้อม รอบตวั ของพระภิกษนุ า่ อยู่ “ค�ำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท�ำให้โลกเกิดสันติสุขอย่างแท้จริง สอนให้คนรู้วิธีการ ดำ� เนนิ ชีวิตทถ่ี กู ต้อง รู้จกั กฎแหง่ กรรม บาปบุญคุณโทษ และการตอบแทนพระคณุ รจู้ ักการแก้ไข ปญั หาอย่างมเี หตุมีผล มีสติ และชาญฉลาด เนน้ การพฒั นาคณุ ธรรมในตวั เราเองก่อน นคี้ ือสิ่งที่ อาตมาคดิ ว่า ผ้ชู ายทุกคนควรให้โอกาสตวั เองมาบวช เพราะธรรมะในพระพทุ ธศาสนาจะพัฒนา ตง้ั แตจ่ ติ วญิ ญาณ จนแสดงออกมาเปน็ นสิ ยั ทถ่ี กู ตอ้ ง และเขาจะเปน็ คนทดี่ ขี นึ้ กวา่ เดมิ อยา่ งทต่ี วั เอง ภาคภูมิใจ” อาภรณ์ชุดสดุ ท้าย กาสายะ ชีพสุดทา้ ยคอื พระ ผ่องแผว้ วิชชาสุดคือธรรมะ พทุ ธเจา้ จารจดไวล้ ูกแก้ว จักแคลว้ บว่ งมาร ตะวันธรรม, วันท่ี ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๐ 36 อยู่ในบุญ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

นตถฺ ิ ปฺาสมา อาภา แสงสวา งเสมอดวยปญญา ไมมี พทุ ธพจน ขอเชญิ ส่ังสมปญ ญาบารมี โดยการมอบวารสารอยูใ นบุญเปนธรรมทาน สอบถามรายละเอียดไดทีผ่ ปู ระสานงานทีท่ า นสังกัด หรอื โทร. ๐๒ ๘๓๑ ๑๐๐๐ การใหธ รรมทาน ชนะการใหท้งั ปวง www.kalyanamitra.org

ขา วสารเครอื ขายคณะศิษย เรอ่ื ง : องอาจ ธรรมนทิ า โฆษกคณะศิษยานศุ ษิ ยวดั พระธรรมกาย พิธีมอบพัดเกียรติคุณ ประกาศนียบัตร และการประชุมสัมมนาเพื่อขับเคลื่อนโครงการ วดั ประชา รฐั สรา้ งสขุ สวสั ดีครับ เลม่ นี้ขอเร่ิมตน้ ดว้ ยข่าวสวา่ งในการรวมพลงั ทุกภาคสว่ นรว่ มสรา้ งสปั ปายะ ให้ “วดั สวยดว้ ยความสขุ ” ซง่ึ เกดิ ขนึ้ จากการรว่ มแรงรว่ มใจกนั ของคณะสงฆแ์ ละภาคเี ครอื ขา่ ย ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม จ.ปทุมธานี สานสามัคคี เสริมสร้างให้ “วัด ม่ันคง ชมุ ชนเขม้ แข็ง” โดยไดด้ า� เนนิ การมาอยา่ งต่อเนอื่ งกวา่ ๒ ปี และลา่ สุดได้จดั ใหม้ ี “พิธี มอบพดั เกยี รติคณุ ประกาศนยี บัตร โครงการวดั ประชา รัฐ สรา้ งสขุ จ.ปทุมธานี ประจา� ป พ.ศ. ๒๕๖๑ และการประชมุ สัมมนาเพือ่ ขบั เคล่ือนโครงการ ประจ�าป พ.ศ. ๒๕๖๒” เม่อื วนั ที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ ศาลาปฏิบตั ิธรรม วดั สายสวุ พรรณ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี โดยมีพระเดชพระคุณพระเทพรัตนสุธี เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี ประธานคณะอนุกรรมการ โครงการวัด ประชา รัฐ สร้างสุข ฝ่ายสาธารณูปการของมหาเถรสมาคม เป็นประธาน ฝ่ายสงฆ์ และนายจรูญศักด์ิ สิงหเดช รองผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี ปฏิบัติหน้าที่แทน ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดปทมุ ธานี เป็นประธานฝา่ ยฆราวาส และมผี ้เู ขา้ รว่ มเป็นเครือข่าย “บวร” จ.ปทุมธานี จา� นวนกว่า ๑๒๐ วัด ประกอบดว้ ยเจา้ อาวาส ผบู้ ริหารองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ๓๘ อยูในบุญ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

เครือขายคณะศิษยานุศิษย วดั พระธรรมกายทว่ั โลก ก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้น�าชุมชน ผู้แทนสถานศึกษา และผู้แทนสถานประกอบการ ท้ังน้ีเพื่อ สรา้ งกระบวนการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม สง่ เสรมิ ใหว้ ดั เปน็ พน้ื ทแ่ี บบอยา่ ง ทงั้ ดา้ นกายภาพ สรา้ ง สปั ปายะส่วู ัดดว้ ยวถิ ี ๕ ส คือ สะสาง สะอาด สะดวก สร้างมาตรฐาน และสรา้ งวนิ ัย ผสานกบั หลักพทุ ธธรรม ต่อยอดไปสู่การจดั การพน้ื ท่ีทางสงั คมและการเรยี นรู้ รวมถึงการจัดการพนื้ ที่ ทางจิตวิญญาณและปญญา เพ่ือส่งเสริมให้วัดเป็นศูนย์กลางของชุมชนอย่างแท้จริง ท้ังน้ี พระครสู งั ฆรกั ษร์ ังสฤษดิ์ อทิ ธฺ จิ นิ ฺตโก เจ้าอาวาสวดั พระธรรมกาย ไดเ้ ข้ารับพดั เกียรตคิ ณุ ฯ และคณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกายได้เป็นคณะกรรมการจัดงานร่วมกับคณะสงฆ์ จ.ปทมุ ธานี ในวาระนดี้ ว้ ย นทิ รรศการน�าเสนอองค์ความรูเ้ กี่ยวกับการจดั การขยะภายในวัด มาถึงอกี ข่าวสวา่ งที่น่าติดตาม คือ การทคี่ ณะสงฆ์ จ.ปทมุ ธานี และองคก์ รภาคีเครือข่าย ได้รว่ มกนั กอ่ ตั้ง “ศูนยน์ วัตกรรมรกั ษ์วัด รักษ์ส่งิ แวดลอ้ ม จ.ปทมุ ธาน”ี เพือ่ เปน็ ศนู ยก์ ลาง ของการรวบรวมข้อมูลทางนวัตกรรมของการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมภายในวัด และ กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยูในบญุ ๓๙ www.kalyanamitra.org

การจดั การขยะ โดยมงุ่ สร้างความตระหนกั ในการนำ� นวตั กรรมดา้ นต่าง ๆ ทีห่ ลากหลายมาใช้ ให้เป็นประโยชน์ รวมถงึ เป็นเวทกี ลางในการแลกเปลีย่ นแนวคดิ วธิ กี าร และรปู แบบใหม่ ๆ อนั เปน็ ผลมาจากการสรา้ ง พฒั นา เพมิ่ พนู ตอ่ ยอด หรอื ประยกุ ตใ์ ชอ้ งคค์ วามรแู้ ละแนวปฏบิ ตั ิ ตา่ ง ๆ ซ่งึ จะสง่ ผลให้เกดิ การพฒั นาประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธผิ ล และคณุ ภาพ ใหส้ อดคลอ้ ง กบั แผนยทุ ธศาสตรก์ ารปฏิรูปกิจการพระพทุ ธศาสนา โดยล่าสุด ทางศูนยฯ์ ไดร้ ่วมจัดแสดง นิทรรศการนำ� เสนอองคค์ วามรู้เก่ยี วกับการจัดการขยะภายในวัดตามหลัก 3R คือ Reduce ลดการใช้ Reuse การใช้ซ้�ำ และ Recycle การแปรรปู ใหม่ การน�ำเสนอนวตั กรรมผลติ ภัณฑ์ น�ำกลับมาใชใ้ หม่ เชน่ โตะ๊ เก้าอ้ีจากกล่องนม ขน้ั ตอนและวิธีก�ำจดั ขยะอินทรยี ร์ วมถงึ ขยะ ที่ยอ่ ยสลายได้ดว้ ยถงั ขยะเปยี ก ฯลฯ เจ้าคณะจงั หวดั ปทุมธานีเยยี่ มชมหอ้ งชีวประวตั ิและค�ำสอนคุณยายอาจารย์ฯ ต่อเน่ืองกันด้วยข่าวอันเป็นมงคลที่พระเดชพระคุณพระเทพรัตนสุธี เจ้าคณะจังหวัด ปทมุ ธานี ไดเ้ มตตารบั อาราธนาจากคณะศษิ ยานศุ ษิ ยว์ ดั พระธรรมกาย เยยี่ มชมหอ้ งชวี ประวตั ิ และค�ำสอนคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ณ ช้ัน ๔ อาคาร ๑๐๐ ปี คณุ ยายอาจารย์ฯ วดั พระธรรมกาย เมอ่ื วนั ท่ี ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยการจัดสร้าง หอ้ งนม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ใหพ้ ระภกิ ษุ สามเณร และสาธชุ นทเี่ ดนิ ทางมาเยอื นวดั พระธรรมกาย 40 อยู่ในบุญ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

ไดเ้ รยี นรปู้ ระวตั แิ ละปฏปิ ทาของคณุ ยายอาจารยฯ์ ผใู้ หก้ ำ� เนดิ วดั พระธรรมกาย ซงึ่ สามารถนำ� มา ใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิต และแบบอย่างในการสร้างบารมีให้มีความบริสุทธ์ิบริบูรณ์ โดยเปิดให้เขา้ ชม ระหวา่ งเวลา ๐๙.๐๐ น. ถงึ ๑๗.๐๐ น. ของทกุ วัน ตักบาตรพระ ๑๒๒ รปู เนอ่ื งในสัปดาห์วันวสิ าขบชู า ส่งท้ายความปล้ืมกันท่ีงานบุญสานสัมพันธ์ชุมชนชาวพุทธ ซึ่งคณะศิษยานุศิษย์ วัดพระธรรมกายได้มีส่วนร่วมในพิธีท�ำบุญตักบาตรแด่คณะสงฆ์ในเขตพ้ืนท่ี ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี จำ� นวน ๑๒๒ รปู เมอื่ วันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เนอ่ื งใน โอกาสสปั ดาหว์ ันวิสาขบูชา ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ ลานอเนกประสงค์ ทีท่ �ำการองคก์ าร บริหารสว่ นต�ำบลคลองสาม โดยมีพระครูวิจิตรอาภากร รกั ษาการเจ้าคณะอำ� เภอคลองหลวง เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ และได้รับเกียรติจาก ดร.วิระศักด์ิ ฮาดดา นายกองค์การบริหาร สว่ นตำ� บลคลองสาม เปน็ ประธานฝา่ ยฆราวาส พรอ้ มดว้ ยขา้ ราชการ ผแู้ ทนองคก์ ร ผนู้ ำ� ชมุ ชน และประชาชน เขา้ รว่ มงานเปน็ จำ� นวนมาก กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ 41 www.kalyanamitra.org

บทความพิเศษ เร่อื ง : นวธรรมและคณะนกั วจิ ยั DIRI หลักฐานธรรมกาย เรอ่ื งราวของ “ธรรมกาย” ทป่ี รากฏใน วรรณกรรมพระพทุ ธศาสนาลา นนา ในคมั ภรี พ์ ทุ ธโบราณ (ตอนที่ ๔๘) ในชว่ งทผ่ี า่ นมา คณะนักวิจยั ของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ไดร้ บั เชญิ จากทา่ นเจา้ คณุ พระ- ชยานนั ทมนุ ี (ธรรมวตั ร จรณธมโฺ ม), ผศ.ดร. ผู้อ�านวยการวิทยาลัยสงฆ์ นครนา่ นเฉลมิ พระเกยี รตฯิ เจา้ อาวาส วัดพระธาตแุ ช่แหง้ พระอารามหลวง ใหไ้ ปร่วมการประชุมวชิ าการระดับชาติ ครงั้ ท่ี ๓ และ ระดบั นานาชาติ ครงั้ ที่ ๒ ในระหวา่ งวนั ท่ี ๑๑-๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ สบื เนอ่ื งจากทางสถาบนั วจิ ยั นานาชาตธิ รรมชยั (DIRI) ไดร้ ว่ มลงนามในสญั ญาความรว่ มมอื ทางวชิ าการกบั วทิ ยาลยั สงฆ์ นครนา่ นฯ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการอนรุ กั ษค์ มั ภรี โ์ บราณ โดยเฉพาะเรม่ิ ทจ่ี งั หวดั นา่ นและอาณาจกั ร ล้านนา เพื่อพฒั นาองค์ความรู้ทางพระพทุ ธศาสนาร่วมกัน นบั ว่าท่านเจา้ คุณฯ เป็นพระเถระ ผู้ทรงคณุ วุฒิ ทรงภมู ธิ รรม และมีความตั้งใจอยา่ งแรงกลา้ ในการท�างาน จึงทา� ให้ภารกิจในการ อนรุ กั ษค์ มั ภรี โ์ บราณ การพฒั นาองคค์ วามรทู้ างพระพทุ ธศาสนา รวมทงั้ การพฒั นาวทิ ยาลยั สงฆ์ นครนา่ นฯ มคี วามเจริญรดุ หนา้ ไปอย่างรวดเรว็ ควรแกก่ ารอนโุ มทนาอย่างย่งิ ซ่ึงในการนี้ทางสถาบันวิจัยฯ (DIRI) ได้ถวายเคร่ืองถ่ายภาพคัมภีร์ระบบดิจิทัล (Digitization) ให้แก่วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน เฉลิมพระเกยี รติฯ ซึง่ เป็นศนู ยก์ ลางการศกึ ษา และพฒั นาองคค์ วามรทู้ างพระพทุ ธศาสนาและ การอนรุ กั ษฯ์ ในภาคเหนอื ตอนบนหลายจงั หวดั ซ่ึงเป้าหมายที่ส�าคัญก็เพ่ือให้เกิดการอนุรักษ์ คมั ภรี ใ์ บลานลา้ นนา รวมทงั้ ในนครนา่ น และเพอ่ื พระธาตแุ ชแ่ หง้ พระอารามหลวง (คา� เมอื ง : ) ให้การศกึ ษาเลา่ เรียน “อักษรต๋วั เมือง” ยังคง วดั พระธาตแุ ช่แห้ง หมู่ ๓ บา้ นหนองเต่า ต�าบลม่วงต๊ึด ดา� รงอยู่อย่างยงั่ ยนื ต่อไปดว้ ย อา� เภอภเู พียง จังหวัดน่าน (Picture source : https://www.thailandscanme.com/ เมื่อกล่าวถึงการอนุรักษ์มรดกทาง nan002--Wat-Phra-That-Chae-Haeng) พระพทุ ธศาสนาในลา้ นนานนั้ ความสา� คญั อาจ 4๒ อยูในบญุ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

มไิ ดม้ เี พยี งการอนรุ กั ษว์ ดั อนรุ กั ษส์ ง่ิ ทเี่ ปน็ ศลิ ปกรรม สถาปตั ยกรรมทางพระพทุ ธศาสนา หรอื วัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม ฯลฯ เท่าน้ัน หากแต่เพราะอาณาจักรล้านนาที่สืบเนื่องมาแต่ อดีตน้ันยังเคยเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดต้ังแต่ในยุคสมัยของพระเจ้าติโลกราชมาแล้ว (ประมาณ ราวพุทธศตวรรษที่ ๒๑) เปน็ ยคุ ของการกระทำ� สงั คายนาพระไตรปฎิ กครงั้ สำ� คญั อนั ถอื เปน็ การสงั คายนาครง้ั ที่ ๘ ของโลก ณ วดั เจด็ ยอด (วดั โพธาราม) ซง่ึ การสงั คายนาทว่ี ดั เจด็ ยอดนี้ ถอื วา่ เปน็ “ตน้ ธาร” ของการเกดิ พระไตรปฎิ กฉบบั ทถ่ี กู นำ� มาใชเ้ ปน็ หลกั ปฏบิ ตั สิ ำ� หรบั คณะสงฆ์ ในนิกายตา่ ง ๆ ของล้านนาและอาณาจักรเพอ่ื นบ้านโดยรอบ เช่น ลา้ นช้าง เชียงตุง เชยี งรงุ้ เปน็ ตน้ 1 ร่องรอยความเจริญของประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในล้านนายังมีให้เราเห็นอีก มากมาย ไมเ่ พยี งแต่ในยุคสมัยของพระเจ้า- ตโิ ลกราชเทา่ นัน้ หากแต่บรรดาบูรพกษตั ริย์ แห่งล้านนาหลายพระองค์ หลายยุคหลาย สมัย ได้ทรงวิริยอุตสาหะอย่างยิ่งท่ีจะใฝ่หา พระสงฆ์ที่ทรงพระไตรปิฎกมาประดิษฐาน พระพุทธศาสนา และปฏิรูปการพระศาสนา ใหเ้ จรญิ ยงิ่ ๆ ขนึ้ ไป พระพทุ ธศาสนาจงึ เปน็ วัดโพธารามมหาวิหาร พระอารามหลวง เป็นวัด สถาบันเดียวท่ีให้ความรู้แก่พลเมือง ในยุค พระอารามหลวงช้ันตรี ชนิดสามัญ (เดิมช่ือ นนั้ วัดและพระสงฆ์เป็นแหล่งความรู้เกือบ วัดเจ็ดยอด) ต้ังอยู่ที่ต�ำบลช้างเผือก อ�ำเภอ ทุกแขนง โดยช่วงเวลาท่ีถือว่าเป็นยุคทอง เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. ๑๙๙๘  พระเจา้ ตโิ ลกราช กษตั รยิ อ์ งคท์ ่ี ๙ แหง่ ราชวงศ์ ของพระพุทธศาสนานั้น คือตั้งแต่รัชกาล มังราย ทรงสร้างมหาวิหารเจ็ดยอด (เจดีย์เจ็ด พระเจา้ ตโิ ลกราช(พ.ศ. ๑๙๘๔) ถงึ สน้ิ รชั กาล ยอด) ดว้ ยศลิ าแลงประดบั ลวดลายปนู ปน้ั  จำ� ลอง พระเมืองแก้ว (พ.ศ. ๒๐๖๘)2 ดังปรากฏว่า มหาวหิ ารพทุ ธคยา ประเทศอนิ เดยี ในป ี พ.ศ. ๒๐๒๐ วัดโพธารามมหาวิหารเป็นสถานท่ีสังคายนา มีพระนักปราชญ์ชาวล้านนาได้แสดงความ พระไตรปฎิ กครั้งที่ ๘ ของโลก เชยี่ วชาญในภาษาบาล ี โดยนพิ นธว์ รรณกรรม (Picture source : https://thailandtourismdirectory. ภาษาบาลไี วม้ ากมายมากกวา่ อาณาจกั รใด ๆ go.th/th/ info/attraction/detail/itemid/5164) 1 สุรพล ด�ำริห์กุล, ประวัติศาสตร์และศิลปะล้านนา, กรุงเทพมหานคร ส�ำนักพิมพ์เมืองโบราณ, ๒๕๖๑, หน้า ๕๑-๕๒. 2 อาณาจกั รลา้ นนาได้รับพระพุทธศาสนาเขา้ มาคร้งั ส�ำคญั ๆ ๓ ครั้ง ๓ สาย คอื ๑) พระพุทธศาสนาเถรวาท ทมี่ อี ยเู่ ดมิ ตงั้ แตอ่ าณาจกั รหรภิ ญุ ชยั นำ� เขา้ มาโดยพระนางจามเทวี ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๕ ๒) พระพทุ ธศาสนา เถรวาท นกิ ายรามัญ (สายสวนดอก) หรือสายพระสุมนเถระ ซง่ึ เปน็ ศิษยพ์ ระสวามอี ุทุมพร ซ่ึงเป็นพระมอญ พระสมุ นเถระรบั นมิ นตข์ องพญากอื นาเขา้ มาเผยแผพ่ ระศาสนาในลา้ นนา เปน็ พระพทุ ธศาสนาเถรวาททส่ี ง่ ผา่ น จากศรีลังกามาทางมอญในประเทศพม่า สายเดียวกับที่เผยแผ่ในสุโขทัยสมัยพระเจ้าไสยลือไทเวลาน้ัน ๓) พระพทุ ธศาสนาเถรวาท ลงั กาวงศ์ (สายวดั ปา่ แดง) ซงึ่ มพี ระมหาญาณคมั ภรี ช์ าวเชยี งใหมเ่ ปน็ ผไู้ ปสบื ศาสนา ถึงเกาะลังกา ในสมัยพญาแสนเมอื งมา (ครองราชย์ พ.ศ. ๑๙๒๘-๑๙๔๔) กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ 43 www.kalyanamitra.org

ในโลกพุทธศาสนายุคเดียวกัน ผลงานของพระสงฆ์ผู้สุปฏิปันโนเหล่านั้นได้แพร่หลายไปยัง อาณาจักรต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนประเทศทางตะวนั ตก โดยทีบ่ างเร่ือง ทางคณะสงฆไ์ ทยไดใ้ ชเ้ ป็นต�าราเรียนภาษาบาลดี ้วย ดีแล้ว” ซ่ึงเม่ือเราได้เห็นและได้ศึกษาลงไป ในรายละเอยี ดมากขนึ้ แลว้ กต็ อ้ งยอมรบั วา่ วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาในลา้ นนานน้ั ยงั มเี รอื่ งราวและรายละเอยี ดอนั เปน็ “เพชร แห่งวรรณกรรม” มีอยู่อีกมากมาย อาทิ ๑) สหิ งิ คนทิ าน (หรอื ประวตั พิ ระพทุ ธสหิ งิ ค)์ ๒) สมนั ตปาสาทกิ า อตั ถโยชนา คมู่ อื อธบิ าย ความหมายของศพั ท์ คา� ประโยค และขอ้ ความ ในคัมภีร์สมันตปาสาทิกา (อรรถกถาวินัย ปิฎกซึ่งแต่งโดย พระพุทธโฆษาจารย์) ๓) ภิกขุปาฏิโมกขคัณฐีทีปนี คู่มืออธิบาย ความหมายของศพั ท์ คา� ประโยค และขอ้ ความ ยากในภกิ ขปุ าฏโิ มกข์ ๔) สีมาสงั กรวินิจฉยั เรื่องการพิจารณาวินิจฉัยการคาบเก่ียวกัน แห่งสีมา คือเขตแดนท่ีก�าหนดเครื่องหมาย Extent of Lan Na's zone of influence แห่งพระอโุ บสถ สถานทีป่ ระกอบสงั ฆกรรม (mid-blue), c. 1540. ของคณะสงฆ์ ๕) ชดุ การอธบิ ายความเรื่อง พระอภธิ รรม เชน่ อฏั ฐสาลนิ อี ตั ถโยชนา คมู่ อื (Nicolas Eynaud - Own work; based on หรอื คมั ภรี อ์ ธบิ ายคมั ภรี อ์ ฏั ฐสาลนิ ี (ซงึ่ แตง่ โดย David K. Wyatt (2004), Thailand: A Short พระพุทธโฆษาจารย์) ธาตุกถา อัฏฐโยชนา ปคุ คลบญั ญตั ิ อฏั ฐโยชนา กถาวตั ถุ อฏั ฐโยชนา History, 2nd ed. Silkworm Books, Chiang Mai, p. 75 and Cornell Southeast Asia Program map Ayudhya Empire 1540.) ดงั นน้ั หากจะกลา่ วไปแลว้ ตวั ชว้ี ดั ที่ ยมก อฏั ฐโยชนา และมลู กจั จายนอตั ถโยชนา สา� คญั อกี หนงึ่ ตวั ทแี่ สดงใหเ้ หน็ วา่ พระพทุ ธ- คมู่ อื อธบิ ายไวยากรณบ์ าลี ซ่งึ แตง่ ขึ้นในราว ศาสนาในท้องถิ่นเหนือหรือล้านนามีความ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๐๕๗ เป็นต้น3 เจริญอย่างย่ิงด้วยก็คือ การรวบรวมไว้ซ่ึง นอกจากน้ี ยังมีวรรณกรรมชุดท่ี “วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาที่แต่งไว้ ในวงการพระพุทธศาสนารู้จักเป็นอย่างดี 3 เอกสารประกอบการเสวนาเร่ือง “วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาล้านนา” ในการจัดประชุมสัมมนา ทางวชิ าการเร่อื ง “พระพทุ ธศาสนาในลา้ นนา” โดยคณะศาสนาและปรชั ญา ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๐-๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ณ ศนู ย์ฝกอบรม ธนาคารไทยพาณิชย์ ต.บา้ นปง อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 44 อยูในบุญ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

อกี หลากหลายเรอ่ื ง เชน่ จกั กวาฬทปี นี มงั คลตั ถทปี น ี คมั ภรี อ์ ธบิ ายเรอ่ื งมงคล ๓๘ ประการ  (แตง่ โดย พระสริ มิ งั คลาจารย)์ ชนิ กาลมาล ี พงศาวดารหรอื ประวตั คิ วามเปน็ มาของพระพทุ ธศาสนา วชริ สารตั ถสงั คหะ คมั ภรี ซ์ งึ่ ประมวลทม่ี าของธรรมะทสี่ ำ� คญั จากคาถาตา่ ง ๆ แตง่ พ.ศ. ๒๐๗๘ (แตง่ โดย พระรตั นปญั ญาเถระ ชาวเชยี งราย) ปฐมสมโพธกิ ถา ประวตั พิ ระพทุ ธเจา้ ฉบบั พสิ ดาร แตง่ โดย พระสวุ ณั ณรงั สเี ถระ ชาวเชยี งใหม่ เปน็ ตน้ ซงึ่ วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาเหลา่ นเ้ี อง ท่ีเป็นประดุจเพชรแห่งวรรณกรรมอันได้สอดแทรกเป้าหมายแห่งการปฏิบัติเพ่ือไปสู่จุดสูงสุด แหง่ พระพทุ ธศาสนาไว้ แต่ส่ิงที่น่าต่ืนตาต่ืนใจยิ่งไปกว่านั้น ก็คือ เมื่อผู้เขียนได้ศึกษามาถึงเรื่องของ วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาในลา้ นนายงิ่ ขนึ้ แล้ว ท�ำให้ได้มาพบเอกสารส�ำคัญอยู่ฉบับ หนง่ึ เปน็ เอกสารงานวจิ ยั ทช่ี อื่ วา่ “ขอ้ สงั เกต บางประการเกี่ยวกับแนวคิดเรื่องพุทธ ใน เอกสารล้านนา” ของอาจารย์บำ� เพญ็ ระวนิ ซึ่งตีพิมพ์รวมเล่มอยู่ในงานวิจัยเร่ือง “ ว ร ร ณ ก ร ร ม พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ล ้ า น น า ” คมั ภีร์มงคลทีปนี (แต่งโดยพระสิรมิ ังคลาจารย์) (Picture source : https://www.matichonweekly.com/ (สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ column/article_70177) รว่ มกบั สำ� นกั งานกองทุนสนับสนนุ การวิจัย : สกว.) สิ่งที่อาจารยบ์ �ำเพญ็ ระวนิ เรยี บเรยี งไว้ นัน้ มคี วามนา่ สนใจมากตรงทท่ี า่ นไดพ้ ยายามอธิบายความส�ำคญั ของพระรัตนตรัย โดยแยก รายละเอียดทง้ั พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆอ์ อกโดยพสิ ดาร คอื ใหเ้ ห็นรายละเอียด และ มีการตีความให้เห็นที่มา-สาระส�ำคัญ และมีการยกกรณีศึกษาท่ีปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก ออกมาแจกแจงใหเ้ ห็นอย่างนา่ สนใจ ยกตัวอย่างในหวั ข้อเรอ่ื ง “อนวิ ัตตจริยา” (วา่ ด้วยจริยา หรือความประพฤติที่มุ่งไปสู่ความเป็นพุทธภาวะ) เพียงหัวข้อนี้หัวข้อเดียว อ.บ�ำเพ็ญก็ได้ พยายามอธิบายให้เราเห็นถึงความส�ำคัญของจริยาดังกล่าว ซ่ึง “พระโพธิสัตว์ทุกพระองค์” ตา่ งยดึ ถอื อยา่ งเตม็ ที่ มกี ารเทยี บเคยี งจรยิ าของพระโพธสิ ตั วห์ ลายทา่ น (ซงึ่ ภายหลงั ไดม้ าตรสั รู้ เปน็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแลว้ ) อย่างน่าสนใจ โดยในระหว่างน้นั ไดก้ ลา่ วถึงวา่ วรรณกรรม ฉบับใดบ้างที่ได้อภิปรายเร่ืองราวการบ�ำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์องค์ต่าง ๆ ไว้ มีประเด็นของการเปรียบเทียบไวอ้ ยา่ งไร เป็นต้น ซ่ึงเปน็ ทีน่ า่ สังเกตวา่ ประเด็นการวเิ คราะห์ ในหวั ขอ้ นี้(อนวิ ตั ตจรยิ า) ดจู ะมคี วามสอดคลอ้ งกบั เรอ่ื งราวในโพธสิ ตั วสตู รอยพู่ อสมควร อยา่ งไรกต็ าม อาจารยบ์ ำ� เพ็ญ ยงั ได้อธิบายถงึ เรื่องของ “พทุ ธภาวะ” ในพระพทุ ธเจ้า องค์ปัจจุบันของเราไว้ด้วย โดยอธิบายไว้อย่างน่าสนใจว่า ค�ำว่า “พุทโธ” น้ีมิได้หมายถึง พระพุทธเจ้าองค์อ่ืน (เอตรหิ) “...เป็นค�ำย้�ำถึงการยอมรับปัจจุบัน” เป็นบุคคลที่มีอยู่จริง ในประวัติศาสตร์ที่ได้สั่งสมบ่มบารมี มีพุทธการกธรรมมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน และ กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ 45 www.kalyanamitra.org

ในแงส่ ภาวธรรม หมายถงึ ความจรงิ ตรง แท้ หรอื ความสะอาด สวา่ ง สงบ ทม่ี อี ยใู่ นสนั ดาน ของผทู้ ม่ี ปี ณธิ านฯ (คอื บรรลคุ วามเปน็ พทุ ธะ) คำ� คำ� น้ี(คอื พทุ โธ) บง่ บอกความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง บุคคลที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ และ การมสี ภาวสจั จะตามธรรมชาติ ความสมั พนั ธน์ ี้ เป็นไปอย่างแนบแนน่ ซงึ่ แยกอยา่ งหยาบได้ เปน็ สรรี มงั สกาย(คอื กายเนอื้ ) และ ธรรมกาย หมายถงึ กายทเ่ี ปน็ ปรมตั ถสจั จะ(ความจรงิ แท)้ ของโลกและชวี ติ คำ� วา่ “ธรรมกาย” ในพทุ ธศาสนา ฝา่ ยเถรวาทปรากฏในอคั คญั ญสตู ร ทฆี นกิ าย ซ่ึงในพระสูตรที่ท่านอ้างถึงน้ัน ขนานนาม พระอรยิ สงฆด์ ว้ ยคำ� วา่ “ธมมฺ โช” เกดิ แตธ่ รรม “ธมฺมนิมฺมิโต” ถูกพระธรรมเนรมิตข้ึนมา “ธมมฺ ทายาโท” เปน็ ผสู้ บื ทอดธรรม เพราะพระ- หนังสือปฐมสมโพธิ สำ� นวนลา้ นนา พทุ ธองคท์ รงไดพ้ ระสมญานามวา่ “ธมมฺ กาโย” (Picture แตง่ โดยอาจารยบ์ �ำเพญ็ ระวนิ: เป็นกายแห่งพระธรรม “ธมฺมภโู ต” กายทเ่ี กดิ แต่ธรรม source https://www.moomnangsue.com/ product/11338) ผ้เู ขยี นไดศ้ ึกษาและสรุปสาระสำ� คัญทีผ่ ูว้ จิ ยั คอื อ.บ�ำเพ็ญได้พยายามชี้ให้เห็นวา่ คติ แนวความเช่ือในพระพุทธศาสนา และโดยเฉพาะในดินแดนล้านนาน้ัน ได้ให้ความส�ำคัญ ในเชงิ คณุ คา่ การบำ� เพญ็ บารมแี ละความเปน็ “พทุ ธะ” ของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ อยา่ งยงิ่ โดย มีความเชื่อวา่ การบำ� เพ็ญบารมจี นเตม็ เปยี่ มของบคุ คลผู้ปรารถนาความเปน็ พทุ ธะนัน้ เม่ือ ส�ำเร็จบรบิ รู ณแ์ ล้ว สภาวะความเปน็ พทุ ธะก็จะรวมอย่ใู นบุคคลผูน้ ัน้ เรียกวา่ “พุทโธ” โดยที่ ในภทั ทกปั นี้พระโพธสิ ัตวส์ ิทธตั ถะกค็ อื ตวั แทนของ “พทุ ธะ” ในชว่ งเวลา (ปจั จบุ ัน) นี้ ทงั้ น้ี จากการศกึ ษาของ อ.บำ� เพญ็ ทำ� ใหผ้ เู้ ขยี นเหน็ ดว้ ยวา่ การทที่ า่ นบง่ ช้ี ค�ำวา่ พทุ ธ ไมไ่ ดบ้ งั เกดิ ขึ้นพรอ้ มกบั เจ้าชายสิทธัตถะประสูติ หากเกิดหลงั จากทีพ่ ระองคไ์ ดเ้ ขา้ ถงึ สจั จะของโลกและ ชวี ติ อยา่ งทะลปุ รโุ ปรง่ แลว้ คอื การเกดิ ใหมท่ มี่ พี ระธรรมสรรคส์ รา้ งขนึ้ มา กลายเปน็ ธรรมกาย เป็นกายอีกกายหนึ่งที่มีอยู่ในกายท่ีเป็นเน้ือหนัง ซ่ึงผู้เขียนก็เห็นด้วยที่ว่าการบังเกิดเป็น พระพทุ ธเจา้ นนั้ เปน็ การขนึ้ เกดิ ขน้ึ ใหมภ่ ายหลงั ทพ่ี ระองคต์ รสั รพู้ ระอนตุ ตรสมั มาสมั โพธญิ าณ การมคี ตเิ รอื่ งของ “พทุ ธะ” ในตนทเี่ ตม็ บรบิ รู ณน์ ้ี หากมองอยา่ งผวิ เผนิ แลว้ อาจเขา้ ใจ วา่ เปน็ การใหค้ ณุ คา่ เกยี่ วกบั การสรา้ งบารมขี องพระบรมโพธสิ ตั วแ์ ตเ่ พยี งอยา่ งเดยี ว แตใ่ นอกี ด้านหนึง่ ก็เป็นการใหค้ ณุ คา่ ในเรอ่ื งสำ� คญั อีก ๒ เรือ่ งไปพรอ้ มกันคอื ๑) คณุ คา่ ในเร่ืองเวลา ของการเป็น “พุทธะ” และ ๒) คุณค่าในเร่อื งความยง่ั ยนื ของ “ธรรมกาย” ทง้ั นี้เพราะจาก งานวจิ ยั ฉบบั น้ี ผวู้ จิ ยั ไดส้ รปุ ใหเ้ ราเหน็ มาโดยตลอดวา่ ยคุ สมยั ของพระพทุ ธเจา้ แตล่ ะพระองค์ 46 อยู่ในบญุ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

นน้ั จะดา� รงอยเู่ พยี งสมยั หนงึ่ เชน่ ทรี่ ะบวุ า่ “ชาวพทุ ธจะเชอ่ื กนั ตามประเพณสี บื ทอดกนั มาวา่ (ศาสนาของพระพุทธองค)์ จะทรงอยเู่ พยี ง ๕,๐๐๐ ปี ซ่งึ มีปรากฏอยู่ในคัมภรี ใ์ บลานลา้ นนา ในตอนท้ายเกือบทุกผูก แต่หากพุทธศาสนิกชนใดปรารถนาความสุข ปรารถนาความเจริญ รุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาในอนาคต ก็สามารถเตรียมตนส่ังสมคุณความดี และตั้งความ ปรารถนาทจ่ี ะไปเกดิ ในยคุ สมยั ของพระศรอี รยิ เมตไตรยได”้ นน่ั กส็ อดรบั กบั ขอ้ สรปุ ของผวู้ จิ ยั ในตอนท้ายว่า การมีคติความเชื่อดังกล่าวน้ี “เท่ากับเป็นนัยให้เห็นมโนส�านึกที่ยอมรับ พุทธภาวะวา่ เปน็ นิรันดร ท้งั นจ้ี ะต้องมีบคุ คลผูเ้ สาะหาอย่างจรงิ จัง” ภาพตัวอย่างคมั ภีร์โบราณอกั ษรลา้ นนา (Picture source: https://board.postjung.com/ 961301) จากการที่ผู้เขียนและคณะได้ศึกษางานวิจัยท่ีชื่อว่า “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับ แนวคดิ เรือ่ งพุทธ ในเอกสารลา้ นนา” ของอาจารยบ์ �าเพญ็ ระวนิ ข้างตน้ นี้ รสู้ กึ ไดว้ ่างานวจิ ัย ฉบบั นไ้ี ดช้ ว่ ยจดุ ประกายใหเ้ รา (คณะทา� งานของสถาบนั วจิ ยั นานาชาตธิ รรมชยั : DIRI) มคี วาม เชอ่ื มน่ั มากขน้ึ อกี วา่ สง่ิ ทก่ี า� ลงั ดา� เนนิ การอยู่ กา� ลงั ศกึ ษาคน้ ควา้ อยดู่ ว้ ยความวริ ยิ อตุ สาหะนน้ั เป็นสิง่ ทไ่ี มส่ ูญเปลา่ อย่างแทจ้ ริง ทั้งนีเ้ พราะผู้วจิ ัยทผ่ี เู้ ขยี นไดน้ �ามาอ้างอิงนเ้ี ทา่ กับเปน็ บุคคล ทส่ี าม ซง่ึ มไิ ด้เคยร้จู กั คนุ้ เคยกันมาก่อน อีกท้งั สิง่ ที่ท่านได้ศกึ ษามานี้กเ็ ปน็ การวเิ คราะหโ์ ดย ตัวของท่านเองตามหลักวิชาการ แต่ก็มีความสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกับที่สถาบันวิจัยฯ (DIRI) ได้ค้นพบหลักฐานฯ ซ่ึงตรงกับท่ีผู้เขียนและคณะฯ ได้เคยน�าเสนอในฉบับก่อนหน้า ไปแลว้ วา่ หลกั ฐานดา้ นคมั ภรี โ์ บราณในภาคเหนอื นนั้ ยงั คงมปี รากฏใหเ้ หน็ อยเู่ ปน็ อนั มาก(เชน่ ทว่ี ดั ปา่ เหมอื ด อ.ปวั จ.นา่ น หรอื ทว่ี ดั ศรมี งคล จ.นา่ น)4 และในสปั ดาหท์ ผ่ี า่ นมานที้ มี งานกไ็ ด้ พบกบั หลักฐานส�าคัญเพ่มิ อกี ในอาณาจักรล้านนา ทชี่ ว้ี า่ “พระธรรมกาย” เป็นส่งิ ทผี่ ู้คนในยคุ เกา่ กอ่ นรจู้ กั คนุ้ เคย เปน็ สง่ิ ทพี่ ทุ ธบรษิ ทั ตง้ั แตภ่ กิ ษ-ุ สามเณร-อบุ าสก-อบุ าสกิ าในสมยั บรรพชน ของเรานัน้ ให้การเคารพเทิดทนู และน�ามาปฏบิ ัตจิ ริง ซ่งึ ผู้เขียนและคณะนักวจิ ัยฯ (DIRI) จะ เขา้ ไปศกึ ษาทา� การวจิ ยั ในแหลง่ ดงั กลา่ วซง่ึ ถอื วา่ เปน็ ขอ้ มลู ชน้ั ปฐมภมู ิ ดงั จะไดน้ า� ความคบื หนา้ มาเสนอในฉบับตอ่ ไป (อ่านต่อฉบบั หน้า) 4 ดูรายละเอียดในคอลัมน์ “หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ”, วารสารอยู่ในบุญ ฉบับที่ ๑๘๕ ประจา� เดอื นพฤษภาคม ๒๕๖๑ หน้า ๔๒-๔๗. กรกฎาคม ๒๕๖๒ อยูในบญุ 4๗ www.kalyanamitra.org

สันติสขุ ภายในจากตา งแดน เร่ือง : กองบรรณาธกิ าร ขอบคณุ ภาพจาก :www. pixabay.com สนั ตภิ าพ ในเมอื งแหง ทตู สวรรค เมืองลอสแอนเจลิส (Los Angeles) ซ่ึงได้รับฉายานามว่าเมืองแห่งทูตสวรรค ์ เป็นเมืองท่ีมีประชากรมากเป็นอันดับ ๒ ของประเทศสหรฐั อเมรกิ า และเปน็ หนง่ึ ใน ศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการบนั เทงิ แตท่ นี่ า่ สนใจไปกวา่ นน้ั คอื ลอสแอนเจลิสเป็นเมืองท่ีมีการปะปนของ วัฒนธรรมมากที่สุดในโลกแห่งหน่ึง เนื่องจากการอพยพของคนหลายเช้ือชาติ เข้ามาท่ีนี่ 4๘ อยูในบุญ กรกฎาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org