Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เค้าโศาสตราจารย์ พลเอกหญิง

เค้าโศาสตราจารย์ พลเอกหญิง

Published by nuttapatm, 2020-03-31 08:37:14

Description: เค้าโศาสตราจารย์ พลเอกหญิง

Search

Read the Text Version

เคา้ โศาสตราจารย ์ พลเอกหญงิ พลเรอื เอกหญงิ พลอากาศ เอกหญงิ นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยาม บรมราชกุมารี เป็ นพระราชธดิ าในพระบาทสมเด็จพระ ปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช และสมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ติ ิ ์ พระบรมราชนิ ีนาถ และเป็ นพระโสทรกนิษฐภคนิ ีในสมเด็จพระ เรจาา้ชอสยมูห่ ภวั พมเหมาอื่ ววชนั ริ เาสลางรกท์ รี่ ณ2 เมบษดานิ ยทนรเพทพ.ศย. ว2ร4า9งก8รู ณเสพดร็จะพทรนี่ ะ่งั อมั พรสถาน พระราชวงั ดุสติ อย่างยพงิ่ รทะาองงดคา้ม์ นพี อรกั ะปษรรชศี าาสสตามรแา์ รลถะใดนนหตลราไี ยทๆย ดซา้งึ่ นพรโะดอยงเคฉไ์พดา้ ะ นามาใชใ้ นการอนุรกั ษ ์ ส่งเสรมิ และใหก้ ารอุปถมั ภใ์ นดา้ น ศศลลิิ ปปววฒฒัั นนธธรรรรมมขนีอ้ พงประรอะเงทคศจ์ งึ ไจดารก้ บัพกราะรรทาชูลกเกรลณา้ ียทกูลจิกใรนะดหาม้ น่อม ถไทวยาย” พแลระะส“มวญัศิ ษิ ญฏาศวลิา่ ป“ิ นเอ”กนออคั กรจราากชนปู ีถ้ พมั รภะอกงมครย์ดงั กทวรฒั งปนรธะกรรอมบ พระราชกรณียกจิ ในดา้ นตา่ งๆ เชน่ ดา้ นการศกึ ษา การ หพลฒั านยาหสลงัาคกมโคโรดงยกทารรงคมรโี งคชรอื่งกเราอื่ รงในพระราชดารสิ ่วนพระองค ์

ผเู้ ขียน : หวางเหมงิ ผแู้ ปล : สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เร่ืองยอ่ เป็นพระราชนิพนธ์ทรงแปลจากวรรณกรรมภาษาจีนของ หวางเหมิง หวางเหมิงเคย เปน็ หวั หนา้ กองบรรณาธิการหนังสือวรรณกรรมประชาชน รองประธานสมาคมนักประพันธ์แห่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐมนตรีกระทรวงวัฒนธรรม และกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีน เรื่องราวของผีเส้ือสะท้อนให้เห็นสภาพของสังคมในสาธารณรัฐประชาชนจีนในช่วงการปฏิวัติ วัฒนธรรม (พ.ศ. ๒๕๐๙ - ๒๕๑๒) ที่เต็มไปด้วยความสับสนและความขัดแย้งของผู้คนและ อุดมการณท์ างการเมือง ดงั ที่ได้ทรงพระราชนพิ นธ์ไว้ใน “นาเรื่อง” วา่ “ผ้เู ขียนเร่ือง “ผีเสื้อ\" พยายามแสดงใหเ้ ห็นวา่ สังคมและมนุษย์มีความสลับซับซ้อน การปฏิวัติสังคมและการสร้างสรรค์ ส่ิงดีงามท้ังหลายเพื่อส่วนรวมน้ัน จึงมิใช่จะสาเร็จผลได้เพียงเพราะมีความปรารถนา อุดมคติ หลักการ หรือทฤษฎีทางการเมืองเท่าน้ัน หากต้องใช้ปัญญาพินิจตนเอง พิจารณาสังคมอย่าง ละเอียดรอบด้าน จนสามารถเข้าใจตนเองและเข้าใจสังคมของตนอย่างถ่องแท้ ตรงกับความ เปน็ จรงิ จึงจะสามารถแกไ้ ขปัญหาและสร้างสรรค์ประโยชน์อนั แท้จริงได้สาเรจ็ \"

ผู้แปล : สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เรื่องยอ่ พระราชนิพนธ์แปลจากบทกวีจนี ทม่ี ีช่อื เสยี งในชว่ งสมยั ราชวงศซ์ ่ง และถัง มีภาษาจนี คาอา่ นและคาแปล

ผเู้ ขียน: สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่องยอ่ “เม่ือข้าพเจ้าเขียนย่าแดนมังกร” เป็นคาบรรยายพระราชนิพนธ์ที่สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีได้ทรงบรรยายเรื่อง ย่าแดนมังกร แก่ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตฟังเมื่อปี พ.ศ. 2533 เน้ือหาสาระเป่ียมด้วยข้อพินิจทรงคุณค่า และครอบคลุม อันทาให้ผู้ฟังเข้าใจ และ ซาบซง้ึ ยิ่ง สมเด็จพระเทพรัตนฯ ทรงพระปรีชาสามารถด้านจีนวิทยาอย่างถ่องแท้ ใน การเสด็จพระราชดาเนินเยอื นประเทศจีนแต่ละคร้ัง ได้เสด็จทอดพระเนตรศิลปวัตถุที่จัด แสดงตามสถานท่ีสาคัญ รวมถึงวัฒนธรรม ความเป็นอยู่ของประเทศจีนในแง่มุมต่าง ๆ คาบรรยายทที่ รงแสดงในครงั้ นัน้ จึงไม่ไดม้ าจากการศึกษาเนื้อหาความร้จู ากตารบั ตารา ทั่วไป หรือจากการไดเ้ หน็ ไดช้ มมามากอย่างหน่ึงอย่างใด หากแต่เป็นคาบรรยายของผู้ ทีท่ ง้ั ได้ศกึ ษา ได้เห็น และมีประสบการณ์ความเข้าใจประเทศจีนอยา่ งแจง้ ชดั

ผเู้ ขียน : ฉอื ลี่ ผู้แปล : สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เรอื่ งยอ่ นวนิยายสะท้อนสภาพสังคมและความงามของ “ความเป็นหญิง” ใน บทบาทหนา้ ทท่ี ่ยี ่งิ ใหญ่ของความเปน็ แม่ ภรรยาและความเป็นเพื่อนแท้ สะท้อน วีรกรรมอนั เกดิ จากดวงใจแกร่งแทด้ ง่ั เหลก็ กล้าของหญิงซง่ึ ดาเนนิ มาแล้วในอดตี ดารงอย่ใู นปัจจุบนั และสืบเน่อื งต่อไปในอนาคต

ผเู้ ขยี น : ฉือจอ่ื เจ้ียน ม่วั เหยียน และซูเฉยี ว ผ้แู ปล : สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เร่ืองยอ่ ไป๋อิ๋นน่า หมู่บ้านลับลี้ริมฝ่ังน้า ประกอบด้วยวรรณกรรมจีน 4 เรื่อง ของ 3 นักเขยี นชอ่ื กอ้ งใน วงวรรณกรรมจีนร่วมสมยั ผู้อ่านจะได้ซึมซับทั้งอรรถรส ความงามด้านภาษา และความงดงามของความสัมพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้ง ความรู้ด้านวัฒนธรรมประเพณีของสังคมจีนจากอดีตถึงปัจจุบันผ่านเร่ืองราวของตัว ละครหลักในเรื่อง ไป๋อิ๋นนา่ ของ ฉือจื่อเจี้ยน เป็นนวนิยายสมัยใหม่อันใช้สัญลักษณ์ งดงามยิ่งจากฉากธรรมชาติที่พิเศษเข้มข้น ท้ังงดงามและโหดร้ายในเวลาเดียวกันมา อธิบายสัจธรรมในหัวใจมนุษย์ ส่วนเรื่องสั้นร่วมสมัยอีก 3 เร่ือง คือ คาไว้อาลัย หมา ของ ม่ัวเหยียน ซุปที่อร่อยช่างน่ากลัวยิ่ง และ กินหม้อไฟในหน้าร้อน ของ ซูเฉ้ียว กเ็ ป็นเร่ืองสั้นท่สี รา้ งอารมณ์สะเทือนใจแกผ่ ้อู ่านได้อยา่ งละเมียดละไม

ผเู้ ขียน: สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ผแู้ ปล: สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เรือ่ งยอ่ นวนิยายเรอ่ื ง \"ความรักใดจะไม่ปวดรา้ ว\" สะท้อนให้เหน็ ปัญหา สงั คมสมัยใหมข่ องหนุ่มสาวชาวจนี อันสง่ ผลตอ่ นิยามของความรักในมิตติ ่าง ๆ โดยเฉพาะจากมมุ มองของผหู้ ญิงผเู้ ป็นทง้ั แม่และภรรยา เริ่มต้นดว้ ยการต้ัง คาถามกบั คา่ นยิ มเก่าท่บี ชู าเทิดทูลความรกั ทัง้ ความรกั ของพ่อแม่

ผู้เขยี น : กนุ เทอร์ ไอซ์ ผ้แู ปล : สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรอื่ งยอ่ พระราชนิพนธแ์ ปลวรรณกรรมเยอรมัน ในสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี หนงั สอื พระราชนิพนธแ์ ปลอนั ทรงคณุ ค่าเรื่องน้ี เปน็ หนงั สือท่ี อยใู่ นชุดเดียวกบั เพียงวนั พบวันน้ที ีส่ าคญั ทีส่ มเดจ็ พระเทพฯ ทรงพระปรชี า สามารถใหเ้ ปน็ ทป่ี ระจกั ษท์ างดา้ นภาษาและวรรณคดีอย่าง

ผู้เขียน: สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรอื่ งยอ่ “การเดินทางมาเยอื นเชยี งตงุ ครง้ั นีแ้ ม้จะเป็นเพียงชว่ งสน้ั ๆ แต่ข้าพเจา้ กไ็ ด้รบั ความ สนุกสนานเพลิดเพลินยิ่ง และได้รบั การต้อนรบั ท่ีอบอนุ่ ด้วยนา้ ใจไมตรีจากเพื่อนบา้ น ทจ่ี กั ได้พัฒนาสายสัมพนั ธ์สืบต่อไป” “ยอดดดอยตุง เยอื นเชยี งตงุ ” เป็นบนั ทกึ การเดินทางอยา่ งไม่เป็นทางการของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เมื่อครั้งเสดจ็ พระราชดาเนนิ จาก ดอยตุง จงั หวัดเชียงราย เยอื นเชียงตงุ ประเทศเมียนมาร์ ในวันท่ี 3 - 4 มนี าคม พ.ศ. 2537 แมเ้ วลา จะไม่นานนัก แต่การเดินทางครงั้ นน้ั สนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ ย่งิ ทง้ั ยงั อบอุ่นด้วยนา้ ใจไมตรี จากเพอื่ นบ้านและสะท้อนภาพวัฒนธรรม เมยี นมารไ์ ดอ้ ยา่ งชดั เจน

ผู้เขียน: สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เรอื่ งยอ่ พระราชนพิ นธ์ “แกว้ จอมแกน่ ” และ “แกว้ จอมซน” นับเปน็ วรรณกรรมเยาวชน สาคัญทไี่ ดร้ บั การยกยอ่ งเผยแพร่อย่างกวา้ งขวางมาแลว้ แมเ้ วลาจะผา่ นพ้นไปรว่ ม 2 ทศวรรษ คณุ คา่ อนั งดงามทางปัญญาและอารมณ์ขนั ของวรรณกรรมทั้ง 2 เลม่ นี้กย็ ังคงปรากฏเด่นชัด

ผู้เขยี น: สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เร่ืองยอ่ วรรณกรรมเยาวชนในดวงใจของหลาย ๆ คน พร้อมกันนี้ยงั มฉี บบั ภาษาองั กฤษ แปลโดย สมุ าลี เพ่อื ใหเ้ ดก็ ๆ ไดฝ้ ึกอ่าน และทาแบบทดสอบ กอ่ นและหลงั อ่าน รวมทัง้ มคี าศัพท์และเกร็ดน่ารู้สอดแทรกภายในเลม่ Œ

ผู้เขียน : ปิงซนิ และคณะ ผแู้ ปล : สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เร่ืองยอ่ \"รอยย้ิมและนา้ ตาของหัวใจ\" ประกอบดว้ ยวรรณกรรมจีนรว่ มสมัย 4 เร่อื ง ของ 3 นักเขยี นหญงิ วรรณกรรมเร่อื ง \"โคมสม้ ดวงน้อย\" และ \"หมงิ จอื่ กบั เหมยี วนอ้ ยมีจ่อื \" แมต้ ัวละครจะเปน็ เด็กแตก่ เ็ ป็นวรรณกรรมเด็กทม่ี ไิ ด้มงุ่ เฉพาะให้เด็ก ๆ อ่านเทา่ นัน้ มลี ักษณะเป็นรอ้ ยแก้วส้นั ๆ ท่ซี าบซึง้ จับใจด้วยเหตกุ ารณ์งา่ ยๆ สามญั ธรรมดา แตเ่ ปน็ เรื่องทที่ าใหผ้ ้อู ่านรสู้ ึกสะเทอื นใจอย่างนุม่ นวล ไมว่ ่าจะเป็นความมุ่งมั่น กลา้ หาญของเดก็ นอ้ ยท่ไี มย่ อมแพต้ อ่ โชคชะตา หรือความผูกพนั ลกึ ซึง้ ของเดก็ กับสตั ว์ เล้ยี งตัวโปรด เมอื่ ผ้ใู หญ่อา่ นจะไดข้ อ้ คดิ อนั สะทอ้ นให้เห็นความงดงามย่ิงใหญ่ของ หวั ใจอนั บรสิ ทุ ธิ์ ซงึ่ มิได้หมายถึงหวั ใจเด็ก ๆ เท่านนั้ แต่หัวใจท่ีมีความรักบริสทุ ธ์ิกย็ อ่ ม เป็นลกั ษณะสากลของมนุษยท์ กุ วยั ในทุกสงั คม

ผเู้ ขียน :หวังอนั อี้ ผ้แู ปล : สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เร่ืองย่อ หมู่บา้ นเลก็ ตระกูลเป้า ของ \"หวังอันอ้ี\" สะท้อนภาพชวี ติ ในหมบู่ ้าน ชนบทของจนี ตน้ ทศวรรษ 1960 ในระบบคอมมนู ประชาชน จนกระท่งั เข้าสู่ สังคมนยิ มที่ทันสมยั ในศตวรรษ 1980 ผูอ้ า่ นจะไดส้ ัมผัสความรกั อนั บรสิ ทุ ธิ์ของ ผเู้ ป็นแม่ ความกลา้ หาญของเดก็ นอ้ ยผกู้ ลายเป็นวรี ชนของหม่บู ้าน ได้รู้สกึ สะเทอื น ใจกบั รกั ต้องหา้ มของเดก็ สาว และความคับแค้นขมข่ืนของผู้ทถ่ี ูกสังคมลงโทษอยา่ ง ไมเ่ ปน็ ธรรม

คืนฟา้ ใส เปน็ พระราชนิพนธ์อีกเล่มหน่ึงในชุดเสด็จฯเยือนต่างประเทศ ที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีทรงพระราชนิพนธ์เมื่อคราว เสด็จฯยือนประเทศนอร์เวย์ระหว่างวันท่ี ๑๗ – ๒๖ มิถุนายน ๒๕๓๒ ซึ่งเป็น ช่วงท่ีประเทศนอร์เวย์เกิดปรากฏการณ์พระอาทิตย์เที่ยงคืน ดินฟ้าอากาศสว่าง กระจ่างแจง้ ด้วยเหตนุ ้ีจึงทรงตง้ั ชอ่ื พระราชนิพนธเ์ ลม่ นวี้ ่า “คนื ฟา้ ใส”

สงิ คโปรส์ ญั จร (๒๕๒๘) เสดจ็ พระราชดาเนินเยือนสาธารณรฐั สงิ คโปร์ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๓ – ๒๘ มิถุนายน ๒๕๒๘ เพ่ือทรงร่วมประชุมสภากาชาดของกลุ่มประเทศอาเซยี น และทอดพระเนตรกิจการและสถานท่ที ่ีน่าสนใจต่างๆ หลายแหง่

ทศั นะจากอนิ เดยี (๒๕๓๐) เสดจ็ พระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐอินเดียระหว่างวนั ที่ ๑๐-๒๘ มนี าคม ๒๕๓๐

กาลเวลาทผ่ี า่ นเลย (๒๕๓๑) รวมบทพระราชนพิ นธ์ร้อยกรองทเ่ี คยตพี มิ พ์มาแล้วในสมุด บนั ทกึ วรรณสาร สมุดโทรศัพท์ สานไมตรี และรวมพระราชนิพนธ์ มณีพลอย ร้อยแสงโดยคัดมาเฉพาะท่มี แี ก่นเรอ่ื งหลากหลาย บทอวยพรวนั วิสาขบูชา วันปี ใหม่ บทเพลง รวมทง้ั บทรอ้ ยกรองทที่ รงไดแ้ นวคดิ จากเพลงองั กฤษและฝรง่ั เศส และบทรอ้ งกรองภาษาฝรงั่ เศส รวมทั้งสน้ิ ๖๐ บท พรอ้ มมเี กร็ดประวตั ิของ แต่ละบทประกอบดว้ ย

ปริศนาดวงดาว (๒๕๓๒) ทรงพระราชนิพนธ์บนั ทึกประสบการณก์ ารเสดจ็ พระราชดาเนิน เยอื นสาธารณรัฐฝรงั่ เศส และราชอาณาจักรเนเธอรแ์ ลนด์ ระหว่างวันที่ ๑๐-๒๖ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๓๒

เบง่ิ บท่ ัน เบง่ิ บห่ มด (๒๕๓๓) เสด็จพระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ระหว่าง ๑๕ – ๒๒ มีนาคม ๒๕๓๓

มุง่ ไกลในรอยทราย (๒๕๓๓) เสดจ็ พระราชดาเนินเยือนสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนจีน อยา่ งเปน็ ทางการ คร้ังท่ี ๒ ตามเส้นทางสายแพรไหมหรือทางภาคตะวนั ตก ของจีน ระหว่างวนั ที่ ๗-๒๑ เมษายน ๒๕๓๓

ชมดอกไมไ้ กลบา้ น (๒๕๓๔) “ชมดอกไม้ไกลบ้าน” เปน็ พระราชนพิ นธท์ ส่ี ืบเนอ่ื งจากการเสดจ็ ฯ เยือนประเทศญปี่ ุน่ ระหว่างวันท่ี ๑๙-๓๐ มถิ นุ ายน ๒๕๓๐ นอกเหนอื จาก กาหนดการสาคัญคือการเสด็จฯไปทรงร่วมพิธเี ปิดสัปดาห์แหง่ ประเทศไทยใน งานแสดงพฤกษชาติ และ การจดั สวนนานาชาตโิ อซากา หรืองานเอ็กซโ์ ป ๑๙๙๐ แลว้ ยงั ไดเ้ สดจ็ ฯไปเขา้ เฝ้าสมเดจ็ พระจกั รพรรดิ และสมเดจ็ พระ จักรพรรดนิ แี ห่งญปี่ ่นุ และทรงร่วมในพธิ ีเศกสมรสของเจ้าชาย Fumihito (Aya) และนางสาว Kiko Kawashima อีกด้วย

สี แสง แสดงชวี ติ (๒๕๓๕) รวมภาพถา่ ยฝีพระหัตถใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ขณะเสดจ็ พระราชดาเนนิ ประเทศต่าง ๆ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๒ – พ.ศ. ๒๕๕๓ และนามาจัดแสดงในงานแสดงนิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ใน สมเด็๗พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารีภายใตช้ ื่อ สี แสง แสดงชวี ติ จัดโดยสมาคมถ่ายภาพแหง่ ประเทศไทย

ป่ าสูงน้าใส (๒๕๓๕) เสด็จพระราชดาเนินเยอื นประเทศบรไู นระหวา่ งวนั ที่ ๗ – ๑๔ กนั ยายน ๒๕๓๔

ไ“ไออรรกักั ค” อืคออื ะอไะรไร(?๒เ๕ป็ น๓พ๖)ระราชนิพนธล์ าดบั ที่ ๑๙ ใน ชรตัดุ นกราาชรเสสดุดา็จฯฯสเยยอื านมตบา่รมงปรราะชเทกศุมาทรสี่ี ทมรเงดบ็จนั พทรกึะเเทรอพื่ งราว การเสด็จฯเยอื นสาธารณรปั ระชาชนจนี และ สาธารณรฐั ประชาชนมองโกเลยี ระหว่างวนั ที่ ๓ – ๑๒ ตุลาคม ๒๕๓๕

ม่วนซนื่ เมอื งลาว (๒๕๓๗) เสด็จพระราชดาเนินเยอื นสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตย ปปปารระะกกชเซอาชบเนพมอล่ืธิ าถี ๑วว๑า๔ยเมคผษรา้ งพั้ายครนะรกง้ั พแฐรนิ.ศกท.เ๒เ่ีพว๕อยื่ี ๓ทงจ๕อนั ดคทพรรงรั้ ์ทแะเลี่น๒ะตทรเรมงอื ง ทอดพระเนตรกจิ การและสถานทต่ี า่ งๆทแี่ ขวงเชยี งขวาง แขวงหลวงพระบาง แขวงพงสาลี ระหวา่ ง ๑๖-๑๙ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๓๕ ครง้ั ที่ ๓ ตามเสด็จสมเด็จพระบรมโอรสาธิ รทาา่ ชนไฯกสสยอานมมพงมกวฎุ หิ ราานชกอมดุ าตี รปรไปะธทารนงปรว่รมะเพทธศิ ฌเมาอื่ปน๒ก๗จิ ศพ พพพฤฤระศศกจจฐกกิิ นิ าาแยยลนนะทพพอ..ดศศพ..๒๒ร๕๕ะเ๓๓น๖๕ตรเแพกลอ่ืจิ ะทคกรารงงร้ั ทปแลรี่ ๔ะะกสรอถะบหานพวา่ทธิ งตถี่ี วา่วนั งาทๆยใี่ ผ๙นา-้ ๑๔ แขวงเวยี งจนั ทร ์หลวงพระบาง บอลคิ าไซ และคาม่วน

อนมั สยามมติ ร (๒๕๓๗) สเสงั ดค็จมพนริยะมรเาวชยี ดดานเนามินเรยะอื หนวสา่ งาวธนัารทณี่ ๑ร๗ฐั - ๒๓ กมุ ภาพนั ธ ์ ๒๕๓๖

ขคพกบลนรัรมงะ้ัา่ทรทรวกึาสสี่คเชาอรอื นองมื่ คิพงใยรรนนกางั้ วธทวนั(กห่ี์ “๒ทาเนข๕รี่ ่ึง๘เม๓สรรมด๖ะสหก)็จาวฯรมา่าเยยงคกวอื มนั”นท๒ปเปี่๕ร็๒นะ๓เ๕พท๖รศ–แะกรล๒มาัะ๗ชคพนรูชสงั้ิพางทิ หถนส่ี งาึธาสคทม์ ามที่ มรร๒ะวงหา๕วร๓ะา่ ๕ง เใวฝนนั ้ ากทสาี่ ม๑รเเ๖ดสด็จ–พ็จ๑ฯร๘เะยสมอืหี กนนรกุแามัลคพะมเูชจ๒าา้ หค๕ญร๓งั้ ๕งิทโม๑ี่ นนิกอกณจาพกรกะทาหนี่ น่ังเดขกมารรนิ เขทาร้ ์ แลว้ ยงั ไดเ้ สด็จฯทอดพระเนตรสถานทสี่ าคญั ตา่ งๆ ทง้ั ในกรงุ พนมเปญ เมอื งอดุ งค ์ และจงั หวดั ตาแกว้ อาทิ พระราชวงั หลวง วดั พระแกว้ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ โรงเรยี นฝึ ก สอาาชหพรี บั เดก็การกเาสพดร็จาฯ้ ดเอยนอื บนอกสมั โพกชู แาลคะหรง้ัอทส่ี ม๒ุดเแปห็ น่งกชาารตเสิ เดป็็จนฯตนโ้ ดย เกเทกรยลมอัอืย่ี บดพัรมบปพโูชรหรรางะะลเเเเรทวพนยีงศตอ่ืนไกรททปทรรยระศงัโะบเดถนยุรยมียยี่ี จเภมฮเาโกาลกรพาคิงจะพสองกั หอปยงงวาเแฝตดบั ล่อังตาะแรลรปมพา์เรกน่ดระไาา้ะทปทะคบักยน่ีรเงงรา่ัังใเองืจกนคยาาวนืนกะนั กนตแเงดั้พนล์ ไยีปะรดเวะรสเท้กะสดเน่ีนัทด็จ่ังศ็จฯฯ

แอนตารก์ ตกิ า : หนาวหนา้ รอ้ น (๒๕๓๗) เสด็จพระราชดาเนินเยอื นประเทศ นวนัิวซทแ่ีี ๑ล๗นด–์ และแอนตารก์ ตกิ า ระหวา่ ง ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๖

ดอยตงุ เชยี งตงุ (๒๕๓๗) บนั ทกึ เสด็จพระราชดาเนินจากดอยตุงไป เยอื นเชยี งตงุ สาธารณรฐั พม่า อยา่ งไม่ เป็ นทางการ ระหวา่ งวนั ท่ี ๑ – ๓ มนี าคม ๒๕๒๗

แเปด็ นรพก๊ รคะรูลาา่ ชผนูน้ิพ่านรธกัเ์ ก(ยี่ ๒ว๕กบ๓ั ก๗า)รเสด็จฯ เยอื น ๓ ประเทศในยโุ รปตะวนั ออก ไดแ้ ก่ ประเทศโรมาเนีย สาธารณรฐั ประชาชนฮงั การี และสาธารณรฐั อบอโิ อสลเตารทยี รี่ าแชลอะกาณาราเสจดกั ็จรฯเบไลปเยเฝยี ้ ามฯรสะมหเวดา่ ็จงพวนรั ะทร่ีา๑ช๓นิ -ี ๒ฟ๕า มนี าคม ๒๕๓๗

ประพาสอทุ ยาน (๒๕๓๘) เสสกด็อ็จตพแรละนราดช์ แดลาะเสนวินติ เยเซอื อนรปแ์ รละนเทดศ์ รอะงั หกวฤา่ ษงวนั ท่ี ๔ – ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๓๖

ลาวใกลบ้ า้ น (๒๕๓๘) ลเสาดว็จรพะหระวรา่ างชวดนั าทเ่ีน๒ิน๘เย–อื น๑สพาฤธาศรจณกิ ารยฐั นปร๒ะช๕า๓ธ๗ปิ ไทตอยดปพระรชะเานชตนร กจิ การและสถานทตี่ า่ ง ๆ ทเี่ วยี งจนั ทน์ แขวงไชยะบุลี เขต พเิ ศษเชยี งฮ่อนหงสา แขวงบ่อแกว้

เยอื นถนิ่ อนิ เดยี นแดง (๒๕๓๗) วเสนั ดท็จ่ี พ๖ ร–ะร๑า๙ชดพาฤเนศินจกเิ ยาอื ยนนป๒ระ๕เท๓ศ๔สทหอรฐดั อพเรมะรเกนิ าตรระหว่าง กจิ การและสถานทตี่ า่ ง ๆ ในกรงุ วอชงิ ตนั ด.ี ซ.ี รฐั แมรี่ แลนด ์ เวอรจ์ เิ นีย แมสซาชเู สตส ์ แอรโิ ซนา แคลฟิ อรเ์นีย และฮาวาย

เยอื นถน่ิ จนี โพน้ ทะเล (๒๕๕๓) เสด็จพระราชดาเนนิ เยือนสาธารณรฐั ประชาชนจีน ใน ๔ พ้ืนทส่ี าคัญคอื เมืองปักก่งิ เมืองซโู จวในมณฑลฝูเจียนหรือ ฮกเกีย้ น เมืองเซ่ียเหมิน มณฑลไห่หน่านหรอื ไหหลา และเมอื งก่ วงโจวหรือกวางโจวในมณฑลกวางตงุ้ ระหวา่ งวนั ที่ ๑๔ ถงึ ๒๓ ตลุ าคม ๒๕๔๕

ไทยทาไทยกนิ กบั ขา้ วฝรง่ั (๒๕๕๑) รราวมชภนิาพพนถธา่ต์ ยาฝรีาพกรบัะหขตั า้ ถวฝแ์ ลรง่ะั เลศาสยพซรงึ่ ะเปห็ นตั ภถา์ พพรถะา่ ย อแทสาาหดทางกุ วรขธฝิ น้ัทีรตง่าั เออศนาสหททาที่รรงรพสงรนาอ้ธามตมิ ลาวาเธิ ผยที พยาแรดพะว้หรยตัใ่พนถรคอ์ะรอธง้ับงิ นคาีม้เย์ อที วงธงิั้ ี คาวและหวาน เชน่ มูสชอ็ คโกแลต ปลาคอ้ ดราด ซชอชามออหมสพามปู่ รซิะญไเงท่ึขอทยอื งรขเงทซนนศปุ าาแหนมลวแัาะหทรขวออ้ าบ้ มกี วรหสขวานมนมไึ่งมวออดว้ยยาว้า่า่ นยงงิลคกลอืราะยตราา่วเยมกผทสดังั้รเห็ด

ฟ้ื นภาษา ไดอ้ าหาร (๒๕๕๒) เสดจ็ พระราชดาเนินไปทรงเพม่ิ พูนความรูด้ า้ นภาษาฝรงั่ เศส ณ สถาบนั สอนภาษาตูแรน (Institut de Touraine) ทเ่ี มอื งตูร์ (Tour) ประเทศฝรงั่ เศส ระหวา่ งวนั ท่ี ๑๓ สงิ หาคม ถงึ วนั ท่ี ๓๐ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

จงจรเทย่ี ว-สมดุ บนั ทกึ ภาพถา่ ยฝี พระหตั ถ์ 12 ประเทศ (๒๕๕๓) สมดุ บนั ทกึ รวบรวมภาพถา่ ยฝีพระหตั ถส์ มเดจ็ พระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารใี นการเยอื น ต่างประเทศ 12 ประเทศ คอื ฝรงั่ เศส, สวติ เซอรแ์ ลนด,์ สเปน,กมั พูชา, อยี ปิ ต,์ บงั กลาเทศ,เวยี ดนาม,สหรฐั อเมรกิ า ,เยอรมนี, เวเนซุเอลา, จนี , พมา่

สตั วเ์ ล้ยี งวงั สระปทมุ (๒๕๔๘) สมดุ บนั ทกึ รวบรวมภาพถ่ายและภาพลายเสน้ ฝีพระ หตั ถ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี และภาพชดุ สุนขั ทรงเล้ยี ง

ครวั สระปทมุ (๒๕๔๙) สมดุ บนั ทกึ รวมพระฉายาลกั ษณส์ มเดจ็ พระศรนี คร นิทราบรมราชชนนีและสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรม ราชกมุ ารี ขณะทรงประกอบอาหาร ณ วงั สระปทมุ พรอ้ มลาย พระหตั ถพ์ ระราชนิพนธแ์ ละตารบั อาหาร 12 รายการของทง้ั สอง พระองค์

ประพาสภาษา (๒๕๔๖) เสดจ็ พระราชดาเนินไปทรงศึกษาภาษาเยอรมนั ทเ่ี มอื งเกติ ติเงน สหพนั ธ์ สาธารณรฐั เยอรมนั และเสดจ็ ไปทอดพระเนตรศิลปะและวฒั นธรรม วชิ าการ และเทคโนโลยใี หม่ ๆ ระหว่างวนั ท่ี ๑๙ กมุ ภาพนั ธ์ ถงึ วนั ท่ี ๒๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๔๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook