Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คุณธรรมจริยธรรมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์-

คุณธรรมจริยธรรมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์-

Published by Ornicha Buasai, 2021-09-14 10:38:10

Description: คุณธรรมจริยธรรมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์-

Search

Read the Text Version

รายงาน เรื่อง คุณธรรมจริยธรรมทด่ี ใี นการใช้คอมพวิ เตอร์ วชิ า ระบบปฏิบัตกิ ารเบื้องต้นทาง ผู้จัดทา นางสาว อรณิชา บวั สาย ปวช.1 รหัสนักศึกษา 64106100112 สาขา คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ เสนอ อาจารย์ ลาภวตั วงศ์ประชา วทิ ยาลยั นาหว้า มหาวทิ ยาลยั นครพนม

คานา รายงานฉบบั นีจ้ ดั ทาํ ขนึ้ เพ่ือเป็นเอกาสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ ระบบปฏิบตั กิ าร เบอื้ งตน้ ทางการศกึ ษาซง่ึ มเี นอื้ หาเก่ียวกบั คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในการใชค้ อมพวิ เตอรเ์ พ่อื การ ส่อื สารและใหน้ กั ศกึ ษาไดศ้ กึ ษาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และนาํ ความรูท้ ่ไี ดใ้ ชป้ ระกอบการเรียนรูใ้ น รายวชิ าระบบปฏบิ ตั ิการเบอื้ งตน้ จึงเหมาะกบั บคุ คลท่สี นใจท่วั ไป เพราะในรายงานผจู้ ดั ทาํ ได้ รวบรวมเนอื้ หาจากหลายแหลง่ คอื หนงั สือ รวมทง้ั เว็บไซตท์ ่นี ่าเช่อื ถือตา่ งๆ ซ่งึ เนือ้ หาเก่ียวกบั คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในการใชค้ อมพิวเตอรห์ วงั เป็นอยา่ งย่ิงว่ารายงานฉบบั นจี้ ะเป็น ประโยชนต์ ่อผสู้ นใจท่จี ะนาํ ไปพฒั นาการเรียนการสอนใหม้ ี ประสิทธิภาพมากขนึ้ คณะผจู้ ดั ทาํ

สารบัญ หน้า เร่ือง 1 คณุ ธรรมจรยิ ธรรมท่ดี ใี นการใชค้ อมพวิ เตอร์ 1 -จรยิ ธรรมในการใชค้ อมพิวเตอร์ 2 ความเป็นสว่ นตวั (Information Privacy) 3 ความถกู ตอ้ ง (Information Accuracy) 4 ความเป็นเจา้ ของ (Information Property) 5 การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู (Data Accessibility) 6 ความสาํ คญั ของจรยิ ธรรมทางธรุ กิจ 7 จรยิ ธรรมและคณุ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศรว่ มกนั 8 จรรยาบรรณสาํ หรบั ผใู้ ชไ้ ปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส(์ E-mail) 9 จรรยาบรรณสาํ หรบั ผสู้ นทนา(Chat) 10 จรรยาบรรณสาํ หรบั ผใู้ ชก้ ระดานขา่ ว ระบบสอื่ สารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 13 บญั ญตั ิ 10 ประการ 14 บรรณานุกรรม

1 คุณธรรมจรยิ ธรรมทด่ี ใี นการใช้คอมพวิ เตอร์ จรยิ ธรรมในการใชค้ อมพวิ เตอร์ หมายถึง หลกั ศีลธรรมจรรยาท่กี าํ หนดขนึ้ เพ่อื ใชเ้ ป็นแนวทาง ปฏิบตั ิ หรอื ควบคมุ การใช้ ระบบคอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศ ในทางปฏิบตั แิ ลว้ การระบวุ า่ การ กระทาํ สิ่งใดผดิ จรยิ ธรรมนนั้ อาจกลา่ วไดไ้ ม่ชดั เจนมากนกั ทง้ั นี้ ย่อมขนึ้ อย่กู บั วฒั นธรรมของ สงั คมในแต่ละประเทศดว้ ย ถงึ แมว้ ่าเทคโนโลยีคอมพวิ เตอรจ์ ะมีประโยชนม์ ากมายเพียงใดกต็ าม หากพิจารณา อีกดา้ นหน่ึงแลว้ คอมพวิ เตอรก์ ็อาจจะเป็นภยั ไดเ้ ช่นกนั หากผใู้ ชไ้ ม่ระมดั ระวงั หรือนาํ ไปใช้ ในทางท่ไี มถ่ กู ตอ้ ง ดงั นนั้ ในการการใชง้ านคอมพิวเตอรร์ ว่ มกนั ในสงั คม ในแตล่ ะประเทศจงึ ได้ มีการกาํ หนดระเบยี บ กฎเกณฑ์ รวมถงึ กฎหมายท่ีใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบตั ิ เพ่อื ใหเ้ กิด จรยิ ธรรม ในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ การกระทาํ ท่ยี อมรบั กนั โดยท่วั ไปวา่ เป็นการกระทาํ ท่ี ผดิ จรยิ ธรรม เช่น - การใชค้ อมพิวเตอรท์ าํ รา้ ยผอู้ ่ืนใหเ้ กิดความเสยี หาย หรอื ก่อใหเ้ กิดความ ราํ คาญ - การใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการขโมยขอ้ มลู - การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู หรือคอมพิวเตอรข์ องผอู้ ่นื โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต - การละเมิดลขิ สทิ ธิ์ โดยท่วั ไป เม่อื พิจารณาถึงจรยิ ธรรมเก่ียวกบั การใชเ้ ทคโนโลยคี อมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศแลว้ จะกลา่ วถึงใน 4 ประเดน็ ท่รี ูจ้ กั กนั ในลกั ษณะตวั ย่อวา่ PAPA ประกอบดว้ ย 1. ความเป็นสว่ นตวั (Information Privacy) 2. ความถกู ตอ้ ง (Information Accuracy) 3. ความเป็นเจา้ ของ (Information Property) 4. การเขา้ ถึงขอ้ มลู (Data Accessibility) ความเป็นสว่ นตวั (Information Privacy)

2 ความเป็ นส่วนตัว (Information Privacy) ความเป็นสว่ นตวั ของขอ้ มลู และสารสนเทศ โดยท่วั ไป หมายถึง สิทธิท่จี ะอยตู่ ามลาํ พงั และเป็นสทิ ธิท่เี จา้ ของสามารถท่จี ะควบคมุ ขอ้ มลู ของตนเองในการเปิดเผยใหก้ บั ผอู้ ่นื สิทธินี้ ใชไ้ ดค้ รอบคลมุ ทง้ั สว่ นบคุ คล กลมุ่ บคุ คล และองคก์ รต่าง ๆ ปัจจบุ นั มปี ระเด็นเก่ียวกบั ความ เป็นสว่ นตวั ท่เี ป็นขอ้ หนา้ สงั เกตดงั นี้ 1. การเขา้ ไปดขู อ้ ความในจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละการบนั ทกึ ขอ้ มลู ในเคร่อื ง คอมพวิ เตอร์ รวมทงั้ การบนั ทกึ แลกเปลยี่ นขอ้ มลู ท่บี คุ คลเขา้ ไปใชบ้ รกิ ารเว็บไซตแ์ ละกลมุ่ ขา่ วสาร 2. การใชเ้ ทคโนโลยีในการติดตามความเคลอ่ื นไหวหรือพฤตกิ รรมของบคุ คล เช่น บรษิ ทั ใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการตรวจจบั หรือเฝา้ ดกู ารปฏบิ ตั ิงาน การใชบ้ รกิ ารของพนกั งาน ถึงแมว้ า่ จะเป็นการตดิ ตามการทาํ งานเพ่อื การพฒั นาคณุ ภาพการใชบ้ รกิ าร แตก่ ิจกรรมหลาย อยา่ งของพนกั งานกถ็ กู เฝา้ ดดู ว้ ย พนกั งานสญู เสยี ความเป็นสว่ นตวั ซง่ึ การกระทาํ เช่นนถี้ ือเป็น การผิดจรยิ ธรรม 3. การใชข้ อ้ มลู ของลกู คา้ จากแหลง่ ต่าง ๆ เพ่ือผลประโยชนใ์ นการขยายตลาด 4. การรวบรวมหมายเลขโทรศพั ท์ ท่อี ยอู่ ีเมล์ หมายเลขบตั รเครดิต และขอ้ มลู สว่ นตวั อ่นื ๆ เพ่อื นาํ ไปสรา้ งฐานขอ้ มลู ประวตั ลิ กู คา้ ขนึ้ มาใหม่ แลว้ นาํ ไปขายใหก้ บั บรษิ ัทอ่นื ดงั นนั้ เพ่อื เป็นการปอ้ งกนั การละเมิดสิทธิความเป็นสว่ นตวั ของขอ้ มลู และสารสนเทศ จึงควรจะตอ้ งระวงั การใหข้ อ้ มลู โดยเฉพาะการใชอ้ ินเตอรเ์ นต็ ท่มี ีการใหโ้ ปรโมช่นั หรอื ระบใุ หม้ ี การลงทะเบยี นกอ่ นเขา้ ใชบ้ รกิ าร เชน่ ขอ้ มลู บตั รเครดติ และ ท่อี ย่อู เี มล์

3 ความถูกต้อง (Information Accuracy) ในการใชค้ อมพิวเตอรเ์ พ่อื การรวบรวม จดั เกบ็ และเรยี กใชข้ อ้ มลู นนั้ คณุ ลกั ษณะท่ี สาํ คญั ประการหนงึ่ คือ ความนา่ เช่อื ถือของขอ้ มลู ทงั้ นี้ ขอ้ มลู จะมคี วามนา่ เช่อื ถือมากนอ้ ย เพียงใดยอ่ มขนึ้ อย่กู บั ความถกู ตอ้ งในการบนั ทกึ ขอ้ มลู ดว้ ย ประเด็นดา้ นจรยิ ธรรมท่เี ก่ียวขอ้ ง กบั ความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู โดยท่วั ไปจะพจิ ารณาว่าใครจะเป็นผรู้ บั ผิดชอบตอ่ ความถกู ตอ้ งของ ขอ้ มลู ท่จี ดั เกบ็ และเผยแพร่ เชน่ ในกรณีท่อี งคก์ รใหล้ กู คา้ ลงทะเบียนดว้ ยตนเอง หรือกรณีของ ขอ้ มลู ท่เี ผยแพรผ่ ่านทางเว็บไซต์ อกี ประเดน็ คอื จะทราบไดอ้ ยา่ งไรว่าขอ้ ผิดพลาดท่เี กิดขนึ้ นนั้ ไม่ไดเ้ กิดจากความจงใจ และผใู้ ดจะเป็นผรู้ บั ผดิ ชอบหากเกิดขอ้ ผิดพลาดในการจดั ทาํ ขอ้ มลู และสารสนเทศใหม้ ีความถกู ตอ้ งและนา่ เช่อื ถือนนั้ ขอ้ มลู ควรไดร้ บั การตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ก่อนท่จี ะนาํ เขา้ ฐานขอ้ มลู รวมถงึ การปรบั ปรุงขอ้ มลู ใหม้ ีความทนั สมยั อยเู่ สมอ นอกจากนคี้ วร ใหส้ ทิ ธิแกบ่ คุ คลในการเขา้ ไป ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ของตนเองได้ เช่น ผสู้ อน สามารถดคู ะแนนของนกั ศกึ ษาในความรบั ผดิ ชอบหรอื ท่สี อน เพ่อื ตรวจสอบว่าคะแนนท่ปี อ้ นไม่ ถกู แกไ้ ขเปล่ยี นแปลง

4 ความเป็ นเจ้าของ (Information Property) สิทธิความเป็นเจา้ ของ หมายถึง กรรมสทิ ธิ์ในการถือครองทรพั ยส์ นิ ซง่ึ อาจเป็น ทรพั ยส์ นิ ท่วั ไปท่จี บั ตอ้ งได้ เชน่ รถยนต์ คอมพวิ เตอร์ หรอื อาจเป็นทรพั ยส์ ินทางปัญญา (ความคดิ ) ท่จี บั ตอ้ งไม่ได้ เชน่ บทเพลง โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ แตส่ ามารถถ่ายทอดและบนั ทกึ ลงในสอ่ื ต่าง ๆ ได้ เชน่ สง่ิ พมิ พ์ เทป ซีดีรอม เป็นตน้ ในสงั คมของเทคโนโลยีสารสนเทศ มกั จะกลา่ วถึงการละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ซอฟตแ์ วร์ เม่ือ ทา่ นซือ้ โปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ่ีมกี ารจดลิขสทิ ธิ์ น่นั หมายความว่าท่านไดจ้ ่ายค่าลิขสทิ ธิ์ในการ ใชซ้ อฟตแ์ วรน์ นั้ สาํ หรบั ท่านเอง หลงั จากท่ที า่ นเปิดกลอ่ ง หรือบรรจภุ ณั ฑแ์ ลว้ หมายความวา่ ทา่ นไดย้ อมรบั ขอ้ ตกลงเก่ียวกบั ลขิ สทิ ธิ์ในการใชส้ นิ คา้ นนั้ ซ่งึ ลิขสทิ ธิ์ในการใชจ้ ะแตกต่างกนั ไป ในแต่ละสินคา้ และบรษิ ทั บางโปรแกรมจะอนญุ าตใหต้ ดิ ตงั้ ไดเ้ พียงครงั้ เดยี ว หรอื ไมอ่ นญุ าตให้ ใชก้ บั คอมพวิ เตอรเ์ ครื่องอ่นื ๆ ถึงแมว้ า่ คอมพวิ เตอรเ์ ครื่องนนั้ ๆ ทา่ นเป็นเจา้ ของ และไมม่ ผี อู้ ่นื ใชก้ ต็ าม ในขณะท่บี างบรษิ ัทอนญุ าตใหใ้ ชโ้ ปรแกรมนนั้ ๆได้ หลาย ๆ เครื่อง ตราบใดท่ยี งั เป็น บคุ คลท่ีมีสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ ่ซี ือ้ มา การคดั ลอกโปรแกรมคอมพวิ เตอรใ์ หก้ บั เพ่อื น เป็นการกระทาํ ท่จี ะตอ้ งพิจารณาให้ รอบคอบก่อนวา่ โปรแกรมท่ีจะทาํ การคดั ลอกนนั้ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ่ีทา่ นมีสิทธิ์ใน ระดบั ใด เชน่ Copyright หรอื Software License ทา่ นซือ้ ซอฟตแ์ วรล์ ขิ สทิ ธิ์มา และมสี ิทธิ์ใช้ Shareware ซอฟตแ์ วรใ์ หท้ ดลองใชไ้ ดก้ ่อนท่จี ะตดั สนิ ใจซอื้ Freeware ซอฟตแ์ วรใ์ ชง้ านไดฟ้ รี คดั ลอก และเผยแพรใ่ หผ้ อู้ ่นื ได้

5 การเขา้ ถงึ ข้อมลู (Data Accessibility) ปัจจบุ นั การใชง้ านโปรแกรม หรือระบบคอมพิวเตอรม์ กั จะมกี ารกาํ หนดสิทธิตาม ระดบั ของผใู้ ชง้ าน ทงั้ นี้ เพ่อื เป็นการเขา้ ไปดาํ เนินการต่าง ๆ กบั ขอ้ มลู ของผใู้ ชท้ ่ไี ม่สว่ น เก่ียวขอ้ ง และเป็นการรกั ษาความลบั ของขอ้ มลู ตวั อย่างสทิ ธิ ในการใชง้ านระบบ เช่น การ บนั ทกึ การแกไ้ ข ปรบั ปรุง และการลบ เป็นตน้ ดงั นนั้ ในการพฒั นาระบบคอมพิวเตอรจ์ งึ ไดม้ ี การออกแบบระบบรกั ษาความปลอดภยั ในการเขา้ ถงึ ของผใู้ ช้ และการเขา้ ถึงขอ้ มลู ของผอู้ ่นื โดยไมไ่ ดร้ บั ความยินยอมนนั้ ก็ถือเป็นการผดิ จรยิ ธรรมเชน่ เดยี วกบั การละเมิดสทิ ธิสว่ นบคุ คล ในการใชง้ านคอมพิวเตอรแ์ ละเครอื ข่ายรว่ มกนั ใหเ้ ป็นระเบียบ หากผใู้ ชร้ ว่ มใจกนั ปฏิบตั ิ ตามระเบียบและขอ้ บงั คบั ของแต่ละหน่วยงานอย่างเครง่ ครดั แลว้ การผิดจรยิ ธรรมตาม ประเดน็ ท่กี ลา่ วมาขา้ งตน้ กค็ งจะไม่เกิดขนึ้

6 ความสาคญั ของจริยธรรมทางธุรกจิ หากองคด์ าํ เนินธุรกิจอย่างมีจรยิ ธรรม จะทาํ ใหเ้ กิดผลดี 5 ประการ ดงั นี้ 1.หลกี เลย่ี งขา่ วในแง่ลบ 2.ปอ้ งกนั องคก์ รและพนกั งานจากการดาํ เนนิ การทางกฎหมาย 3.ไดค้ ่านยิ มหรอื มคี วามนยิ มเพิ่มมากขนึ้ 4.การดาํ เนินงานในองคก์ รมีความสอดคลอ้ งกนั 5.เพิม่ ผลกาํ ไรใหก้ บั ธุรกิจ

7 จริยธรรมและคณุ ธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกนั เครือขา่ ยคอมพิวเตอรท์ ่ผี ใู้ ชอ้ ินเทอรเ์ น็ตเรียกเขา้ มิไดเ้ ป็นเพียงเครอื ข่ายขององคก์ รท่ผี ใู้ ชส้ งั กดั แตเ่ ป็นการเช่อื มโยงของเครอื ขา่ ยต่างๆ เขา้ หากนั หลายพนั หลายหม่นื เครอื ข่ายมขี อ้ มลู ขา่ วสาร อย่รู ะหวา่ งเครอื ข่ายเป็นจาํ นวนมาก การสง่ ข่าวสารในเครอื ข่ายนนั้ อาจทาํ ใหข้ า่ วสารกระจาย เดนิ ทางไปยงั เครือข่ายอ่นื ๆ อีกเป็นจาํ นวนมากหรือแมแ้ ตก่ ารสง่ ไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกสฉ์ บบั หนึง่ กอ็ าจจะตอ้ งเดนิ ทางผา่ นเครือขา่ ยอกี หลายเครอื ข่ายกวา่ จะถงึ ปลายทาง ดงั นนั้ ผใู้ ชบ้ รกิ าร ตอ้ งใหค้ วามสาํ คญั และตระหนกั ถงึ ปัญหาปรมิ าณขอ้ มลู ข่าวสารท่วี ่ิงอย่บู นเครือข่าย การใชง้ านอยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละเกิดประโยชนจ์ ะทาํ ใหส้ งั คมอินเทอรเ์ น็ตน่าใชแ้ ละเป็น ประโยชนร์ ว่ มกนั อย่างดี กิจกรรมบางอย่างท่ไี ม่ควรปฏิบตั ิจะตอ้ งหลกี เลยี่ งเชน่ การสง่ กระจาย ข่าวไปเป็นจาํ นวนมากบนเครอื ขา่ ย การสง่ เอกสารจดหมายลกู โซ่ ฯลฯ ส่ิงเหลา่ นจี้ ะเป็นผลเสีย โดยรวมต่อผใู้ ชแ้ ละไม่เกิดประโยชนใ์ ดๆ ตอ่ สงั คมอินเทอรเ์ น็เพ่อื ใหก้ ารอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คม อินเทอรเ์ น็ตสงบสขุ Arlene H.Rinaldi แหง่ มหาวิทยาลยั ฟอรร์ ดิ าแอตแลนตกิ จงึ รวบรวมกฎ กติกามารยาทและวางเป็นจรรยาบรรณอินเทอรเ์ น็ตหรือท่เี รียกว่า Netiquette ไวด้ งั น8ี้

8 จรรยาบรรณสาหรับผ้ใู ช้ไปรษณยี ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์(E-mail) ผใู้ ชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตทกุ คนมีเมลบ์ อ็ กซห์ รืออีเมลแ์ อดเดรสท่ใี ชอ้ า้ งอิงในการรบั สง่ จดหมาย ความรบั ผิดชอบตอ่ การใชง้ านอเี มลใ์ นระบบจึงเป็นเรอ่ื งท่ีทกุ คนตอ้ งใหค้ วามสาํ คญั เพราะจดหมายมกี ารรบั สง่ โดยระบบ ซง่ึ หากมจี ดหมายคา้ งในระบบจาํ นวนมากจะทาํ ใหพ้ นื้ ท่ี บฟั เฟอรข์ องจดหมายในระบบหมด จะเป็นผลใหร้ ะบบไมส่ ามารถรบั สง่ จดหมายตอ่ ไปได้ หลาย ต่อหลายครงั้ ระบบปฏเิ สธการรบั สง่ จดหมายเพราะไฟลร์ ะบบเต็ม ดงั นนั้ จงึ ควรมีความ รบั ผิดชอบในการดแู ลตจู้ ดหมาย (mail box) ของตนเองดงั นี้ 1. ตรวจสอบจดหมายทกุ วนั และจะตอ้ งจาํ กดั จาํ นวนไฟลแ์ ละขอ้ มลู ในตูจ้ ดหมายของ ตนใหเ้ ลอื กภายในโควตา้ ท่กี าํ หนด 2. ลบขอ้ ความหรือจดหมายท่ไี ม่ตอ้ งการแลว้ ออกจากดิสตเ์ พ่อื ลดปรมิ าณการใชด้ ิสก็ให้ จาํ นวนจดหมายท่อี ยใู่ นตจู้ ดหมาย (mail box) มจี าํ นวนนอ้ ยท่สี ดุ 3. ใหท้ าํ การโอนยา้ ยจดหมายจากระบบไปไวย้ งั พีซหี รอื ฮารด์ ดิสกข์ องตนเองเพ่อื ใช้ อา้ งอิงในภายหลงั พงึ ระลกึ เสมอว่าจดหมายท่เี กบ็ ไวใ้ นตจู้ ดหมายนอี้ าจถกู ผอู้ ่นื แอบอา่ นได้ ไมค่ วรเก็บขอ้ มลู หรอื จดหมายท่คี ณุ คิดว่าไมใ่ ชแ้ ลว้ เสมือนเป็นประกาศไวใ้ นตจู้ ดหมาย

9. จรรยาบรรณสาหรับผ้สู นทนา(Chat) บนเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตมีคาํ ส่งั ใหใ้ ชใ้ นการโตต้ อบกนั อย่างออนไลนห์ ลายคาํ ส่งั เช่น write, talk หรอื มกี ารสนทนา เป็นกลมุ่ เช่น IRC เป็นตน้ ในการเรยี กหาหรอื เปิดการสนทนา ตลอดจนการสนทนาจะตอ้ งมมี ารยาทท่สี าํ คญั ไดแ้ ก่ 1. ควรเรียกสนทนาจากผทู้ ่เี รารูจ้ กั และตอ้ งการสนทนาดว้ ย หรือมีเร่ืองสาํ คญั ท่จี ะติดตอ่ ดว้ ย ควรระลกึ เสมอวา่ การขดั จงั หวะผอู้ ่นื ท่กี าํ ลงั ทาํ งานอยอู่ าจสรา้ งปัญหาใหไ้ ด้ 2. ก่อนการเรยี กคสู่ นทนาควรสอบสถานะการใชง้ านของค่สู นทนาท่ตี อ้ งการเรียกเพราะ การเรยี กแต่ละครงั้ จะมขี อ้ ความไปปรากฏบนจอภาพของฝ่ายถกู เรียกซ่งึ กส็ รา้ งปัญหาการ ทาํ งานได้ เช่น ขณะกาํ ลงั ทาํ งานคา้ ง ftp ซ่งึ ไม่สามารถหยดุ ได้ 3. หลงั จากเรยี กไปช่วั ขณะคทู่ ่ถี กู เรียกไมต่ อบกลบั แสดงว่าค่สู นทนาอาจตดิ งานสาํ คญั ขอใหห้ ยดุ การเรียกเพราะขอ้ ความท่เี รยี กไปปรากฏบนจออยา่ งแน่นอนแลว้ 4. ควรใหว้ าจาสภุ าพ และใหเ้ กียรตซิ ่งึ กนั และกนั การแทรกอารมณข์ นั ควรกระทาํ กบั คน ท่รี ูจ้ กั คนุ้ เคยแลว้ เท่านนั้

10 จรรยาบรรณสาหรับผู้ใช้กระดานข่าว ระบบสื่อสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ระบบข่าวสารท่ใี หบ้ รกิ ารในสงั คมอนิ เทอรเ์ น็ตมีหลายระบบ เช่น ยสู เน็ตนสิ ว์ (UseNet News) ระบบสมาชกิ แจง้ ข่าวหลายสมาคม บอกรบั สมาชกิ และใหข้ ่าวสารท่สี ม่าํ เสมอกบั สมาชกิ ดว้ ยการสง่ เป็นจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ท่ีเรียกว่า Mailing lists ผเู้ สนอ ข่าวและผู้ อภปิ รายเรอ่ื ง ตา่ ง ๆ ท่เี ขียนลงไปจะกระจายออกไปท่วั โลก เชน่ ข่าวบนยสู เน็ตนิวสแ์ ต่ละกลมุ่ เม่อื สง่ ออกจะกระจาย ไปยงั เซริ ฟ์ เวอรอ์ ่นื ๆ ท่วั โลก ผใู้ ชบ้ รกิ ารโดยเฉพาะท่ตี อ้ งการเขยี น ข่าวสารบนกระดาษ ข่าวจะตอ้ งเคารพกฏกติกามารยาทโดยเครง่ ครดั ขอ้ ปฏิบตั ทิ ่สี าํ คญั ไดแ้ ก่ 1. ใหเ้ ขียนเร่อื งใหก้ ระชบั ขอ้ ความควรสนั้ และตรงประเด็กไม่กาํ กวม ใชภ้ าษาท่เี รียบงาน สภุ าพเขา้ ใจได้ ในแต่ละเรอื่ งท่เี ขียนใหต้ รงโดยขอ้ ความท่เี ขียนควรจะมีหวั ขอ้ เดยี วตอ่ เรื่อง 2. ในการเขียนพาดพิงถงึ ผอู้ ่นื ใหร้ ะมดั ระวงั ในการละเมิดหรอื สรา้ งความเสยี หายให้ ผอู้ ่นื การใหอ้ ีเมลอ์ าจตรงประเด็นกวา่ 3. ใหแ้ หลง่ ท่ีมาของขอ้ ความ ควรอา้ งอิงแหลง่ ขา่ วได้ ไม่เรยี กวา่ โคมลอยหรือข่าวลือหรือ เขยี นข่าวเพ่อื ความสนกุ โดยขาดความรบั ผดิ ชอบ 4. จาํ กดั ความยาวของขา่ ว และหลกี เลยี่ งตวั อกั ษรควบคมุ พิเศษอ่นื ๆ เพราะหลาย เคร่อื งท่อี ่านข่าวอาจมปี ัญหาในการแสดงผล 5. ขา่ วบางขา่ วมกี ารกระจายกนั มาเป็นลาํ ดบั ให้ และอา้ งองิ ตอ่ ๆ กนั มาการเขียนข่าวจึง ควรพจิ ารณาในประเดน็ นีด้ ว้ ย โดยเฉพาะอยา่ สง่ จดหมายตอบโตไ้ ปยงั ผรู้ ายงานขา่ วผแู้ รก 4. ไม่ควรใหเ้ ครอื ข่ายของมหาวิทยาลยั เพ่อื ประโยชนท์ างการคา้ หรอื งานเฉพาะของตน เพ่อื ประโยชนส์ ว่ นตนในเรือ่ ง การคา้

11 5. การเขยี นขา่ วทกุ ครงั้ จะตอ้ งลงช่อื และลายเซ็นตอนลา่ งของขอ้ ความเพ่อื บอกช่อื ตาํ แหนง่ แอดเดรสท่อี า้ งอิงไดท้ างอนิ เทอรเ์ น็ต หรอื ใหท้ ่อี ยแู่ ละหมายเลขโทรศพั ทท์ ่ตี ิดตอ่ ได้ 6. ในการทดสอบการสง่ ไมค่ วรทาํ พรา่ํ เพ่อื การทดสอบควรกระทาํ ในกลมุ่ ขา่ วทอ้ งถิ่นท่ี เปิดใหท้ ดสอบการสง่ ขา่ วอยแู่ ลว้ เพราะการสง่ ข่าวแต่ละครงั้ จะกระจายไปท่วั โลก 7. หลีกเลีย่ งการใชต้ วั อกั ษรใหญ่ตวั อกั ษรใหญ่ท่มี คี วามหมายถงึ การตะโกนหรือการ แสดงความไมพ่ อใจใน 8. การเนน้ คาํ ใหใ้ ชเ้ ครอ่ื งหมาย * ขอ้ ความ* แทน 9. ไมค่ วรนาํ ขอ้ ความท่ผี อู้ ่นื เขยี นไปกระจายตอ่ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ ของเร่ือง 10. ไมค่ วรใชข้ อ้ ความตลกขบขนั หรือคาํ เฉพาะคาํ กาํ กวม หรอื คาํ หยาบคายในการเขยี น ข่าว 11. ใหค้ วามสาํ คญั ในเร่ืองลขิ สิทธิ์ไมค่ วรละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ผอู้ ่นื 12. ไมค่ วรคดั ลอกข่าวจากท่อี ่ืนเช่น จากหนงั สอื พมิ พท์ ง้ั หมดโดยไม่มกี ารสรุปยอ่ และ เม่อื สง่ ขา่ วย่อจะตอ้ งอา้ งอิงท่มี า 13. ไมค่ วรใชก้ ระดานข่าวเป็นท่ตี อบโตห้ รอื ละเมดิ ผอู้ ่นื 14. เม่อื ตอ้ งการใชค้ าํ ยอ่ คาํ ย่อท่เี ป็นท่รี ูจ้ กั กนั ท่วั ไป เช่น IMHO-in my humble / honest opinion FYI-for your information BTW-by the way

12 15. การเขียนขอ้ ความจะตอ้ งไม่ใชอ้ ารมณห์ รือความรูส้ กึ สว่ นตวั และระลกึ เสมอว่าขา่ วท่ี เขียนหรอื 16. อภิปรายนกี้ ระจายไปท่วั โลก และมผี อู้ ่านข่าวจาํ นวนมาก ในการเขยี นคาํ ถามลงในกลมุ่ ขา่ วจะตอ้ งสง่ ลงในกลมุ่ ท่ตี รงกบั ปัญหาท่เี ขยี นนนั้ และเม่ือจะ ตอบกต็ อ้ งใหต้ รงประเด็น 17. ในการบอกรบั ข่าวดว้ ย mailing list และมีขา่ วเขา้ มาจาํ นวนมากทางอีเมลจ์ ะตอ้ ง อา่ นข่าว และโอนมาไวท้ ่เี ครอื่ งตน (พีซ)ี หรอื ลบออกจาก mail box และหากไมอ่ ย่หู รอื ไมไ่ ดเ้ ปิด ตจู้ ดหมายเกินกว่าหนึ่งสปั ดาหจ์ ะตอ้ งสง่ ไปบอกยกเลิกการรบั เพ่อื ว่าจะไดไ้ ม่มีจดหมายสง่ เขา้ มามาก

13 บัญญตั ิ 10 ประการ ตอ่ ไปนเี้ ป็นจรรยาบรรณท่ผี ใู้ ชอ้ ินเทอรเ์ นต็ ยดึ ถือไวเ้ สมือนเป็นแมบ่ ทแหง่ การปฏบิ ตั ิเพ่อื ระลกึ และเตอื นความจาํ เสมอ 1. ไมใ่ ชค้ อมพวิ เตอรท์ าํ รา้ ยหรือละเมดิ ผอู้ ่นื 2. ตอ้ งไมร่ บกวนการทาํ งานของผอู้ ่ืน 3. ตอ้ งไมส่ อดแนมหรอื แกไ้ ขเปิดดใู นแฟ้มของผอู้ ่นื 4. ตอ้ งไมใ่ ชค้ อมพิวเตอรเ์ พ่อื การโจรกรรมขอ้ มลู ขา่ วสาร 5. ตอ้ งไม่ใชค้ อมพิวเตอรส์ รา้ งหลกั ฐานท่ีเป็นเท็จ 6. ตอ้ งไม่คดั ลอกโปรแกรมผอู้ ่นื ท่มี ีลิขสิทธิ์ 7. ตอ้ งไม่ละเมดิ การใชท้ รพั ยากรคอมพิวเตอรโ์ ดยท่ตี นเองไมม่ ีสทิ ธิ์ 8. ตอ้ งไม่นาํ เอาผลงานของผอู้ ่นื มาเป็นของตน 9. ตอ้ งคาํ นึงถงึ สง่ิ ท่จี ะเกิดขนึ้ กบั สงั คมอนั ตดิ ตามมาจากการกระทาํ 10. ตอ้ งใชค้ อมพิวเตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบยี บ กตกิ ามารยาท จรรยาบรรณเป็นส่ิงท่ที าํ ใหส้ งั คมอินเทอรเ์ น็ตเป็นระเบียบความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมเป็น เรอื่ งท่จี ะตอ้ งปลกู ฝังกฎเกณฑข์ องแตล่ ะเครือขา่ ยจงึ ตอ้ งมีการวางระเบยี บเพ่อื ใหก้ าร ดาํ เนนิ งานเป็นไปอย่างมีระบบและเออื้ ประโยชนซ์ ่งึ กนั และกนั บางเครือขา่ ยมบี ทลงโทษและ จรรยาบรรณท่ีชดั เจน เพ่ือช่วยใหส้ งั คมสงบสขุ และหากการละเมิดรุนแรงกฎหมายกจ็ ะเขา้ มามี บทบาทไดเ้ ชน่ กนั

14 บรรณานุกรรม http://www.jariyatam.com/ethics-of-using-computer http://www.nukul.ac.th/it/content/10/10-1.html http://www.deecrub.ob.tc/page02_01.htm

15 ผู้จัดทา นางสาว อรณชิ า บัวสาย สาขาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ ปวช.1 รหสั นักศึกษา 64106100112

16 อาจารย์ประจาวชิ า อาจารย์ ลาภวตั วงศ์ประชา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook