Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นครินทรทันตรักษ์สารเล่ม 1 ธันวาคม 2564 PDF

นครินทรทันตรักษ์สารเล่ม 1 ธันวาคม 2564 PDF

Published by patchathana, 2022-06-10 02:17:55

Description: นครินทรทันตรักษ์สารเล่ม 1 ธันวาคม 2564 PDF

Search

Read the Text Version

สารจากประธานกรรมการ มลู นธิ ทิ ันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ในวาระครบรอบ ๕๐ ปี หนว่ ยทันตกรรมพระราชทาน ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั และครบรอบ ๑๐ ปี การจัดตง้ั มูลนธิ ทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ในหน่วยทนั ตกรรมพระราชทาน ในพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยู่หวั มูลนิธิฯ ได้มีแผนงานจัดต้ังศูนย์พัฒนารากฟันเทียมไทยเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ ๙ หรอื ศรท.๙ ขน้ึ เพอื่ ระลกึ ถงึ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ตอ่ พสกนกิ รดา้ นทนั ตสาธารณสขุ ทพ่ี ระราชทานความ ชว่ ยเหลอื ดแู ล และอุปถัมภห์ น่วยงานโดยเฉพาะวิชาชีพทันตแพทย์ ที่ออกให้บรกิ ารทนั ตกรรมแก่ประชาชน ตลอด ชว่ งเวลา ๗๐ ปี ที่ครองราชย์ (พ.ศ. ๒๔๘๙-๒๕๕๙) เพอื่ ให้ราษฎรได้มสี ขุ ภาพชอ่ งปากทดี่ ี ท�ำใหส้ ุขภาพโดยรวมดี ข้ึนด้วย ศรท.๙ จึงเปน็ เหมอื นสญั ลกั ษณแ์ หง่ ความภาคภูมใิ จ เปน็ ศูนย์รวมใจของทนั ตแพทย์ นกั วจิ ยั และพัฒนา ด้านทันตกรรม ท่มี งุ่ หวงั ใหเ้ กิดวสั ดุ สิ่งของ เครือ่ งมือ เครอ่ื งใช้ อุปกรณต์ า่ งๆ ข้นึ ในประเทศ ลดการพ่งึ พาจากตา่ ง ประเทศให้ได้มากทสี่ ุด ศรท.๙ ไดจ้ ัดต้งั ขน้ึ เป็นหน่วยงานเทียบเท่าส่วนในมลู นธิ ฯิ มีภารกิจด�ำเนินการใหญ่ๆ ๒ ดา้ นคอื ๑. การวจิ ยั และพัฒนาเครอ่ื งมอื แพทย์ดา้ นทันตกรรมขนึ้ ในประเทศ ผลิตและใหบ้ รกิ ารในประเทศ ลดการนำ� เขา้ ๒. ด้านวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยี และความรูต้ ่างๆ ให้เทา่ ทนั สิง่ แวดล้อมท่เี ปล่ียนแปลง ทง้ั น้ใี นดา้ นวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยี ท่ปี ระชุมคณะกรรมการมูลนิธิฯ ได้เหน็ ชอบให้จัดท�ำวารสาร หรือเอกสารวิชาการต่างๆ เพ่ือเผยแพร่ความรู้แก่ทันตบุคลากร หรือผู้ที่สนใจวิชาการด้านนี้ ได้รับทราบความ เปลีย่ นแปลง ความกา้ วหนา้ ในวิชาการตา่ งๆ ทัง้ ในและต่างประเทศ ดิฉันในฐานะผู้อ�ำนวยการหน่วยทันตกรรมพระราชทาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และประธาน กรรมการมูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ใคร่ขอขอบคุณคณะผู้บริหารมูลนิธิฯ และทีมบรรณาธิการ นครนิ ทรทันตรกั ษ์สาร ทรี่ ่วมกนั เผยแพร่นวัตกรรมทางด้านทันตกรรม ซ่ึงจะช่วยให้ผูไ้ ดร้ บั สาร มคี วามรูเ้ พ่ิมพนู น�ำ ไปใชไ้ ดเ้ กิดประโยชนท์ ั้งสว่ นตัว และส่วนรวมยง่ิ ๆ ข้นึ ไป ศ.(พิเศษ) ทนั ตแพทยห์ ญงิ ท่านผู้หญงิ เพ็ชรา เตชะกมั พชุ ประธานกรรมการมลู นธิ ิทนั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ๑

สารจากบรรณาธกิ าร ยินดีต้อนรับสู่ “นครินทรทันตรักษ์สาร” ฉบับปฐมฤกษ์ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ครับ กระผม ในฐานะสาราณยี กร ใครข่ อเล่าท่มี าท่ไี ปและวตั ถุประสงคห์ ลกั ของวารสารฉบับน้ี เรม่ิ จากช่ือของวารสาร จากเดิม ท่ีกองบรรณาธกิ ารต้ังชือ่ ตรงๆ ว่า “จดหมายขา่ ว ศรท.๙” เพราะเราต้ังใจจะให้วารสารฉบบั นี้ท�ำหนา้ ท่ีเผยแพร่ องค์ความรู้ และกิจกรรมต่างๆ ของศนู ย์พฒั นารากฟนั เทียมไทยเฉลิมพระเกยี รติ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รัชกาลที่ ๙ (ศรท.๙) ใหก้ ับทันตแพทย์ และประชาชนท่วั ไป ภายหลงั ในการประชุมกบั ทางมลู นิธทิ นั ตนวัตกรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ทางวารสารกไ็ ดร้ ับเกียรตใิ ห้ใชช้ ่ือ “นครนิ ทรทันตรกั ษ”์ สวนหนา้ มูลนธิ ฯิ ซง่ึ ประดษิ ฐาน พระบรมรูปสมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี สมเดจ็ ยา่ ของปวงชนชาวไทย มาเปน็ ชอ่ื “นครนิ ทรทนั ตรักษ์ สาร” ฉบบั นี้ ตอนที่เข้ามารับงานสาราณียกร กระผมได้ลองไปสืบค้นวารสารฉบับเก่าของ ทางมลู นธิ ิฯ ซง่ึ จรงิ ๆ แล้ว มลู นิธิฯ เคยออก วารสารในชื่อ “วารสารทันตนวตั กรรม” หรือ “Dental Innovation Record” เผยแพร่ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๘ เม่ือไดม้ ีโอกาสเขา้ ไป อ่านเนือ้ หาในวารสารทั้ง ๕ ฉบับ กเ็ ห็นความต้ังใจจรงิ ของกองบรรณาธิการซง่ึ สามารถจัดท�ำวารสาร ทมี่ ีเนือ้ หาครบถว้ นสมบูรณ์ ท้งั ในแง่วชิ าการ การเผยแพร่ข่าวสารตา่ งๆ ไปจนถึงการจดั ท�ำรูปเลม่ ซ่งึ ตัวกระผม เองคงถอื ว่าเปน็ ผู้ทมี่ ารับงานตอ่ เน่อื ง ก็จะตงั้ ใจจัดท�ำวารสารของเราใหอ้ อกมาดีทสี่ ุด “นครินทรทันตรักษ์สาร” เป็นเพียงส่วนหน่ึงของกิจกรรมของ ศรท.๙ และมูลนิธิฯ ตามแผนการ ดำ� เนนิ งาน เรามแี ผนจัดทำ� คมู่ ือ ตำ� รา วารสารวชิ าการ รวมทั้งกจิ กรรมในลกั ษณะ Study Club ให้กับทนั ตแพทย์ ผู้สนใจ ซึ่งส่วนหนึ่งท่านสามารถอ่านได้จากเนื้อหาในวารสารฉบับน้ี หรือติดตามได้จากทางเว็บไซต์ของมูลนิธิฯ www.dent-in-found.org สวัสดคี รับ ยสนนั ท์ จนั ทรเวคนิ สาราณียกร ๒

สารบญั สารจากประธานกรรมการมลู นธิ ิฯ ๑ http://www.si.mahidol.ac.th/sirirajhospital/ สารจากบรรณาธิการ ๒ ววิ ัฒนาการทางการแพทยแ์ ละทนั ตแพทย์ไทย ๔ หนว่ ยทนั ตกรรมพระราชทาน และ ๗ มลู นธิ ิทันตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ๘ Innofocus ๑๒ เร่ืองเล่าจากทันตแพทย์ประจ�ำพระองค ์ ๑๕ ข่าวประชาสมั พันธ์ ๑๖ ขา่ วกจิ กรรม ทีป่ รึกษา ศรท ศาสตราจารย์ พิเศษ ทนั ตแพทย์หญงิ ทา่ นผู้หญงิ เพ็ชรา เตชะกัมพชุ ผศ.ทพ.วจิ ิตร ธรานนท์ นายวรวุฒิ กุลแกว้ บรรณาธกิ าร ผศ.ทพ.ดร.ยสนันท์ จันทรเวคนิ ผชู้ ว่ ยบรรณาธิการ นางสาว กมลชนก สกุลประเสริฐ ศลิ ปกรรม นาย พงษธ์ ร เหมาอปุ ถัมภ์ มลู นธิ ทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ๑๕๗/๔ ถนนประดษิ ฐ์มนธู รรม เขตวงั ทองหลาง แขวงวงั ทองหลาง กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๑๐ โทรศพั ท์ ๐๒-๓๑๘-๒๓๕๑-๕ โทรสาร ๐๒-๓๑๘-๒๘๒๒ E-mail : [email protected] Web site : http://www.dent-in-found.org/ Facebook : https://www.facebook.com/dentalinnovation40 LINE ID : @dent_in_found ๓

ววิ ัฒนาการทางการแพทย์ และทนั ตแพทย์ของไทย ยินดีต้อนรบั ผูอ้ า่ นทกุ ท่านเขา้ สู่ คอลัมน์ “วิวัฒนาการทางการแพทย์ และทันตแพทย์ไทย” โดยในคอลัมนน์ ที้ างทมี บรรณาธกิ ารมคี วามตั้งใจทจี่ ะ รวบรวมขอ้ มลู ต่างๆ อยา่ งกระชับ เพ่อื ให้ผอู้ า่ นคอลมั นน์ ไ้ี ด้เหน็ จุดเรม่ิ ตน้ ใน ภาพรวมกว่าท่ีจะมาเป็นวิชาชพี แพทย์และทันตแพทยไ์ ทยในปัจจบุ นั ซ่งึ จะเหน็ ไดว้ ่าผ่านเหตกุ ารณ์ทส่ี �ำคญั ๆ มากมายในอดตี วิวัฒนาการทางการแพทย์ของไทยนั้นเร่ิมมีบันทึกอย่างชัดเจนต้ังแต่ต้นรัตนโกสินทร์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราช (รชั กาลท่ี ๑) ซงึ่ ในสมยั นน้ั สว่ นใหญจ่ ะเป็นแพทยแ์ ผนไทย ตำ� ราสมุนไพรหมอหลวง โดยมแี พทยท์ ี่รับราชการ และ หมอราษฎร ทำ� หน้าท่รี กั ษาประชาชนท่ัวไปเร่ือยมา ซ่ึงทงั้ น้ไี ด้มเี หตกุ ารณส์ ำ� คญั เปน็ จดุ เปลย่ี นครัง้ ใหญเ่ กดิ ขึน้ ในปพี ทุ ธศักราช ๒๔๒๔ รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั มหาราช รัชกาลที่ ๕ ไดเ้ กดิ อหิวาตกโรคระบาดอยา่ งหนกั ทว่ั โลกรวมไปถงึ ในประเทศไทยดว้ ย ในปพี ทุ ธศกั ราช ๒๔๒๙ พระองคจ์ งึ ไดพ้ ระราชทานเงนิ และตงั้ คณะกรรมการในการกอ่ ตง้ั โรงพยาบาลขน้ึ ในชว่ งประมาณปพี ทุ ธศกั ราช ๒๔๓๑ ไดเ้ กดิ การจดั ตงั้ “โรงศริ ริ าช พยาบาล” ซงึ่ ปจั จบุ ันคือ “โรงพยาบาลศิรริ าช” และต่อมาจงึ เกดิ โรงเรยี นแพทยากร ได้จดั ใหม้ ีการเรียนการสอนท่เี กี่ยวข้องกบั ทง้ั การแพทยแ์ ผน ไทยและการแพทยแ์ ผนตะวนั ตกยาวนานเรอ่ื ยมาและไดเ้ ปลยี่ นชอื่ เป็น “โรงเรยี นราชแพทยาลัย” ต่อมาเมอื่ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๕๗ สมัยพระบาท สมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัว รัชกาลที่ ๖ ไดก้ อ่ ต้งั “โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ”์ และปพี ทุ ธศักราช ๒๔๖๐ จึงย้ายโรงเรยี นราชแพทยาลัยไป เป็น“คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย” ๔



ตอ่ มาเมอื่ ปี พุทธศกั ราช ๒๔๗๑ และ ๒๔๗๕ ไดเ้ กดิ เหตกุ ารณ์ทสี่ �ำคญั ต่อวงการทันตแพทย์โดยบุคคลส�ำคัญ ๒ ทา่ น คอื นายแพทย์ วาด แยม้ ประยรู (ศาสตราจารย์ พนั เอก หลวงวาจวทิ ยาวฑั ฒน)์ และ ทันตแพทย์ สี สริ ิสงิ ห (ศาสตราจารย์ พนั โท สี สิรสิ ิงห) ได้เสนอความ เหน็ ต่อคณบดี คณะแพทยศาสตร์เพื่อขอให้เปิดการสอนวิชาทนั ตแพทยศาสตรร์ ะดบั ปริญญาโทขนึ้ ในจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั แต่ในครานนั้ ไม่ ส�ำเร็จเนื่องจากยังขาดงบประมาณในการด�ำเนินงาน จนกระท่ังมาถึงช่วงปีพุทธศักราช ๒๔๘๒ - ๒๔๘๓ ได้มีการเร่ิมต้นพิจารณาการก่อตั้งคณะทันตแพทยศาสตร์อีกคร้ังและสามารถเจรจา ได้ส�ำเร็จในสมัยนายพลตรีหลวงพิบูลสงคราม (จอมพล ป.พิบูลสงคราม) ซ่ึงเป็นนายกรัฐมนตรี และอธิการบดจี ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัยขณะนนั้ จากนั้นเองจึงเป็นจุดเรมิ่ ต้นของการเกดิ “คณะ ทันตแพทยศาสตร์” ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซ่ึงถือเป็นคณะทันตแพทยศาสตร์แห่งแรกใน ประเทศไทย โดยมีนายแพทย์วาด แย้มประยูร (ศาสตราจารย์ พันเอก หลวงวาจวิทยาวัฑฒน์) เป็นหัวหน้าแผนก และเป็นคณบดีทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคนแรก และต่อ มาจงึ ได้เกดิ คณะทันตแพทยศาสตรใ์ นมหาวิทยาลัยตา่ งๆ ขน้ึ มากมายจนถงึ ปจั จบุ ัน จากภาพรวมประวัติความเป็นมาจะเห็นได้ว่าวิวัฒนาการในภาพรวมของวงการ แพทย์และทันตแพทย์ไทยถือว่าได้มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันมาอย่างยาวนานตั้งแต่ใน อดีตจนถึงปัจจุบัน มีการผลิตบุคลากรด้านการแพทย์และทันตแพทย์จากมหาวิทยาลัย ต่างๆ ซึ่งถือได้ว่าเป็นก�ำลังหลักด้านสาธารณสุขของประเทศไทย ดังน้ันเองวิชาชีพแพทย์ และทันตแพทย์จึงนับว่าเป็นหัวใจส�ำคัญส่วนหน่ึงของการให้บริการด้านสาธารณสุขที่จะ ช่วยใหป้ ระชาชนมีสขุ ภาพด้านรา่ งกายที่ดี แขง็ แรงสมบรู ณ์ อา้ งอิงข้อมูลและภาพประกอบ hหhhhhhhhttttttttนttttttttังppppppppส:ss:ss:s///ือ:::::////////bdw/////5wndwdoew0setnwwd..wnmปmtyww.t.ีasdaiaท2.swndhhet.นั dsrueiindyตdisn..t.amooแot.tccuuพl.lap.h...altaทahs.uhccmcuยil/d...att.์จtdaohh.hฬุa.c/l/c/.cา.tnahth.huctปu/h./rltรs/ahะe./วa_sตัctirh.ิแtir/hลaa/ะjb1tวho3ิว/0uัฒmytน.eihlาaetกrmssาt/รlodnพeetมิ asพil์คs/ร9ง้ั /แ8ร0ก พฤษภาคม 2533 hhhhhhhhhhttttttttttttttttttttppppppppppsss:ssssss/::::::::://////////w/////////wwdmwwcwtwhhewwwwwa.uwnwhwwwwwlt2iaiikd.....s.lddsmsiptoopii-eel.hnmlaeepnn.aragddacttarkc-.i..mhhaccnmo.tm.imiurvh.odacn.e/rouuahghgt..c.l.kuh/ocaa..kawl/otcscauchhp..mi.ttk../iaitahshit h//ctca//to./6. lhttt.r h0ghhiyso/t///-h .s dt/iharhiyr/iask-itjcn1om-3rhy0hi/ys/ tecoaorrm ys/ marteinclcee_m31e9n3t/0 ๖

ตลอดระยะเวลามากกว่า ๕๐ ปี นบั ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๓ น้ัน ๒. เปน็ ศนู ยก์ ลางการวจิ ยั พฒั นาดา้ นทนั ตกรรมของประเทศ ในการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยทนั ตกรรมพระราชทาน ในพระบาทสมเดจ็ แบบครบวงจรท่ีได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับในระดับสากล ท้ังด้านการ พระเจ้าอยู่หัว จะมุ่งเน้นการให้บริการทางทันตกรรมแก่ผู้ด้อยโอกาส วิจัย ทดลอง ทดสอบ และพัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑ์ทางทันตกรรม และอยู่ในพน้ื ที่หา่ งไกล ประชาชนท่ีมีปัญหาสขุ ภาพในช่องปาก ท่ขี าด จนไดผ้ ลติ ภณั ฑท์ สี่ มบรู ณส์ ามารถนำ� ไปใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชนไดอ้ ยา่ ง โอกาสในการได้รับการรักษาทางทันตกรรม ให้ได้รับโอกาสทางการ ปลอดภัยและมีคณุ ภาพ รกั ษาทที่ วั่ ถงึ เพอื่ ลดโอกาสทจ่ี ะเกดิ โรคตา่ งๆ ในชอ่ งปากของประชาชน ทกุ กลุ่มวยั ส�ำหรบั งานในดา้ นการวิจัย พฒั นา และการผลิตนวตั กรรม ๓. เปน็ สถานท่ี ทสี่ ามารถเออื้ อำ� นวยประโยชนใ์ หผ้ รู้ บั พระราชทาน ทางทันตกรรม ซึ่งถือเป็นภารกิจหลักของมูลนิธิทันตนวัตกรรม ใน ทุนอานันทมหิดลท่ีส�ำเร็จการศึกษาได้ค้นคว้าทางวิชาการต่อยอด พระบรมราชปู ถัมภ์ ตลอดมาตงั้ แตป่ ี พ.ศ.๒๕๕๒ มีเป้าหมายเพ่อื ลด องค์ความรู้ ตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ท่ี การน�ำเข้าวัสดุตา่ งๆ ท่ใี ชใ้ นทางทันตกรรม วิจัย พฒั นา และสามารถ พระราชทานทนุ อานนั ทมหิดล ผลติ ไดเ้ องในประเทศไทย โดนตลอดทผี่ า่ นมาลว้ นเปน็ ความรว่ มมอื และ อาคารปฏบิ ตั กิ ารหนว่ ยทนั ตกรรมพระราชทาน ในพระบาท ใช้ทรัพยากรจากหน่วยงานพันธมิตรทั้งส้ิน แม้จะประสบความส�ำเร็จ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมส่ิงก่อสร้างประกอบ และครุภัณฑ์ประจ�ำ ดว้ ยดี มคี วามกา้ วหนา้ เปน็ ลำ� ดบั กต็ าม แตเ่ ปน็ สง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ เพยี งชว่ั คราว อาคาร ก่อสร้างบนที่ดินของส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ไม่ย่งั ยนื เป็นขอ้ จำ� กดั ทางทรพั ยากรของหนว่ ยงานพนั ธมิตร ท�ำใหไ้ ม่ โฉนดที่ดินเลขที่ ๓๑๔๖ เลขที่ดิน ๗๖ (แปลงเลขท่ี ๒๗๘) แขวง อาจรองรับสนับสนุนภารกิจของหน่วยทันตกรรมพระราชทานฯ และ วงั ทองหลาง เขตวงั ทองหลาง กรงุ เทพมหานคร จำ� นวน ๕ ไร่ เปน็ อาคาร มูลนธิ ิฯ ทม่ี ีปรมิ าณงานเพิ่มมากข้ึนตามสภาพปญั หา คอนกรตี เสรมิ เหลก็ สงู ๕ ชน้ั พน้ื ทใี่ ชส้ อยรวม ๙,๖๘๐ ตารางเมตรแบง่ เพอ่ื นำ� ไปสคู่ วามยง่ั ยนื รองรบั การดำ� เนนิ งานในอนาคต และ เป็น ส่วนผลติ ผลติ ภณั ฑต์ ้นแบบ ๔,๑๗๐ ตารางเมตร และสว่ นปฏิบัติ ให้ได้นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ส�ำหรับแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพที่สมบูรณ์ การ ทางวิทยาศาสตร์และส�ำนักงาน ๕,๕๑๐ ตารางเมตร ปัจจุบัน รวมทั้งสามารถให้นวัตกรรมเหล่าน้ันเข้าถึงประชาชนได้อย่างท่ัวถึง เป็นอาคารสำ� นักงานของ มลู นธิ ิทนั ตนวัตกรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ตลอดจนพัฒนาศักยภาพองค์กรให้สามารถสนองพระราชกระแสด้าน และเปน็ สถานทผี่ ลติ นวัตกรรมอาหารทางการแพทย์ นวัตกรรมเครือ่ ง ทันตสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ในปี พ.ศ.๒๕๕๖ มือแพทย์ ท่ีได้รับรองมาตรฐานการผลติ ระดับสากล บรเิ วณช้ัน ๒ มี มลู นธิ ฯิ จงึ ดำ� เนนิ โครงการ “กอ่ สรา้ งอาคารปฏบิ ตั กิ ารหนว่ ยทนั ตกรรม คลินิกทันตกรรมที่ให้บริการประชาชนท่ัวไป และเพ่ือการวิจัยทาง พระราชทาน ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว” โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ ๓ คลินิก สามารถให้บริการได้หลากหลาย ได้แก่ทันตกรรมทั่วไป ทันต ประการ ไดแ้ ก่ กรรมหัตถการ ศลั ยกรรม ทนั ตกรรมจดั ฟนั ทันตกรรมประดิษฐ์ ทันต ๑. เพอื่ เปน็ ศนู ยก์ ลางประสานการดำ� เนนิ กจิ การทันตกรรม กรรมรากเทียม เปน็ ต้น เคลื่อนทีใ่ นพระองค์ เลขที่ ๑๕๗/๔ ซอยจ�ำเนยี รเสรมิ แขวงวังทองหลาง เขตวงั ทองหลาง กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๑๐ เวลาทำ� การ จันทร์ - ศุกร์ ๐๘.๐๐ - ๑๗.๐๐น. โทรศพั ท์ ๐๒-๓๑๘๒๓๕๑-๕ ๗๗

Innofocus ากฟนั เทยี มเริ่มมีการผลติ ในประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยความร่วมมือกันระหว่าง ศูนย์เทคโนโลยีทางทันตกรรมข้ันสูง (ADTEC), ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC), คณะ ทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้ โครงการวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบวัสดุฝังในทางทันตกรรมส�ำหรับผู้ป่วยไทย ซ่ึงโครงการวิจัยดังกล่าว ได้รับงบประมาณจากส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ในการผลิตต้นแบบรากฟัน เทียม (Prototype) และได้ผ่านการทดสอบทางกลศาสตร์ การทดสอบการเข้ากันได้กับร่างกาย (Bio- compatibility) ในสัตว์ทดลอง และการทดสอบในมนุษย์ ผลจากโครงการวิจัยดังกล่าวจึงได้เกิดการ ผลิตรากฟันเทียมข้ึนในประเทศไทย โดยบริษัท พัฒนาวิทย์ จ�ำกัด เป็นผู้ไป Licensing สิทธิบัตรของ สวทช.มาเพือ่ ทำ� การผลติ โดยได้ด�ำเนนิ การผลติ รากฟนั เทียมตามมาตรฐานสากลดา้ นมาตรฐานคุณภาพ ของการผลติ เครอื่ งมอื แพทย์ ISO 13485 และมาตรฐานผลติ ภณั ฑท์ ่สี ามารถน�ำเข้าไปใชแ้ ละจ�ำหนา่ ยใน สหภาพยโุ รป CE MARK ทไ่ี ดร้ บั การรบั รองโดย TUV Rheiland และไดท้ ำ� การผลติ รากฟนั เทยี มเพื่อใช้ ในโครงการรากฟนั เทียมเฉลิมพระเกยี รตฯิ ๘๐ พรรษา หรือ โครงการ“ฟันยม้ิ ” เปน็ รากฟนั เทยี มทใ่ี ช้ กับฟนั เทยี มทง้ั ปากชนดิ ถอดได้ (Complete Denture) จ�ำนวน ๒๕,๐๐๐ ชุด ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ รากฟันเทียมรุน่ “ฟนั ยม้ิ ” คณุ สมบัตแิ ละลกั ษณะของรากฟนั เทียม ๑. วสั ดทุ ่ใี ชเ้ ป็นวสั ดุไทเทเนียม Grade 4 ๒. การสวมประกอบกบั Abutment : HEX ขนาด 2.4 mm. ๓. Surface Treatment: Sand Blast Acid Etching ๔. ลักษณะภายนอกของ Implant Fixture : เปน็ เกลียว Reverse Buttress Thread ตลอดทงั้ ตวั ๕. ใชง้ านกับฟนั เทียมทั้งปาก (Complete Denture) ๘

ประธานมูลนธิ ทิ ันตนวัตกรรม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ พรอ้ มคณะท�ำงานโครงการรากฟันเทยี ม เข้าเฝ้าฯ กราบ พระบาทถวายรายงานการด�ำเนนิ งานโครงการรากฟันเทยี ม หลังจากการผลิตรากฟันเทียมรุ่นท่ี ๑ “ฟันย้ิม” ให้กับโครงการ รากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทีมวิศวกร ของบริษทั พดี ับบลวิ พลสั จำ� กดั ได้จา้ งศนู ยเ์ ทคโนโลยีทางทนั ตกรรมขนั้ สูง (ADTEC) เปน็ ทป่ี รึกษาในการทำ� การวิจัยและพัฒนารากฟันเทยี มในรุน่ ที่ ๒ โดยนำ� ขอ้ จำ� กดั ในการใชง้ านตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั รากฟนั เทยี มรนุ่ ที่ ๑ มาพฒั นา ปรบั ปรุงแกไ้ ขให้สามารถใชง้ านได้หลากหลาย และสามารถใชก้ บั ฟันเทยี มซ่ี เดี่ยว ชนิดติดแนน่ (Single Tooth) ได้ดว้ ย เพื่อใหท้ ัดเทยี มกบั รากฟนั เทยี ม ทผ่ี ลติ จากตา่ งประเทศ โดยไดร้ บั การรบั รองคณุ ภาพตามมาตรฐานนานาชาติ วา่ ดว้ ยการผลติ เครอื่ งมอื แพทย์ ISO13485 และการรบั รองคณุ ภาพผลติ ภณั ฑ์ ตามข้อก�ำหนดของกฎหมายเครื่องมือแพทย์สหภาพยุโรป CE MARK โดย TUV SUD ซึ่งรากฟนั เทียมในรุ่นที่ ๒ นี้ ไดผ้ ลิตให้กับโครงการรากฟนั เทยี ม เฉลมิ พระเกยี รติ เฉลมิ พระชนมพ์ รรษา ๗ รอบ ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ หรอื โครงการ “ขา้ วอรอ่ ย” จ�ำนวน ๑๓,๐๐๐ ชุด รากฟนั เทยี มรุ่น “ขา้ วอร่อย” คุณสมบัตแิ ละลักษณะของรากฟันเทยี ม ๑. วสั ดทุ ใ่ี ช้เป็นวสั ดุไทเทเนียม Grade 4 ๒. การสวมประกอบกับ Abutment : 8 smooth Curve หรือ Oxta Torx ๓. Surface Treatment: Sand Blast Acid Etching ๔. ลักษณะภายนอกของ Implant Fixture : ช่วงล่างเป็นเกลยี วแบบ Condense Thread ชว่ งกลางเปน็ เกลียว Reverse Buttress Thread ช่วงบนเป็นเกลียว Micro Thread ๕. ใช้งานกบั ฟนั เทียมทั้งปาก และฟันเดี่ยวแบบยดึ แนน่ (Single Tooth) ผสู้ งู อายุทีไ่ ด้รบั พระราชทาน รากฟันเทยี มร่นุ ฟันย้มิ ใน โครงการรากฟันเทียม เฉลิมพระเกียรตพิ ระบาท สมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ในวาระ ครบ ๘๐ พรรษา ๙

หลงั จากการผลติ รากฟันเทียมรุ่นท่ี ๒ ศูนยพ์ ัฒนารากฟนั เทียมไทยเฉลิมพระเกยี รติ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวรัชกาลที่ ๙ (ศรท.๙) มลู นิธทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ได้ท�ำ การศึกษาและพฒั นาต่อยอด จากรากฟนั เทียมร่นุ ท่ี ๒ เพอ่ื ใหม้ คี วามสามารถในการใชง้ าน ท้ังการทำ� ศลั ยกรรม และการใสค่ รอบฟนั รวมทง้ั ได้พัฒนาเครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ น การฝงั รากฟันเทยี มเปน็ ระบบดว้ ย โดยท้ังหมดได้ผ่าน การทดสอบต่างๆ ตามมาตรฐานการผลิตเคร่ืองมือแพทย์ ISO13485 ซึง่ รากฟนั เทียมรุน่ นม้ี จี ดุ เดน่ ดังตอ่ ไปน้ีคอื ลกั ษณะของเกลยี วบริเวณ ดา้ นบนของ Implant Fixture ปรับเปล่ียนเป็น Double Micro Thread เพ่ิม Guide Sleeve เพอื่ ให้การสวมประกอบระหว่าง Implant Fixture งา่ ยมากขน้ึ แตย่ ังคง Surface Treatment ดว้ ยวธิ ี Sand Blast Acid Etching เชน่ เดมิ ในสว่ นของการผลิตยังคงรกั ษาคณุ ภาพและ การควบคุมตามมาตรฐาน ISO13485 ท่ีไดร้ ับการรับรองโดย TUV SUD อย่างตอ่ เนอ่ื ง สง่ ผลใหร้ ากฟนั เทียม “PRK” มีความสมบูรณ์และไม่เกิดปัญหาในการใช้งาน จากคุณลักษณะท่ีดีและมีคุณภาพส่งผล ให้รากฟันเทยี ม “PRK” ไดร้ บั เลอื กใหผ้ ลติ เพ่ือใชใ้ นโครงการบรกิ ารฝังรากฟันเทียมส�ำหรับผ้สู ูงอายุในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ จ�ำนวน ๔,๐๐๐ ชดุ คณุ สมบัตแิ ละลักษณะของรากฟนั เทยี ม ๑. วัสดทุ ่ใี ชเ้ ป็นวสั ดไุ ทเทเนยี ม Grade 4 ๒. การสวมประกอบกบั Abutment : 6 smooth Curve ๓. Surface Treatment: Sand Blast Acid Etching ๔. ลกั ษณะภายนอกของ Implant Fixture : ชว่ งลา่ งและกลางเปน็ เกลยี ว ทรง V ช่วงบนเปน็ เกลยี วทรง V ยอดเกลียวคู่ (Double Micro Thread) ๕. ใชง้ านกับฟันเทยี มทัง้ ปาก และฟนั เด่ยี วแบบยึดแน่น ๑๐

ศนู ย์พัฒนารากฟันเทียมไทยเฉลมิ พระเกยี รติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รชั กาลที่ ๙ (ศรท.๙) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๘ รชั กาลที่ ๙ ไดร้ ับการรกั ษาพระ ๑. เพื่อเฉลมิ พระเกียรตพิ ระบาท ทนต์ดว้ ยการฝังรากพระทนต์เทียม พระองคพ์ อพระทัยเปน็ อยา่ งมาก สมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพล ทรงมพี ระราชกระแสอยากให้ราษฎรได้รับโอกาสในการรกั ษาดว้ ย จงึ อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่มีพระ ได้ ตรัสถามกับทีมทันตแพทย์ท่ีให้การรักษาว่า “๓๐ บาท รักษาได้ มหากรุณาธิคณุ ต่อพสนิกรดา้ นทนั ตสาธารณสุข หรอื ไม”่ เนอื่ งจากทรงทราบวา่ เปน็ การรกั ษาทใี่ ชเ้ ทคโนโลยขี น้ั สงู และ ๒. เพ่ือน�ำชื่อ ศรท.๙ มาเป็นสัญลักษณ์แห่งความภาคภูมิใจเป็น มีราคาแพง และพระองค์ได้รับส่ังว่า “หากสมเด็จพระศรีนครินทรา ศูนย์รวมใจของนักวิจัยและพัฒนาทางด้านทันตกรรมให้เกิดขึ้นใน บรมราชชนนยี งั มพี ระชนมช์ พี อยู่ พระองคก์ ป็ ระสงคใ์ หท้ ำ� ใหส้ มเดจ็ ประเทศไทยตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอื่ ลดการนำ� เขา้ และ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนดี ว้ ย” การบริการจากตา่ งประเทศทม่ี ีราคาสงู จากพระราชกระแสนั้นเองจึงได้เกิด การวิจัยและพัฒนา ๓. เพ่ือสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การให้บริการโดยรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภาคี รากฟันเทียมขึ้นในประเทศไทยและสามารถผลิตรากฟันเทียมไทยขึ้น เครือข่าย ตลอดจนการอบรม พัฒนา สัมมนาทางด้านวิชาการใหม่ๆ ครั้งแรกต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ และได้จัดท�ำโครงการให้บริการฝังราก ทำ� ใหก้ ารบรกิ ารมปี ระสทิ ธผิ ลยงิ่ ข้ึนไป ฟนั เทยี มแกร่ าษฎรเร่อื ยมาจนถงึ ปัจจุบนั ... ศรท.๙ จึงเป็นหน่วยงานที่เป็นศูนย์กลางทางวิชาการ ใน ดงั นน้ั เองมลู นธิ ิทันตนวตั กรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงึ ได้ การวิจัยและพัฒนา เพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์และบริการทางด้านทันต จัดตั้ง ศูนย์พัฒนารากฟันเทียมไทยเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ สาธารณสุขไปให้บริการแก่ราษฎรชาวไทย และเป็นการส�ำนึกถึงพระ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ หรือชื่อย่อ ศรท.๙ ตามมติคณะกรรมการ มหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ล มลู นธิ ทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ในการประชมุ วสิ ามญั วาระ อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรท่ีมีต่อต่อวิชาชีพทันตแพทย์และ พเิ ศษ เมือ่ วนั ศุกรท์ ี่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยมีวตั ถุประสงค์จดั ราษฎรอยา่ งหาทส่ี ดุ มไิ ด้ ตั้งอย่างน้อย ๓ ประการ ดังนี้ ท่ีปรึกษาตา่ งประเทศของ ศรท.๙ Professor Douglas P. Sinn, D.D.S., M.D. Professor Ghali E. Ghali, D.D.S., M.D. Professor Larry L. Cunningham, D.D.S., M.D. Professor Jef van der Zel, Ph.D. Oral & Maxillofacial Surgery FACS, FRCS(Ed) Oral & Maxillofacial Surgery Digital Management Expertise ที่ปรกึ ษาของ ศรท.๙ ผศ.ทพ.วิจติ ร ธรานนท์ ผศ.ทพ.วนิ ัย กิตติดำ� เกิง ผศ.ทพ.ดร.ยสนันท์ จนั ทรเวคนิ ผศ.ทพ.ดร.ไชยวฒุ ิ พฤกษง์ ามพนั ธ์ หัวหนา้ คณะทำ� งานท่ีปรึกษา คณะท�ำงานทีป่ รึกษา คณะท�ำงานทปี่ รกึ ษา คณะทำ� งานท่ปี รึกษา คณะกรรมการมลู นธิ ิทนั ตนวัตกรรมฯ คณะทนั ตแพทยศาสตร์ คณะทนั ตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น มหาวิทยาลัยกรงุ เทพธนบุรี อ.ทพญ.อษุ ณยี ์ ปงึ ไพบูลย์ ทพ.ชัยฤกษ์ จฑุ ากติ ติ รศ.ทพ.ดร.อาทิพันธ์ุ พมิ พ์ขาวข�ำ รศ.ทพ.ดร.นิยม ธ�ำรงอนนั ตส์ กุล รศ.ดร.บุญญฤทธ์ิ อยุ ยานนวาระ คณะทำ� งานท่ปี รกึ ษา คณะทำ� งานท่ีปรึกษา คณะท�ำงานทีป่ รึกษา คณะทำ� งานท่ีปรกึ ษา คณะท�ำงานทปี่ รกึ ษา คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะทนั ตแพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลตรงั Information Management มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ กระทรวงสาธารณสขุ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย System Expertise ๑๑

เร่อื งเล่าจากทันตแพทยป์ ระจ�ำพระองค์ ห้ องพพิ ธิ ภณั ฑเ์ ครอื่ งใชส้ ว่ นพระองค์ ณ มลู นธิ ทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ เปน็ หอ้ งพพิ ธิ ภณั ฑท์ ร่ี วบรวมเครอื่ งใชส้ ว่ น พระองค์ เพอื่ เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช เพอ่ื แสดงถงึ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ทที่ รงมี ตอ่ วชิ าชพี ทนั ตแพทย์ และเหลา่ ราษฏร จดั แสดงอยภู่ ายในอาคารปฏบิ ตั กิ ารหนว่ ยทนั ตกรรมพระราชทาน ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รวบรวมสิง่ ของท่เี กย่ี วกบั การถวายการรกั ษาพระทนตฯ์ ของทันตแพทยป์ ระจำ� พระองค์ในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวรชั กาลท่ี ๙ สำ� หรบั ดิฉันเคร่ืองใชส้ ว่ นพระองค์ท่นี ำ� มาจัดแสดงในพพิ ธิ ภณั ฑ์แหง่ นี้ นับเปน็ พระมหากรุณาธิคุณเป็นอย่างสูงทท่ี า่ น ทรงโปรดเกลา้ พระราชทานฯ ใหใ้ นฐานะผทู้ ถ่ี วายงานใหพ้ ระองคท์ า่ น สงิ่ ของทกุ ชน้ิ จะมเี รอ่ื งราวทส่ี ามารถทส่ี อ่ื ใหเ้ หน็ ถงึ พระราช จริยวัตรในด้านต่างๆ แสดงถึงความประหยัด ความเรยี บง่าย ซงึ่ เปน็ จดุ เรมิ่ ต้นของพระราชด�ำรสั ท่ใี ห้ไวเ้ ป็นแนวทางในการใช้ชวี ิต ของราษฎร ทำ� ให้เห็นถงึ สายพระเนตรอนั กว้างไกล ความหว่ งใย ความเมตตาที่ทา่ นทรงมีต่อราษฏรและวงการทนั ตแพทย์ตลอด มา โดยดิฉันจะขอน�ำเสนอเรอ่ื งราวตา่ งๆ ผ่านบทความดงั ตอ่ ไปนี้ ขอ้ มลู โดย ศาสตราจารย์พเิ ศษ ทันตแพทยห์ ญงิ ทา่ นผหู้ ญงิ เพช็ รา เตชะกัมพุช ทันตแพทย์ประจ�ำพระองคผ์ ถู้ วายงานพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ เรือ่ งท่ี ๑ : พระพทุ ธชนิ สีห์ ภ.ป.ร. พระประจำ� วชิ าชพี ของวงการทนั ตแพทย์ไทย คร้ังเม่ือปีพุทธศักราช ๒๕๓๒ ในขณะน้ันดิฉันเองได้ด�ำรงต�ำแหน่ง คณบดีคณะทันต แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วยเป็นปีที่คณะฯ ใกล้จะมีอายุครบ ๕๐ ปีพอดี ซ่ึง จะครบรอบในวันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ด้วยเหตนุ ั้นเองในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๓๒ คณาจารยจ์ ำ� นวนหนงึ่ ซงึ่ เปน็ ผมู้ จี ติ ศรทั ธาในบวรพทุ ธศาสนา และศรทั ธาในวตั ถมุ งคลทง้ั หลายได้ ขอพบและปรึกษาวา่ ในการฉลองครบรอบ ๕๐ ปี คณะฯ น่าจะจัดสร้างพระข้นึ เพ่อื เป็นการรวม ศรทั ธาของทนั ตแพทยแ์ ละประชาชน อกี ทง้ั เพอ่ื เชอื่ มความสามคั ครี ะหวา่ งทนั ตแพทย์ คณาจารย์ ศิษย์เก่า และนิสิตปัจจุบัน ในการร่วมแรงร่วมใจ โดยมีความเห็นร่วมกันว่าจะขอพระราชทาน ชิ้นส่วนพระทนต์ท่ีทันตแพทย์ประจ�ำพระองค์ได้เก็บรักษาไว้ เพ่ือน�ำมาเป็นองค์ประกอบหลัก ของพระท่จี ะจัดสร้างข้นึ การเตรยี มการเพื่อจดั ทำ� ขณะน้ันสมเด็จพระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชิร ญาณสงั วร (สวุ ฑฒฺ นมหาเถร) สกลมหาสงั ฆปริณายกพระองคท์ ่ี ๑๙ แหง่ กรุงรัตนโกสนิ ทร์ (ซงึ่ ในขณะนั้นด�ำรงพระยศเป็นสมเด็จพระญาณสังวรฯ) ทรงเห็นด้วย และทรงแนะน�ำว่าดิฉันต้อง ขอพระราชทาน พระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวกอ่ น ดิฉันรบั ข้อแนะน�ำ ดังกล่าวเพอื่ รับดำ� เนนิ เร่อื งตอ่ ไป ๑๒

สว่ นตวั ดฉิ นั ซง่ึ ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ทนั ตแพทยป์ ระจำ� พระองคแ์ ละ แหลง่ ขอ้ มูล หนงั สือพระพทุ ธชินสหี ์ เคยได้รับพระราชทานช้ินส่วนพระทนต์องค์กรามน้อยบน ซ่ึงแตกบ่ิน ภ.ป.ร. ๕๐ ปี คณะทันตแพทยศาสตร์ ออกเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๒๖ พร้อมทัง้ วัสดตุ า่ งๆ ได้เก็บรักษาตลอดระยะ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ๑๖ พ.ค. เวลาที่ได้มีโอกาสรับใช้ใต้เบ้ืองพระยุคลบาท ดิฉันจึงมอบชิ้นส่วนพระ ๒๕๓๓ ทนต์น้ันให้แก่คณะฯ เพื่ออัญเชิญไปเป็นองค์ประกอบหลักของพระท่ี จะจัดสร้าง ส่วนเร่ืองการกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมรา ชานุญาต ขณะนั้นดิฉันยังนึกไม่ออกว่าควรกราบบังคมทูลด้วยวิธีใด แต่ด้วยนับเป็นบุญวาสนาท�ำให้ดิฉันและทันตแพทย์ประจ�ำพระองค์ อีก ๓ ท่านต้องเข้าเฝา้ ฯ เพ่อื ถวายการรักษาพระทนต์ให้พระองค์ทา่ น ภายหลังจากการถวายการรักษา ดิฉันได้กราบพระบาทเพ่ือทูลขอ พระราชทานพระทนตพ์ รอ้ มทง้ั นำ� พระทนตอ์ งคท์ บ่ี นิ่ ใหท้ อดพระเนตร และได้กราบบังคมทูลรายละเอียดของการจัดสร้างพระพุทธชินสีห์ขึ้น แต่เนื่องด้วยเป็นทันตแพทย์ องค์ประกอบหลักส่ิงใดคงไม่ดีเท่าพระ ทนต์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นท่ีรักและเทิดทูนสูงสุด ของเหล่าขา้ พระพทุ ธเจ้า สมเดจ็ พระสังฆราชฯ ทรงท�ำพธิ ีละลายชิน้ ส่วนพระทนต์ เมือ่ วนั ท่ี ๑๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๒ ณ พระอโุ บสถ วดั บวรนเิ วศวิหาร ทกุ อยา่ งอยทู่ ีศ่ รัทธา ถงึ จะมีหรือไมม่ ีพระทนตก์ ็คงไมแ่ ตกตา่ งกนั แต่ถา้ ศรัทธาก็ยินดีให้ ขอเพยี งใหอ้ าจารยแ์ ละทันตแพทย์ทุกคนเป็นคนดี และช่วยสั่งสอนลูกศษิ ยแ์ ละคนอื่นใหเ้ ปน็ คนดีตอ่ ไป เม่ือได้กราบบังคมทูลแล้วดิฉันรู้สึกหว่ันใจด้วยไม่ทราบว่า ต่อมาทางคณะฯ ได้ขอพระราชทานผงจิตรลดา และ พระองค์ท่านจะรับสั่งประการใด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง พระปรมาภิไธยย่อ ภ.ป.ร. เพ่ืออัญเชิญมาประดิษฐานในองค์พระ นิ่งอยู่สักครู่ แล้วจึงทอดพระเนตรช้ินส่วนพระทนต์พร้อมกับรับส่ังว่า คราวนั้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ “เท่าใดจึงจะพอจะท�ำพระกี่องค์จะได้ทั่วถึงกันหรือ” และรับสั่งต่อ พระราชด�ำเนินมาเป็นองค์ประธานพิธี ทรงประกอบพิธีเททองหล่อ อีกว่า “ทุกอย่างอยู่ท่ีศรัทธา ถึงจะมีหรือไม่มีพระทนต์ก็คงไม่แตก พระบูชา และพระกริง่ ณ พระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร เมอื่ วนั ท่ี ๓๑ ต่างกัน แต่ถ้าศรัทธาก็ยินดีให้ ขอเพียงให้อาจารย์และทันตแพทย์ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๓ และการจัดสรา้ งก�ำหนดพิธีมหาพทุ ธาภิเษกวัน ทุกคนเป็นคนดี และช่วยสั่งสอนลูกศิษย์และคนอ่ืนให้เป็นคนดีต่อ ที่ ๑๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๓ ณ พระอุโบสถ วดั บวรนเิ วศวิหาร โดยมี ไป” เมอื่ ไดย้ นิ พระราชกระแสรบั สง่ั ของพระองคท์ า่ น ดฉิ นั รสู้ กึ ซาบซง้ึ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณสงั วร ทรงอปุ ถมั ภใ์ นการจดั และสำ� นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทม่ี ี สร้าง โดยเป็นองคป์ ระธานจดุ เทยี นชัย เวลา ๑๔.๑๙ นาที มพี ระเถระ ตอ่ คณาจารย์ และศษิ ย์เก่าทนั ตแพทย์เปน็ อยา่ งย่งิ ผ้ทู รงคณุ วุฒิคุณธรรมจากทุกภาคของประเทศรว่ มในพิธี ๑๓

พระพทุ ธชินสีห์ ภ.ป.ร. ที่จัดสร้างขนึ้ นัน้ ประกอบดว้ ย พระบูชาพระพทุ ธชนิ สหี ์ ภ.ป.ร. เปน็ พระบชู า เนื้อทองผสมลงรักปดิ ทองคำ� แท้ ขนาดหนา้ ตกั ๕ น้วิ ประดิษฐานอยบู่ นฐานบัว ๒ ชั้น ฐานสงิ ห์ ๑ ชั้น และฐานย่อ เหลี่ยมอกี สองชัน้ มคี วามกว้างฐานชั้นลา่ งสุดประมาณ ๑๘.๘ ซม. ความสงู ขององคพ์ ระยอดพระเกศถึงฐานบวั ๑๙ ซม. และจาก ยอดพระเกศถงึ ฐานชั้นลา่ ง ๒๖ ซม. ในองคพ์ ระบรรจุไว้ดว้ ยมวลสารอันประเสริฐ แผน่ ยันต์ รวมทง้ั พระผงพิมพ์ใหญ่อกี ๑ องค์ พระทกุ องค์ตอกเลขกำ� กบั ท่แี ผน่ ยนั ต์ซง่ึ สมเด็จพระสงั ฆราชฯ ทรงลงอกั ขระเปน็ ต้นแบบ จดั สรา้ งจ�ำนวน ๙๙๙ องค์ พระกร่งิ พระกร่งิ นีท้ �ำเปน็ ๓ เน้ือ คือ ทองค�ำ เงนิ และนวโลหะ ขนาดความสูงวดั จากยอดพระเกศถึงฐานชั้นลา่ ง ๒๕ มม. ความกวา้ งฐาน ชน้ั ล่าง ๑๕.๙ มม. ใตฐ้ านเจาะรเู พอ่ื ใสผ่ งและเม็ดกริ่งแลว้ ปิดฝา ซ่ึงมโี คด้ เป็นตราพระเกี้ยว ใต้ตราพระเก้ยี วเป็นตัวเลข ๕๐ ปี ตอกด้วยโค้ดพเิ ศษสำ� ทบั อกี คร้ัง จดั สร้างจ�ำนวนอยา่ งละ ๑,๙๙๙ องค์ พระผงพมิ พใ์ หญ่ และพระผงพมิ พ์เล็ก รปู แบบเหมอื นกนั กลา่ วคอื จำ� ลองเปน็ รปู พระพทุ ธชนิ สหี อ์ ยภู่ ายในครอบแกว้ มดั หวายผา่ ซกี ทบ่ี รเิ วณฐานดา้ นหนา้ มพี ระปรมาภไิ ธย ย่อ ภ.ป.ร. ส่วนดา้ นหลงั เป็นลายพระหตั ถพ์ ระนามย่อ ญ.ส.ส. และ ทนโฺ ต เสฺ โฐ ตัวจม มีพลอยสีแดงฝังอย่เู หน็ ได้ชดั เจนขนาด พมิ พ์ใหญ่ กว้าง ๒๓.๕ มม. สูง ๓๓.๕ มม. หนา ๔.๙ มม. สว่ นขนาดพิมพเ์ ล็กกวา้ ง ๑๗.๒ มม. สูง ๒๔.๙ มม. หนา ๓.๙ มม. จดั สร้างพิมพใ์ หญ่ จ�ำนวน ๖๓,๐๐๐ องค์ จัดสร้างพมิ พเ์ ลก็ จ�ำนวน ๒๑,๐๐๐ องค์ พระพุทธชินสีห์ ภ.ป.ร. เป็นที่เคารพและเทิดทูนของวงการทันตแพทย์ตราบมาจนปัจจุบัน และ ได้กลายเป็นพระประจ�ำวิชาชีพของวงการทันตแพทย์ไทย ส�ำหรับดิฉันเองนั้นรู้สึกซาบซ้ึงและยังส�ำนึกถึงพระ มหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านทุกคร้ังท่ีได้เล่าถึงเรื่องน้ี เรื่องราวในครั้งน้ันนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณเป็น ลน้ พน้ ทเี่ ปรยี บมไิ ดแ้ กผ่ ถู้ วายงาน และกบั คณะทนั ตแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั สมควรทค่ี ณาจารย์ และศิษย์เก่า-ใหม่ ในวงการทันตแพทย์ จะต้องส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณและด�ำเนินตามรอยพระยุคลบาท โดยตอ้ งต้งั ใจประพฤติปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ตี ามพระราชกระแสรบั ส่ังทีท่ รงฝากไว้

วัตถปุ ระสงค์ ศรท.9 Study club เปน็ กลมุ่ ที่จดั ท�ำขึน้ โดยมูลนธิ ิทนั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ เพอ่ื ใหท้ นั ตแพทย์ หรอื ผทู้ สี่ นใจเขา้ มาเรยี นรดู้ า้ น ทนั ต กรรมในทกุ ๆ ศาสตร์สาขาเพ่อื เพมิ่ พูนความรู้ และทักษะในด้านตา่ งๆ นำ� ไปสู่ การใหบ้ รกิ ารประชาชนอยา่ งถกู ตอ้ ง รวดเรว็ และมคี ณุ ภาพมากยง่ิ ขน้ึ โดย ผู้ที่สมัครเข้ากลุ่ม ศรท.9 Study Club จะได้รับข่าวสารในด้านทันตกรรม รวมไปถึงหลักสตู รอบรมหรือสมั มนาหวั ขอ้ ตา่ งๆ ผา่ นทาง E-mail ของผู้ สมคั รทง้ั ในรูปแบบ webinar หรอื on site ทจี่ ะจดั บรรยายโดยทันตแพทย์ ผู้เช่ียวชาญจากในประเทศ และต่างประเทศ เป็นพื้นท่ีแลกเปลี่ยนความรู้ เพิ่มความรู้ และประสบการณ์ตา่ งๆ รว่ มกัน คุณสมบัตผิ สู้ มัครเขา้ ศรท.9 Study Club ทนั ตแพทย์ทุกกลุ่มสาขา หรอื ผ้ทู ี่สนใจทั่วไป สามารถสมคั รและดูรายละเอยี ดการรับสมคั รไดท้ ่ี Website : www.dent-in-found.org ในคอลัมน์ “ขา่ ว ประชาสมั พันธ์” หรือ Facebook ของมูลนิธิฯ @dentalinnovation40 ในรปู แบบ google form โดย Scan QR-Code น้ี ๑๕

Iขnา่ วnกoิจfกoรรcมus ตารางกิจกรรมของมูลนธิ ิทันตนวตั กรรมฯ ๒๒ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๔ Audit Halal โดย สํานกั งานคณะกรรมการอสิ ลามประจํากรุงเทพมหานคร ๑ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๖๔ อธบิ ดกี รมอนามัย เย่ยี มชมมูลนธิ ทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ๒๓-๓๐ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๔ อบรมรากฟนั เทียมรุ่น PRK ของโครงการผสู้ งู อายุรว่ มกบั TCELS ๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๔ ออกหนว่ ยทันตกรรมพระราชทาน ณ มลู นธิ ทิ นั ตนวตั กรรม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๔ อบรม GHP โดย TUV NORD Thailand ๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๔ อบรม FSSC โดย TUV NORD Thailand ๒๔-๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ Audit FSSC GMP HACCP โดย TUV NORD Thailand ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ประชุมนกั เรียนทุนอานันทมหิดล สาขาทนั ตแพทยศาสตร์ ๙ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๖๔ Audit Hal-Q ประจ�ำปี ๒๕๖๔ โดย ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ๒๒ มถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๖๔ ลงนามสัญญาร่วมวจิ ยั Digital Dentistry ระหวา่ งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ กรมอนามัย และมูลนิธฯิ ๒๘ มถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๖๔ นักศกึ ษา ม.พะเยา คณะทนั ตแพทยศาสตร์มาเย่ียมชมมลู นิธฯิ ๑๓ สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๖๔ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยบรหิ ารมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยพ์ ทั ยา มาเยย่ี มชมการดำ� เนนิ งาน ของมูลนิธฯิ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๔ สมาคมสขุ ภาพจิตมาเยี่ยมชมการด�ำเนนิ งานของมูลนธิ ฯิ ๑๖




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook