Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานวิจัยโครงงาน

งานวิจัยโครงงาน

Description: งานวิจัยโครงงาน

Search

Read the Text Version

งานวิจยั พฒั นานวตั กรรม โรงเรียนบา้ นโนนยาง งานวจิ ัยเพอื่ พัฒนาการเรียนการสอนดว้ ยวิธกี ารเรยี นร้แู บบการค้นพบ โดยใช้โปรแกรม Google Earth ในการศกึ ษาภูมิศาสตร์ชาติไทย งานวจิ ัยนีเ้ ปน็ สว่ นหน่งึ ของโครงงาน สนุกกับการเรียนรู้ภูมศิ าสตร์ดว้ ยระบบภาพ 3 มติ ิ ตามโครงการ 8Cs ฐานคนดี ฐานสมรรถนะ วิถีนวัตกรรม และวัฒนธรรมคณุ ภาพ นางสาวนริศรา นครวงษ์ ครู โรงเรยี นบ้านโนนยาง บทคัดยอ่ การวิจัยคร้ังนม้ี ีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือหาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรียนท่ีใชก้ ารเรียน การสอนดว้ ยวธิ ีการเรียนรู้แบบการค้นพบโดยใช้โปรแกรม Google Earth ในวชิ าภมู ิศาสตรข์ องนักเรยี น ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4-6 2) เพื่อศึกษาความคดิ เห็นผ้เู รียนที่มตี ่อการเรียนวิชาภูมศิ าสตร์ทีใ่ ช้ การเรียนการสอนด้วยวธิ กี ารเรยี นร้แู บบการค้นพบโดยใช้โปรแกรม Google Earth ในวชิ าภมู ศิ าสตร์ ของนักเรียนระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4–6 กลมุ่ ตัวอย่าง คือ นกั เรยี นระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4-6ประจำปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา้ นโนนยาง จำนวน 30 คน ไดม้ าจากวิธีการ เลอื กแบบเจาะจง เคร่ืองมือท่ใี ช้ใน การวจิ ยั ได้แก่ แผนการจดั การเรียนการสอนด้วยวิธกี ารเรียนรแู้ บบการคน้ พบโดยใช้ โปรแกรม Google Earth ในวชิ าภมู ศิ าสตร์ ของนักเรียนระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4-6 แบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบทดสอบ หลังเรยี น และแบบสำรวจความคดิ เห็นผเู้ รียนท่ีมีต่อการสอนด้วยวิธกี ารเรยี นรู้แบบการค้นพบโดยใชโ้ ปรแกรม Google Earth ผลการวิจยั พบวา่ 1) ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียนเพ่ิมขึ้นท่รี ะดับนัยสำคญั ที่ .05 2) ความคดิ เห็นของนักเรยี นที่มีต่อการจดั การเรียนการสอนดว้ ยวิธีการเรียนรู้แบบการค้นพบโดยใชโ้ ปรแกรม Google Earth ในแตล่ ะขอ้ คิดเหน็ อยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ ข้อเสนอแนะในการทำวจิ ยั ในคร้ังต่อไปคอื 1) ในการทำวิจัยคร้ังนเ้ี ป็นการวิจัยท่ีมีการชี้แนะแนวทางจากครูผูส้ อนระหว่างจดั การเรยี นการสอน (Guide Discovery Method) ดังน้นั การวจิ ยั ในครงั้ ต่อไป ควรศึกษาเก่ยี วกบั การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบทม่ี ีไมม่ ี การชแี้ นะแนวทางระหวา่ งเรียน (Pure Discovery Method) เพื่อเปรียบเทยี บวา่ การจดั การเรยี นการสอน แบบใดเหมาะสมและมปี ระสทิ ธิภาพมากทีส่ ดุ และ 2) ในการทำวจิ ัยคร้ังน้ีพบว่า นักเรียนแต่ละคนมี ความสามารถในการใช้งาน Google Earth ไม่เท่ากัน ดังน้ันในการวจิ ัยครัง้ ต่อไปผวู้ ิจัยควรศกึ ษา เก่ยี วกับ ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ การใชง้ าน Google Earth ในการจดั การเรียนการสอนของนักเรียน คำสำคัญ: การเรยี นรู้แบบการคน้ พบ, กเู กลิ เอริ ์ธ, ภูมศิ าสตร์

งานวิจยั พฒั นานวัตกรรม โรงเรยี นบ้านโนนยาง Developing of Instruction by Instruction that Integrated Discovery Learning Strategies and Google Earth Application in Geography Subject for Improving Student Learning Achievement in Geography Subject Narissara Nakornwong kanokwan Boonnun Abstract The purposes of this research are 1) To examine and compare learning achievement of the students of primary school before and after using instruction that integrated discovery learning strategies and Google Earth application in Geography subject and 2) To explore students’ opinions toward instruction of Geography subject that integrate discovery learning strategies and Google Earth application of students in primary school Purposive sampling was used in this study and the samples were 30 students who studied in primary school in academic year of 2017 at Nonyang School. Research tools included 1) the instruction that integrated discovery learning strategies and Google Earth application in Geography subject, and 2) Pretest and Posttests and 3) a survey of students' opinions. The results of the study revealed that 1) the average of the Post-test scores was higher than Pre- test scores at the significance level of .05 2) the students' opinions toward instructions was at the highest level (= 21.62). The recommendations for future research were 1) Should study about pure discovery method. and 2) In this research, each student has different skill to use Google Earth. Therefore, in the next research, researchers should study the factors that affect the use of Google Earth Student Teaching. Keywords: Discovery Learning, Google Earth, Geography

งานวจิ ยั พฒั นานวตั กรรม โรงเรียนบ้านโนนยาง บทนำ ในปัจจบุ ันวิวฒั นาการในดา้ นเทคโนโลยีมคี วามเจริญก้าวหน้าทำให้เทคโนโลยตี ่าง ๆ ได้เข้ามา มบี ทบาทต่อสังคมไทยเป็นอย่างมาก จนทำให้เกดิ ความเปลยี่ นแปลงทางด้านสังคม เศรษฐกจิ และ สิง่ แวดล้อม โดยเฉพาะดา้ นการติดตอ่ ส่ือสารทเ่ี ปน็ ไปอย่างสะดวก และรวดเร็วเราสามารถตดิ ตอ่ สื่อสารกนั โดยผ่านเคร่อื งมืออิเล็กทรอนิกส์ เชน่ โทรศพั ท์มือถือ อินเตอรเ์ นต็ วทิ ยุ โทรทัศน์ เปน็ ต้นและอุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนกิ ส์เหลา่ นีย้ ังเปน็ ส่ือกลางในการรับรู้ข่าวสาร ตลอดจนสามารถส่งข่าวสารขอ้ มูลไปยงั สถานทต่ี า่ งๆ ทว่ั โลกไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว นอกจากนี้ยังใชใ้ นการสืบคน้ ข้อมลู ซ่ึงเราสามารถสบื คน้ ขอ้ มูลหรอื คน้ ควา้ หาความรู้ จากแหลง่ ข้อมูลท่วั โลกได้ในเวลาอันรวดเร็ว การศึกษาจำเปน็ ตอ้ งมีการพฒั นาเปล่ยี นแปลงจาก ระบบ การศึกษาท่ีมอี ยู่เดิม เพื่อใหท้ ันตอ่ การเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยีและสภาพสงั คมในปจั จบุ นั จึงทำให้ตอ้ ง มี การพฒั นาเกย่ี วกบั นวตั กรรมการศึกษาท่จี ะนำมาใช้เพ่ือแกไ้ ขปัญหาทางดา้ นการศกึ ษาในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น ปัญหาทีเ่ กย่ี วเนือ่ งกบั อุปกรณค์ อมพิวเตอร์ เทคโนโลยีอุปกรณ์ที่ทนั สมยั และใชง้ านได้ไมเ่ พยี งพอตอ่ จำนวนผู้เรียนท่ีมีความสนใจ การพฒั นาหลกั สูตรใหท้ นั สมัย การผลิตและพฒั นาส่ือใหม่ ๆ ขนึ้ มาเพื่อ ตอบสนองการเรียนรขู้ องมนุษย์ใหเ้ พิ่มมากขึน้ ภายในระยะเวลาท่สี ้ัน ลงการใชน้ วตั กรรมมาประยุกต์ ในดา้ นการศึกษาจึงมสี ว่ นชว่ ยให้การเรียนรเู้ ปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การศึกษาอาจมีการเปลย่ี นแปลงรปู แบบไปมากมายจากในอดีต หากส่งิ ที่ไม่เคยเปลี่ยนเลยก็คอื ส่วนของเน้ือหา เพราะถ้านกั เรยี นมพี ื้นฐานความรู้ท่ดี ี หากจะต่อยอดความคิดในเรอ่ื งใดก็ยอ่ มทำไดง้ ่าย แตห่ ากความรู้ไมด่ ีแลว้ ถงึ แม้จะมีเครื่องมือช่วยสอนทท่ี ันสมยั เพียงใดนกั เรยี นก็จะเต็มไปดว้ ยความเบอื่ หนา่ ย ท้อแท้ ไม่อาจซึมซับความรู้ได้อยา่ งเต็มที่ อยา่ งไรก็ตามวิธกี ารสอนเนื้อหาจะต้องมีความแตกต่างจากในอดีต ซง่ึ เคยเนน้ ให้ครเู ป็นผ้สู อนเท่านน้ั แต่ในศตวรรษที่ 21 จะต้องเน้นไปทผ่ี เู้ รียน โดยเฉพาะการให้นกั เรยี นได้ เรียนรจู้ ากการปฏบิ ตั ิจรงิ ย่งิ ถ้าเปน็ ผลงานทใ่ี ชไ้ ดจ้ ริงกย็ ิ่งเป็นประโยชน์ตอ่ สังคม อีกด้วย การเรยี นรูแ้ บบการค้นพบคือการเรียนรู้ในรูปแบบของคอนสตรคั ติวิสต์ ทฤษฎีการเรียนรู้ทเ่ี กดิ ขนึ้ ใน สถานการณ์การแกป้ ญั หาทผี่ ู้เรียนใช้ประสบการณ์ของตนเองและความรทู้ ี่มีอยูเ่ พ่ือค้นพบขอ้ เท็จจรงิ ความสมั พันธ์และสิง่ ใหม่ ๆ นกั เรียนมกี ารสำรวจสิง่ รอบๆ ตัวพรอ้ ม กบั สังเกตุเพอื่ ตอบคำถามหรือหาบทสรุป ของสิง่ ใดสิง่ หนึ่ง ซง่ึ จะส่งผลใหน้ กั เรียนมีแนวโน้มท่ีจะจดจำแนวความคิดและความรู้ท่ีค้นพบด้วยตวั เอง โมเดลท่อี งิ กบั รปู แบบการเรยี นรู้การคน้ พบ ไดแ้ ก่ การคน้ พบคำแนะนำการเรียนรู้ตามปัญหาการเรยี นรู้ ตามรูปแบบการเรียนร้ตู ามกรณกี ารเรียนรโู้ ดยบังเอิญ และการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาจำเป็นตอ้ ง สอดคล้องกบั วิธีการจัดการเรียนการสอนของครู การฝกึ หัดนกั เรยี นควรเน้นการจัดการเรียนการสอน โดยให้นักเรยี นได้คน้ พบความรู้ด้วยตนเอง (Discovery-Based Method) การเรียนรแู้ บบค้นพบเปน็ กลวธิ ี และเทคนิคในการจัดการเรยี นการสอนท่ีมุ่งเนน้ ใหผ้ ูเ้ รยี นได้มโี อกาสเรียนรู้อย่างกระตือรอื ร้น โดยการศกึ ษา เรยี นรเู้ ร่ืองต่าง ๆ และปฏิบตั ิจนกระทั่งพบคำตอบหรือเกิดความเข้าใจเร่ืองน้นั ๆ ได้ดว้ ยตนเอง ภมู ศิ าสตร์ จดั เปน็ สาระการเรียนร้ใู นกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม มขี อบข่ายการเรียนรู้ที่มี สาระหลกั ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั ศาสตร์ต่างๆหลายศาสตร์ คือ สิง่ แวดลอ้ ม มนษุ ยว์ ทิ ยา ที่มุง่ ใหม้ คี วาม เข้าใจใน เรือ่ งมติ ิสัมพนั ธ์ทางภูมิศาสตร์กับสภาพแวดลอ้ ม ต่าง ๆ ท่ีปรากฏอย่บู นโลกความสัมพันธต์ อ่ กนั และกัน รวมถึงตอ่ การดำรงชวี ติ ของมนุษยก์ ารจดั การเรยี นรู้ ต้องให้ผเู้ รียนรู้จักตนเองแสวงหาความรแู้ ละ ประสบการณ์ในการศึกษาความสมั พันธข์ องมนุษยแ์ ละส่งิ แวดล้อมเชิงมติ สิ ัมพันธท์ งั้ ในส่วนของประเทศไทย ทีเ่ ราอาศยั อยู่ มีความสามารถท่ีจะอธบิ ายลักษณะตำแหน่งแหลง่ ทีอ่ ยู่อาศัยภมู ภิ าคตา่ งๆในประเทศ ปรากฏการณ์ของสิง่ แวดล้อม ทางธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม

งานวจิ ยั พฒั นานวัตกรรม โรงเรยี นบา้ นโนนยาง บริษัทกเู กลิ ได้เข้ามามบี ทบาทในด้านการศกึ ษามากข้ึน โดยได้ผลิตโปรแกรมและซอฟต์แวร์ ต่าง ๆ ทีอ่ ำนวยความสะดวกใหบ้ คุ ลากรทางการศึกษารวมถึงบคุ คลท่ัวไป ไดใ้ ช้ในการเรียนการสอน Google Earth ก็เป็นอีกหนง่ึ โปรแกรมทบ่ี รษิ ัท Google ได้สร้างขนึ้ สำหรับการใชใ้ น เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ส่วนบคุ คล หรือในสมาร์ทโฟน เพอื่ ดูภาพถา่ ยดาวเทียมด้วยความสามารถของ Google Earth นัน้ มีความ หลากหลายไม่วา่ จะเปน็ การใชง้ านในมมุ มองแบบ Street View ทผ่ี ใู้ ชง้ านสามารถ ท่องไปยัง ถนนในเมือง สำคัญตา่ ง ๆ เพ่ือดูทศั นยี ภาพในประเทศ น้นั ๆ [7] ในด้านของการศึกษาสามารถนำโปรแกรม Google Earth มาประยุกตใ์ ช้ในการจัดการเรียนการสอน วชิ าภูมศิ าสตร์ เพ่ือศกึ ษาลักษณะภมู ิประเทศของ ประเทศตา่ ง ๆ รวมไปถงึ แหลง่ ท่องเที่ยวและสถานที่ สำคญั ตา่ ง ๆ ผู้วจิ ยั จึงเลง็ เหน็ วา่ ในการจัดการเรียนการสอนจะเป็นรูปแบบการบรรยายประกอบกบั แผนท่ี จำลองหรอื ลกู โลกจำลองที่มขี นาดเล็ก ซ่ึงเมื่อนำมาใชใ้ นหอ้ งทีม่ ีนักเรียนจำนวนมากจงึ ทำให้ขาดความชัดเจน ในเนื้อหา มองเหน็ ไมท่ ัว่ ถงึ และยงั ขาดความนา่ สนใจ ทำให้ผ้เู รยี นไมเ่ ข้าใจเน้อื หาภมู ิศาสตร์ จึงไมส่ ามารถใช้ เครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ เพ่อื ค้นคว้าดว้ ยตนเองได้ สง่ ผลทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตำ่ กวา่ เกณฑ์ และการเรียนในรายวิชาภูมศิ าสตรด์ ไู ม่น่าสนใจ ไม่มคี วามแปลกใหม่ที่จะค้นหา ผู้วิจัยจงึ มคี วามคิดท่จี ะนำ การเรียนแบบค้นพบเขา้ มาใช้ในการเรยี นวชิ าภมู ิศาสตร์ เพอ่ื ให้เดก็ นักเรยี นมสี ่วนรว่ มในการเรยี นการสอน มากขนึ้ และมโี อกาสได้ศึกษาหาข้อมลู ด้วยตนเอง เพราะวิธีการเรียนแบบคน้ พบเป็นวธิ ีทีค่ รูผูส้ อนมหี นา้ ที่ เพยี งแนะนำ และตั้งคำถามให้นกั เรยี นได้คน้ หาคำตอบด้วยตนเอง ไมว่ า่ จะเป็นเรื่องการศกึ ษาลักษณะ ภมู ิประเทศ ตำแหนง่ ที่ตง้ั และอนื่ ๆ โดยมโี ปรแกรม Google Earth มาเป็น ส่ือในการจดั กิจกรรม การเรียนรู้ใหก้ บั นักเรียนแทนส่อื ลกู โลกจำลอง ทสี่ ามารถใหน้ กั เรียนไดศ้ ึกษาคน้ คว้า เพื่อให้นกั เรยี นได้เข้าใจ อยา่ งถ่องแท้ และมีผลการเรียนรูเ้ รอื่ งภูมศิ าสตร์ประเทศไทยทส่ี ูงขึน้ 2. วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั 2.1 เพ่ือหาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรียนทใี่ ชก้ ารเรยี นการสอนด้วยวธิ ีการเรียนรู้แบบการคน้ พบ โดยใช้ โปรแกรม Google Earth ในการศึกษาภูมศิ าสตร์ของนักเรยี น ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4-6 2.2 เพอื่ ศึกษาความคิดเห็นผูเ้ รยี นท่มี ตี อ่ การเรยี น ในรายวชิ าภมู ศิ าสตรท์ ่ีใช้การเรียนการสอนด้วยวิธีการ เรยี นร้แู บบการค้นพบโดยใช้โปรแกรม Google Earth ในวิชา ภมู ศิ าสตรข์ องนักเรยี นระดับ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4-6 3. สมมุติฐานการวจิ ัย 3.1 ผลผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรยี นท่ีไดเ้ รียนโดยการเรยี นการสอนด้วยวธิ ีการเรียนรแู้ บบการคน้ พบ โดยใช้โปรแกรม Google Earth ในวชิ าภมู ิศาสตร์ เพิ่มขน้ึ ทีร่ ะดับนยั สำคัญที่ .05 3.2 ผลของความคดิ เห็นผู้เรียนที่มีตอ่ วธิ กี ารเรียนรู้ แบบการคน้ พบโดยใชโ้ ปรแกรม Google Earth ในวิชา ภมู ิศาสตร์ของนักเรยี นระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4-6 อยู่ใน ระดับมากทีส่ ดุ 4. ขอบเขตของงานวจิ ัย 4.1 การวจิ ยั คร้งั น้เี ป็นการวจิ ัยแบบ Pre Experimental Research โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อศกึ ษา ผลของส่งิ จดั กระทำ (Treatment) คือ การใชก้ ารเรียนการสอนดว้ ยวธิ กี ารเรียนร้แู บบการค้นพบ โดยใช้ โปรแกรม Google Earth ในวชิ าภมู ิศาสตร์ 4.2 การศึกษาคร้งั น้ีเปน็ การพัฒนาการเรียนการสอนดว้ ยวิธีการเรยี นรแู้ บบการคน้ พบโดยใช้โปรแกรม Google Earth ในวชิ าภูมิศาสตร์ของนักเรยี นในระดบั ชน้ั ประถมศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565

งานวจิ ยั พัฒนานวตั กรรม โรงเรยี นบา้ นโนนยาง โรงเรียนบา้ นโนนยาง โดยมงุ่ ศึกษาจากนักเรยี นท่ีกำลงั ศกึ ษา อยใู่ นระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 30 คน 4.3 สาระท่ใี ช้ในการศกึ ษาผลการเรียนรูเ้ ป็นเนอ้ื หาสาระตามมาตรฐานการเรยี นรู้กลมุ่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ภูมศิ าสตร์ เร่ืองลกั ษณะ ทว่ั ไปของประเทศไทย ตามหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2560 รปู ท่ี 1 8 ขั้นตอนการทำวิจยั 5. เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย 5.1 แผนจดั การสอนดว้ ยวธิ ีการเรยี นรู้แบบการค้นพบโดยใช้โปรแกรม Google Earth ในการศึกษาภมู ิศาสตร์ 5.2 แบบประเมินดา้ นเนอ้ื หาและแผนจดั การสอน ด้วยวธิ กี ารเรียนรู้แบบการค้นพบโดยใชโ้ ปรแกรม Google Earth ในวชิ าภมู ศิ าสตร์สำหรบั ผูเ้ ช่ยี วชาญ 5.3 แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียน 5.4 แบบสำรวจความคิดเหน็ ผูเ้ รยี นท่ีมีตอ่ การเรียน ด้วยวธิ ีการเรียนรู้แบบการค้นพบโดยใช้โปรแกรม Google Earth ในวชิ าภูมิศาสตร์ 5.5 แบบประเมนิ /แบบสอบถาม 6. วิธีดำเนนิ การวิจยั 6.1 การสร้างแผนจดั การเรียนรู้ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบการคน้ พบโดยใชโ้ ปรแกรม Google Earth ประกอบไปด้วย 5 ขน้ั ตอนดังน้ี 6.1.1 ขัน้ การวเิ คราะห์ (Analysis) วิเคราะห์ ปัญหาของการเรยี นภมู ิศาสตร์

งานวจิ ยั พัฒนานวัตกรรม โรงเรยี นบา้ นโนนยาง 6.1.2 ขั้นการออกแบบ (Design) การออกแบบ แผนการจดั การเรยี นการสอนซง่ึ ประกอบไปด้วยสว่ น ตา่ งๆ เช่น จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สาระสำคัญ เน้อื หา วชิ าภมู ิศาสตร์ และออกแบบผังงานตามแนว ทางการเรยี นรแู้ บบค้นพบ โดยผสู้ อนใช้วิธีการสอนแบบอุปนัย และนิรนัยเพื่อนำไปสู่การจัดการเรยี นรู้ แบบคน้ พบ 4 ข้ันตอน ดังรูปท่ี 1 ขั้นตอนที่ 1 ขน้ั นำและทบทวนความรเู้ ดิม 1) ครูให้นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน 2) ครทู บทวนความรู้เดิมของนักเรยี นเกี่ยวกับความร้เู รือ่ ง เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ว่ามีอะไรบ้าง และแตล่ ะ เครอ่ื งมือมี วิธกี ารใช้งานอยา่ งไร 3) ครแู นะนำการใชง้ านเบือ้ งตน้ ของโปรแกรม Google Earth แล้วใหต้ วั แทนนกั เรียนออกมาช้ีตำแหน่ง จังหวดั ทอ้ งที่ในภมู ภิ าคตา่ งๆ ที่ สำคัญของประเทศไทยในโปรแกรม Google Earth 4) ครใู ห้นักเรียนผลัดกันเลา่ ความรู้เก่ียวกบั พืน้ ที่ภูมศิ าสตร์ในประเทศไทย ในหัวข้อ “ประเทศไทยทีฉ่ ันร้จู ัก” โดยมคี รูเป็นผ้เู สนอแนะเพิม่ เติม ขนั้ ตอนท่ี 2 ขัน้ อุปนัย (เพื่อใหผ้ ู้เรียนได้เหน็ ภาพรวม) 1) ครูอธบิ ายความร้ใู หน้ ักเรยี นเขา้ ใจเกยี่ วกับทำเลท่ีตั้ง ขนาด ของประเทสไทย และอาณาเขตติดต่อกบั ประเทศเพ่ือนบ้าน พร้อมท้ังชี้แผนทีใ่ นโปรแกรม Google Earth ประกอบ 2) ครแู บ่งนักเรยี นออกเปน็ 6 กลมุ่ ใหส้ มาชิกแต่ละกล่มุ ร่วมกันศกึ ษาความรู้ เรื่อง ลกั ษณะทัว่ ไปของพน้ื ท่ี ในละภูมิภาคในประเทศไทย โดยใชโ้ ปรแกรม Google Earth และหนังสอื เรียน 3) สมาชิกในกลมุ่ นำความรู้ทไี่ ด้จากการศึกษามาร่วมกันทำใบ งานท่ี 1 ลกั ษณะท่ัวไปและภูมิลกั ษณ์ของ ภาคตา่ งๆในประเทศไทย ขนั้ ตอนท่ี 3 ข้ันนริ นัย ( ผู้เรยี นนำภาพรวมท่ีไดจ้ ากขัน้ ที่ 2 ไปใช้เรียนรแู้ ละคน้ พบขอ้ สรุปใหม่ ) 1) ครอู ธิบายความรใู้ ห้นกั เรยี นเขา้ ใจเก่ยี วกับทำเลที่ต้ัง ขนาด ของประเทศไทย และอาณาเขตติดตอ่ กบั ประเทศเพื่อนบา้ นในทวีปท่ใี กล้เคียง พร้อมทง้ั ชี้ แผนทใ่ี นโปรแกรม Google Earth ประกอบ 2) ครูแบ่งนักเรียนออกเปน็ 6 กลุ่ม ใหส้ มาชกิ แตล่ ะกล่มุ ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ลักษณะทว่ั ไปของพนื้ ท่ี ในละภูมิภาคในประเทศไทย โดยใชโ้ ปรแกรม Google Earth และหนงั สอื เรยี น 3) ครเู ลอื กภมู ภิ าคมา 1 ภาคจากน้นั ใช้ โปรแกรม Google Earth ท่องไปยังภูมิภาคนนั้ ๆ เพอื่ อธิบาย ถงึ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ลักษณะภมู ิอากาศ และท้องถนิ่ ประชากร ข้ันตอนที่ 4 สรุปและจัดระเบียบความรู้ 1) ครสู ่มุ นกั เรียนออกมาตอบคำถามหนา้ ชน้ั เรียนเกี่ยวกบั เรือ่ ง ลักษณะทวั่ ไป ภูมิลักษณ์ และภูมิภาคตา่ งๆ ในประเทศไทย โดยครชู ่วยอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ในหัวข้อทนี่ ักเรียนยงั อธิบายไมช่ ัดเจน 2) ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปองค์ความร้เู กย่ี วกับเรือ่ งลักษณะ ท่ัวไป ภมู ลิ ักษณ์ สภาพพน้ื ที่ทางภมู ศิ าสตร์ โดยท่วั ไปของแตล่ ะภาคในประเทศไทย 3) ครใู ห้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน

งานวจิ ยั พฒั นานวตั กรรม โรงเรยี นบา้ นโนนยาง 6.1.3 ข้ันการพัฒนา (Development) ทำการพัฒนาแผนการจดั การเรยี นรูต้ ามผังงานและนำแผน จดั การเรียนรู้ ทไ่ี ด้พัฒนาไปทดลองใชส้ อนกับนกั เรยี นท่ไี ม่ใชก่ ลมุ่ ตัวอย่าง 6.1.4 ขนั้ การนำไปใช้ (Implementation) นำแผนจัดการเรยี นรูด้ ้วยวิธกี ารเรียนร้แู บบการค้นพบโดย ใช้โปรแกรม Google Earth ไปใชก้ บั กลุม่ ตัวอยา่ ง 6.1.5 ขนั้ การประเมินผล (Evaluation) ใหผ้ ู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรยี นวิชา สังคมศึกษาผวู้ จิ ยั ตรวจให้คะแนนโดยมเี กณฑ์ ใหข้ อ้ ที่ตอบถูกให้ 1 คะแนน และข้อที่ตอบไม่ถูก ไม่ตอบ หรือตอบมากกว่าหน่ึงตวั เลอื ก ให้ 0 คะแนน นำคะแนน จากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น วเิ คราะห์ด้วย วิธีการทางสถติ ิ 6.2 แบบประเมนิ ดา้ นเนื้อหาและแผนจัดการสอน 6.3 แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน ใช้ขอ้ สอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี นรูปแบบเดมิ จากการจดั การเรยี นการสอนรแู้ บบเก่าเนื่องจากข้อสอบนน้ั ๆ ไม่มีปัญหาทส่ี ่งผลตอ่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน โดยเปน็ แบบทดสอบแบบปรนยั 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ 6.4 แบบสำรวจความคิดเหน็ ผเู้ รียน การสร้างแบบสอบถามความคิดเหน็ ของนักเรยี นที่มี ต่อแผนจดั การสอน ดว้ ยวธิ กี ารเรียนร้แู บบการค้นพบโดยใช้โปรแกรม Google Earth เปน็ แบบสอบถามท่ีมีลกั ษณะแบบมาตรา สว่ นประมาณค่า (Likert Scale) 6.5 การดำเนนิ การและเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 6.5.1 เตรียมการทดลอง 1) ผู้วิจยั โครงงาน ทำบันทกึ ขอ้ ความถงึ ผู้อำนวยการ โรงเรยี นบา้ นโนนยาง เพือ่ ขอความอนุเคราะห์ ในการใช้กลมุ่ ตวั อยา่ งเพ่อื เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในการทำการวจิ ยั 2) นัดหมายกบั ครูผู้สอนวิชาสังคมศึกษาประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านโนนยาง 3) เตรยี มสถานที่ และเคร่อื งมือที่ใช้ใน การทดลอง โดยสถานทีท่ ใี่ ช้ในการทดลองคือ หอ้ งปฏบิ ัติการ คอมพิวเตอร์ โรงเรยี นบ้านโนนยาง นักเรยี น 1 คนต่อ คอมพิวเตอร์ 1 เคร่ือง แบบทดสอบก่อนเรยี น และ แบบทดสอบหลังเรยี น แบบสำรวจความคิดเห็น 6.5.2 ขน้ั ดำเนินการทดลอง 1) ชแ้ี จงใหน้ กั เรียนกล่มุ เปา้ หมาย ทราบถึงวัตถปุ ระสงค์ในการวิจัยและวิธีใช้ Google Earth 2) ให้นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน 30 ข้อเวลา 30 นาที 3) เวน้ ระยะเวลา 1 วัน ทำการทดลอง โดยใชแ้ ผนการจดั การเรียนร้ทู ี่พฒั นาขน้ึ โดยผวู้ จิ ยั อธิบายรายละเอยี ด ภายในแผนการจดั การเรียนรู้ให้ ครผู ู้สอนปฏิบตั ิตาม 4) ให้นกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี น จำนวน 30 ข้อเวลา 30 นาที และทำแบบสำรวจความคิดเหน็ 5) ผวู้ ิจัยตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น และแบบทดสอบหลังเรียน 6) นำคะแนนแบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรยี น วเิ คราะห์ด้วยวิธีการทางสถติ ิ และสรปุ ผลการวิจัยมากทส่ี ุด

งานวิจยั พัฒนานวตั กรรม โรงเรยี นบา้ นโนนยาง

งานวิจยั พัฒนานวตั กรรม โรงเรยี นบ้านโนนยาง 7. ผลการวจิ ัย 7.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี นที่เรยี น โดยแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวธิ กี ารเรียนรู้แบบการคน้ พบ โดยใชโ้ ปรแกรม Google Earth ในวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4-6 ตารางท่ี 1 การเปรียบเทียบคะแนนการทดสอบวดั ความรู้ ก่อนเรียนและหลังเรยี นของนักเรียนจำนวน 30 คน คะแนนความรู้ คะแนนเตม็ X S.D. t p กอ่ นเรียน 30 15.16 2.75 21.62 0.00 * หลงั เรียน 30 23.90 3.35 มนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ 0.05 จากตารางที่ 1 พบวา่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของ นกั เรียนทเ่ี รยี นโดยแผนการจดั การเรียนรู้ ดว้ ยวิธกี ารเรียนรแู้ บบการคน้ พบโดยใชโ้ ปรแกรม Google Earth มคี า่ เฉลยี่ กอ่ นเรียน 15.16 และหลงั เรยี น 23.90 คะแนน พบว่านักเรียนมคี วามรเู้ พ่ิมขึ้นจากคะแนนหลังเรียนที่สูงกว่าก่อนเรียนอยา่ งมนี ัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 7.2 ผลสำรวจความคิดเห็นผู้เรยี นทม่ี ีตอ่ การสอน ด้วยวธิ ีการเรียนรู้แบบการคน้ พบโดยใช้โปรแกรม Google Earth ในวชิ าภมู ศิ าสตร์ ตารางที่ 2 ผลสำรวจความคิดเหน็ ผเู้ รียนทม่ี ีตอ่ การสอน ด้วยวิธกี ารเรียนร้แู บบการคน้ พบโดยใช้ โปรแกรม Google Earth ในวชิ าภูมิศาสตร์ รายการประเมิน X S.D. ระดับความคิดเหน็ 4.66 0.47 มากที่สดุ 1. Google Earth สามารถ ค้นหา ตำแหน่งประเทศไทยทตี่ ้องการศึกษา ได้งา่ ยกว่า ลกู โลกจำลอง 2. การใช้ Google Earth ใน 4.63 0.60 มากที่สดุ การหาเขตติดตอ่ ภูมิภาคตา่ งๆ ในประเทศไทย มีความชดั เจน กว่าแผนท่ปี ระเทศไทย 3. กิจกรรมที่ใช้ Google Earth 4.70 0.52 มากทส่ี ุด ในการแบง่ ภูมิภาคตา่ งๆ ทำ 4.63 0.54 มากที่สดุ ไดง้ า่ ยกว่าแผนทแี่ ละใชล้ กู โลกจำลอง 4.56 0.61 มากท่ีสุด 4. กจิ กรรมทีใ่ ช้ Google Earth เพอื่ เปรียบเทียบขนาดของ ประเทศทำได้ง่ายกวา่ บน ลูกโลกจำลอง 5. กจิ กรรมทีใ่ ช้ ฟังกช์ น่ั ชว่ ยให้ศึกษาลักษณะภมู ิประเทศในไทย ได้ละเอียด มากขนึ้

รายการประเมิน X งานวจิ ยั พฒั นานวตั กรรม โรงเรยี นบ้านโนนยาง 4.80 6. กิจกรรมทม่ี ีการใช้ฟงั กช์ ัน S.D. ระดับความคิดเห็น Street view ช่วยให้การศกึ ษาลกั ษณะ 4.86 0.40 มากทส่ี ุด ภมู ปิ ระเทศชัดเจนกวา่ การใช้ลกู โลก หรือแผนทีจ่ ำลอง 4.86 0.33 มากที่สุด 7. กจิ กรรมท่มี ีการใช้ฟงั กช์ ัน Street view ชว่ ยใหก้ ารศกึ ษาลกั ษณะ 4.71 0.33 มากทส่ี ดุ ภมู ิประเทศชัดเจนกว่าการใช้ลกู โลก หรอื แผนทีจ่ ำลอง 4.47 มากที่สดุ 8. การเรยี นการสอนทีใ่ ช้ Google Earth สามารถเปรยี บเทียบ ลกั ษณะภมู ิประเทศได้ดีกว่าการใช้ แผนท่ี คา่ เฉลีย่ รวม จากตารางที่ 2 การแสดงความคิดเหน็ ของนักเรยี นทมี่ ตี ่อการสอนด้วยวิธกี ารเรียนรูแ้ บบการค้นพบโดยใช้ โปรแกรม Google Earth ในวิชาภมู ิศาสตร์ มรี ะดับความ คดิ เหน็ อยใู่ นระดบั มากทีส่ ุดที่คา่ เฉล่ีย 4.71 (S.D. = 4.47) 7.3 ผลการหาคณุ ภาพของแผนการจดั การเรยี นรู้ ดว้ ยวธิ กี ารเรยี นรแู้ บบการค้นพบโดยใชโ้ ปรแกรม Google Earth ในวชิ าภูมศิ าสตร์ของนักเรยี นระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4-6 ทไ่ี ด้รับการประเมนิ โดยผูเ้ ชย่ี วชาญ ด้านเนอ้ื หาและผเู้ ชี่ยวชาญด้านแผนการจดั การเรียนรู้ ตารางท่ี 3 การหาคุณภาพของแผนการจัดการเรยี นรู้ ดว้ ยวิธกี ารเรยี นรู้แบบการคน้ พบโดยใช้ โปรแกรม Google Earth ในวชิ าภมู ศิ าสตร์ ของนกั เรียนระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4-6 ที่ไดร้ บั การประเมนิ โดย ผู้เช่ยี วชาญด้านแผนการจดั การเรยี นรู้ รายการประเมิน X S.D. ระดับดบั คุณภาพ 5.00 0.00 ดีมาก 1. หน่วยการเรียนรมู้ คี วามสมบูรณ์ 5.00 0.00 ดีมาก 2. แผนการจัดการเรยี นรู้ สอดคล้องสัมพนั ธก์ ับหน่วยการเรียนรู้ 5.00 0.00 ดมี าก 3. แผนการจัดการเรยี นรู้องค์ประกอบสำคญั 4.22 0.00 ดี 4. การเขียนสาระสำคัญในแผนถกู ต้อง 5.00 0.00 ดมี าก 5. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้มคี วามชัดเจน 5.00 0.00 ดีมาก 6. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้พัฒนา นักเรียนดา้ นความรู้ 5.00 0.00 ดมี าก 7. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้มคี วามชดั เจน 4.67 0.58 ดีมาก 8. กำหนดเนอ้ื หาสาระเหมาะสมกับคาบเวลา 5.00 0.00 ดมี าก 9. กิจกรรมการเรยี นรู้สอดคล้องกบั จุดประสงค์ 5.00 0.00 ดมี าก 10. กิจกรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งกับระดับชัน้ 5.00 0.00 ดมี าก 11. กจิ กรรมการเรยี นรมู้ ีความหลากหลาย 5.00 0.00 ดีมาก 12. กจิ กรรมส่งเสริมกระบวนการคดิ

งานวิจยั พฒั นานวตั กรรม โรงเรียนบ้านโนนยาง 13. กจิ กรรมเนน้ ให้ปฏบิ ตั จิ รงิ 5.00 0.00 ดมี าก 14. นกั เรียนไดใ้ ชส้ ่ือและแหล่งเรียนรดู้ ว้ ย 4.67 4.67 ดี ตนเอง 15. นกั เรยี นได้ใชค้ วามคดิ มากกวา่ 4.33 4.33 ดี การทำตามท่กี ำหนด 4.33 4.33 ดีมาก 4.87 0.21 ดีมาก 16. ประเมินผลสอดคล้องกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ คา่ เฉล่ยี รวม จากตารางที่ 3 พบว่า คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรดู้ ้วยวิธีการเรียนร้แู บบการคน้ พบโดยใชโ้ ปรแกรม Google Earth ในวชิ าภูมศิ าสตร์ของนักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4-6 ท่ีได้รบั การประเมิน โดยผู้เชยี่ วชาญดา้ นแผนการจดั การเรยี นรู้มีคุณภาพอยใู่ น ระดับดมี าก ท่คี า่ เฉล่ีย 4.87 (S.D. = 0.21) 8. สรปุ และอภิปรายผล ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ของคะแนนจาก แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี นของนักเรียน ท่เี รียน ด้วยวธิ กี ารเรียนรู้แบบการค้นพบโดยใช้โปรแกรม Google Earth ในวชิ าภมู ิศาสตรข์ องนักเรยี น ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4-6 พบว่ามผี ลสมั ฤท์ิทางการเรียนสงู ข้ึน มนี ัยสำคญั ทางสถิตทิ ่ี ระดับ .05 ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐานท่ตี งั้ ไว้ แสดงให้เห็นวา่ นกั เรียนทเ่ี รียนด้วยวิธกี ารเรียนรู้แบบการคน้ พบ โดยใช้ โปรแกรม Google Earth ในวชิ าภูมิศาสตร์มที ักษะในการค้นหาความรู้ซึ่งเปน็ ผลทำให้นักเรียนสามารถรู้ และเขา้ ใจเก่ยี วกับลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย ซึ่งคะแนนทดสอบก่อนเรยี นมคี ่าเฉล่ยี เท่ากบั 15.16 คะแนน และคะแนนทดสอบหลงั เรียนเทา่ กบั 23.9 คะแนน จะเห็นได้วา่ นักเรียนมีพฒั นาการท่ดี ขี ้ึน จากเดมิ ซงึ่ เป็นผลจากวธิ กี ารเรยี นรูแ้ บบคน้ พบ ทีเ่ ปิดโอกาสให้นกั เรยี นมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนมากข้ึน และได้ศึกษาหาข้อมูลดว้ ยตนเอง ซึง่ มีความสอดคล้องกบั Jerome Bruner ที่กล่าวว่า การเรยี นรู้แบบ ค้นพบคือการเรียนรทู้ เ่ี กิดข้ึนโดยเรยี นใช้ประสบการณ์ของผู้เรียนและความรู้ทมี่ ีอยู่ เพ่ือค้นพบข้อเท็จจริง ความสมั พนั ธแ์ ละสิ่งใหม่ๆ ซึ่งจะส่งผลให้นกั เรียนมีแนวโนม้ ที่จะจดจำแนวความคดิ และความรูท้ ี่คน้ พบ ด้วยตัวเอง นอกจากน้นั ยังสอดคล้องการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนนั้น จะต้องมีความทนั สมยั และมีการ พฒั นาสอื่ ใหม่ๆ ขน้ึ มา เพื่อตอบสนองการเรยี นรู้ของนักเรยี นให้เพม่ิ มากขึ้น ภายในระยะเวลาท่ีสน้ั ลง การใช้นวตั กรรมมาประยุกต์ในด้านการศึกษาจงึ มีส่วนชว่ ยให้การเรียนรูเ้ ปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และท่ี สำคัญแผนจดั การเรยี นการสอนดว้ ย วธิ ีการเรียนรแู้ บบการคน้ พบโดยใช้โปรแกรม Google Earth ท่ผี วู้ จิ ัย ไดพ้ ฒั นาขึน้ มาน้ี มีการวางแผน มกี ารศึกษาเนอื้ หาจากหนงั สือและเอกสารต่างๆท่เี กี่ยวขอ้ ง จากหลากหลาย แหล่งทีม่ า และมคี วามสอดคลอ้ งกับขนั้ ตอนการจดั การการเรยี นการสอนออกเปน็ 3 ขนั้ คือ ขัน้ ท่ี 1 ข้นั นำและทบทวนความรู้เดิม ขนั้ ที่ 2 ขน้ั อุปนยั (เพื่อใหผ้ ู้เรียนค้นพบขอ้ สรุป) ขนั้ ที่ 3 ข้ันนริ นัย (ผู้เรียนนำภาพรวมจากข้ันที่ 2 ไปใช้เรียนรู้และคน้ พบขอ้ สรุปใหม่) และข้นั ท่ี 4 สรปุ และจดั ระเบยี บความรู้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นของผูเ้ รยี นทม่ี ีตอ่ การสอนดว้ ยวิธีการเรยี นร้แู บบการค้นพบ โดยใช้โปรแกรม Google Earth ในวชิ าภมู ิศาสตร์ พบว่าผเู้ รียนมีความคิดเห็นอยู่ ในระดับมากทสี่ ดุ โดยมคี า่ เฉลี่ยรวมเทา่ กบั 4.71 เน่ืองจากการสอนทใี่ ช้ Google Earth นั้น ชว่ ยให้นกั เรียนสามารถค้นหา ตำแหน่งประเทศที่ต้องการศึกษาได้มากกวา่ ลูกโลกจำลอง แผนทจ่ี ำลอง ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรยี น วิชาภูมิศาสตรม์ ากยิ่งขน้ึ เนื่องดว้ ยกระบวนการเรยี นนั้นนำแนวทางการเรียนรแู้ บบค้นพบมาใชร้ ่วมกบั Google Earth เปน็ การเรยี นภูมศิ าสตร์ในแนวทางใหม่ ซง่ึ ผเู้ รยี นน้นั เกิดอิสระทางความคิด กิจกรรมที่มี การใช้ฟังก์ชันต่าง ๆ บน Google Earth ช่วยใหก้ ารศกึ ษาลกั ษณะภมู ปิ ระเทศชดั เจนกวา่ การใช้ลูกโลก

งานวิจยั พฒั นานวตั กรรม โรงเรยี นบ้านโนนยาง หรอื แผนที่จำลองซ่ึงสอดคลอ้ งกับ กบั ผูเ้ ชยี่ วชาญบางทา่ นทีก่ ลา่ วว่าการใช้ทรัพยากรที่มีอยูบ่ นเครือขา่ ย อินเตอรเ์ น็ต เช่น Google Earth หรือการคน้ หาข้อมลู ผา่ น Google เพ่ือใชศ้ ึกษาเกยี่ วกับภูมศิ าสตรจ์ ะช่วย เพม่ิ ศักยภาพใหผ้ ้เู รยี นนั้นสามารถเรยี นรสู้ ิ่งต่างๆ ได้ด้วยตนเอง นอกจากนี้การเรยี นการสอนท่ีใช้ Google Earth ในการเปรียบเทียบลกั ษณะภมู ิประเทศในทวีปเอเชียจะชว่ ยทำให้นักเรยี นเหน็ ความแตกต่างของภูมิ ประเทศตนเอง มากกว่าการใช้แผนท่ีหรอื ลูกโลกจำลอง 9. ขอ้ เสนอแนะ 9.1 ในการทำวิจยั คร้งั น้ีเปน็ การวิจยั ท่ีมีการชีแ้ นะ แนวทางจากครผู ้สู อนระหวา่ งจดั การเรียนการสอน (Guide Discovery Method) ดังนัน้ การวิจยั ในครั้งต่อไป ควรศึกษาเกย่ี วกบั การจดั การเรยี นรูแ้ บบคน้ พบ ที่มไี มม่ ีการชแี้ นะแนวทางระหวา่ งเรยี น (Pure Discovery Method) เพ่ือเปรยี บเทียบว่าการจัดการเรียน การสอนแบบใด เหมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพมากที่สดุ 9.2 ในการทำวิจัยครัง้ นี้พบว่านกั เรยี นแต่ละคนมีความสามารถในการใช้งาน Google Earth ไม่เทา่ กัน ดงั น้นั ในการวจิ ยั ครง้ั ต่อไปผู้วจิ ยั ควรศกึ ษาเก่ยี วกบั ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการใช้งาน Google Earth ในการจัดการเรยี น การสอนของนักเรยี น *******************************************************

งานวจิ ยั พฒั นานวัตกรรม โรงเรียนบ้านโนนยาง 10. เอกสารอา้ งอิง [1] M. Chiraphonsawat, “Microcomputer use of faculty at Payap University,” Chiangmai University, 1999. (in Thai) [2] P. Sirapatarasrisamore, “The results of activities of storytelling on perception of environmental preservation of preschool children, Pathum Thani, Faculty of Education,” 2012. (in Thai) [3] W. Phanich, “The way to create lessons for 21st century disciples,” Bangkok, Sodsri Sarisworng Foundation, 2012. (in Thai) [4] J. S. Bruner, “Toward a theory of instruction,” Cambridge: Harvard University, 1966. [5] S. Gauthier, \"Mild cognitive impairment,\" Lancet, vol. 367, pp. 1262-1270, 2006. [6] MOE, Documents for Basic Education Curriculum, Bangkok: Kurusapa Printing Ladphrao, 2002. (in Thai) [7] ONEC, The most important learning process, Bangkok: Kurusapa Printing Ladphrao, 2000. (in Thai) [8] Y. Thongdee, Applying physics simulations to learning physics in motion, Khonkaen, 2002. (in Thai) [9] M. Suwit, How to manage learning, develop knowledge and skills, Bangkok: Pabpim printing, 2007. (in Thai)

งานวจิ ยั พัฒนานวัตกรรม โรงเรียนบา้ นโนนยาง คณะผู้ดำเนนิ การวิจัยโครงงาน 1. นางรัตนาวงศ์ เลาะหะนะ ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านโนนยาง ท่ปี รกึ ษา 2. นางสาวนริศรา นครวงษ์ ตำแหนง่ ครู โรงเรยี นบ้านโนนยาง 3. นางสาวกนกวรรณ บุญนนั ตำแหนง่ ครู โรงเรียนบา้ นโนนยาง 4. เดก็ หญงิ ชญาดา อุทก นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 5. เดก็ หญิงแพรตะวนั ศรีบุญเรอื ง นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 6. เดก็ ชายจริ ายุ พิระภาค นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 *******************************************


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook