Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงาน-ออรวี_merged

รายงาน-ออรวี_merged

Published by Guset User, 2021-11-10 15:33:10

Description: รายงาน-ออรวี_merged

Search

Read the Text Version

โครงการสถานีเกษตรหลวงอา่ งขาง ออรวี เทพบุตร 644313114 รายงานนี้เปน็ ส่วนหนงึ่ ของการศกึ ษาคน้ ควา้ ในรายวิชา 1631101 การร้ดู ิจทิ ัลเพ่ือการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564

โครงการสถานีเกษตรหลวงอา่ งขาง ออรวี เทพบุตร 644313114 รายงานนี้เปน็ ส่วนหนงึ่ ของการศกึ ษาคน้ ควา้ ในรายวิชา 1631101 การร้ดู ิจทิ ัลเพ่ือการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564

ก คำนำ รายงานเร่ือง โครงการสถานเี กษตรหลวงอ่างขาง เป็นสว่ นหนึ่งในรายวชิ า 1631101 การรู้ ดิจิทัลเพ่ือการเรียนรู้ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 โดยเน้ือหาจะกล่าว เก่ยี วกับโครงการสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง เพอื่ เป็นความรู้และใหแ้ ก่คนท่ีสนใจต่อไป รายงานฉบับนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับโครงการสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง หากเกิด ขอ้ ผดิ พลาดประการใดผูจ้ ัดทำต้องขออภัยและน้อมรับขอ้ เสนอแนะเมาปรับปรุงให้ดยี ่ิงขึ้น. ออรวี เทพบตุ ร 644313114 10 พฤศจิกายน 2564

ข สารบัญ หน้า เรื่อง ก คำนำ ............................................................................................................. ข สารบญั .......................................................................................................... ค บญั ชตี าราง .................................................................................................... 4 1. ความเปน็ มาของโครงการ ......................................................................... 7 2. วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ ...................................................................... 7 3. เป้าหมายของโครงการ .............................................................................. 8 4. พื้นท่ขี องโครงการ ...................................................................................... 9 5. แนวทางการบรหิ าร ............................................................................... 10 6. กิจกรรมโครงการ ................................................................................... 12 7. ผลิตภณั ฑ์จากโครงการ ......................................................................... 17 8. การเข้าชมกิจกรรมจากโครงการ .............................................................. 18 9. ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม ............................................................................. 18 10. สรุป ....................................................................................................... 20 11. บรรณานุกรม ........................................................................................... 21 12. ภาคผนวก ...............................................................................................

ค บัญชีภาพประกอบ รปู ที่ หนา้ 1 ภาพของสถานีอา่ งขาง ............................................................................ 9 2 ภาพสวนดอกไม้อ่างขาง .......................................................................... 11 3 ภาพการล้างชา ....................................................................................... 14 4 ภาพการคดั แยกชา .................................................................................. 14 5 ภาพอบแหง้ ........................................................................................... 15 6 ภาพบรรจใุ ส่หอ่ ...................................................................................... 15 7 ภาพโรงงานสมุนไพร ............................................................................... 16

4 โครงการสถานเี กษตรหลวงอา่ งขาง สถานีเกษตรหลวงอ่างขางเป็นโครงการเกษตรส่วนพระองค์ ท่ีเกิดข้ึนสืบเน่ืองจาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงมี พระราชดำริวา่ พ้ืนท่ีหมู่บ้านผักไผ่มีภูมิอากาศหนาว เหมาะแก่การเพาะปลูกไม้ผลเมืองหนาว จึงโปรด เกล้าฯ ต้ังโครงการหลวงข้ึนเปน็ โครงการส่วนพระองค์ ใช้เป็นสถานีวจิ ัยและทดลองปลูกพชื เมืองหนาว ชนดิ ต่าง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ไม้ผล ผัก ไมด้ อก เมืองหนาว เพ่ือเปน็ ตัวอย่างแกเ่ กษตรกรชาวเขาในการนำพืช เหล่าน้ีมาเพาะปลูกเป็นอาชีพ เพื่อสร้างรายได้และพัฒนาความเป็นอยู่ของชาวบ้านในทอ้ งถน่ิ ซ่ึงต่อมา พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ไดพ้ ระราชทานนามวา่ สถานีเกษตร หลวงอ่างขาง ดอยอ่างขางเป็นสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมแห่งหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่ (Chiang Mai Province) ตัง้ อยู่บนทางหลวงหมายเลข 107 (เชียงใหม่-ฝาง) ทางข้นึ ดอยอา่ งขางคอ่ นข้างคดเค้ียวและ ชัน การขับรถไปเองจงึ ต้องระมัดระวังอย่างมาก ดอยอ่างขางมีอากาศเย็นสบายตลอดปี ช่วงหนา้ หนาว จะเย็นจัด หากไปเที่ยวช่วงหน้าหนาวก็ต้องเตรียมพร้อมเรื่องอุปกรณ์กันหนาวให้ดี สถานที่ท่องเท่ียว ดอยอา่ งขาง สถานเี กษตรหลวงอ่างขาง เป็นพื้นท่สี าธิตการเพาะปลูกพืชดอก และผลไม้เมืองหนาวสวน บอนไซ ต้ังอยู่ด้านหน้าสถานี สวนแห่งน้ีมีพืชเมืองหนาวและพืชเขตอบอุ่นปลูกไว้มากมาย ซึ่งทั้งหมด ได้รับการตกแต่งตัดและปลูกด้วยเทคนิคบอนไซ การเท่ียวชมสวนบอนไซผู้เข้าชมยังสามารถชมสวน สมุนไพร เวลาที่ดที ่ีสดุ ในการเขา้ ชมคือตัง้ แตเ่ ดือนพฤศจิกายนถงึ เดือนมกราคม จดุ ชมวิวกิ่วลม สามารถ มองเหน็ วิวทวิ ทัศนท์ ส่ี วยงามของเทือกเขา ทจ่ี ดุ ชมวิวก่ิวลมนส้ี ามารถชมพระอาทิตยข์ ้นึ และพระอาทติ ย์ ตกได้ รวมถึงทะเลหมอกในช่วงหน้าหนาว หมู่บ้านคุ้ม ตั้งอยู่ใกล้กับสถานีฯ เป็นชุมชนเล็ก ๆ ประกอบดว้ ยผอู้ ยอู่ าศัยหลายเช้ือชาติอยรู่ วมกัน อาทิ ชาวไทยใหญ่ ชาวพม่า และชาวจนี ฮ่อ เปดิ ร้านค้า บริการแก่นักท่องเที่ยว บนดอยอ่างขางน้ัน นอกจากชมวิวและชมต้นไม้ดอกไม้แล้ว ยังมีกิจกรรม (MOUNTAIN trip in thailand) ให้สนุกอีกหลายอย่าง อาทิเช่น - เดินป่าศึกษาธรรมชาติ ซ่ึงเป็น เส้นทางเดินป่าระยะทาง 2 กิโลเมตรท่ีมีน้ำตกขนาดเล็กและสวยงาม - ขี่จักรยาน - กิจกรรมดูนก สามารถดูนกได้มากกว่า 1,000 ชนดิ จดุ ท่ดี ที ่ีสุดคอื บริเวณหน่วยจัดการตน้ นำ้ แมเ่ ผอะ - ข่ีฬ่อชมววิ 1. ความเป็นมาของโครงการ สืบเนอ่ื งจาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พรอ้ มดว้ ย สมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ิต์ิ นางเจ้าพระบรมราชนิ ีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลย เดช บรมนาถบพิตร ได้เสดจ็ พระราชดำเนนิ เย่ียมราษฎรท่หี มบู่ ้านผกั ไผ่ อ. ฝาง จ. เชียงใหม่ และได้ เสดจ็ ผ่านบริเวณดอยอ่างขาง ทรงทอดพระเนตรเห็นว่าชาวเขาสว่ นใหญ่ทอี่ าศัยอยู่บริเวณน้ีทำการปลูก ฝิน่ แต่ยังยากจน ท้ังยงั ทำลายทรพั ยากรป่าไม้ต้นน้ำลำธารทีเ่ ปน็ แหล่งสำคญั ตอ่ ระบบนเิ วศน์ ซง่ึ จะ

5 ก่อให้เกิดความเสียหายตอ่ ส่วนอ่นื ของประเทศได้ จึงทรงมีพระราชดำรวิ ่าพื้นท่ีนีม้ ีภูมิอากาศหนาวเยน็ มี การปลกู ฝ่นิ มาก ไมม่ ีปา่ ไมอ้ ยูเ่ ลยและสภาพพื้นทีไ่ ม่ลาดชนั นัก ประกอบกับพระองคท์ รงทราบวา่ ชาวเขา ได้เงนิ จากฝ่นิ เทา่ กับท่ไี ดจ้ ากการปลูกท้อพ้ืนเมอื ง และทรงทราบว่าท่ีสถานีทดลองไม้ผลเมอื งหนาวของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ทดลองวธิ ตี ดิ ตา ตอ่ กง่ิ กับทอ้ ฝร่งั จงึ สละพระราชทรพั ยส์ ่วนพระองค์ จำนวน 1,500 บาท เพ่ือซ้ือทดี่ ินและไร่จากชาวเขาในบรเิ วณดอยอา่ งขางสว่ นหนึ่ง จากนัน้ จึงโปรดเกลา้ ฯ ต้ังโครงการหลวงขึ้นเป็นโครงการสว่ นพระองค์ เมอื่ พ.ศ. 2512 โดยทรงแต่งตง้ั ให้ หมอ่ มเจา้ ภีศเดช รชั นี เป็นผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการในตำแหนง่ ประธานมลู นิธโิ ครงการหลวง ใชเ้ ป็นสถานวี ิจัยและ ทดลองปลูกพืชเมืองหนาวชนิดต่าง ๆ ไม่วา่ จะเปน็ ไม้ผล ผกั ไม้ดอก เมอื งหนาว เพ่อื เป็นตัวอย่างแก่ เกษตรกรชาวเขาในการนำพชื เหล่านี้มาเพาะปลกู เป็นอาชีพ ซง่ึ ตอ่ มาพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหา ภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานนามว่า “สถานเี กษตรหลวงอา่ งขาง” สถานเี กษตรหลวงอา่ งขางเป็นสถานวี ิจยั แหง่ แรกของโครงการหลวง เร่ิมดำเนนิ งานเมอื่ พ.ศ. 2512 ทตี่ ำบลแม่งอน อำเภอฝาง จงั หวดั เชียงใหม่ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิ พลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานพระราชทรพั ย์สว่ นพระองคจ์ ำนวน 1,500 บาท ซ้อื ท่ดี ินในบริเวณดอยอา่ งขางเปน็ สถานวี ิจยั ศึกษาทดลองพชื เขตหนาวชนิดต่าง ๆ เพ่ือเป็นตวั อย่างแก่ เกษตรกรชาวเขาในการนำพชื เหล่านีม้ าเพาะปลูกเปน็ อาชพี แทนการปลกู ฝ่นิ โดยเร่ืองกำเนิดของสถานีเกษตรหลวงอา่ งขางแห่งนี้ เป็นเกรด็ ประวัติเล่าต่อกนั มาว่า ครั้ง หน่ึ ง พ ร ะ บาท สม เด็ จพ ร ะ เจ้ าอ ยู่ หั วภู มิ พ ลอ ดุ ลย เด ช เสด็ จท างเฮ ลิ คอ ป เต อ ร์ผ่ าน ย อ ด ด อ ย น้ี แล้ ว ทอดพระเนตรลงมาเห็นหลังคาบ้านคนอยู่กันเป็นหมู่บ้าน จึงมีพระดำรัสส่ังให้เครื่องลงจอด เม่ือเสด็จ พระราชดำเนินลงมาทอดพระเนตรเห็นทุ่งดอกฝิ่นและหมู่บ้านตรงนั้นก็คอื หมูบ่ ้านของชาวเขาเผา่ มูเซอ ซ่ึงในสมัยนน้ั ยงั ไว้แกละถักเปียยาว แต่งกายดำ สะพายดาบ ทำการปลกู ฝิน่ แต่ยังยากจน ท้ังยงั ทำลาย ทรัพยากรป่าไม้ ตน้ น้ำลำธาร ท่ีเป็นแหล่งสำคัญต่อระบบนิเวศน์ ซึ่งจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อส่วน อื่นๆของประเทศได้ พระองค์มีพระราชดำรัสท่ีจะเป็นแปลงทุ่งฝิ่นให้เป็นแปลงเกษตรจึงทรงมี พระราชดำริวา่ พื้นที่มีภูมิอากาศท่ีหนาวเย็น มีการปลกู ฝน่ิ มาก ไมม่ ีปา่ ไม้อยู่เลย และสภาพพืน้ ทไี่ ม่ลาด ชนั นกั ประกอบกับพระองค์ทรงทราบวา่ ชาวเขาได้เงนิ จากฝ่ินเท่ากับทไี่ ด้จากการปลกู ทอ้ พนื้ เมือง และ ทรงทราบว่าสถานีทดลองไม้ผลเมืองหนาวของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ทดลองวิธตี ิดตา ต่อก่ิงกับ ท้อฝรั่ง จงึ สละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จำนวน 1,500 บาท เพ่ือซ้ือที่ดินและไร่ในบริเวณดอยอ่าง ขางสว่ นหนง่ึ จากน้ันทรงโปรดเกล้าฯ ตัง้ โครงการหลวงข้ึนเป็นโครงการส่วนพระองค์ เมื่อ พ.ศ. 2512 โดย ทรงแต่งตั้งให้ หม่อมเจ้า ภีศเดช รชั นี เป็นผู้สนองพระบรมราชโองการในตำแหน่งมลู นธิ ิโครงการหลวง ใช้เป็นสถานีวจิ ัยและทดลองปลูกพืชเมืองหนาวชนดิ ต่างๆไม่ว่าจะเปน็ ผลไม้ ผัก ไมด้ อกเมืองหนาว เพ่ือ เป็นตัวอย่างแก่เกษตรกรชาวเขา ในการนำพืชเหล่านี้มาเพาะปลูกเป็นอาชีพ ซ่ึงตอ่ มาพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ ัวฯไดพ้ ระราชทานนามวา่ “สถานเี กษตรหลวงอ่างขาง”

6 “อ่างขางในอดีตวันน้ันสวยมากด้วยดอกฝิ่นและภูมิประเทศ เราได้เห็นดอกท้อ แอปเปิลป่า และทราบว่าอากาศหนาวมากเราได้คุยกับผู้ที่ไปต้ังร้านขายของ ซื้อฝ่ินเขาข้ึนมาอีกทางหนึ่ง ห่างจาก ค่ายทหารจนี โดยทช่ี าวเขาส่วนมากอพยพไปที่อน่ื อ่างขางจึงมที ี่เหลือให้หญ้าคาข้ึนยู่มาก ดว้ ยเหตุนี้จึง โปรดเกล้าฯให้ต้ังสถานีเกษตรหลวงอ่างขางข้ึนเมื่อ 30 ปีมาน้ี สถานีหลวงดอยอ่างขางได้ทำวิจัยได้ ” ม.จ. ภีสเดช รชั นี กลา่ ว โดยคำวา่ “อ่างขาง” ภาษาเหนือหมายถงึ อ่างรูปสี่เหล่ียมตามลักษณะของดอยอ่างขาง ซ่งึ เป็น ดอยท่ีมีรูปร่างของหุบเขายาวล้อมรอบประมาณ 5 กิโลเมตร กว้าง 3 กิโลเมตร ตรงกลางของอ่างขาง เดิมเป็นภูเขาสูงเช่นเดียวกับบริเวณโดยรอบ แต่เนื่องจากเป็นภูเขาหินปูนเม่ือถูกน้ำฝนชะก็จะค่อยๆ ละลายเป็นโพรงแล้วยุบตัวลงกลายเป็นแอ่ง มีพ้ืนท่ีราบความกว้างไม่เกิน 200 เมตร ซ่ึงเป็นท่ีตั้งของ สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง มีโครงการวิจัยผลไม้ ไม้ดอกเมืองหนาว งานสาธิตพืชไร่ พืชน้ำมัน โดยมุ่งท่ีจะผลิตผลท่ีมีคุณค่าพอที่จะทดแทนการปลูกฝ่ินของชาวเขาและทำการส่งเสริมพัฒนาอาชีพ เกษตรกรรมแก่ชาวเขาในบริเวณที่ใกล้เคียง ปัจจุบันดอยอ่างขางได้เปลี่ยนสภาพจากภูเขาท่ีถูกตัดไม้ ทำลายป่ามาเป็นพืน้ ที่อดุ มสมบูรณ์ มีพนั ธุ์ไม้ผลไมเ้ มอื งหนาวกว่า 12 ชนดิ ไดแ้ ก่ ท้อ บว๊ ย สตรอว์เบอร์ รี สาล่ี ราสเบอร่ี พลับ กีวี ลูกไหน เป็นต้น ผักเมืองหนาวกว่า 60 ชนิด เช่น แครอท ผักสลัดต่างๆ ฯลฯ และไม้ดอกเมืองหนาวมากกว่า 20 ชนิด เช่น คารเ์ นชั่น กุหลาบ แอสเตอร์ เบญจามาศ ฯลฯ จำหน่าย ผลติ ผลตามฤดูกาลทป่ี ลูกในโครงการให้แกน่ ักท่องเทีย่ วตามฤดูกาล สำหรับบนดอยอ่างขางมีชาวไทยภูเขาเผ่าจีนฮ่อ ไทยใหญ่ มูเซอดำ และปะหล่อง อาศัยอยู่ โดยรอบกว่า 600 ครัวเรือนใน 6 หมู่บ้าน ส่วนสภาพอากาศจะเย็นสบายตลอดท้ังปี อุณหภูมิเฉลี่ย ประมาณ 16.9 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะในช่วงเดือนธันวาคม – มกราคม อากาศเย็นจนน้ำค้าง กลายเป็นน้ำค้างแข็ง นักท่องเที่ยวจึงควรเตรียมเคร่ืองกันหนาวมาให้พร้อม เช่น หมวก ถุงมือ ถุงเท้า เสื้อกนั หนาว เม่อื ปี พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช เสด็จพระราชดำเนิน ไปทอดพระเนตรชวี ิตของชาวเขาที่บ้านดอยปุยใกล้พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ จึงทรงทราบว่าชาวเขา ปลกู ฝ่นิ แตย่ ากจน รับสงั่ ถามว่านอกจากฝนิ่ ขายแลว้ เขามีรายได้จากพืชชนิดอน่ื อกี หรอื เปล่า ทำให้ทรง ทราบวา่ นอกจากฝิน่ แลว้ เขายังเก็บทอ้ พนื้ เมืองขาย แมว้ ่าลูกจะเลก็ ก็ตาม แต่ก็ยงั ไดเ้ งินเท่าๆ กันโดยท่ี ทรงทราบวา่ สถานีทดลองดอยปุยซ่ึงเป็นสถานีทดลองไม้ผลเมืองหนาวของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไดน้ ำก่งิ พันธทุ์ อ้ ลกู ใหญม่ าต่อกับตน้ ตอท้อพืน้ เมืองได้ จึงใหค้ ้นควา้ หาพันธท์ุ อ้ ที่เหมาะสมสำหรับบา้ นเรา เพ่ือให้ได้ท้อผลใหญ่หวานฉ่ำ ที่ทำรายได้สูงไม่แพ้ฝิ่น โดยพระราชทานเงนิ จำนวน 200,000 บาท ให้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำหรับจัดหาที่ดินดำเนินงานวิจัยไม้ผลเมืองหนาวเพ่ิมเติมจากสถานีวิจัย ดอยปุยซ่ึงมีพ้ืนทค่ี ับแคบ ซ่ึงเรียกพ้ืนท่ีนี้วา่ สวนสองแสนต่อมาทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ต้งั โครงการ

7 หลวงขึน้ เมื่อ พ.ศ. 2512 เริ่มตน้ เปน็ โครงการสว่ นพระองค์ โดยมีหม่อมเจ้าภศี เดช รชั นี เป็นผรู้ บั สนอง พระบรมราชโองการในตำแหนง่ ผู้อำนวยการ มีชือ่ เรียกในระยะแรกว่า “โครงการหลวงพระบรมราชานุ เคราะห์ชาวเขา” โดยพระราชทานพระราชทรัพย์สว่ นพระองค์รวมกับเงินที่มีผู้ทูลเกล้าฯ ถวาย สำหรับ เปน็ งบประมาณดำเนินงานต่างๆ และพระราชทานมเี ปา้ หมายสำหรบั การดำเนินงาน คอื • ช่วยชาวเขา • ช่วยชาวไทยโดยลดการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ คือ ป่าไมแ้ ละตน้ น้ำลำธาร • กำจดั การปลูกฝนิ่ • รักษาดนิ และใช้พน้ื ท่ีให้ถูกต้อง คือ ใหป้ า่ อยูส่ ว่ นทีเ่ ป็นป่า และทำไร่ ทำสวน ในส่วนที่ ควรเพาะปลูก อย่าสองสว่ นน้ีรกุ ล้ำซึง่ กันและกนั การดำเนินงานต่างๆ ของโครงการหลวง มีอาสาสมัครจากมหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่างๆ ส่วน ใหญ่เป็นนักวิชาการด้านต่างๆ ช่วยดำเนินงานถวาย ทำให้การปฏิบัติงานก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ผลงานวิจยั การปลกู พืชเมืองหนาวชนิดตา่ งๆ เกษตรกรสามารถนำไปปลกู ทดแทนฝ่ิน ได้ผลดี พ.ศ. 2537 โครงการควบคมุ ยาเสพติดของสหประชาชาติ (UNDCP) ได้ทลู เกลา้ ฯ ถวายเหรยี ญ ทองเพื่อสดุดพี ระเกียรติคุณในการแก้ปัญหายาเสพติด โดยสง่ เสรมิ ให้ชาวเขาเลกิ ปลูกฝิ่น แต่ปลูกพืชอ่ืน แทน จงึ กล่าวไดว้ า่ โครงการหลวงเปน็ โครงการปลูกพชื ทดแทนฝนิ่ แห่งแรกของโลก 2. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เป็นสถานดี ำเนนิ งานวิจัยหลกั ของโครงการวจิ ยั ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะงานวิจัยไม้ผลเขตหนาว และงานวิจยั ปา่ ไม้ และงานเกษตรที่สงู 2. เปน็ สถานที่ ฝึกอบรม และเผยแพรผ่ ลงานแกเ่ จ้าหน้าท่แี ละเกษตรกร 3. ดำเนินการส่งเสรมิ และพฒั นาอาชีพ แก่เกษตรกรชาวเขาในหมู่บ้านรอบ ๆ สถานฯี 3. เป้าหมายของโครงการ ปัจจุบันสถานีเกษตรหลวงอ่างขางเป็นสถานีวิจัยรวบรวมคัดเลือกและปรับปรุงพันธ์ุพืชเขต หนาวชนิดต่างๆนอกจากนีย้ งั มีงานผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิตจากแปลงสาธิตการเพาะปลูกพืชชนิด ต่างๆภายในสถานีฯการพัฒนาและส่งเสรมิ อาชพี แก่เกษตรกรชาวไทยภูเขาในการเพาะปลูกพชื ภายใต้ ระบบมาตรฐานอาหารปลอดภัยต่างๆอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ มาตรฐานระบบการเพาะปลูกที่ดี(GAP) รวมทั้งมาตรฐานเกษตรอินทรยี ์(Organic Thailand)จากกรมวชิ าการเกษตร จากสำนักงานมาตรฐาน เกษตรอินทรีย์(มกท.)สร้างรายได้ท่ีมั่นคงและความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้นแก่เกษตรกรนอกจากน้ียังส่ งเสริม

8 กระบวนการมีส่วนรวมในการฟื้นฟูอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่งเสริม การปลูกป่า ชาวบ้านตามแนวพระราชดำรปิ ่า 3 อย่างประโยชน์4 อย่าง การปลูกหญ้าแฝกเพื่อลดการพังทลายของ ดนิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเข้มแข็งของคนและชมุ ชน การพัฒนาสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม ให้แก่ชุมชนชาวเขา การอนุรักษ์และฟ้ืนฟูหัตถกรรมชนเผ่า รวมไปถึงการรวมกลุ่มจัดตั้งสหกรณ์ การเก ษ ตรแ ละ กิจก รรม กลุ่ มอ อม ท รัพ ย์ต ลอ ดจน เป็ น ศู น ย์ เรียน รู้ด้ านก ารเก ษ ตรท่ี สู งแก่นั ก เรีย น นักศกึ ษา เกษตรกร และผูส้ นใจท่วั ไป 4. พน้ื ท่ีของโครงการ โดยทั่วไปเป็นแอ่งรปู ร่างคล้ายกระทะประกอบด้วยเขาหนิ ปูนและเขาหินดนิ ดานมคี วามลาด ชนั ยอดเขาท่ีสงู ท่ีสุดของเทือกเขาอ่างขางสูงประมาณ 1,920 เมตร พ้ืนที่ราบบริเวณที่ต้ังของสถานีสูง 1,400 เมตร สภาพอากาศหนาวเย็นตลอดทั้งปี ครอบคลุมพื้นท่ีกว่า 20,213 ไร่ อุณหภูมิเฉลี่ย 17.7 องศาเซลเซียส ประชากร ชาวไทยภูเขาเผ่าลาหู่ (มเู ซอดา) จีนยนู าน ไทยใหญ่ และดาราอ้ัง จำนวน 9 หมู่บา้ น จำนวนกวา่ 6,551 คน อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,400 เมตร มีพื้นท่ีที่ใช้ทำการเกษตรในงานวิจัย ประมาณ 1,989 ไร่ มีหมู่บ้านชาวเขาท่ีทางสถานีฯ ให้การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ รวม 9 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านหลวง บ้านคุ้ม บ้านนอแล บ้านปางม้า บ้านป่าคา บ้านขอบด้ง บ้านผาแดง บ้านสินชัย และ บา้ นถำ้ ง๊อบ ซ่ึงประกอบไปด้วยประชากร จำนวน 4 เผ่า อันได้แก่ ไทยใหญ่ มูเซอดำ ปะหล่อง และ จีน ยูนนาน ต้ังอยู่ในท้องที่อำเภอฝาง ที่กม. 25+500 ทางหลวงหมายเลข 1249 ห่างจากเชียงใหม่ ประมาณ 160 กม. เป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีโดดเด่นของจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ในเขตพ้ืนที่ตำบลแม่งอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ อยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ไปทางทิศเหนือ 137 กม. แยกซ้ายเข้าไปอีก 25 กม. ดอยอ่างขางเป็นเทือกดอยสูงติดกบั สันเขาพรมแดนประเทศพม่า จดุ เด่นท่ีนกั ท่องเท่ียวไปเยือน ดอยอ่างขางคือการไปเที่ยวชมดอกไม้เมอื งหนาวภายในโครงการหลวงอ่างขาง สถานีเกษตรหลวงดอย อ่างขางได้รบั การจัดตั้งเม่อื ปี 2512 ตามแนวพระราชดำรใิ นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เพ่ือวิจยั พืช เมืองหนาวเพ่ือส่งเสริมใหช้ าวเขาปลูกทดแทนฝิ่นและหยดุ การทำลายปา่ ดอยอ่างขางมลี ักษณะเป็นแอง่ ที่ ราบในหุบเขาลักษณะเหมือนท้องกระทะหรือเหมือนอ่างอยู่ท่ีระดับความสูงประมาณ 1,400 เมตร ภายในโครงการมสี ถานท่นี ่าสนใจได้แก่ แปลงทดลองปลูกพืชผลไม้เมืองหนาว ได้แก่ สวนบ๊วย สวนท้อ สตรอวเ์ บอร์รี กีว่ี พลับ สาล่ี ภายในโครงการหลวงมแี หล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ได้แก่ สวนแปดสิบ เรือน ดอกไม้ โรงเรือนกหุ ลาบ แปลงผักซากุระ ปา่ เมเปิล พระตำหนักอา่ งขาง สวนบอนไซ

9 รปู ท่ี 4.1 ภาพของสถานอี า่ งขาง 5. แนวทางการบริหารงาน แนวทางการดำเนนิ งานของโครงการหลวงสนองตามพระราชดำริที่วา่ “ช่วยชาวเขาให้ช่วย ตนเองในการปลูกพืชที่มีประโยชน์ และมีมาตรฐานความเป็นอยู่ดีข้ึน” ปัจจัยสำคัญประการหนึ่งมสี ่วน ช่วยให้มูลนธิ ฯิ สามารถพฒั นาการปลกู พืชชนิดตา่ ง ๆ ซ่งึ เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อมท่ีหนาวเยน็ ไดก้ ็ คือ ความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างอาจารย์ นักวิชาการสาขาต่างๆ และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานใน ภาคสนาม การปฏิบัติงานทดลองค้นคว้าในเรื่องใด ๆ ท่มี งุ่ สนองความต้องการของตลาดเป็นสำคัญ และ ผลงานวิจัยเหล่านั้นจะถูกถ่ายทอดไปสู่เจ้าหน้าท่ีสนาม รวมไปถึงเกษตรกรอย่างฉับพลัน ทุกเดือน นักวิจัย นักวิชาการ และเจ้าหน้าท่ีสนามจะพบปะแลกเปล่ียนความคิดเห็น เพื่อร่วมวางแผนการ ปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน และท่ีสำคัญคือเพ่ือให้งานวิจัยต่างๆเกิดประโยชน์แก่ เกษตรกรมากทสี่ ดุ หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ทรงกล่าวถึงการดำเนินงานที่ครบวงจร โดยได้นิพนธไ์ ว้ในหนังสือ “ประพาสต้นบนดอย” ดังนี้ “ในระยะแรก ถึงแม้เราจะไม่มีพืชใหมๆ่ มาสง่ เสริมให้ปลูกตามดอยกันมากนกั กต็ าม เราก็ พยายามเอาผลการวิจัยมาใชใ้ ห้เปน็ ประโยชน์ โดยทำส่ิงทีค่ วรทำใหค้ รบถ้วนตามขั้นตอน ซ่ึงการกระทำ เช่นนีเ้ รียกกนั ว่า “ครบวงจร”คือ

10 วงแรก คือ การสำรวจดนิ และน้ำ วงที่สอง คือ การปลูกป่าในที่ที่ควรเป็นป่า ส่วนที่เหมาะแก่การเกษตรก็ต้องทำ ข้ันบนั ไดทำทางระบายน้ำ ปลูกหญ้าแฝก ส่ิงที่ตอ้ งจัดการต่อไปในวงเดียวกนั คือการชลประทาน ซึ่งบน ดอยมักขาดแคลนนำ้ นอกจากนีเ้ รอ่ื งพนื้ ฐานท่ีตอ้ งดำเนินการตอ่ ในวงน้คี ือ การคมนาคม วงท่ีสาม คือ การวจิ ัย ซ่ึงจะหยุดไม่ได้ ต้องทำอย่างตอ่ เนื่อง อันได้แก่การวิจยั พืช เมืองหนาวทุกชนิด เน่ืองจากวิธีการปลูกพืชเมืองหนาวเหลา่ นั้นเป็นเรือ่ งท่ีใหมส่ ำหรบั เราคนไทย วงท่ีส่ี คือ การส่งเสริมนำผลงานวิจัยไปให้เกษตรกร รวมถึงการอารกั ขาพืช การ พฒั นาคน และการสาธารณสขุ เพื่อ “ช่วยเขาช่วยตัวเอง” วงสุดทา้ ย คอื การขนส่ง การคัดบรรจุ การเก็บรักษา และการจำหน่าย สถานีวิจัยของโครงการหลวง เนน้ การศกึ ษาวิจัยการปลูกพืชเมืองหนาวชนิดตา่ ง ๆ รวมทง้ั การศกึ ษาเล้ียงสตั วท์ ี่เหมาะสมกับพ้ืนทส่ี ูง ตลอดจนเปน็ สถานท่ใี หก้ ารอบรมและถา่ ยทอดความรู้แก่ เจา้ หนา้ ท่ีและเกษตรกรในดา้ นต่างๆ ประกอบดว้ ยสถานวี ิจัย 4 แห่ง ไดแ้ ก่ • สถานเี กษตรหลวงอา่ งขาง อำเภอฝาง จังหวัดเชยี งใหม่ • สถานเี กษตรหลวงอนิ ทนนท์ อำเภอจอมทอง จงั หวัดเชียงใหม่ • สถานีเกษตรหลวงปางดะ อำเภอสะเมงิ จงั หวดั เชยี งใหม่ • สถานีวิจัยโครงการหลวงแมห่ ลอด อำเภอแมแ่ ตง จงั หวดั เชียงใหม่ 6. กิจกรรมจากโครงการ จดุ เรียนรู้ของสถานีเกษตรหลวงอ่างขางจุดเรยี นรู้ภายในสถานี แปลงสาธติ การปลกู พืชเขต หนาว ได้แก่ - โรงเรือนรวบรวมพนั ธ์ผุ ักเมืองหนาว - แปลงวิจัยไม้ผล (สาล่ี, สตรอว์เบอร์รี, กวี ฟี รุต, พลบั ฯลฯ) - แปลงสาธติ ไม้ดอก (เรือนไม้ดอก, สวน ๘o, สวนหอม, แปลงสาธติ ไมด้ อกกลางแจ้ง, สวน กหุ ลาบองั กฤษ, เรอื นวจิ ัยกุหลาบตัดดอก) - สวนบอนไซ - งานอารักขาพชื - งานผลติ ปุ๋ยหมกั และ ผลิตเหด็ พ๊อตโตเบลโล่ - งานพชื ไร่ - งานปา่ ไม้ และ ศูนยส์ าธติ การใชไ้ ม้ - งานขยายพนั ธุ์พชื

11 เสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติเส้นทางเดินในแปลงปลูกป่าของสถานีฯ อ่างขางซงึ่ เป็นไม้ท่นี ำเข้ามา จาก ประเทศไต้หวัน ระยะทางโดยเฉลย่ี 45 นาที – 1.30 ชม. ปนั่ จักรยานชมธรรมชาติ สถานฯี อ่างขางมีบรกิ ารจักรยานเช่าติดต่อได้ที่สโมสรอ่างขาง ปั่น ชมแปลงเกษตรภายในสถานี ข่ีฬ่อชมธรรมชาติ สถานีเกษตรหลวงอ่างขางมีการจัดกลุ่มชาวบ้านนำฬ่อมาให้บริการแก่ นกั ท่องเทย่ี วไดข้ ี่ชมสถานท่บี รเิ วณแปลงตา่ งๆ ผสู้ นใจสามารถตดิ ตอ่ เชา่ ขฬี่ อ่ ได้ท่ีสถานีฯ อ่างขาง เส้นทางศึกษาธรรมชาติ เส้นทางเดินในแปลงปลูกป่าของสถานีฯ ซึ่งเป็นไม้ท่ีนำเข้ามาจาก ประเทศไต้หวัน นักท่องเท่ียวสนใจเดินในเส้นทางของสถานีฯ อ่างขาง สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อให้ ขอ้ มลู ก่อนการเท่ยี วชมได้คะ่ การดนู ก ดอยอ่างขางเปน็ สถานทีด่ นู กที่มีนกหลายสายพนั ธ์ุ โดยเฉพาะชว่ งฤดูหนาวที่จะมีน กอพยพหาดูยากมายังบริเวณสถานีฯ อ่างขางรวมถึงพื้นที่บริเวณใกล้เคียง ซึ่งชมรม “ฅนรักษ์นกอ่าง ขาง” โดยสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง มีข้อมูลไว้บรกิ ารสำหรับนักทอ่ งเทยี่ วที่สนใจดูนกทีอ่ า่ งขาง พพิ ิธภัณฑโ์ รงงานหลวงที่ 1 ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านยางระหว่างทางข้นึ อ่างขาง พิพิธภัณฑ์มีชีวิตจัด แสดงนทิ รรศการเรอื่ งราวการก่อตงั้ โครงการหลวง และโรงงานดอยคำ หยดุ ทกุ วนั จันทร์ อุทยานแห่งชาติฟ้าห่มปก มีความสูง 2,285 เมตร เป็นยอดดอยท่ีสูงเป็นอันดับ 2 ของ ประเทศไทย บนยอดดอยจะเห็นทวิ ทศั น์มีจดุ ชมทะเลหมอก พระอาทติ ยย์ ามเข้า และจุดชมววิ อกี ทั้งยัง เปน็ จุดชมพระอาทิตยต์ กท่สี วยงาม ดอยผา้ หม่ ปกมหี มอกปกคลมุ จดั และมอี ากาศหนาวเย็นตลอดท้งั ปี มพี ชื พันธุแ์ ละสตั ว์ปา่ หา ยากและที่น่าสนใจนานาชนิด อาทิ เทียนหาง บวั ทอง ผีเสอ้ื ไกเซอรอ์ มิ พิเรียล ผเี ส้อื มรกตผ้าห่มปก ผีเส้ือ หางต่งิ แววเลือน ผเี ส้อื หางดาบตาลไหม้ นกปรอดหวั โขนกน้ เหลอื ง เป็นต้น รูปที่ 6.1 สวนดอกไมท้ อี่ า่ งขาง

12 7. ผลติ ภัณฑจ์ ากโครงการ ของฝาก ของท่ีระลึกจากโครงการหลวงผลิตภัณฑ์ใต้สญั ลักษณ์ “ดอยคำ” มีทั้งสนิ ค้าแปร รูป ผักสด ผลไม้ปลอดสารพิษ ไม้ดอกเมืองหนาวตามฤดูกาลงานหัตถกรรมผ้าทอหมู่บ้านนอแล เช่น ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล ย่าม ฯลฯหัตถกรรมพ้ืนบ้านหมู่บ้านขอบด้ง เช่น อิบูแค กำไลถักด้วยหญ้านำมา ยอ้ มสีและสานลวดลายของมเู ซอ ปจั จบุ ันโครงการหลวงอ่างขางมีการทดลองและสง่ เสรมิ การปลูกพืชผัก ผลไม้ และไม้ดอก เมืองหนาวอยู่อยา่ งต่อเนื่อง ซง่ึ ที่เห็นกนั อยใู่ นตอนน้ีมไี ม้ผลเมืองหนาวกว่า 10 ชนดิ อาทิ ท้อ บ๊วย สต รอเบอร์รี่ สาลี่ พลับ กีวี เป็นต้น ผักเมืองหนาวกว่า 60 ชนิด เช่น แครอท ผักสลัดต่างๆ ฯลฯ และไม้ ดอกเมอื งหนาวอีกมากมาย เชน่ คาร์เนชน่ั กหุ ลาบ เบญจมาศ นอกจากจะส่งเสรมิ ให้ชาวไทยภูเขาปลูกพืชพนั ธุ์ต่างๆ แล้ว ทางสถานีเกษตรหลวงอา่ งขางยัง รับซ้ือผลผลิตกลับมา เพ่ือนำมาจำหน่ายให้ให้แก่นักท่องเท่ียวตามฤดกู าล และยังมกี ารแปรรูปผลผลิต ตา่ งๆ ให้มีมลู ค่าสูงขึ้น ซง่ึ จะทำให้ชาวไทยภเู ขามรี ายไดเ้ พม่ิ มากข้นึ ไปดว้ ย จากเดิมท่ีดอยอ่างขางเป็นเขาหัวโล้น มีแต่การปลูกฝิ่นหรือทำไร่เล่ือนลอย เมื่อกลายมาเป็น แปลงพืชผักผลไม้เมืองหนาวที่อุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านมีงานทำ มีรายได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ก็มีการ พัฒนาให้ดอยอา่ งขางกลายมาเป็นสถานท่ที ่องเที่ยว ซ่ึงเปน็ การช่วยเพิ่มรายไดอ้ ีกทางหน่ึงใหแ้ ก่ชาวไทย ภเู ขารอบๆ สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง . ไร่ชาและโรงงานชา แปลงชาของโครงการหลวงจะจัดสรรให้ชาวเขาดูแลครวั เรอื นละ 1 ไร่ ดูแลรับผิดชอบเข้ามา เก็บใบชาจำหน่ายให้ทางสถานี สายพนั ธุ์ของชา ต้นชามี 3 สายพันธ์ุ ได้แก่ 1. ชาจีน (Camellia sinensis var. sinensis) มีถ่ินกำเนิดในแถบยูนาน ใช้ทำชาจีน ชาแดง เป็นชนดิ ทสี่ ง่ เสรมิ ให้ปลูก โดยสายพันธทุ์ ่ีปลูกคือ เบอร์ 12 และสายพันธก์ุ ้านออ่ น 2. ชาอสั สัม (Camellia sinensis var. assamica) มถี ่ินกำเนิดในแถบพมา่ ไทย ลาว ศรลี ังกา ใชท้ ำชาดำ ทำเมี่ยง (ใช้ใบท่ไี มแ่ กม่ าก) 3. ชาเขมร (Camellia sinensis var. indo-china) มียอดสีแดงรสฝาด ไม่นิยมนำมาทำเป็น ชาเพื่อด่มื ชาแตล่ ะต้นมีอายุได้มากกว่าร้อยปี ทุกๆ 3-4 ปี จะตดั กิ่งใหเ้ หลือแต่ตอ เรียกวา่ ทำสาว เพอื่ ให้ แตกกิง่ และใบใหม่ รดน้ำจากทอ่ น้ำที่ต่อมาจากลำห้วย การเก็บเกี่ยวชา การผลิตชาของไทยจะเหมือนของจีนและไต้หวัน คือ เก็บชาตั้งแต่ 7.00 น จนถึงไม่เกิน 14.00 น เนื่องจากแสงมีผลตอ่ ผลผลิต ท่ีอา่ งข่างคอ่ นขา้ งมืดเร็วหากเกบ็ สายกวา่ นใี้ บชาจะ ไม่คายน้ำ ไม่สามารถผลิตชาอู่หลงและชาแดงได้ ช่วงเวลาท่ีสามารถเก็บชาคือเดือนมีนาคมถึง พฤศจกิ ายน ช่วงเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธจ์ ะไมม่ กี ารเก็บใบชา เพราะตอ้ งการให้ชาพกั ตัวและในเวลา

13 ดงั กล่าวจะเกิดน้ำค้างแข็ง ไม่เหมาะกับการเก็บใบชา ชาที่เก็บในช่วงเดอื นมีนาคมถึงพฤษภาคมจะมี คุณภาพดที ส่ี ุด เนอ่ื งจากมคี วามชื้นต่ำ ชาท่เี กบ็ ในฤดฝู นจะมีความช้ืนสงู คุณภาพไม่ดี การเก็บจะเก็บ ยอดละ 3 ใบ คอื ใบอ่อน ใบที่สองและสาม ยอดชาต้องไมเ่ ปยี กน้ำ ในการผลติ ชาขาวจะใชแ้ ต่ใบออ่ น สดุ เท่านนั้ ใบชา 5 กโิ ลกรัมผลติ เปน็ ชาได้ 1 กิโลกรมั การแปรรูปชา 1. ชาเบอร์ 12 มรี ปู แบบการแปรรปู 4 แบบ ดังนี้ 1.1) ชาเขยี ว มกี ล่นิ สาหรา่ ย (ตา่ งจากแหลง่ ผลิตอ่นื ท่มี ีกลิ่นขา้ วค่ัว) 1.2) ชาอหู่ ลง มีกลน่ิ ดอกไม้ 1.3) ชาแดงหรือชาดำ มีกล่นิ ผลไม้สุกหรอื กลน่ิ น้ำผึง้ 2. ชาก้านออ่ น ให้ผลผลติ ค่อนข้างนอ้ ยแต่คุณภาพดี ใชผ้ ลติ เฉพาะชาอหู่ ลง กระบวนการผลติ ชา 1. การผ่ึงชา หลังจากเก็บใบชา จะนำไปผึ่งชานาน 10-12 ช่ัวโมง โดยผ่ึงบนผ้า กลางแจ้ง พลิกกลับยอดชาทุก 25-30 นาที ประมาณ 2-3 คร้งั จากน้ันนำไปผึ่งในกระด้งท่ีห้องควบคุม อณุ หภมู ิ 25-27°ซ ความช้นื 70-80% พลิกกลับยอดชา 3 คร้งั ครั้งที่ 1-2 ทุก 2 ชั่วโมง ครั้งท่ี 3 ทกุ 1.5 ชั่วโมง แล้วนำไปเขยา่ เพอื่ ไลก่ ลน่ิ เหมน็ เขียวประมาณ 16 นาที จะไดย้ อดชาที่มกี ลน่ิ หอมเตม็ ที่ 2. การคั่วชา อณุ หภมู ิท่ใี ช้คือ 350-380°ซ นาน 6-7 นาที จนสกุ กรอบเลก็ นอ้ ย 3. การนวดชา นวดในเครือ่ งกระทะคร่ึงวงกลม เพื่อให้ยอดชาฉกี ขาดเล็กนอ้ ยเป็นเกลยี ว เส้นสวยงาม อบแห้ง 1 รอบ จากน้ันนำชาใส่ถงุ นวดชา เข้าเครื่องข้ึนรูปเพือ่ ป้ันเม็ด และนำเข้าเครื่อง นวดอีกตวั เพื่อให้เม็ดชาออกมาสวยงาม นวดนาน 1 วนั นำมาผึ่งในท่ีร่ม โดยข้ันตอนน้จี ะทำซ้ำสลบั ไป มามากกวา่ 30 คร้ัง 4. การอบแห้ง การผลติ ชาเขยี ว ชาอหู่ ลง และชาแดง มีขนั้ ตอนแตกตา่ งกนั ดังน้ี 4.1. ชาเขียว หลังจากเก็บใบชา จะนำมาควั่ (หากเป็นชาเขียวของญ่ีปุ่นจะใช้วิธีน่ึง) จากนน้ั นำไปนวดในกระทะคร่งึ วงกลม แล้วนำไปอบแห้ง 4.2. ชาอู่หลง หลังจากเก็บใบชา จะนำมาผึ่งให้ค่อย ๆ คายน้ำ 10-12 ชั่วโมง จากน้ันนำไปคั่ว (หลังจากผ่ึงแล้วทางโครงการอาจจะไปค่ัวท่ีเวลา 20.00 น.) แล้วนำไปนวดและผึ่ง ทำซ้ำ 30-40 รอบ จากนนั้ นำไปค่ัวจนสกุ ดี ใบชาจะกรอบเล็กนอ้ ย 4.3. ชาแดง หลงั จากเก็บใบชา จะนำไปผง่ึ ให้ค่อย ๆ คายน้ำ หากเก็บเกยี่ วชาวันนี้ พรุ่งน้เี ช้าจึงจะนำมานวดให้เซลล์แตก (เพ่ือใหม้ ีสี กลิน่ และรสทีด่ ีเม่ือชง) จากนั้นนำไปผ่ึงอีก 1 วัน รวม เปน็ 3 วนั เพอื่ ให้เกดิ การหมกั เต็มท่ี จากน้ันนำไปอบแห้ง

14 รปู ที่ 7.1 การลา้ งชา รปู ท่ี 7.2 การคัดแยกชา

15 รปู ที่ 7.3 อบแห้งชา รปู ที่ 7.4 บรรจใุ ส่ห่อ โรงงานสมนุ ไพร มกี ารผลติ ชาสมนุ ไพร 2 ชนดิ คอื ชาเจยี วกหู่ ลาน และชาป่เู ฒา่ ทิ้งไมเ้ ท้า 2.1. ป่เู ฒ่าทิ้งไมเ้ ท้า หรือบัวดอย (Aspidistra elatior วงศ์ Convallariaceae) เป็น พืชล้มลุกมลี ำตน้ ใต้ดิน โตช้า แทงใบในฤดูฝน ชอบแสงรำไรใตร้ ม่ ไม้ใหญ่ สรรพคุณ ภูมิปัญญาชาวเหนือแถบดอยปุย ดอยผ้าห่มปก ดอยอินทนนท์ และ ลำปาง จะนำใบและก้านมาป้ิงไฟแล้วต้มด่ืม ใช้บำรุงกำลัง แก้ปวดหลัง เจ็บเอว กล่าวกันว่าทำให้ผู้ เฒ่าอายุ 80 ปีมภี รรยาสาวได้

16 การเก็บเกี่ยว เก็บใบจากต้นที่อายุ 4 ปี เก็บได้ปีละคร้งเดียวในเดือนกันยายน ใช้วิธีถอนจากต้นเพื่อ กระตุ้นรากให้แตกใบใหมใ่ นปีหน้า หากใช้มีดตดั ปหี น้าจะไมแ่ ทงใบใหม่ออกมา มีดอกอยู่ระดับเดียวกับ พนื้ ดินคล้ายดอกบัวเล็ก ๆ 2.2 เจ่ียวกู่หลาน (Gynostemma pentaphyllum วงศ์ Cucurbitaceae) เป็นไม้ เลอ้ื ย สรรพคุณ ด่ืมวันละครงั้ ลดความดัน หา้ มผู้ปว่ ยความดนั ตำ่ ด่ืม ด่มื แล้วห้ามขับ รถเพราะจะทำใหง้ ว่ งนอน หา้ มผูท้ ี่เป็นไมเกรนด่ืม การเก็บเก่ียว เก็บเกี่ยวได้ 2 ครั้งต่อปี โดยตัดจนเหลือต้นสูงประมาณ 30 เซนตเิ มตร เหนือดิน เพ่ือใหแ้ ตกกงิ่ และใบใหม่ได้ เม่ือเกบ็ เกี่ยวครั้งแรกแลว้ อกี 4 เดอื นจะเก็บเกี่ยวได้ อีกครง้ั รปู ท่ี 7.5 โรงงานสมุนไพร งานส่งเสริมผัก มกี ารส่งเสริมใหเ้ กษตรกรปลูกผักทแ่ี ปลง 2000 ,บ้านนอแล และ บ้านขอบ ดง้ หลากหลายชนดิ ด้วยกัน เชน่ ผกั กาดหางหงส์, คะน้าใบหยกิ , กะหล่ำปลีหวั ใจ คะนา้ ฮ่องกง และ ถัว่ หวาน ฯลฯ งานสง่ เสรมิ ไม้ดอก ได้ใหเ้ กษตรกรปลูกดอกหลายชนดิ ดว้ ยกัน เช่น กุหลาบตดั ดอก (บา้ นนอ แล), เบญจมาศ (บ้านขอบดง้ ), ยคู าลบิ ตัส (บ้านนอแล) และ ไม้กระถางสาธติ (บ้านขอบด้ง) งานสง่ เสริมสตรอเบอรี่ มีการแนะนำเกษตรกรบา้ นขอบดง้ ในการเกบ็ ผลผลิตสตรอเบอรท่ี ่ี ถกู ต้องเพ่ือจำหน่าย และวธิ ีการป้องกนั กำจดั ศัตรูสตรอเบอร่ี รวมถงึ การให้ปุย๋ เปน็ ตน้ งานส่งเสรมิ ไม้ผล สง่ เสริมใหเ้ กษตรกรชาวเขาปลกู บ๊วย, พ้ีช, สาลี่, พลับ, และแนะนำ วิธีการเปลีย่ นพนั ธุ์ ต่อก่งิ การให้ปุ๋ย และ การดแู ลรกั ษา งานส่งเสริมกาแฟ มกี ารส่งเสรมิ ใหป้ ลูกกาแฟพนั ธุ์อาราบกิ า้ ดูแลถึงวิธกี ารใหป้ ยุ๋ การใช้สาร เพือ่ ปอ้ งกันโรคและแมลง

17 งานส่งเสริมพืชไร่ สง่ เสรมิ เกษตรกรให้ปลูกลินนิ และ ปลกู ขา้ วบาร์เลย่ ์ (เพ่ือทำดอกไม้แหง้ ) งานป่าชาวบ้าน สง่ เสรมิ ชาวเขาเผา่ ปะหลอ่ งท่ีเข้ารว่ มโครงการปา่ ชาวบ้านปลกู ป่าพวก พรรณไม้โตเร็วของประเทศไต้หวนั และมีการตัดแตง่ ก่งิ ไมท้ ี่โตแลว้ นำไปใชง้ าน (ทำฟนื ) 8. การเข้าชมกิจกรรมของโครงการ ชมแปลงสาธิต ผัก ผลไม้ และไม้ดอกเมืองหนาวภายในศูนย์ฯ สามารถขับรถวนเป็นวงกลม คา่ เข้าชมคนละ 30 บาท ยานพาหนะคันละ 50 บาท ชมสวนบอนไซ อยู่ในบริเวณสถานีฯ เป็นแหลง่ รวบรวมพันธ์ุไม้เขตอบอุ่นและเขตหนาวท้ังใน และต่างประเทศ ปลูก ดัด แต่ง โดยใช้เทคนิคบอนไซ สวยงามน่าชม และในบริเวณเดียวกันก็มีสวน สมุนไพรด้วยฤดทู ่องเทยี่ วอยู่ ระหวา่ งเดอื นพฤศจิกายน-มกราคม เยี่ยมหมู่บ้านหลวง สัมผัสชีวิตชาวจีนฮอ่ ชาวหมู่บ้านหลวงเป็นชาวจีน ยูนานที่อพยพมาจาก ประเทศจีนในสมยั สงครามโลกคร้ังที่ 2 และประกอบอาชีพด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก อาทิ ปลูกผัก ผลไม้ เชน่ พลัม ลกู ท้อ และสาลี่ เยี่ยมหมู่บ้านนอแล สัมผัสวิถีชีวิตชาวปะหล่อง อดีตชนเผ่าด้ังเดิมของพม่า มีผลิตภัณฑ์ หตั ถกรรมของกลุ่มแม่บ้าน จำหนา่ ยและเยีย่ มฐานปฏบิ ัตกิ ารนอแล ชมชายแดนไทย-พม่า ต้งั อย่บู รเิ วณ ชายแดนไทย - พม่า แต่เดิมคนกลุ่มน้ีอยู่ในพม่าและพึ่งอพยพมาท่ีนี่ได้ประมาณ 15 ปี คนท่ีนี่เป็น ชาวเขาเผา่ ปะหลอ่ งเชื้อสายพม่า ซึ่งมีภาษาและวัฒนธรรมเปน็ ของตนเอง นบั ถือศาสนาพุทธ ทุกวันพระ ผู้คนที่น่ีหยุดอยู่บ้านถือศีล จากหมู่บ้านนี้สามารถมองเห็นทิวทัศน์สวยงามของธรรมชาติ บริเวณ พรมแดนไทย-พมา่ เที่ยวบ้านขอบด้ง สัมผัสวิถีชีวิตชาวเขาเผ่ามเู ซอ มีมัคคุเทศก์นอ้ ยพาเยี่ยมชมภายในหมู่บ้าน เป็นที่ท่ีชาวเขาเผ่า มูเซอดำและเผ่ามูเซอแดงอาศัยอยู่ร่วมกัน คนที่น่ีนับถือผี มีวัฒนธรรมและความ เป็นอยู่อย่างเรียบง่าย หมู่บ้านแห่งนี้ได้รับการส่งเสริมจากโครงการหลวงในด้านการเกษตร และด้าน หัตถกรรมพ้ืนบ้าน (เช่น อาบูแค เป็นกำไลถักด้วยหญ้าไข่เหามีสีสันและลวดลายในแบบของมูเซอ) บริเวณหน้าหมู่บ้านจะมีการจำลองบ้านและวิถีชีวิตของ ชาวมูเซอ โดยชาวบ้าน ครู และนักเรียน โรงเรียนบ้านขอบด้ง ช่วยกันสร้างข้ึนมาเพ่ือให้ผู้ที่สนใจ ได้มีโอกาสเรียนรู้และศึกษาวัฒนธรรมของ หมู่บา้ น โดยท่ีไม่เข้าไปรบกวนความเปน็ สว่ นตวั ของเขามากเกนิ ไป และยังมโี ครงการมัคคุเทศก์นอ้ ย ท่ี อบรมเด็กนักเรียนโรงเรยี นบ้านขอบด้ง เพื่อช่วยอธิบายวิถีชีวิตของพวกเขาใหผ้ ู้มาเยือน ทงั้ นี้ เพ่ือเป็น การปลกู จิตสำนึกและสรา้ งความรักทอ้ งถิน่ ให้เด็ก ๆ ด้วย เที่ยวหมู่บ้านคุม้ ตงั้ อยู่ใกลก้ ับสถานฯี เป็นชมุ ชนเล็ก ๆ ประกอบด้วยผู้อย่อู าศัยหลายเชือ้ ชาติ อยู่รวมกัน อาทิชาวไทยใหญ่ ชาวพม่าและชาวจีนฮ่อ ซึ่งได้ตั้งถ่ินฐานอยู่ในบริเวณน้ี และเปิดร้านค้า บริการแก่นกั ทอ่ งเทยี่ ว

18 เดินป่าศึกษาธรรมชาติระยะสั้น ประมาณ 2 กิโลเมตร จะได้ชมความงามธรรมชาตขิ องผืนป่า ปลกู ทดแทน น้ำตกเลก็ ๆ และกหุ ลาบพันปี ขจ่ี กั รยานเสอื ภูเขาชมธรรมชาติ จากบ้านคุ้มไปยังบ้านนอแล และจากบ้านหลวงไปยังบา้ นผา แดง กิจกรรมดูนก ท่ีมีทั้งนกประจำถ่ินและนกหายากต่างถ่ินให้ศึกษาหลากสายพันธุ์ มากกว่า 1,000 สายพันธุ์ จุดทเี่ หมาะคอื สถานีปา่ แมเ่ ผอะและบรเิ วณรอบๆ รีสอร์ทธรรมชาติอา่ งขาง ข่ีฬอ่ ล่องไพร ชมความงดงามของธรรมชาติ ในบรรยากาศเย็นสบายรอบ ๆ ดอยอา่ งขาง ดว้ ย การน่ังบนหลังฬ่อ (การนั่งบนหลังฬ่อตอ้ งน่ังหนั ข้าง เน่ืองจากอานกว้างไม่สามารถน่ังคร่อมอยา่ งการขี่ ม้าได้) หากสนใจกิจกรรมนต้ี ้องตดิ ต่อกบั รีสอร์ทลว่ งหน้าอย่านอ้ ย 1 วัน เพราะปกติชาวบ้านจะนำฬอ่ ไป เป็นพาหนะขนผลติ ผลทางการเกษตรด้วย จดุ ชมวิว-จุดกว่ิ ลมชนิด เปน็ ลานชมพระอาทิตย์ขึ้น-ตกดนิ และสัมผสั ทัศนียภาพของถนนทาง ขึน้ ดอยอ่างขาง อยู่ทางด้านซ้ายมือก่อนถึงทางแยก ซง่ึ จะไปหมู่บ้านปะหล่องนอแลทางหนึง่ และบ้าน มูเซอขอบด้งทางหน่ึง สามารถชมววิ ได้ทั้งพระอาทิตย์ข้ึนและตก หรอื ทะเลหมอก มองเห็นทิวเขารอบ ดา้ น และหากฟ้าเปิดจะมองเหน็ สถานีเกษตรหลวงอ่างขางดว้ ย 9. ติดตอ่ สอบถามเพ่มิ เติม สถานีเกษตรหลวงอา่ งขาง หมู่ 5 ต.แมง่ อน อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ 50320 โทร. 053-969476-8 แฟก็ ซ์. 053-969475 อเี มล: [email protected] ท่อี ยู่ : หมู่ 5 ตำบลแม่งอน อำเภอฝาง จงั หวัดเชียงใหม่ พกิ ดั : https://goo.gl/maps/EXRPKz948SFog1QR6 เปิดใหเ้ ข้าชม : 08.00-18.00 โทร : 0-5396-9476-8 10. สรุป สถานีเกษตรหลวงอ่างขางเป็นสถานีวิจัยแห่งแรกของโครงการหลวง เร่ิมด าเนินงานเม่ือ พ.ศ. 2512 ท่ีตำบลแม่งอนอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิ พลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จ านวน 1,500 บาท ซื้อ ท่ีดินในบริเวณดอยอ่างขางเป็นสถานีวิจัย ศึกษาทดลองพืชเขตหนาวชนิดต่าง ๆเพ่ือเป็นตัวอย่างแก่ เกษตรกรชาวเขาในการนำพืชเหล่าน้ีมาเพาะปลูกเป็นอาชีพแทนการปลูกฝ่ิน โดยทั่วไปเป็นแอ่งรูปร่าง คล้ายกระทะ ประกอบด้วยเขาหินปูนและเขาหนิ ดินดานมคี วามลาดชัน ยอดเขาทีส่ ูงที่สุดของเทือกเขา อา่ งขางสงู ประมาณ 1,920 เมตร พน้ื ท่รี าบบริเวณท่ตี ง้ั ของสถานสี งู 1,400 เมตร สภาพอากาศหนาวเยน็

19 ตลอดทั้งปี ครอบคลุมพ้ืนท่ีกว่า 20,213 ไร่ ผลผลิตหลัก ได้แก่ พีช พลับ บ๊วย กีวฟี รุต อาโวคาโด สต รอวเ์ บอร์รกี าแฟอาราบิก้า ชาจีน ผกั อนิ ทรยี ์ กหุ ลาบ แคลลา่ ลลิ ล่ี ไมก้ ระถาง เห็ดพ๊อตโตเบลโล

20 บรรณานกุ รม

21 บรรณานุกรม http://www.tsdf.nida.ac.th/th/royally-initiated-projects/10096 https://royalprojectthailand.com/sites/default/files/AngKhang-Thai_2.pdf https://thai.tourismthailand.org/Attraction/%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0 http://chiangmai3.doh.go.th/chiangmai3/content/page/page/32154 https://www.royalprojectthailand.com/business_process http://www.rdpb.go.th/TH/Recommend/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B https://travel.trueid.net/detail/DZaV8EbWPOX http://www.pharmacy.su.ac.th/pg/activity/2561/seminar2561/Ang_khang/ang_khang.htm https://sites.google.com/site/doyangkang/kickrrm-bn-dxy-xang-khang

22 ภาคผนวก แบบประเมิน

23


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook