Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

Published by newpengwichai, 2019-08-31 02:28:43

Description: รวมเล่มSAR61

Keywords: SAR

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ วิทยาลยั สารพัดชา่ งสมุทรปราการ อาชีวศกึ ษาจังหวดั สมทุ รปราการ สังกดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

คานา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ การประกันคุณภาพ การศึกษา หมายความถึง การประเมนิ ผลและการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับ โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบบริหาร คุณภาพสถานศึกษาจัดข้ึนเพื่อให้เกิดการพัฒนา และ สร้างความเช่ือม่ันให้แก่ผู้มีส่วน เก่ียวข้อง และ สาธารณชน ได้ทราบถึงความสามารถในการจัดการศึกษาได้อย่างมี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และ บรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือ หน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษา มีหน้าท่ีในการให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ และ แนะนา สถานศึกษา เพ่อื ใหก้ ารประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างตอ่ เนอื่ ง การประกาศของกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่อื ง มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ในการจัดการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาด้านอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และ การฝึกอบรมวิชาชีพ ดงั ต่อไปนี้ คือ มาตรฐานการอาชีวศึกษา ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน ๙ ประเด็นประเมิน ด้านการอาชีวศึกษาซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบท่ีสาคัญ ๖ ส่วน คือ บทสรุปผู้บริหาร ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา มาตรฐานการการศึกษาของสถานศึกษา ผลการประเมิน คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ผลการปฏิบัติงานท่ีเป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) สรุปแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา และ ภาคผนวก ผลจากการจัดการศึกษาในปีการศึกษา ๒๕๖๑ ภาพรวมจากการประเมินตนเอง พบว่า วิทยาลัยสารพัดช่างสมุทรปราการ สามารถจัดการศึกษาได้ตามมาตรฐาน อาชวี ศึกษาทีก่ าหนดซึ่งเปน็ นโยบายท่ีสาคัญของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา งานประกนั คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา วทิ ยาลยั สารพัดชา่ งสมุทรปราการ พฤษภาคม ๒๕๖๑

คาชี้แจง คาช้แี จง้ ของรายงานผลการประเมนิ ตนเองควรประกอบดว้ ยสาระทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ ๑. บทสรปุ สาหรับผ้บู รหิ าร ๒. ข้อมลู พนื้ ฐานของสถานศึกษา ๓. มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ๔. ผลการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๕. ผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาตามเกณฑก์ ารประเมินคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาอาชีวศกึ ษา ๖. แผนพัฒนาเพ่ือยกระดบั คุณภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา

สารบัญ คานา คาช้ีแจง สารบัญ สว่ นท่ี ๑. บทสรปุ สาหรบั ผู้บริหาร ส่วนที่ ๒. ขอ้ มูลพ้นื ฐานของสถานศึกษา สว่ นที่ ๓. มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา สว่ นท่ี ๔. ผลการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ส่วนท่ี ๕. ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามเกณฑ์การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษ ๓๙ ของสถานศึกษาอาชวี ศึกษา สว่ นท่ี ๖. แผนพฒั นาเพือ่ ยกระดับคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ภาคผนวก ก. แนวทางการเขียนบทสรปุ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ข. รางวัลทส่ี ถานศกึ ษา ครู บคุ ลากร และผูเ้ รียนได้รบั ค. เอกสาร หลกั ฐาน ที่ใชอ้ า้ งอิง

ส่วนท่ี ๑ บทสรปุ สาหรบั ผู้บริหาร ๑. การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ตารางที่ ๑ สรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ สรุปผลระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม ตารางท่ี ๒ ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ สรปุ ผลระดบั คุณภาพ ยอดเยีย่ ม

๑.๒ จดุ เด่น ๑. วิทยาลัยฯ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษา ซ่ึงเป็นผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานภายนอก โดยมีสว่ นรว่ มในการพฒั นาวทิ ยาลัยฯใหม้ ีประสิทธิภาพเปน็ ที่ยอมรบั แกช่ มุ ชน ๒. วิทยาลยั ฯ มีการแตง่ ตั้งคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา โดยมีส่วนร่วมในการพัฒนาวิทยาลัยฯ ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพเปน็ ท่ยี อมรบั แก่ชุมชน ๓. วทิ ยาลัยฯ มกี ารติดตามและให้บุคลากรทกุ คน มสี ่วนรว่ มในการพฒั นาสถานศึกษา โดยการเสนอ โครงการพฒั นาแกค่ ณะกรรมการพิจารณาบรรจุลงในแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ทกุ ปงี บประมาณ ๔. วทิ ยาลยั ฯ มกี ารจดั ทารายงานการประเมนิ ตนเอง และเขา้ รบั การประเมินจากหน่วยงานต้นสังกัด เปน็ ประจา และนาผลการประเมนิ มาจัดทาแผนพฒั นาปรับปรงุ ต่อไป ๑.๓ จดุ ทค่ี วรพัฒนา (การปฏิบตั ิของสถานศึกษาไม่เป็นระบบ ตามกระบวนการประกันคุณภาพภายใน การอาชีวศึกษา ท่สี ่งผลใหไ้ มบ่ รรลุผลตามเป้าหมายทก่ี าหนด) -วทิ ยาลยั ฯควรมกี ารจดั ใหค้ รูไดร้ บั การนเิ ทศการสอน และมีการพัฒนารายวชิ าตาม กระบวนการประกันคณุ ภาพกาหนด -วิทยาลัยฯควรมีการจดั กิจกรรมให้แก่นกั เรียนเพือ่ เปน็ การสง่ เสรมิ พฤตกิ รรมดา้ นตา่ ง ๆ เพมิ่ มากขึน้ -วทิ ยาลยั ฯควรมีการส่งเสรมิ ให้นกั เรียน นกั ศึกษานาผลงานสิ่งประดิษฐ์ทีน่ กั เรียนไดท้ า ในรปู แบบของวิชาโครงการไปทดลองใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อไป -วิทยาลัยฯควรมรี ะบบจัดเก็บเอกสาร/ร่องรอย และมผี ู้รับผดิ ชอบในการเกบ็ รักษา โดยเฉพาะ เพ่อื เปน็ การเตรียมความพรอ้ มการประเมนิ ในด้านตา่ ง ๆ ๑.๔ ข้อเสนอแนะหรอื แนวทางการพฒั นาสถานศึกษา (การดาเนินงานเพือ่ แก้ไขปญั หาหรอื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ตามกระบวนการประกนั คุณภาพภายในการอาชวี ศกึ ษา) ๑. ในการติดตามนักเรียน – นักศึกษาในการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพอิสระหรือได้งานทาควร ตดิ ตามใหไ้ ด้ขอ้ มลู ตอบกลบั ใหม้ ากข้ึน ๒. ควรสนบั สนุนใหค้ รูและบุคลากรใชง้ บประมาณด้านการพัฒนานวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ์ให้มาก ยง่ิ ขน้ึ ๓. กาหนดให้ผู้เรียนมีสว่ นรว่ มในการพฒั นา ดแู ลรกั ษาสภาพสงิ่ แวดล้อม แบ่งเขตพน้ื ท่รี บั ผดิ ชอบ ๔. ควรให้มกี ารคดั เลือกสถานประกอบการที่มศี ักยภาพ ในการจดั การศึกษาอยา่ งมคี ุณภาพ ๕. สถานศึกษาควรจัดให้มกี ารพัฒนาครูทุกคน ด้านการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา และมี การบันทึกหลังการสอน โดยพัฒนาปรับปรุงให้ดีย่ิงข้ึน เพ่ือให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการ ของสถานประกอบการ ๖. สารวจข้อมลู ความตอ้ งการในการพัฒนาให้ครบทกุ สาขาวิชา ๗. สนบั สนุนครูผูส้ อนให้จัดทาเอกสารประกอบการศึกษา ๘. จัดซื้อ จัดหาสื่อการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น เพ่ือสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนให้มี ประสิทธภิ าพสงู สดุ ๙. สถานศึกษาควรมีการสง่ เสริม สนบั สนุนให้มีการจัดกิจกรรมอยา่ งตอ่ เนอื่ งและสม่าเสมอ ๒. การสร้างความเชอื่ ม่นั ให้แก่ผูม้ สี ว่ นเก่ียวขอ้ งและสถานประกอบการ

วทิ ยาลยั สารพดั ชา่ งสมุทรปราการ ได้รบั คัดเลอื กเป็นสถานศึกษารางวัลพระราชทาน ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ และมีการพัฒนาเพอ่ื เกิดความนา่ เช่อื ถอื ต่อสถานประกอบการและชุมชน ดงั น้ี ๑. วิทยาลัยฯมีการแต่งต้ังคณะกรรมการสถานศึกษา ซ่ึงเป็นผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานภายนอก โดยมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาวทิ ยาลยั ฯ ใหม้ ีประสิทธิภาพเปน็ ท่ยี อมรับ แกช่ มุ ชน ๒. วทิ ยาลยั ฯ มกี ารแต่งต้งั คณะกรรมการบริหารสถานศกึ ษา โดยมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาวิทยาลัยฯ ให้มปี ระสทิ ธภิ าพเป็นที่ยอมรับแก่ชมุ ชน ๓. วทิ ยาลัยฯมีการติดตามและให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา โดยการเสนอ โครงการพัฒนาแก่คณะกรรมการพิจารณาบรรจลุ งในแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ทุกปงี บประมาณ ๔. วิทยาลยั ฯมกี ารจดั ทารายงานการประเมนิ ตนเอง และเข้ารับการประเมนิ จากหน่วยงานต้นสังกัด เปน็ ประจา และนาผลการประเมนิ มาจดั ทาแผนพฒั นาปรับปรงุ ต่อไป ๕. วิทยาลัยสารพัดช่างสมุทรปราการ ได้มีการทาข้อตกลงทาความร่วมมือด้านการเรียนการสอน แบบทวิภาคีกบั สถานประกอบการ ๑๐๐ เปอร์เซนต์ ๖. วทิ ยาลยั สารพัดชา่ งสมทุ รปราการ ได้ทาความรว่ มมอื กบั สถานประกอบ ๗. วทิ ยาลัยสารพดั ชา่ งสมุทรปราการ มีการจัดการเรยี นการสอนทีต่ รงตามหลกั สตู ร ๓. การจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษาท่บี รรลุเป้าประสงคข์ องหนว่ ยงานตน้ สังกดั วิทยาลัยสารพัดช่างสมุทรปราการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนอาชีวศึกษาตามวัตถุประสงค์ของ หลักสูตรเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กาหนด โดยในปีการศึกษา ๒๕๖๑ จดั การเรยี นการสอนใน ๓ หลักสตู ร ไดแ้ ก่ ๑. หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) ๒. หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) ๓. หลกั สูตรวิชาชพี ระยะสั้น ๔. การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาทเ่ี ป็นแบบอยา่ งที่ดี (Best Practice) การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาท่เี ป็นแบบอยา่ งทดี่ ี (Best Practice) ไดแ้ ก่ วิทยาลัยสารพัดช่างสมุทรปราการ มุ่งเน้นการจัดการศึกษาระดับอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพเพ่ือ พัฒนาศักยภาพของบุคคลให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณธรรมในวิชาชีพ และมีความสามารถใน การเรียนรู้ตลอดชีวิต มีวิสัยทัศน์ในการทางานที่ดารงชีพด้วยตนเองและครอบครัว เพ่ิมคุณภาพผลผลิต โดยรวมของประเทศ โดยการจัดการศึกษาท่ีหลากหลายให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถ่ิน ตลาดแรงงานตลอดจนให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และสามารถที่จะปรับปรุงและ พัฒนาการจัดการศึกษาใหพ้ ร้อมทจ่ี ะเข้าสูม่ าตรฐานสากลได้ โดยมีผลสมั ฤทธิท์ ี่เกิดขึ้นดังต่อไปน้ี ช่ือโครงการ การแขง่ ขันทักษะพ้ืนฐานระยะสั้น ซึ่งวิทยาลัยสารพัดช่างสมุทรปราการ ได้เข้าเป็นตัวแทน การแขง่ ขนั ทกั ษะวิชาชพี ทักษะวิชาชีพระยะส้ัน ระดับภาคภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ ๓๐ ประจาปี การศึกษา ๒๕๖๑ ในทักษะวิชาชีพ ทักษะงานตดิ ตง้ั ทอ่ รอ้ ยสาย ทกั ษะอาหารจานเดียว ทักษะตัดแต่งทรง ผมสไตล์สมัยนิยม(ผมหญิง) และทักษะตัดผมชายสมยั นยิ ม โดยมผี ลการแข่งขันดังนี้ ระดับภาคภาคตะวันออกและกรงุ เทพมหานคร ครัง้ ที่ ๓๐ ๑. สาขาวิชาชีพระยะส้นั ๑.๑ ทักษะตดั ผมชายสมัยนยิ ม ผลการแข่งขันชนะเลศิ เหรียญทอง

๑.๒ ทกั ษะตัดแต่งทรงผมสไตล์สมัยนิยม (ผมหญงิ ) ผลการแขง่ ขันชนะเลศิ เหรียญเงิน ๑.๓ ทักษะอาหารจานเดยี ว ผลการแข่งขันชนะเลศิ เหรยี ญทองแดง ๒. สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากาลัง ๒.๑ ทักษะงานติดตัง้ ไฟฟา้ ทอ่ ร้อยสาย ผลการแข่งขันชนะเลิศ เหรียญทองแดง การแขง่ ขนั ตวั ถงั และสี ระดับชาติ -ทกั ษะงานซอ่ มตัวถังรถยนต์ ผลการแข่งขันรองชนะเลศิ อันดบั ๑ เหรญี เงนิ -ทกั ษะงานซอ่ มสรี ถยนต์ ผลการแข่งขันรองชนะเลศิ อันดบั ๑ เหรียญเงิน ๔.๑ ความเป็นมาและความสาคัญ กิจกรรมองค์การวิชาชีพของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มี วัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมเพ่ือเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ให้แก่สมาชิก ซึ่งเป็น นักเรียน นักศึกษาของสถานศึกษา โดยเน้นการปฏิบัติจริงจนเกิดความชานาญ มีความมั่นในที่จะไป ประกอบอาชีพ รวมทั้งฝกึ ใหส้ มาชกิ ทางานรว่ มกนั โดยส่งเสริมด้านการเป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี และการเป็น พลเมืองที่ดีของสังคมและสถานศึกษาในสังกัดยังคงดาเนินการจัดกิจกรรมองค์การวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง เพราะตระหนกั ถึงประโยชนท์ ีเ่ กิดข้นึ โดยตรงกบั ผู้เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมองคก์ ารวิชาชีพ นโยบายกรม อาชีวศึกษา มุ่งส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษาได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพให้มีคุณลักษณะเป็นคนเก่ง ดี และมีความสขุ จัดใหม้ ีกิจกรรมองคก์ ารวิชาชีพ ได้แก่ องค์การช่างเทคนิคในอนาคตแห่งประเทศไทย และ องค์การนักธุรกิจในอนาคตแห่งประเทศไทย ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมองค์การวิชาชีพตามท่ีสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาไดก้ าหนดเปา้ หมายการพัฒนาสมาชิกให้เปน็ “คนดแี ละมคี วามสุข” เพื่อเป็น การสง่ เสริมและสนับสนนุ ให้นกั เรียนนักศกึ ษามคี ณุ ภาพทางการศกึ ษา ๔.๒ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพ่ือใหน้ ักศกึ ษาผู้เขา้ แข่งขนั ได้พฒั นาทกั ษะฝีมือ ๒. เพอ่ื เป็นตัวแทนระดับภาค ภาคตะวันออกและกรงุ เทพมหานคร ๔.๓ วธิ กี ารดาเนนิ งาน ๔.๕ ผลการดาเนินงาน ๔.๖ ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรม จริยธรรม และพัฒนาตนเองตามกระบวนการเรียน การสอน และ มาตรฐานรายวิชา ผสู้ อนไดป้ รบั ปรุงกิจกรรมการเรียน การสอน ได้ทันต่อเทคโนโลยี นักศึกษา และครูเข้า รว่ มกิจกรรมการแขง่ ขนั ทักษะวชิ าชพี ระดับภาค ไม่น้อยกวา่ ๔ ทกั ษะวิชาชีพ

สว่ นที่ ๒ ข้อมูลพนื้ ฐานของสถานศึกษา ๒.๑ ข้อมูลพ้นื เก่ียวกบั สถานศึกษา ที่อยู่ วทิ ยาลัยสารพดั ช่างสมุทรปราการ เลขที่ ๒๗๔ ถนนสขุ ุมวทิ ตาบลปากนา้ อาเภอเมือง จงั หวดั สมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศพั ท์ สาขาปากน้า ๐๒-๓๙๕๓๙๓๕ สาขาชุมชนเมืองใหม่บางพลี ๐-๒๓๑๕-๑๒๘๘ โทรสาร ๐-๒๓๙๕-๔๐๕๕ โทรสาร ตอ่ ๓๓๐ E-mail [email protected] Website www.spkpoly.ac.th ประวตั ิสถานศึกษา วิทยาลัยสารพดั ชา่ งสมุทรปราการ ก่อตงั้ ขึ้นเมือ่ วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ โดยใชช้ อื่ ว่า “โรงเรยี นสารพดั ชา่ งสมุทรปราการ” ตัง้ อย่บู นที่ดินราชพัสดุ พน้ื ท่รี วม ๔ ไร่ ๔๖ ตารางวา เปดิ ทาการสอนหลักสตู รวิชาชพี ระยะส้นั คร้งั แรกในปกี ารศึกษา ๒๕๒๒ จนถงึ ปัจจบุ นั ดงั นี้ วนั /เดือน/ปี การดาเนินการ ๑ ตลุ าคม ๒๕๒๐ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารประกาศต้งั โรงเรียนสารพดั ชา่ งสมทุ รปราการ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๒๒ สงั กัด/กอง/โรงเรยี น/กรม อาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีอาคารเรยี น เป็นเรอื นไม้ ๒ ชน้ั ๑ หลัง กอ่ สร้างเม่ือปี พ.ศ.๒๔๙๘ ปรบั ปรงุ อาคารสถานท่แี ละเตรียมจดั การเรยี นการสอน มอี าจารยใ์ หญ่ และครู รวม ๙ คน โดยยังไมม่ นี กั การภารโรง ๑๖ กรกฏาคม ๒๕๒๒ เปดิ สอนหลักสูตรวิชาชีพระยะส้นั รนุ่ แรก ๕ แผนกวิชา คอื ช่างยนต์, ชา่ งไฟฟ้า,ช่างตดั เสอื้ ,ช่างเสรมิ สวย และพิมพด์ ีด มนี กั ศึกษาทง้ั หมด ๒๑๗ คน ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ก่อสร้าง อาคารเรียนและปฏบิ ัตกิ าร ๓ ชัน้ (อาคาร ๑ สพุ รรณิการ)์ พื้นท่ีใช้สอย รวม ๓,๔๕๐ ตารางเมตร ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ก่อสร้าง อาคารเรยี นและปฏิบตั กิ าร ๔ ช้ัน (อาคาร ๒ ราชาวด)ี พ้นื ที่ใช้สอย รวม ๒,๒๒๐ ตารางเมตร

๑ ตุลาคม ๒๕๒๘ กระทรวงศึกษาธกิ าร ประกาศต้งั โรงเรียนสารพดั ช่างสมุทรปราการ สาขาราชประชาสมาสยั อาเภอพระประแดง จงั หวดั สมุทรปราการ จดั การเรียน การสอนในอาคารฝกึ งานของโรงเรยี นราชประชาสมาสยั ต่อมาได้โอนไปจดั การศึกษาท่ีวิทยาลัยการอาชพี พระสมุทรเจดีย์ ในปกี ารศึกษา ๒๕๔๒ ปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ก่อสรา้ ง อาคารเรียนและปฏบิ ัติการ ๔ ชนั้ (อาคาร ๓ รสสุคนธ)์ พนื้ ท่ใี ช้สอย รวม ๑,๙๒๐ ตารางเมตร ๑ พฤษภาคม ๒๕๓๐ กระทรวงศึกษาธกิ าร ประกาศตง้ั โรงเรียนสารพัดช่างสมุทรปราการ ปีการศกึ ษา ๒๕๓๒ สาขาชุมชนเมืองใหม่บางพลี ตาบลบางเสาธง อาเภอบางเสาธง จงั หวัดสมุทรปราการ ได้รับการคดั เลอื กเปน็ “สถานศกึ ษาดเี ด่น” ของกรมอาชีวศึกษา ๗ มิถนุ ายน ๒๕๓๔ เปล่ยี นชอ่ื เป็น “วทิ ยาลยั สารพดั ชา่ งสมทุ รปราการ” ปีการศึกษา ๒๕๓๕ ไดร้ บั การคัดเลือกเปน็ “สถานศึกษารบั รางวัลพระราชทาน” ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๓ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๔๓ ก่อสรา้ ง อาคารเรียนและปฏิบัตกิ าร ๕ ช้ัน (อาคาร ๔ นนทรี) พน้ื ทใ่ี ชส้ อย รวม ๒,๔๑๕ ตารางเมตร ได้รบั เกียรติบัตร ผา่ นเกณฑ์การประเมินสถานศกึ ษา จากกรมอาชีวศึกษา ๒๗ กันยายน ๒๕๕๓ ผ่านการรับรองมาตรฐานการศกึ ษา ดา้ นอาชีวศึกษา จากสานกั งาน รบั รองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๓ ไดร้ บั เกียรติบัตร ผ่านการติดตามประเมินการดารงรกั ษาสภาพสถาน ศึกษารางวลั พระราชทาน จากกระทรวงศึกษาธิการ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ผ่านการประเมินรอบสามจากสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน)

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ไดร้ ับรางวัลพระราชทาน ระดบั การศกึ ษาวิชาชพี การจัดการศึกษา วิทยาลัยสารพัดช่างสมุทรปราการ มุ่งเน้นการจัดการศึกษา มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่ สมบรู ณ์ ทั้งทางดา้ นร่างกาย จิตใจ ตลอดจนสามารถดารงชวี ติ อยใู่ นสงั คมไทยไดอ้ ย่างมีความสุข การจดั หลกั สูตรการเรยี นการสอน วิทยาลยั สารพัดชา่ งสมุทรปราการ เปิดสอนดังนี้ ๑. ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) ระบบทวิภาคี สาขางานท่ีเปดิ การจัดการเรียนการสอน รวม ๖ สาขางาน ดังน้ี ๑.๑) สาขางาน ยานยนต์ ๑.๒) สาขางาน เครื่องมอื กล ๑.๓) สาขางาน โครงสร้าง ๑.๔) สาขางาน ไฟฟา้ กาลงั ๑.๕) สาขางาน อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ๑.๖) สาขางาน คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ ๒. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ระบบทวภิ าคี สาขางานที่เปดิ การจัดการเรียนการสอน รวม ๒ สาขางาน ดงั นี้ ๒.๑) สาขางาน ไฟฟ้าควบคมุ ๒.๒) สาขางาน อาหารและโภชนาการ ๓. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) ภาคสมทบ สาขางานที่เปดิ การจดั การเรยี นการสอน รวม ๓ สาขางาน ดงั นี้ ๓.๑) สาขางาน เทคนคิ ยานยนต์ ๓.๒) สาขางาน ไฟฟ้าควบคมุ ๓.๓) สาขางาน การจัดการท่วั ไป ๔. หลกั สูตรวิชาชพี ระยะสน้ั เปิดสอนหลายสาขางาน จดั การเรียนการสอนหลกั สูตรวชิ าชพี ระยะสัน้ หลากหลายสาขางาน ตั้งแต่ ๓๐-๔๕๐ ชวั่ โมง เปิด สอนภาคเรียนละ ๒ รุ่น (๔ รนุ่ /ปกี ารศกึ ษา) ใช้เวลาเรยี นร่นุ ละประมาณ ๕๐ วันทาการ โดยเปิดสอน ๔ ประเภทวิชา รวม ๑๔ แผนกวิชา ดังน้ี ๑) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เปิดสอน ๕ แผนกวิชา ๑.๑) แผนกวิชาช่างยนต์ ๑.๒) แผนกวิชาชา่ งไฟฟ้า ๑.๓) แผนกวชิ าช่างอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ๑.๔) แผนกวิชาชา่ งเครือ่ งทาความเยน็ และปรับอากาศ ๑.๕) แผนกวิชาชา่ งเขียนแบบก่อสร้าง ๒) ประเภทวิชาพาณิชยกรรม เปิดสอน ๒ แผนกวิชา ๒.๑) แผนกวิชาภาษาตา่ งประเทศ (องั กฤษ-จีน)

๒.๒) แผนกวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ๓) ประเภทวิชาคหกรรม เปิดสอน ๔ แผนกวชิ า ๓.๑) แผนกวชิ าอาหาร-ขนม ๓.๒) แผนกวิชาช่างเสอื้ สตรี ๓.๓) แผนกวิชาชา่ งเสือ้ ผ้าอุตสาหกรรม ๓.๔) แผนกวิชาช่างเสรมิ สวยและตัดผม ๔) ประเภทวิชาศลิ ปกรรม เปิดสอน ๑ แผนกวิชา ๔.๑) แผนกวิชาศิลปประดิษฐ์ (งานจดั ดอกไม้สด งานแกะสลกั ผกั ผลไม้) ๔.๒) แผนกวชิ าโหราศาสตร์ (งานพยากรดว้ ยการอา่ นเส้นลายมือ) สภาพชมุ ชน อาเภอเมืองสมุทรปราการ แบ่งพ้ืนที่การปกครองออกเป็น ๑๑ ตาบล ได้แก่ตาบลปากน้า ตาบล แพรกษา ตาบลสาโรงเหนอื ตาบลเทพารักษ์ ตาบลบางเมือง ตาบลบางเมืองใหม่ ตาบลบางปู ตาบลบางปู ใหม่ ตาบลบางโปรง ตาบลบางด้วนและ ตาบลบางเมืองใหม่ อาเภอเมืองสมุทรปราการมีเทศบาล ๒ แห่ง คอื ๑. เทศบาลเมืองสมุทรปราการ ๒. เทศบาลตาบลสาโรงเหนือ ซึง่ วิทยาลยั สารพัดช่างสมุทรปราการอยใู่ กล้กับเทศบาลนครสมทุ รปราการเพียง ๕๐๐ เมตร สภาพเศรษฐกิจ ฐานะความเปน็ อยู่ของประชากรในทอ้ งท่อี าเภอเมอื งสมทุ รปราการสว่ นใหญ่มฐี านะดีมีประมาณร้อย ละ ๔๐ ผมู้ ีรายได้น้อยฐานะทางเศรษฐกจิ คอ่ นข้างต่า มปี ระมาณร้อยละ ๑๐ เท่าน้นั ซง่ึ มักจะเปน็ ผู้ทีไ่ ม่ ขยันขันแข็งในการประกอบอาชพี และพฤติกรรมไมเ่ หมาะสม เล่นการพนัน ดม่ื สรุ า สรา้ งปญั หาให้สังคมแต่ ในภาพรวมแล้วประชากรในเขตอาเภอเมอื งสมุทรปราการ มฐี านะและสภาพความเปน็ อย่ทู สี่ มบูรณอ์ าเภอ หนง่ึ สภาพสังคม ประชากรอาเภอเมืองสมทุ รปราการแต่เดิมประกอบอาชีพทาสวน ทาการประมง แต่ปัจจบุ นั มี โรงงานอุตสาหกรรมอยูใ่ นท้องท่ีนี้เปน็ จานวนมาก ประชากรสามารถเลอื กประกอบอาชพี ตามความต้องการ ของแตล่ ะคนได้ เชน่ การทางานในโรงงานอุสาหกรรม การค้าขาย การประมง การจับปลาโดยใชเ้ รือตงั เก ออกจบั ปลาในทะเล การเล้ยี งสตั ว์ เชน่ กุง้ หอย ปู ปลา การรับราชการและอาชพี ท่วั ไป

๒.๒ แผนภมู กิ ารบรหิ ารของสถานศกึ ษา ๒.๓ ข้อมลู ของสถานศึกษา ตารางที่ ๓ ข้อมูลผู้เรียน ระดับ ปวช. ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ระดบั ชั้น ปกติ ทวภิ าคี ทวศิ กึ ษา รวม ๐ ๑๓๗ ปวช.๑ ๐ ๑๓๗ ๗๓ ๑๙๙ ๑๗ ๑๒๗ ปวช.๒ ๐ ๑๒๖ ๙๐ ๔๖๓ ปวช.๓ ๐ ๑๑๐ ทวภิ าคี รวม ๑๑๓ ๑๑๓ รวม ปวช. ๐ ๓๗๓ ๐ ๐ ๑๑๓ ๑๑๓ ตารางท่ี ๔ ขอ้ มลู ผเู้ รียน ระดบั ปวส. ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ระดบั ช้ัน ปกติ ปวส.๑ ๐ ปวส.๒ ๐ รวม ปวส. ๐ ตารางที่ ๕ ข้อมูลผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐

ระดบั ชัน้ แรกเข้า สาเร็จการศกึ ษา คิดเปน็ ร้อยละ ปวช.๓ ๑๘๙ ๑๒๖ ๖๖.๖๗ ปวส.๒ ๐ ๐ ๐.๐๐ รวม ๑๘๙ ๑๒๖ ๖๖.๖๗ ตารางท่ี ๖ ข้อมูลผู้สาเร็จการศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ คิดเป็นรอ้ ยละ ๕๒.๕๐ ระดบั ชน้ั แรกเขา้ สาเรจ็ การศึกษา ๐.๐๐ ๕๒.๕๐ ปวช.๓ ๑๖๐ ๘๔ ปวส.๒ ๐ ๐ รวม ๑๖๐ ๘๔ ตารางท่ี ๗ ขอ้ มูลบุคลากร ทั้งหมด มีใบประกอบ สอนตรง (คน) วิชาชพี (คน) สาขา(คน) ประเภท ๕ ๕ - ผบู้ รหิ าร/ ผรู้ ับใบอนุญาตผู้จดั การ/ ผูอ้ านวยการ/ รอง ผู้อานวยการ/ ผู้ชว่ ยผอู้ านวยการ ๒๗ ๒๗ ๒๖ ข้าราชการครู/ ครเู อกชนท่ไี ดร้ บั การบรรจ/ุ ผู้ทไ่ี ด้รับการ รบั รอง ๐ - - ข้าราชการพลเรอื น ๘ ๘ ๘ พนักงานราชการครู ๓ - - พนกั งานราชการ(อืน่ ) ๑๖ ๑๑ ๑๕ ครพู ิเศษสอน ๑๙ - - เจา้ หนา้ ท่ี บคุ ลากรอืน่ ๆ (นกั การภารโรง/ ยามรกั ษาการ/ พนักงาน ๑๓ - - ขับรถ/ ฯ) ๕๑ ๔๖ ๔๙ รวม ครู ๙๑ ๔๖ ๔๙ รวมทั้งสนิ้

ตารางท่ี ๘ ขอ้ มูลหลักสูตรการเรยี นการสอน ประเภทวิชา ระดบั ปวช.(สาขาวิชา) ระดับ ปวส.(สาขาวิชา) รวม(สาขาวชิ า) อตุ สาหกรรม ๕ ๑ ๖ พาณชิ ยกรรม ๑ ๐ ๑ ศิลปกรรม ๐ ๐๐ คหกรรม ๐ ๑๑ เกษตรกรรม ๐ ๐๐ ประมง ๐ ๐ ๐ อุตสาหกรรมทอ่ งเทยี่ ว ๐ ๐๐ อุตสาหกรรมสงิ่ ทอ ๐ ๐๐ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ๐ ๐๐ รวมทงั้ ส้นิ ๖ ๒๘ ตารางท่ี ๙ ข้อมลู อาคารสถานที่ จานวน(หลัง) ประเภทอาคาร ๕ ๑ อาคารเรียน ๑ อาคารปฏิบัติการ ๑ อาคารวิทยบริการ ๐ อาคารอเนกประสงค์ ๘ อาคารอ่ืน ๆ รวมทง้ั สน้ิ ตารางท่ี ๑๐ ขอ้ มลู งบประมาณ จานวน(บาท) ประเภทงบประมาณ ๒๗๖๕๕๖๐.๐๐ ๘๑๙๓๓๐๐.๐๐ งบบคุ ลากร ๙๓๐๐๐๐.๐๐ งบดาเนินงาน ๕๒๙๗๒๙๐.๐๐ งบลงทุน ๓๙๒๐๙๐๐.๐๐ งบเงินอดุ หนนุ ๒๑๑๐๗๐๕๐.๐๐ งบรายจา่ ยอน่ื รวมท้งั สน้ิ

๒.๔ ปรชั ญา อตั ลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์ ของสถานศึกษา ปรชั ญา ความรดู้ ี มีฝีมอื ยึดถือคุณธรรม สร้างสรรค์สังคม” อตั ลักษณ์ ความมีวนิ ยั ความพอเพียง จิตอาสา เอกลักษณ์ วิทยาลยั สารพดั ชา่ งสมุทรปราการสถาบนั แหง่ การสรา้ งภูมิปัญญาด้านวชิ าชีพทีห่ ลากหลาย มุ่ง พฒั นาให้ผูเ้ รยี นให้มสี มรรถนะ ไดแ้ ก่ ความรู้ ทกั ษะฝีมือและมพี ฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค์ตรงตามความ ต้องการของสงั คม และสามารถแข่งขันได้ในระดบั สากล ๒.๕ วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ การพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษา วสิ ัยทศั น์ เปน็ สถานศึกษาแห่งการเรยี นรสู้ ร้างภมู ปิ ญั ญาด้านวิชาชีพที่หลากหลาย มงุ่ มั่นพฒั นาผเู้ รียนและผู้ เข้ารบั การฝกึ อบรม ให้สมรรถนะตรงตามความตอ้ งการของสงั คมและสามารถแข่งขนั ไดใ้ นระดับสากล พนั ธกิจ ๑. พฒั นาวทิ ยาลยั ให้เปน็ องคก์ รท่ีทนั สมยั และเป็นทยี่ อมรับของสังคม ๒. ยกระดบั ผ้เู รยี นและผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมใหม้ ีสมรรถนะ สามารถแขง่ ขันไดใ้ นระดบั สากล ๓. สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมือกบั สถานประกอบการ และองค์กรอ่ืน เปา้ ประสงค์ ผสู้ าเรจ็ การศึกษามีสมรรถนะตรงตามความตอ้ งการของสงั คม สามารถสร้างความสาเร็จในชีวิตได้ และอยู่ในสังคมอยา่ งมีความสุข ยุทธศาสตร์ ๑. พัฒนาภูมทิ ศั นใ์ หเ้ ออ้ื ตอ่ การจัดการเรียนรู้ ๒. พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะก้าวทนั การเปลีย่ นแปลง ๓. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มปี ระสิทธภิ าพด้วยเทคโนโลยี ๔. พัฒนาผูเ้ รียนและผูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมใหม้ สี มรรถนะ สามารถแขง่ ขันได้ในระดบั สากล ๕. วจิ ยั และพัฒนาหลักสตู ร นวัตกรรม การจัดกระบวนการเรยี นการสอนอย่างตอ่ เน่ือง ๖. ขยายเครอื ข่ายความรว่ มมอื กบั สถานประกอบการและองค์กรอื่นในการจัดอาชีวศึกษา ๗. ประชาสมั พนั ธก์ ารจัดการอาชีวศึกษาของวทิ ยาลยั ฯ ใหแ้ ก่ประชาชน ชมุ ชน และสงั คมอย่างตอ่ เน่อื ง กลยุทธ์ กลยทุ ธ์ (Strategy) หมายถึง การกาหนดวิธีการดาเนินงานของแตล่ ะพันธกจิ เพื่อให้ประสบ ความสาเร็จตามเปา้ ประสงค์ท่ีกาหนดไว้ วิทยาลัยสารพดั ช่างสมุทรปราการ กาหนดกลยุทธใ์ นแต่ละพนั ธกจิ ไว้ดังนี้ ๑. พัฒนาวิทยาลัยใหเ้ ปน็ องค์กรทท่ี นั สมัยและเป็นที่ยอมรบั ของสังคม

๑.๑ การใช้ส่ือการเรียนการสอนทท่ี ันสมัยและเพียงพอตอ่ จานวนผู้เรยี น ๑.๒ ส่งเสริม สนับสนนุ ให้ทกุ ภาคสว่ นมสี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษาและสนับสนุนทรัพยากรเพือ่ การศกึ ษา ๑.๓ สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือทางการศกึ ษากับองค์กรหรอื หน่วยงานทง้ั ในและต่างประเทศ ๒. ยกระดบั ผ้เู รยี นและผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมให้มีสมรรถนะ สามารถแขง่ ขันไดใ้ นระดับสากล ๒.๑ สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มจากทกุ ภาคสว่ นในการจดั การศึกษา ๒.๒ ยกระดบั ผูเ้ รยี นเขา้ สู่มาตรฐานสากล ๒.๓ เพิ่มประสทิ ธภิ าพบริหารจดั การให้มาตรฐานคุณภาพโดยใชห้ ลักธรรมาภิบาล ๒.๔ เพ่มิ ปรมิ าณผู้เรยี นสายอาชพี ให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศ ๓. สร้างเครือข่ายความรว่ มมือกับสถานประกอบการ และองค์กรวชิ าชีพอ่นื ๆ ๓.๑ สรา้ งเครือข่ายความรว่ มมอื ทางการศึกษากับองค์กรหรอื หน่วยงานทั้งในและต่างประเทศ ๓.๒ สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหท้ ุกภาคส่วนมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษาและสนับสนุนทรัพยากรเพือ่ การศกึ ษา ๓.๓ สง่ เสรมิ และพัฒนาการประกอบอาชีพของนกั เรียน นกั ศึกษา ๒.๖ เกยี รติประวตั ขิ องสถานศึกษา ตารางที่ ๑๑ รางวัลและผลงานของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ รายการ รางวัล ระดบั ใหโ้ ดย สถานศกึ ษารางวลั พระราชทาน ระดับ รางวัลอ่นื จังหวดั สานกั มาตรฐานการอาชีวศึกษาและ วชิ าชีพ ๆ วิชาชพี ตารางที่ ๑๒ รางวัลและผลงานของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๑ รายการ รางวัล ระดับ ใหโ้ ดย ตารางที่ ๑๓ รางวัลและผลงานของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ชื่อ-สกลุ /รายการ รางวลั ระดบั ให้โดย ตารางที่ ๑๔ รางวัลและผลงานของครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ชื่อ-สกุล/รายการ รางวลั ระดับ ให้โดย นายอาภากร จนั ทร์พราน ชนะเลศิ จังหวัด สานักงานคณะกรรมการการ ทักษะการตดิ ตั้งไฟฟ้าดว้ ยท่อร้อยสาย อาชีวศกึ ษา นายระพพี ฒั น์ ศรที ะ ชนะเลศิ จังหวดั สานกั งานคณะกรรมการการ ทกั ษะตดั แตง่ ทรงผมสไตล์แฟชัน่ อาชีวศกึ ษา นางกาญจนา ปนั จันทกึ ชนะเลิศ จังหวัด สานกั งานคณะกรรมการการ ทักษะตัดผมชายสไตล์สมัยนยิ ม อาชีวศึกษา นางสาวสรุ ีพร เจนพทิ ยา ชนะเลิศ จงั หวัด สานกั งานคณะกรรมการการ ทกั ษะอาหารจานเดยี ว อาชีวศกึ ษา

ช่อื -สกลุ /รายการ รางวลั ระดบั ให้โดย นายวรพล ลือเลิศสกลุ ชัย รางวลั อ่ืน ภาคฯ สานักงานคณะกรรมการการ ระบบควบคุมบา้ นอัจฉริยะ ๒ (The Intelligence ๆ อาชีวศึกษา Controller at Home ๒) ตารางท่ี ๑๕ รางวลั และผลงานของผู้เรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ช่ือ-สกลุ /รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายกฤษฎา ชัยคาภา รางวัลอน่ื ๆ จงั หวดั สานกั มาตรฐานการอาชีวศกึ ษาและวชิ าชีพ นกั เรียนรางวลั พระราชทาน ตารางที่ ๑๖ รางวลั และผลงานของผูเ้ รียน ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ช่อื -สกลุ /รายการ รางวลั ระดบั ให้โดย นายชุณหกานต์ องอาจ ชนะเลิศ จงั หวัด สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทักษะการติดตงั้ ไฟฟ้าดว้ ยท่อร้อยสาย นายธเนศ พดั ลือศรี ชนะเลิศ จังหวดั สานกั งานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา ทกั ษะการติดตงั้ ไฟฟ้าด้วยท่อรอ้ ยสาย นายอดิศร มาระศรี ชนะเลิศ จังหวดั สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทักษะการตดิ ต้ังไฟฟา้ ด้วยท่อร้อยสาย นางสาวฤดี โหมดเขยี ว ชนะเลิศ จงั หวดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทกั ษะตัดแต่งทรงผมสไตลแ์ ฟช่ัน (ผมหญิง) นางสาวศริ อิ ร โชติสถติ ชัย ชนะเลศิ จังหวัด สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทกั ษะอาหารจานเดียว นางสาวนัถณษิ ฐภ์ า มณีประดษิ ฐ์ ชนะเลิศ จังหวดั สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทกั ษะอาหารจานเดยี ว นายมณเฑียร ปะศรที ะโก ชนะเลศิ จงั หวดั สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทักษะตดั ผมชายไสตล์สมัยนยิ ม

ส่วนที่ ๓ มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษาของวทิ ยาลัยสารพัดช่างสมทุ รปราการ ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน ๑๐ ประเดน็ ดังนี้ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ลักษณะของผู้สาเร็จการศกึ ษาอาชีวศกึ ษาทพี่ ึงประสงค์ การจดั การอาชีวศกึ ษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้ มี ทักษะและการประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา และมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ประกอบดว้ ยประเด็นการประเมนิ ดังน้ี ๑.๑ ด้านความรู้ ผสู้ าเรจ็ การศึกษาอาชีวศึกษามีความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ตามหลักการ ทฤษฏี และแนวปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาท่ีเรียน หรือทางาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฏี และหรือข้อเท็จจริง เป็นไปตาม มาตรฐานคุณวุฒอิ าชีวศึกษาแต่ละระดบั การศกึ ษา ๑.๒ ดา้ นทักษะและการประยกุ ตใ์ ช้ ผ้สู าเรจ็ การศึกษาอาชวี ศึกษามีทักษะทีจ่ าเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ ทกั ษะวิชาชีพ และทักษะชีวิตเป็นไป ตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และการ ดารงชีวิตอยรู่ ว่ มกับผ้อู ่นื ได้อยา่ งมคี วามสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมสี ขุ ภาวะท่ดี ี ๑.๓ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ ผู้สาเร็จการศึกษาอาชวี ศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี เจตคติและกจิ นสิ ยั ทด่ี ี ภมู ใิ จและรกั ษาเอกลักษณ์ของชาตไิ ทย เคารพกฎหมาย เคารพสทิ ธิของผู้อืน่ มคี วามรบั ผิดชอบตาม บทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ มีจิตสาธารณะ และมีจิตสานกึ รักษส์ ่งิ แวดลอ้ ม มาตรฐานท่ี ๒ การจดั การอาชวี ศกึ ษา สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและจานวนตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะใน การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอย่างมี ประสิทธิภาพ มีความสาเร็จในการดาเนินการตามนโยบายสาคัญของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ี กากับดแู ลสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ยประเด็นการประเมิน ดังนี้ ๒.๑ ด้านหลกั สูตรอาชีวศกึ ษา

สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถาน ประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มวิชาเพ่ิมเติมให้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถาน ประกอบการหรือหน่วยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ๒.๒ ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา สถานศึกษามีครูท่ีมีคุณวุฒิการศึกษาและมีจานวนตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ได้รับการพัฒนาอย่างเป็น ระบบต่อเน่ือง เพือ่ เป็นผู้พร้อมทั้งด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและความเข้มแข็งทางวชิ าการและวชิ าชพี จัดการ เรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทั้งวัยเรียนและวัยทางาน ตาม หลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา ตามระเบียบหรือข้อบังคับเก่ียวกับการจัด การศึกษาและการประเมนิ ผลการเรยี นของแตล่ ะหลักสตู ร สง่ เสรมิ สนับสนนุ กากับ ดูแลให้ครูจัดการเรียน การสอนรายวิชาใหถ้ ูกต้อง ครบถว้ น สมบูรณ์ ๒.๓ ดา้ นการบรหิ ารจัดการ สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานท่ี ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ์ และ งบประมาณของสถานศกึ ษาทมี่ อี ยู่อยา่ งเต็มศักยภาพและมปี ระสิทธิภาพ ๒.๔ ดา้ นการนานโยบายสู่การปฏิบตั ิ สถานศึกษามีความสาเร็จในการดาเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายสาคัญที่ หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน รวมท้ังการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน สถาน ประกอบการและหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ งท้งั ภาครัฐและภาคเอกชน มาตรฐานที่ ๓ การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ สถานศึกษารว่ มมอื กับบุคคล ชุมชน องค์กรตา่ ง ๆ เพ่ือสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ มกี ารจดั ทา นวัตกรรม สง่ิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั ประกอบดว้ ยประเด็นการประเมนิ ดงั นี้ ๓.๑ ดา้ นความรว่ มมอื ในการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ สถานศึกษามกี ารสรา้ งความร่วมมือกบั บุคคล ชุมชน องค์กรตา่ ง ๆ ท้งั ในประเทศและต่างประเทศใน การจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ โดยใชเ้ ทคโนโลยีท่ีเหมาะสม เพือ่ พฒั นาผเู้ รยี นและคนในชุมชนสสู่ งั คมแหง่ การเรยี นรู้

๓.๒ ดา้ นนวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจัย สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดทานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจั ย โดย ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ท่ีสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ไดต้ ามวตั ถุประสงค์ และเผยแพร่ส่สู าธารณชน ๓.๓ ดา้ นการบรกิ ารวิชาชพี แก่ชมุ ชน และสงั คม การบริการวิชาการแก่สังคมเป็นหน่ึงในภารกิจหลักของสถานศึกษา สถานศึกษาพึงให้บริการทาง วิชาการแก่ชุมชน สงัคม และประเทศชาติในรูปแบบต่างๆ ตามความถนัดและในด้านท่ีสถานศึกษามีความ เชี่ยวชาญ การให้บริการทางวิชาการอาจให้เปล่าโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายหรืออาจคิดค่าใช้จ่ายตามความ เหมาะสม โดยให้บริการทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน หน่วยงานอิสระ หน่วยงานสาธารณะชุมชน และ สงั คมโดยกว้าง รูปแบบการให้บรกิ ารทางวชิ าการมีความหลากหลาย

ส่วนที่ ๔ ผลการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ๔.๑ มาตรฐานที่ ๑ คุณลกั ษณะของผ้สู าเร็จการศกึ ษาอาชวี ศึกษาท่ีพึงประสงค์ ๔.๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ ๑) ด้านความรู้ ๑.๑) การดแู ลและแนะแนวผู้เรยี น ๑.๑.๑) เชิงปริมาณ - จานวนผูเ้ รยี นระดบั ปวช. ชน้ั ปที ่ี ๓ แรกเข้า ๑๖๐ คน สาเร็จการศกึ ษา ๘๔ คน - จานวนผเู้ รยี นระดับ ปวส. ชัน้ ปีท่ี ๒ แรกเขา้ ๐ คน สาเร็จการศกึ ษา ๐ คน ๑.๑.๒) เชงิ คุณภาพ ผสู้ าเรจ็ การศึกษา ปวช. คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๕๐% ผู้สาเรจ็ การศกึ ษา ปวส. คดิ เป็นร้อยละ ๐ คิดเป็นผสู้ าเรจ็ การศกึ ษารวม ทั้ง ปวช. คิดเปน็ ร้อยละ ๕๒.๕๐% มีคุณภาพอย่ใู นระดับยอดเยยี่ ม โดยผลผสู้ าเร็จการศึกษา รวม ปวช. ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ มจี านวนผสู้ าเร็จการศกึ ษาลดน้อยลงจากปี การศกึ ษา ๒๕๖๐ คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๔.๑๖ % (ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ร้อยละ ๖๖.๖๖% ) ๑.๑.๓) ผลสะทอ้ น สถานศึกษาได้รับรางวัล ต้นแบบสถานศึกษา จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของ สานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เนื่องจาก สถานศึกษาแก้ปัญหาการออกกลางคันของนักเรียน และสถาน ประกอบการพงึ พอใจต่อผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาทม่ี ีงานทา คา่ เฉลี่ย ๓.๕๑ - ๕.๐๐ คดิ เปน็ ร้อยละ ๕๒.๕๐% ๑.๒) ผู้เรยี นมีสมรรถนะในการเปน็ ผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชพี อสิ ระ ๑.๒.๑) เชงิ ปริมาณ - จานวนผู้เรียนกลุ่มเปา้ หมายที่ผ่านการพัฒนาเป็นผปู้ ระกอบการหรอื การประกอบอาชีพอสิ ระ จานวน ๐ คน - จานวนผเู้ รียนประสบความสาเรจ็ สูก่ ารเป็นผูป้ ระกอบการหรอื การประกอบอาชพี อิสระ จานวน ๐ คน ๑.๒.๒) เชงิ คณุ ภาพ ผู้เรยี นทป่ี ระสบความสาเรจ็ สูก่ ารเป็นผู้ประกอบการหรอื การประกอบอาชีพอิสระ จานวน ๐ คน ๑.๒.๓) ผลสะท้อน ไม่มนี กั เรยี น นักศกึ ษาท่ปี ระสบความสาเร็จสู่การเป็นผปู้ ระกอบอาชพี อสิ ระ

๑.๓) ผลงานของผูเ้ รียนดา้ นนวัตกรรม สงิ่ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื งานวจิ ัย ๑.๓.๑) เชงิ ปรมิ าณ -จานวนผลงาน นวตั กรรม สิง่ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรอื งานวิจยั ระดับอศจ. ในปีการศึกษา ๒๕๖๑ มจี านวนทง้ั สนิ้ ๒๐ ผลงาน -จานวนผลงาน นวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื งานวจิ ัย ระดบั ภาคภาคตะวันออกและ กทม. ในปีการศึกษา ๒๕๖๑ มีจานวนทงั้ ส้นิ ๘ ผลงาน ๑.๓.๒) เชงิ คณุ ภาพ วทิ ยาลยั สารพัดชา่ งมกี ารจดั กิจกรรมประกวดนวตั กรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ และงานวิจัยใน สถานศึกษา ซึ่งมผี ลงานสง่ เขา้ ประกวดจานวน ๒๐ ผลงาน และมีผลงานที่ผ่านการคัดเลือกไปแข่งขันต่อใน ระดบั จังหวัด จานวน ๑๙ ผลงาน และได้รับรางวัล honor aword ระดับภาค จานวน ๑ ผลงาน คอื ผลงานชดุ ควบคมุ บ้านอัจฉริยะ โดยนกั เรยี นแผนกไฟฟ้ากาลัง ๑.๓.๓) ผลสะทอ้ น ได้รบั การยอบรบั จาก สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และสิ่งประดิษฐ์สามารถนาไปใชง้ าน ไดจ้ ริง ๑.๔) ผลการแข่งขนั ทกั ษะวชิ าชพี ๑.๔.๑) เชิงปรมิ าณ -จานวนทักษะที่เข้าประกวดจานวน ๑๒ ทกั ษะ ๑.๔.๒) เชงิ คุณภาพ ๑. ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม ระดับจงั หวัด สาขาวชิ าชา่ งยนต์ -ทักษะงานจักรยานยนต์ ผลการแข่งขันรองชนะเลิศอันดับ ๑ -ทกั ษะเครื่องยนต์เลก็ ผลการแขางขันรองชนะเลิศอันดับ ๒ สาขาวชิ าช่างกลโรงงาน -ทกั ษะงานกลงึ ผลการแข่งขนั รองชนเลศิ อันดับ ๑ สาขาวชิ าช่างไฟฟา้ กาลงั -ทกั ษะการติดตง้ั ไฟฟ้าด้วยท่อไรส้ าย ผลการแข่งขันชะนเลศิ อันดับ ๑ -ทักษะการตดิ ตั้งเครอื่ งปรับอากาศ ผลการแขง่ ขันรองชนะเลศิ อันดับ ๒ สาขาช่างอเิ ล็กทรอนิกส์ -ทกั ษะการประกอบและตรวจซอ่ มเครอ่ื งขยายเสียงเคลื่อนท่ี (Mobile Amplifier) ผลการแข่งขนั รองชนะเลิศอันดบั ๑ สาขาวชิ าเทคนิคคอมพเิ วเตอร์ -ทักษะการประกอบและติดต้ังโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลการแขง่ ขันอศจ.ยกเลิกการแขง่ ขัน สาขาวิชาเทคนคิ โลหะ -ทกั ษะการเช่ือม GTAW&SMAW&GMAW ผลการแข่งขนั รองชนะเลิศอันดับ ๑ ๒. วิชาเทคนคิ พนื้ ฐาน

-ทักษะงานีมอื ผลการแข่งขนั รองชนะเลิศอนั ดับ ๑ ๓. วิชาชีพระยะส้นั -ทักษตดั แต่งทรงผมสไตลแ์ ฟชน่ั (ผมหญิง) ผลการแข่งขนั ชนะเลิศอันดับ ๑ -ทกั ษะการตัดผมชายสมยั นยิ ม ผลการแข่งขนั ชนะเลิศอันดับ ๑ -ทกั ษะอาหารจานเดยี ว ผลการแขง่ ขันชนะเลิศอันดับ ๑ ระดับภาค ๑. สาขาวิชาชพี ระยะส้นั -ทกั ษะตดั ผลชายสมัยนยิ ม ผลการแขง่ ขนั ชนะเลศิ เหรียญทอง -ทกั ษะตัดแตง่ ทรงผมไสตลส์ มยั นิยม (ผมหญงิ ) ผลการแข่งขนั รองชนะเลิศอันดบั ๑ เหรยี ญเงิน -ทกั ษะอาหารจานเดียว ผลการแข่งขนั รางวลั ชเชย เหรียญทองแดง ๒. สาขาวชิ าชา่ งไฟฟ้ากาลัง -ทกั ษะการตดิ ตงั้ ไฟฟ้าดว้ ยท่อไรส้ าย ผลการแขง่ ขันอันดับท่ี ๘ เหรียญทองแดง ๑.๔.๓) ผลสะทอ้ น องคก์ ร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนเกยี่ วขอ้ งใหก้ ารยอมรับ ยกย่องสถานศึกษาในผลงานการ แข่งขนั ทกั ษะวิชาชพี ของผเู้ รียน ๑.๕) ผลการประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ ๑.๕.๑) เชิงปริมาณ -จานวนผ้เู รยี นท่ีผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพรอบแรก จานวน ๑๓๔ คน ๑.๕.๒) เชงิ คณุ ภาพ -ร้อยละของผ้เู รยี นที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพรอบแรก ร้อยละ๙๕.๕% ๑.๕.๓) ผลสะทอ้ น -องคก์ ร หนว่ ยงานภายนอก หรอื ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งให้การยอมรับ ยกยอ่ งสถานศกึ ษาที่ผเู้ รียนมี มาตรฐานวชิ าชพี ๑.๖) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ๑.๖.๑) เชงิ ปรมิ าณ -จานวนผ้เู รียนที่มผี ลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ด้านอาชวี ศึกษา (V-NET) จานวน ๑๓๔ คน ๑.๖.๒) เชิงคุณภาพ -ร้อยละของผเู้ รยี นท่มี ผี ลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ปวช. ร้อยละ ๔๑.๖๓ %

๑.๖.๓) ผลสะท้อน -องค์กร หนว่ ยงานภายนอก หรือผมู้ สี ว่ นเก่ียวขอ้ งใหก้ ารยอมรบั ยกย่องสถานศึกษาท่ีผู้เรียนมผี ล การทดสอบทางการศกึ ษา ระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ๑.๗) การมงี านทาและศกึ ษาตอ่ ของผสู้ าเร็จการศึกษา ๑.๗.๑) เชงิ ปรมิ าณ -จานวนผสู้ าเร็จการศึกษา ปวช. ในปกี ารศึกษาที่ผ่านมามงี านทาในสถานประกอบการ หนว่ ยงาน ภาครฐั และเอกชน ประกอบอาชีพอสิ ระและศึกษาตอ่ -ศกึ ษาตอ่ ระดับปวส. จานวน ๔๑ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๔๘.๒๐% -ศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี จานวน ๘ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๙.๕๒% -ประกอบอาชพี ในสถานประกอบการ จานวน ๙ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๘.๐๙% -ประกอบอาชีพส่วนตวั จานวน ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๕๗% ๑.๗.๒) เชิงคณุ ภาพ -ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษา ปวช. ในปีการศึกษาท่ี ผ่านมา มีงานทาในสถานประกอบการ หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอสิ ระหรือศกึ ษาต่อ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ รอ้ ยละ ๖๖.๖๖% และปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ร้อยละ ๕๒.๕๐% ๑.๗.๓) ผลสะท้อน องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนเก่ียวข้องให้การยอมรับ ยกย่องสถานศึกษาในการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สาเร็จการศึกษา มงี านทาในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพ อสิ ระหรอื ศกึ ษาต่อ ๒) ดา้ นทกั ษะและการประยุกต์ใช้ ๒.๑) การดแู ลและแนะแนวผู้เรยี น ๒.๑.๑) เชงิ ปรมิ าณ - จานวนผเู้ รียนระดับ ปวช. ชั้นปที ี่ ๓ แรกเขา้ ๑๖๐ คน สาเร็จการศกึ ษา ๘๔ คน - จานวนผู้เรียนระดบั ปวส. ช้ันปีที่ ๒ แรกเข้า ๐ คน สาเร็จการศกึ ษา ๐ คน ๒.๑.๒) เชงิ คณุ ภาพ -ผู้สาเร็จการศึกษา ปวช. คดิ เป็นรอ้ ยละ ๕๒.๕๐% -ผู้สาเรจ็ การศึกษา ปวส. คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐ คิดเป็นผู้สาเร็จการศึกษารวม ทั้ง ปวช. คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๕๐% มีคุณภาพอยู่ในระดับพอใช้ โดยผล ผู้สาเร็จการศึกษา รวม ปวช. ปีการศึกษา ๒๕๖๑ มีจานวนผู้สาเร็จการศึกษาลดน้อยลงจาก ปี การศึกษา ๒๕๖๐ คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๑๖ % (ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ร้อยละ ๖๖.๖๖% )

๒.๑.๓) ผลสะท้อน สถานศึกษาได้รับรางวัล ต้นแบบสถานศึกษา จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของ สานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เนอื่ งจาก สถานศึกษาแก้ปัญหาการออกกลางคันของนักเรียน และสถาน ประกอบการพึงพอใจต่อผสู้ าเร็จการศกึ ษาทม่ี ีงานทา ค่าเฉลย่ี ๓.๕๑ -๕.๐๐ คิดเปน็ ร้อยละ ๕๒.๕๐% ๒.๒) ผ้เู รียนมีสมรรถนะในการเปน็ ผู้ประกอบการหรอื การประกอบอาชพี อสิ ระ ๒.๒.๑) เชงิ ปรมิ าณ -จานวนผ้เู รียนกลุ่มเปา้ หมายท่ีผา่ นการพัฒนาเปน็ ผปู้ ระกอบการหรอื การประกอบอาชีพอสิ ระ จานวน ๐ คน -จานวนผูเ้ รียนประสบความสาเร็จสูก่ ารเป็นผู้ประกอบการหรือ การประกอบอาชีพอิสระ จานวน ๐ คน ๒.๒.๒) เชงิ คณุ ภาพ -ผเู้ รียนท่ีประสบความสาเรจ็ สู่การเปน็ ผูป้ ระกอบการหรอื การประกอบอาชพี อสิ ระ จานวน ๐ คน ๒.๒.๓) ผลสะทอ้ น -ไม่มนี ักเรยี น นักศึกษาทีป่ ระสบความสาเร็จสกู่ ารเป็นผู้ประกอบอาชีพอสิ ระ ๒.๓) ผลงานของผู้เรยี นดา้ นนวตั กรรม สิ่งประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื งานวจิ ัย ๒.๓.๑) เชงิ ปรมิ าณ -จานวนผลงาน นวตั กรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื งานวจิ ยั ระดบั จังหวดั (อศจ.) ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ มจี านวนท้ังสน้ิ ๒๐ ผลงาน -จานวนผลงาน นวตั กรรม สงิ่ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรือ งานวจิ ัย ระดับภาคฯ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ มจี านวนทัง้ ส้นิ ๘ ผลงาน ๒.๓.๒) เชิงคณุ ภาพ วิทยาลยั สารพัดชา่ งมีการจดั กจิ กรรมประกวดนวตั กรรม ส่งิ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ และงานวิจัยใน สถานศึกษา ซงึ่ มีผลงานส่งเขา้ ประกวดจานวน ๒๐ ผลงาน และมีผลงานที่ผ่านการคัดเลือกไปแข่งขันต่อใน ระดบั จงั หวดั จานวน ๑๙ ผลงาน และไดร้ ับรางวัล honor Aword ระดบั ภาค จานวน ๑ ผลงาน คือ ผลงานชุดควบคมุ บ้านอจั ฉรยิ ะ โดยนักเรยี นแผนกไฟฟ้ากาลงั ๒.๓.๓) ผลสะทอ้ น ได้รบั การยอบรบั จาก สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และสง่ิ ประดิษฐส์ ามารถนาไปใชง้ าน ได้จริง ๒.๔) ผลการแขง่ ขันทกั ษะวชิ าชพี ๒.๔.๑) เชงิ ปรมิ าณ -จานวนทกั ษะท่ีเขา้ ประกวดจานวน ๑๒ ทักษะ

๒.๔.๒) เชงิ คณุ ภาพ ๑. ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ระดับจังหวัด สาขาวิชาชา่ งยนต์ -ทกั ษะงานจกั รยานยนต์ ผลการแขง่ ขนั รองชนะเลิศอนั ดับ๑ -ทักษะเคร่ืองยนตเ์ ลก็ ผลการแขง่ ขันรองชนะเลศิ อันดบั ๒ สาขาวิชาช่างกลโรงงาน -ทักษะงานกลงึ ผลการแข่งขันรองชนะเลิศอันดับ ๑ สาขาวชิ าช่างไฟฟ้ากาลงั -ทักษะการตดิ ตั้งไฟฟา้ ด้วยท่อไร้สาย ผลการแข่งขันชนะเลิศอนั ดบั ๑ -ทักษะการติดตง้ั เครอื่ งปรับอากาศ ผลการแขง่ ขนั รองชนะเลิศอันดบั ๒ สาขาช่างอเิ ล็กทรอนิกส์ -ทักษะการประกอบและตรวจซ่อมเครอื่ งขยายเสยี งเคลอ่ื นที่ (Mobile Amplifier) ผลการแข่งขนั รองชนเลิศอันดบั ๑ สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ -ทักษะการประกอบและตดิ ตงั้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลการแข่งขนั อศจ.ยกเลกิ การแขง่ ขนั สาขาวชิ าเทคนคิ โลหะ -ทกั ษะการเช่ือม GTAW&SMAW&GMAW ผลการแขง่ ขนั รองชนะเลิศอนั ดับ ๑ ๒. วิชาเทคนคิ พนื้ ฐาน -ทกั ษะงานฝมี อื ผลการแข่งขันรอเลศิ อนั ดับ ๑ ๓. วชิ าชีพระยะสน้ั -ทักษะตัดแต่งทรงผมสไตล์แฟช่นั (ผมหญิง)ผลการแข่งขันชนะเลิศอันดบั ๑ -ทกั ษะการตดั ผมชายสมัยนิยม ผลการแข่งขันชนะเลศิ อันดบั ๑ -ทักษะอาหารจานเดียว ผลการแข่งขันชนะเลิศอันดบั ๑ ระดับภาค ๑. สาขาวิชาชีพระยะสน้ั -ทกั ษะตัดผมชายสมัยนยิ ม ผลการขง่ ขันชนะเลิศ เหรียญทอง -ทกั ษะตดั แตง่ ทรงผมไสตลส์ มัยนยิ ม (ผมหญงิ ) ผลการแข่งขนั รองชนะเลศิ อันดับ ๑ เหรียญเงิน -ทกั ษะอาหารจานเดยี ว ผลการแข่งขันรางวลั ชเชย เหรยี ญทองแดง ๒. สาขาวชิ าชา่ งไฟฟา้ กาลัง -ทักษะการติดต้งั ไฟฟา้ ด้วยท่อไร้สาย ผลการแขง่ ขนั อนั ดับท่ี ๘ เหรยี ญทองแดง ระดับชาติ ๒.๔.๓) ผลสะท้อน องคก์ ร หนว่ ยงานภายนอก หรือผู้มีสว่ นเกยี่ วข้องให้การยอมรับ ยกยอ่ งสถานศกึ ษาในผลงานการ แขง่ ขันทกั ษะวิชาชีพของผู้เรียน ๒.๕) ผลการประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ ๒.๕.๑) เชิงปริมาณ

-จานวนผูเ้ รยี นทผ่ี า่ นการประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี รอบแรก จานวน ๑๓๔ คน ๒.๕.๒) เชงิ คุณภาพ -ร้อยละของผ้เู รยี นทผ่ี ่านการประเมินมาตรฐานวชิ าชพี รอบแรก รอ้ ยละ ๙๕.๕% ๒.๕.๓) ผลสะทอ้ น -องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ งให้การยอมรับ ยกย่องสถานศกึ ษาท่ีผ้เู รียนมี มาตรฐานวชิ าชีพ ๒.๖) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติด้านอาชวี ศกึ ษา (V-NET) ๒.๖.๑) เชงิ ปริมาณ -จานวนผูเ้ รยี นทม่ี ีผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) จานวน ๑๓๔ คน ๒.๖.๒) เชิงคุณภาพ - รอ้ ยละของผเู้ รยี นทม่ี ผี ลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ด้านอาชวี ศกึ ษา (V-NET) ปวช. ร้อยละ ๔๑.๖๓ % ๒.๖.๓) ผลสะท้อน -องคก์ ร หนว่ ยงานภายนอก หรอื ผู้มีส่วนเกย่ี วขอ้ งให้การยอมรับ ยกยอ่ งสถานศกึ ษาที่ผูเ้ รียนมีผล การทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ๒.๗) การมีงานทาและศกึ ษาต่อของผู้สาเรจ็ การศกึ ษา ๒.๗.๑) เชงิ ปรมิ าณ -จานวนผู้สาเร็จการศึกษา ปวช. ในปีการศึกษาท่ีผ่านมา มีงานทาในสถานประกอบการ หน่วยงาน ภาครฐั และเอกชน ประกอบอาชพี อสิ ระและศกึ ษาต่อ -ศกึ ษาตอ่ ระดับปวส. จานวน ๔๑ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๔๘.๒๐% -ศกึ ษาต่อในระดบั ปริญญาตรี จานวน ๘คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙.๕๒% -ประกอบอาชีพในสถานประกอบการ จานวน๙คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๘.๐๙% -ประกอบอาชพี ส่วนตวั จานวน ๓คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๕๗% ๒.๗.๒) เชงิ คุณภาพ ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษา ปวช. ในปีการศึกษาที่ ผ่านมา มีงานทาในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอสิ ระหรือศึกษาต่อ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ รอ้ ยละ๖๖.๖๖% และ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ร้อยละ ๕๒.๕๐% ๒.๗.๓) ผลสะท้อน องคก์ ร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้การยอมรับ ยกย่องสถานศึกษาในการส่งเสริม สนบั สนุนให้ผ้สู าเร็จการศกึ ษา มงี านทาในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพ อิสระหรือศึกษาตอ่

๓) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ ๓.๑) การดูแลและแนะแนวผเู้ รยี น ๓.๑.๑) เชงิ ปริมาณ - จานวนผเู้ รียนระดบั ปวช. ชน้ั ปีที่ ๓ แรกเขา้ ๑๖๐ คน สาเร็จการศกึ ษา ๘๔ คน - จานวนผู้เรยี นระดบั ปวส. ชัน้ ปีที่ ๒ แรกเข้า ๐ คน สาเร็จการศึกษา ๐ คน ๓.๑.๒) เชงิ คณุ ภาพ -ผสู้ าเรจ็ การศึกษา ปวช. คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๕๒.๕๐% -ผ้สู าเรจ็ การศึกษา ปวส. คิดเป็นร้อยละ ๐ -คิดเป็นผ้สู าเรจ็ การศกึ ษารวม ท้งั ปวช. คิดเปน็ ร้อยละ ๕๒.๕๐% มคี ณุ ภาพอยใู่ น ระดบั ยอดเยยี่ ม โดยผลผู้สาเรจ็ การศกึ ษา รวมปวช. ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ มีจานวนผูส้ าเร็จการศึกษาลดน้อยลงจาก ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๔.๑๖ % (ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ร้อยละ ๖๖.๖๖% ) ๓.๑.๓) ผลสะท้อน สถานศึกษาได้รับรางวัล ต้นแบบสถานศึกษา จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของ สานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เนื่องจาก สถานศึกษาแก้ปัญหาการออกกลางคันของนักเรียน และสถาน ประกอบการพงึ พอใจตอ่ ผูส้ าเร็จการศึกษาที่มงี านทา คา่ เฉลย่ี ๓.๕๑ -๕.๐๐ คิดเป็นรอ้ ยละ ๕๒.๕๐% ๓.๒) ผเู้ รียนมีคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ ๓.๒.๑) เชิงปริมาณ -จานวนผู้เรยี นระดบั ปวช.๑-๓ จานวน ๓๗๘ คน ระดบั ปวส. ๑๐ คน รวมทง้ั ส้ิน ๓๘๘ คน -จานวนผ้เู รียนที่มี คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มทพ่ี งึ ประสงค์ ๓๘๘ คน มีผลการประเมนิ ครบทงั้ ๕ ขอ้ ๓.๒.๒) เชิงคณุ ภาพ -มีคณุ ภาพอยู่ในระดบั ยอดเยยี่ ม ๓.๒.๓) ผลสะท้อน -วทิ ยาลยั มกี ิจกรรมฝกึ ใหน้ กั เรียน นักศึกษา มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมีความกล้าแสดงออกทงั้ ดา้ น จติ ใจและพฤติกรรม ๓.๓) ผู้เรยี นมสี มรรถนะในการเปน็ ผ้ปู ระกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ ๓.๓.๑) เชงิ ปริมาณ -จานวนผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายท่ีผา่ นการพัฒนาเปน็ ผปู้ ระกอบการหรือการประกอบอาชพี อสิ ระ จานวน ๐ คน -จานวนผเู้ รียนประสบความสาเร็จสู่การเป็นผู้ประกอบการหรือ การประกอบอาชพี อสิ ระ

จานวน ๐ คน ๓.๒.๒) เชิงคุณภาพ -ผ้เู รียนท่ีประสบความสาเรจ็ สู่การเปน็ ผปู้ ระกอบการหรอื การประกอบอาชพี อสิ ระ จานวน ๐ คน ๓.๒.๓) ผลสะทอ้ น -ไมม่ นี กั เรียน นกั ศกึ ษาที่ประสบความสาเรจ็ สกู่ ารเปน็ ผปู้ ระกอบอาชพี อิสระ ๓.๔) ผลงานของผู้เรยี นดา้ นนวัตกรรม สงิ่ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื งานวิจัย ๓.๔.๑) เชงิ ปรมิ าณ -จานวนผลงาน นวัตกรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรือ งานวจิ ยั ระดับสถานศกึ ษา ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ มจี านวนท้งั สนิ้ ๒๐ ผลงาน -จานวนผลงาน นวตั กรรม สิ่งประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ หรอื งานวจิ ยั ระดับจังหวัด ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ มีจานวนทง้ั สิน้ ๑๙ ผลงาน -จานวนผลงาน นวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื งานวิจยั ระดบั ภาค ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ มีจานวนทงั้ สิ้น ๘ ผลงาน ๓.๔.๒) เชิงคณุ ภาพ วิทยาลัยสารพดั ชา่ งมีการจัดกิจกรรมประกวดนวัตกรรม สงิ่ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ และงานวิจัยใน สถานศกึ ษา ซงึ่ มผี ลงานส่งเข้าประกวดจานวน ๒๐ ผลงาน และมีผลงานท่ีผ่านการคัดเลือกไปแข่งขันต่อใน ระดับจังหวัด จานวน ๑๙ ผลงาน และได้รับรางวัล honor aword ระดับภาค จานวน ๑ ผลงาน คือ ผลงานชดุ ควบคุมบ้านอจั ฉรยิ ะ โดยนกั เรยี นแผนกไฟฟ้ากาลัง ๓.๔.๓) ผลสะทอ้ น ได้รบั การยอบรับจาก สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา และสง่ิ ประดิษฐส์ ามารถนาไปใช้งาน ได้จริง ๓.๕) ผลการแข่งขนั ทกั ษะวชิ าชีพ ๓.๕.๑) เชิงปรมิ าณ จานวนทกั ษะทีเ่ ข้าประกวดจานวน ๑๒ ทักษะ ๓.๕.๒) เชงิ คณุ ภาพ ๑.ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม ระดับจงั หวัด สาขาวชิ าชา่ งยนต์ -ทักษะงานจักรยานยนต์ ผลการแขง่ ขนั รองชนะเลิศอนั ดบั ๑ -ทกั ษะเครือ่ งยนต์เล็ก ผลการแข่งขนั รองชนะเลศิ อนั ดบั ๒ สาขาวชิ าช่างกลโรงงาน -ทักษะงานกลึง ผลการแข่งขันรองชนเลิศอันดบั ๑ สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากาลงั

-ทักษะการติดต้งั ไฟฟ้าดว้ ยทอ่ ไร้สาย ผลการแขง่ ขันชนะเลิศอนั ดับ ๑ -ทักษะการตดิ ต้งั เครอื่ งปรบั อากาศ ผลการแข่งขันรองชนะเลิศอันดบั ๒ สาขาช่างอเิ ลก็ ทรอนิกส์ -ทกั ษะการประกอบและตรวจซ่อมเคร่อื งขยายเสียงเคล่ือนที่ (Mobile Amplifier) ผลการแขง่ ขันรองชนะเลิศอนั ดับ ๑ สาขาวชิ าเทคนิคคอมพิวเตอร์ -ทักษะการประกอบและตดิ ตง้ั โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลการแข่งขันอศจ.ยกเลิกการแขง่ ขนั สาขาวชิ าเทคนคิ โลหะ -ทักษะการเชือ่ ม GTAW&SMAW&GMAW ผลการแข่งขันรองชนะเลิศอนั ดบั ๑ ๒.วชิ าเทคนิคพ้ืนฐาน -ทักษะงานฝมี อื ผลการแข่งขนั รอเลิศอนั ดับ ๑ ๓.วชิ าชพี ระยะส้ัน -ทกั ษตัดแต่งทรงผมสไตล์แฟช่ัน(ผมหญิง) ผลการแข่งขันชนะเลิศอนั ดบั ๑ -ทกั ษะการตดั ผมชายสมัยนิยม ผลการแข่งขันชนะเลศิ อนั ดบั ๑ -ทกั ษะอาหารจานเดียว ผลการแขง่ ขนั ชนะเลิศอันดบั ๑ ระดับภาค ๑.สาขาวชิ าชพี ระยะส้นั -ทกั ษะตดั ผลชายสมยั นยิ ม ผลการแข่งขนั ชนะเลิศ เหรยี ญทอง -ทักษะตัดแตง่ ทรงผมไสตลส์ มัยนิยม (ผมหญงิ ) ผลการแขง่ ขนั รองชนะเลิศอนั ดบั ๑ เหรยี ญเงนิ -ทักษะอาหารจานเดียว ผลการแขง่ ขันรางวลั ชเชย เหรียญทองแดง ๒.สาขาวชาช่างไฟฟ้ากาลงั -ทกั ษะการตดิ ตั้งไฟฟา้ ดว้ ยท่อไร้สาย ผลการแข่งขนั อันดบั ท่ี๘ เหรียญทองแดง ระดบั ชาติ ๓.๕.๓) ผลสะท้อน องค์กร หนว่ ยงานภายนอก หรือผูม้ ีสว่ นเกย่ี วขอ้ งให้การยอมรับ ยกยอ่ งสถานศึกษาในผลงานการ แขง่ ขนั ทักษะวชิ าชพี ของผู้เรียน ๓.๖) ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ๓.๖.๑) เชงิ ปรมิ าณ จานวนผู้เรยี นท่ผี ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชพี รอบแรก จานวน ๑๓๔ คน ๓.๖.๒) เชงิ คุณภาพ ร้อยละของผู้เรยี นท่ีผ่านการประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี รอบแรก รอ้ ยละ๙๕.๕% ๓.๖.๓) ผลสะทอ้ น องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผมู้ ีสว่ นเกยี่ วขอ้ งใหก้ ารยอมรบั ยกยอ่ งสถานศกึ ษาที่ผเู้ รยี นมี มาตรฐานวิชาชพี ๓.๗) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตดิ า้ นอาชีวศกึ ษา (V-NET)

๓.๗.๑) เชิงปรมิ าณ จานวนผู้เรียนทีม่ ผี ลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ด้านอาชวี ศกึ ษา (V-NET) ปวช. จานวน ๑๓๔ คน ๓.๗.๒) เชิงคุณภาพ รอ้ ยละของผ้เู รียนที่มผี ลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ นอาชีวศกึ ษา (V-NET) ปวช. รอ้ ยละ ๔๑.๖๓ % ๓.๗.๓) ผลสะท้อน องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มสี ่วนเกยี่ วข้องให้การยอมรบั ยกย่องสถานศกึ ษาที่ผเู้ รยี นมีผลการ ทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ๓.๘) การมงี านทาและศกึ ษาต่อของผู้สาเร็จการศกึ ษา ๓.๘.๑) เชงิ ปริมาณ -จานวนผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา ปวช.ในปีการศกึ ษาท่ผี า่ นมา มงี านทาในสถานประกอบการ หน่วยงาน ภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอสิ ระและศกึ ษาตอ่ -ศึกษาต่อระดับปวส. จานวน ๔๑ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๔๘.๒๐% -ศกึ ษาต่อในระดบั ปรญิ ญาตรี จานวน ๘ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙.๕๒% -ประกอบอาชพี ในสถานประกอบการ จานวน ๙ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๘.๐๙% -ประกอบอาชีพสว่ นตวั จานวน ๓ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓.๕๗% ๓.๘.๒) เชงิ คณุ ภาพ ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษา ปวช. ในปีการศึกษาท่ี ผ่านมา มีงานทาในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครฐั และเอกชน ประกอบอาชีพอสิ ระหรอื ศกึ ษาต่อ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ร้อยละ๖๖.๖๖% และ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ รอ้ ยละ๕๒.๕๐% ๓.๘.๓) ผลสะทอ้ น องค์กรหน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้การยอมรับ ยกย่องสถานศึกษาในการส่งเสริม สนับสนนุ ให้ผู้สาเรจ็ การศกึ ษา มีงานทาในสถานประกอบการ หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพ อสิ ระหรอื ศกึ ษาต่อ ๔.๑.๒ จดุ เดน่ ๑) จดุ เด่นดา้ นความรู้ นกั เรยี น ทเี่ ข้ารับการสอบ(v-net) สามารถสอบผ่านครบตามจานวนผ้เู รียนทล่ี งทะเบยี น ๒) จุดเดน่ ดา้ นทักษะและการประยุกต์ใช้ จดุ เดน่ ของการพัฒนาคณุ ลกั ษณะของผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาอาชวี ศึกษาที่พึงประสงค์ ด้านทกั ษะและการ ประยุกตใ์ ช้

๓) จุดเดน่ ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ จุดเด่นของการพัฒนาคุณลักษณะของผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ ด้านคุณธรรม จริยธรรมและคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ สถานศึกษาประสบความสาเร็จในระบบดูแลและแนะแนวผู้เรียน สง่ ผลใหม้ ีผสู้ าเรจ็ การศึกษาสูงกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ซ่ึงอยใู่ นระดับคุณภาพยอดเยี่ยม ส่งผลให้ ผู้สาเร็จการศึกษา อาชวี ศึกษามีคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ตามมาตรฐานที่สถานศกึ ษากาหนดด้าน ความรู้ ด้านทักษะและการ ประยุกต์ใช้ และ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ซ่ึงในการดาเนินการระบบดูแล และแนะแนวผู้เรียน ของสถานศึกษา ทาให้ มีผู้สาเร็จการศึกษาสูงขึ้น มีผู้สาเร็จการศึกษามีงานทาหรือ ศึกษาต่อ ร้อยละ ๘๘.๗๗ สถานประกอบการพึงพอใจต่อผู้สาเร็จการศึกษาที่มีงานทา ค่าเฉลี่ย ๓.๕๑ - ๕.๐๐ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๕.๓๕ และได้ทาให้เกดิ นวตั กรรมขน้ึ ใหม่ คือ ระบบดูแลและแนะแนวผู้เรียน แบบ เครอื ข่าย สถานศึกษา สถานประกอบการ บ้าน วัด ชุมชน ๔.๑.๓ จุดท่ีควรพัฒนา -การสง่ เสริมผูเ้ รียน ด้านทักษะภาษา ไดแ้ ก่ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ -การส่งเสรมิ ผ้เู รยี น ดา้ นทักษะการคิด วิเคราะห์ และการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ ๔.๑.๔ ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพฒั นา -ควรปรบั พ้ืนฐานผู้เรียน ดา้ นทักษะภาษาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ ทักษะการคิด วิเคราะห์ และ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยมีเป้าหมายการพัฒนาผู้สาเร็จการศึกษาให้มีผลคะแนนเฉล่ียจากการ ทดสอบทางการศกึ ษาของสถานศกึ ษาสงู กว่าค่าเฉล่ยี ระดบั ชาติ ๔.๒ มาตรฐานท่ี ๒ การจดั การอาชีวศกึ ษา ๔.๒.๑ ผลสมั ฤทธ์ิ ๑) ดา้ นหลักสตู รอาชวี ศกึ ษา ๑.๑) การพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะอยา่ งเป็นระบบ ๑.๑.๑) เชงิ ปรมิ าณ : มีผลการประเมนิ ครบ จานวน ๕ ข้อ ให้เป็นหลกั สูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ ๑.๑.๒) เชิงคุณภาพ : อยใู่ นระดบั ยอดเยย่ี ม ๑.๑.๓) ผลสะทอ้ น : องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนเก่ียวข้องให้การยอมรับ สถานศึกษาในการ พฒั นาหลกั สูตรฐานสมรรถนะอยา่ งเปน็ ระบบ ๑.๒) การพัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะหรอื ปรบั ปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือ กาหนด รายวิชาเพ่มิ เติม ๑.๒.๑) เชงิ ปรมิ าณ : จานวนสาขาวชิ าหรือสาขางานท่ีมีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุง รายวิชา หรือปรบั ปรงุ รายวชิ าเดิม หรอื กาหนดรายวชิ าเพม่ิ เตมิ จานวน ๓ รายวิชา ๑.๒.๒) เชิงคุณภาพ : สาขาวิชาหรือสาขางานท่ีมีการพัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะ หรือปรับปรุง รายวิชา หรือปรับปรงุ รายวชิ าเดมิ หรอื กาหนดรายวชิ าเพ่ิมเตมิ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐% ๑.๒.๓) ผลสะท้อน : องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนเก่ียวข้องให้การยอมรับสถานศึกษาในการ พัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะอยา่ งเป็น ระบบหรือปรับปรงุ รายวชิ า หรอื ปรบั ปรงุ รายวิชาเดิม หรือกาหนด รายวชิ าเพิ่มเตมิ

๑.๓) คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรสู้ ู่การปฏบิ ัติ ๑.๓.๑) เชิงปรมิ าณ : มีผลการประเมินครบ จานวน ๕ ข้อ ๑.๓.๒) เชงิ คุณภาพ : อยใู่ นระดบั ยอดเยี่ยม ๑.๓.๓) ผลสะท้อน : องคก์ ร หน่วยงานภายนอก หรอื ผ้มู สี ว่ นเกีย่ วขอ้ ง ให้การยอมรบั คุณภาพแผนการ จัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ ๑.๔) การจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้สู่การปฏบิ ัตทิ เี่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญและนาไปใช้ใน การจดั การ เรยี นการสอน ๑.๔.๑) เชิงปริมาณ : จานวนครูผสู้ อนท่ีจัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้สูก่ ารปฏิบตั ทิ ี่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ และนาไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอน ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๑ จานวน ๔๘ คน ภาคเรียนที่ ๒/ ๒๕๖๑ จานวน ๔๘ คน ๑.๔.๒) เชงิ คุณภาพ : ร้อยละของครผู สู้ อนทจ่ี ัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สูก่ ารปฏิบัติ ท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั และนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน รอ้ ยละ ๘๘.๘๘ % ๑.๔.๓) ผลสะท้อน : องค์กร หนว่ ยงานภายนอก หรือผมู้ สี ว่ นเกีย่ วขอ้ งใหก้ ารยอมรบั คุณภาพแผนการ จัดการเรยี นรู้สู่การปฏิบัตทิ ี่เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั และนาไปใชเ้ ป็นแบบอย่างในการจดั การเรยี นการสอน ๒) ด้านการจัดการเรยี นการสอนอาชีวศกึ ษา ๒.๑) การจัดการเรยี นการสอน ๒.๑.๑) เชงิ ปริมาณ : ๑. จานวนครผู ้สู อนที่มีคุณวุฒทิ างการศกึ ษาตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน จานวน ๔๘ คน ๒. จานวนครูที่มแี ผนการจัดการเรียนรู้ครบทุกรายวิชาที่สอน จานวน ๔๘ คน ๓. จานวนครูทจ่ี ดั การเรยี นการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียนรู้ดว้ ยเทคนคิ วธิ ีการสอนที่ หลากหลาย จานวน ๔๘ คน ๔. จานวนครูท่ีใช้สอ่ื นวตั กรรม เทคโนโลยีทางการศกึ ษาการเรียนรู้ ในการจดั การเรียนการ สอน และแหลง่ จานวน ๔๘ คน ๕. จานวนครผู ูส้ อนที่ทาวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพจดั การเรียนรูแ้ ละ แก้ปัญหาการจดั การเรียนรู้ จานวน ๔๘ คน ๒.๑.๒) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของครูผูส้ อนทม่ี คี ุณภาพในการจัดการเรยี นการสอน ร้อยละ๘๘.๘๙ % ๒.๑.๓) ผลสะท้อน : องคก์ ร หนว่ ยงานภายนอก หรือผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งให้การยอมรบั ต่อคุณภาพการ จัดการเรยี นการสอนของสถานศึกษา ๒.๒) การบรหิ ารจัดการชนั้ เรยี น ๒.๒.๑) เชงิ ปริมาณ : ๑. จานวนครผู สู้ อนท่ีจดั ทาขอ้ มลู ผูเ้ รยี นเป็นรายบคุ คล จานวน ๔๘ คน ๒. จานวนครูผู้สอนทีม่ ขี ้อมูลสารสนเทศหรอื เอกสารประจาชน้ั เรียน และรายวชิ าเป็นปจั จุบนั จานวน ๔๘ คน

๓. จานวนครผู ู้สอนที่ใชเ้ ทคนิควธิ กี ารบริหารจัดการชน้ั เรยี นใหม้ ี บรรยากาศที่เอือ้ ต่อการเรยี นรู้ จานวน ๔๘ คน ๔. จานวนครผู สู้ อนท่ีใชว้ ิธกี ารเสรมิ แรงให้ผู้เรยี นมคี วามมุ่งม่ันต้งั ใจ ในการเรียน จานวน ๔๘ คน ๕. จานวนครูผสู้ อนที่ดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รียนรายบคุ คลด้านการเรยี น และด้านอน่ื ๆ จานวน ๔๘ คน ๒.๒.๒) เชิงคุณภาพ : รอ้ ยละของครผู สู้ อนที่มีคุณภาพในการบรหิ ารจดั การช้นั เรยี น ร้อยละ ๘๘.๘๙% ๒.๒.๓) ผลสะท้อน : องค์กร หนว่ ยงานภายนอก หรอื ผ้มู สี ่วนเกี่ยวข้องให้การยอมรบั ตอ่ คุณภาพการ บรหิ ารจดั การช้ันเรยี น ๒.๓) การเข้าถึงระบบอนิ เทอรเ์ น็ตความเร็วสูงเพอ่ื การจัดการเรยี นการสอนในช้ันเรยี น ๒.๓.๑) เชิงปรมิ าณ : จานวนห้องเรยี น ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เนต็ ความเร็วสูง ในการจดั การ เรียนการสอน จานวน ๑ ห้อง ๒.๓.๒) เชิงคณุ ภาพ : มีรอ้ ยละ ๑.๖๑ % ๒.๓.๓) ผลสะท้อน : มจี านวนห้องเรยี นเพยี ง๑หอ้ งท่ีมร่ี ะบบอินเทอรเ์ น็ตความเร็วสงู ทาใหไ้ ม่เพียงพอตอ่ การเรียนรู้ ๓) ด้านการบรหิ ารจดั การ ๓.๑) การพฒั นาตนเองและการพัฒนาวชิ าชพี ๓.๑.๑) เชิงปรมิ าณ : ๑. จานวนครผู สู้ อนที่จัดทาแผนพัฒนาตนเองและเขา้ รว่ มการพฒั นาวิชาชีพ จานวน ๔๘ คน ๒. จานวนครูผสู้ อนที่ไดร้ ับการพฒั นาตนเองอย่างนอ้ ย ๑๒ ชวั่ โมงต่อปี จานวน ๕๑ คน ๓. จานวนครผู ู้สอนท่นี าผลจากการพัฒนาตนเองและการพฒั นา วชิ าชีพมาใชใ้ นการจดั การเรียนการ สอน จานวน ๔๘ คน ๔. จานวนครูผู้สอนทีม่ ีผลงานจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวชิ าชีพ จานวน ๔๘ คน ๕. จานวนครูผู้สอนทม่ี นี วตั กรรมจากการพัฒนาตนเองและการ จานวน ๔๘ คน พฒั นาวชิ าชพี ที่ ไดร้ ับการยอมรบั หรอื เผยแพร่ ๓.๑.๒) เชงิ คุณภาพ : ร้อยละของครูผสู้ อนท่ไี ดร้ บั การพัฒนาตนเองและการพฒั นาวชิ าชีพ รอ้ ยละ๙๕.๒๙% ๓.๑.๓) ผลสะท้อน : องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนเก่ียวข้องให้การยอมรับ ต่อสมรรถนะของ ครผู ู้สอน ๓.๒) การบรหิ ารสถานศึกษาแบบมสี ่วนรว่ ม ๓.๒.๑) เชงิ ปริมาณ : มีผลการประเมนิ ครบทัง้ ๕ ขอ้ ๓.๒.๒) เชิงคณุ ภาพ : มคี ณุ ภาพอยู่ในระดบั ยอดเย่ยี ม ๓.๒.๓) ผลสะทอ้ น : ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกคนในวทิ ยาลัยมีสว่ นร่วมในการกาหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาใหเ้ ปน็ ไปตามกาหนด

๓.๓) การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มลู สารสนเทศเพื่อการบริหารจดั การสถานศึกษา ๓.๓.๑) เชิงปริมาณ : มผี ลการประเมินครบท้ัง ๕ ขอ้ ๓.๓.๒) เชงิ คณุ ภาพ : มคี ุณภาพอยู่ในระดับยอดเยยี่ ม ๓.๓.๓) ผลสะทอ้ น : สถานศกึ ษามรี ะบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารจดั การสถานศกึ ษาที่ หลากหลาย ทันสมัย และเปน็ ปัจจุบนั ๓.๔) การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ๓.๔.๑) เชงิ ปรมิ าณ : มีผลการประเมนิ ครบทัง้ ๕ ขัน้ ตอน ๓.๔.๒) เชงิ คุณภาพ : มีคณุ ภาพอย่ใู นระดบั ยอดเยยี่ ม ๓.๔.๓) ผลสะท้อน : องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มสี ่วนเกยี่ วขอ้ งมสี ่วนรว่ มในการ จดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี ๓.๕) การระดมทรพั ยากรเพ่อื การจัดการเรยี นการสอน ๓.๕.๑) เชงิ ปริมาณ : มผี ลการประเมินครบทั้ง ๕ ข้อ ๓.๕.๒) เชงิ คณุ ภาพ : มีคณุ ภาพอยู่ในระดับยอดเยี่ยม ๓.๕.๓) ผลสะทอ้ น : องค์กร หน่วยงานภายนอก หรอื ผู้มสี ่วนเกยี่ วขอ้ งมีส่วนร่วมในการ ระดมทรัพยากร เพ่ือการจดั การเรยี นการสอน ๓.๖) อาคารสถานท่ี ห้องเรียน ห้องปฏิบตั ิการ โรงฝึกงานหรอื งานฟาร์ม ๓.๖.๑) เชิงปริมาณ :มีผลการประเมนิ ครบท้งั ๕ ข้อ ๓.๖.๒) เชงิ คุณภาพ : มคี ุณภาพอยู่ในระดับยอดเย่ียม ๓.๖.๓) ผลสะทอ้ น : สถานศกึ ษามจี านวนหอ้ งเรยี นที่เพยี งพอตอ่ การเรยี นการสอน และมีภูมิทศั น์เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้ ๓.๗) ระบบสาธารณปู โภคพ้นื ฐาน ๓.๗.๑) เชิงปริมาณ : มผี ลการประเมนิ ครบทงั้ ๕ ขอ้ ๓.๗.๒) เชิงคุณภาพ : มีคุณภาพอย่ใู นระดบั ยอดเยี่ยม ๓.๗.๓) ผลสะท้อน : สถานศกึ ษามีระบบสาธารณปู โภคเหมาะสมกบั การใช้งานและเพยี งพอต่อความ ต้องการ ๓.๘) แหลง่ เรยี นรแู้ ละศนู ย์วิทยบรกิ าร ๓.๘.๑) เชิงปริมาณ : มผี ลการประเมนิ ครบทัง้ ๕ ข้อ ๓.๘.๒) เชิงคณุ ภาพ : มีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั ยอดเย่ยี ม ๓.๘.๓) ผลสะทอ้ น : แหล่งเรยี นรแู้ ละศูนย์วทิ ยบริการมสี ภาพแวดลอ้ ท่ีเออื้ ต่อการศึกษา ค้นคว้า ใหก้ ับผู้ท่สี นใจเข้ามาใช้บริการและเพยี งต่อการใช้งาน ๓.๙) ระบบอนิ เทอร์เน็ตความเร็วสงู เพอื่ การใช้งานดา้ นสารสนเทศภายในสถานศึกษา ๓.๙.๑) เชงิ ปรมิ าณ :มผี ลการประเมนิ ครบทง้ั ๕ ข้อ ๓.๙.๒) เชงิ คณุ ภาพ : มคี ุณภาพอยใู่ นระดับยอดเยี่ยม

๓.๙.๓) ผลสะทอ้ น : ระบบอินเทอร์เนต็ ครอบคลุมทกุ พ้ืนทใ่ี นวิทยาลัยฯ ทาใหบ้ ุคคลในวทิ ยาลยั ฯสามารถ ใช้งานได้ ๓.๑๐) การเข้าถงึ ระบบอนิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู เพอ่ื การจดั การเรียนการสอนในช้นั เรยี น ๓.๑๐.๑) เชงิ ปริมาณ : จานวนหอ้ งเรียน หอ้ งปฏบิ ัติการทม่ี รี ะบบอนิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ สูง ในการจัดการ เรยี นการสอน จานวน ๑ หอ้ ง ๓.๑๐.๒) เชงิ คณุ ภาพ :มีรอ้ ยละ ๑.๖๑ % ๓.๑๐.๓) ผลสะท้อน : มีจานวนห้องเรียนเพียง๑ห้องท่มี ี่ระบบอินเทอรเ์ นต็ ความเรว็ สูงทาให้ไมเ่ พียงพอต่อ การเรยี นรู้ ๔) ดา้ นการนานโยบายสูก่ ารปฏบิ ตั ิ ๔.๑) การจดั การอาชีวศึกษาส่รู ะบบทวภิ าคี ๔.๑.๑) เชิงปรมิ าณ : ๑. จานวนครผู สู้ อนท่จี ัดทาแผนพัฒนาตนเองและเขา้ รว่ มการพัฒนาวชิ าชีพ จานวน ๔๘ คน ๒. จานวนครูผสู้ อนทีไ่ ด้รับการพฒั นาตนเองอย่างน้อย ๑๒ ช่ัวโมง ตอ่ ปี จานวน ๕๑ คน ๓. จานวนครูผสู้ อนทีน่ าผลจากการพฒั นาตนเองและการพฒั นา วิชาชพี มาใช้ในการจดั การเรยี น การสอน จานวน ๔๘ คน ๔. จานวนครผู สู้ อนที่มีผลงานจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนา วชิ าชพี จานวน ๔๘ คน ๕. จานวนครผู สู้ อนท่มี นี วตั กรรมจากการพัฒนาตนเองและการพฒั นาวิชาชพี ทไ่ี ดร้ บั การยอมรับ หรือเผยแพร่ จานวน ๔๘ คน ๔.๑.๒) เชิงคุณภาพ : ร้อยละของครูผู้สอนท่ีได้รับการพฒั นาตนเองและการพฒั นาวิชาชีพ ร้อยละ ๙๕.๒๙ % ๔.๑.๓) ผลสะทอ้ น : องค์กร หน่วยงานภายนอก หรอื ผูม้ ีส่วนเก่ยี วข้องใหก้ ารยอมรบั ยกย่องการจัด การศึกษาอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคีของสถานศกึ ษา ๔.๒) การระดมทรพั ยากรเพอ่ื การจัดการเรยี นการสอน ๔.๒.๑) เชิงปริมาณ : มผี ลการประเมินครบท้ัง ๕ ขอ้ ๔.๒.๒) เชิงคณุ ภาพ : มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับยอดเยย่ี ม ๔.๒.๓) ผลสะทอ้ น : วทิ ยาลยั ฯมีนโยบายรับครูต่างชาติ ๔.๓) การบริการชุมชนและจิตอาสา ๔.๓.๑) เชิงปรมิ าณ : มผี ลการประเมนิ ครบทงั้ ๕ ข้อ ๔.๓.๒) เชิงคุณภาพ : มีคุณภาพอยใู่ นระดับยอดเยีย่ ม ๔.๓.๓) ผลสะท้อน : สถานศกึ ษามีการจัดกิจกรรม การให้บรกิ ารแกช่ ุมชนและสนับสนุนให้บคุ ลากรใน วิทยาลยั ฯเขา้ รว่ ม ๔.๔) ระบบอนิ เทอร์เน็ตความเร็วสูงเพ่อื การใช้งานดา้ นสารสนเทศภายในสถานศึกษา ๔.๔.๑) เชงิ ปรมิ าณ : มีผลการประเมนิ ครบทง้ั ๕ ขอ้ ๔.๔.๒) เชิงคุณภาพ : มคี ณุ ภาพอยู่ในระดบั ยอดเย่ยี ม

๔.๔.๓) ผลสะทอ้ น : ระบบอนิ เทอร์เนต็ ครอบคลุมทกุ พ้นื ท่ีในวิทยาลยั ฯ ทาให้บุคคลในวิทยาลยั ฯ สามารถใช้งานได้และนกั เรยี นนกั ศึกษาสามารถใช้ประโยชนใ์ นการเรียนการสอนได้ ๔.๕) การเข้าถงึ ระบบอนิ เทอร์เนต็ ความเร็วสูงเพ่อื การจดั การเรียนการสอนในชนั้ เรียน ๔.๕.๑) เชงิ ปรมิ าณ : จานวนห้องเรยี น หอ้ งปฏิบตั ิการทีม่ รี ะบบอินเทอร์เน็ตความเรว็ สูง ในการจัดการ เรียนการสอน จานวน ๑ ห้อง ๔.๕.๒) เชงิ คุณภาพ : มรี อ้ ยละ ๑.๖๑ % ๔.๕.๓) ผลสะทอ้ น : มจี านวนหอ้ งเรียนเพียง๑หอ้ งท่ีมี่ระบบอินเทอรเ์ นต็ ความเร็วสูงทาใหไ้ มเ่ พยี งพอตอ่ การเรียนรู้ ๔.๒.๒ จดุ เดน่ ให้สถานศกึ ษาระบุจดุ เด่นของการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาดา้ นหลักสตู รอาชีวศึกษา ดา้ นการ จดั การเรียนการสอนอาชวี ศกึ ษา ด้านการบรหิ ารจัดการ และด้านการนานโยบายสู่การปฏิบัติตามบรบิ ท ของ สถานศึกษา ๔.๒.๓ จดุ ที่ควรพัฒนา ให้สถานศึกษาระบจุ ุดท่คี วรพัฒนาการจัดการอาชวี ศกึ ษาด้านหลกั สูตรอาชวี ศกึ ษา ด้านการจัด การ เรยี นการสอนอาชีวศกึ ษา ดา้ นการบรหิ ารจัดการ และดา้ นการนานโยบายสกู่ ารปฏบิ ัติตามบริบทของ สถานศึกษา ๔.๒.๔ ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพัฒนา ใหส้ ถานศกึ ษาระบุขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นาการจัดการอาชีวศึกษาด้านหลักสตู รอาชวี ศกึ ษา ดา้ น การจดั การเรียนการสอนอาชีวศกึ ษา ดา้ นการบรหิ ารจัดการ และดา้ นการนานโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิตาม บริบทของ สถานศึกษา ๔.๓ มาตรฐานที่ ๓ การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ ๔.๓.๑ ผลสมั ฤทธ์ิ ๑) ดา้ นความร่วมมอื ในการสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ ๑.๑) การพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ ๑.๑.๑) เชงิ ปริมาณ : ๑. จานวนครผู สู้ อนท่ีจัดทาแผนพัฒนาตนเองและเข้ารว่ ม การพฒั นาวชิ าชพี จานวน ๔๘ คน ๒. จานวนครูผสู้ อนที่ได้รับการพฒั นาตนเองอย่างนอ้ ย ๑๒ ชว่ั โมงต่อปี จานวน ๕๑ คน ๓. จานวนครูผ้สู อนทน่ี าผลจากการพัฒนาตนเองและการพฒั นา วชิ าชีพมาใชใ้ นการจัดการเรียน การสอน จานวน ๔๘ คน ๔. จานวนครูผู้สอนที่มผี ลงานจากการพฒั นาตนเองและการพัฒนา วชิ าชพี จานวน ๔๘ คน ๕. จานวนครูผสู้ อนทม่ี ีนวตั กรรมจากการพฒั นาตนเองและการ พฒั นาวชิ าชพี ทีไ่ ดร้ ับการยอมรับ หรือเผยแพร่ จานวน ๔๘ คน ๑.๑.๒) เชงิ คุณภาพ : รอ้ ยละของครผู สู้ อนทไี่ ดร้ ับการพัฒนาตนเองและการพฒั นาวชิ าชพี รอ้ ยละ ๙๕.๒๙ %

๑.๑.๓) ผลสะท้อน : องค์กร หน่วยงานภายนอก หรอื ผมู้ ีส่วนเกีย่ วข้องใหก้ ารยอมรบั ตอ่ สมรรถนะของ ครูผูส้ อน ๑.๒) การบริหารสถานศึกษาแบบมสี ว่ นรว่ ม ๑.๒.๑) เชงิ ปริมาณ : มผี ลการประเมินครบทงั้ ๕ ข้อ ๑.๒.๒) เชงิ คุณภาพ : มีคณุ ภาพอยูใ่ นระดับ ยอดเย่ียม ๑.๒.๓) ผลสะท้อน : ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในวิทยาลยั มีสว่ นรว่ มในการกาหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาให้เปน็ ไปตามกาหนด ๑.๓) การบรหิ ารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการสถานศึกษา ๑.๓.๑) เชงิ ปริมาณ : มผี ลการประเมินครบทง้ั ๕ ข้อ ๑.๓.๒) เชงิ คณุ ภาพ : มคี ณุ ภาพอยู่ในระดบั ยอดเย่ยี ม ๑.๓.๓) ผลสะท้อน : สถานศึกษามีระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจดั การสถานศึกษาท่ี หลากหลาย ทนั สมัย และเปน็ ปัจจุบนั ๑.๔) การระดมทรพั ยากรเพ่อื การจดั การเรียนการสอน ๑.๔.๑) เชิงปรมิ าณ : มีผลการประเมินครบท้ัง ๕ ข้อ ๑.๔.๒) เชิงคณุ ภาพ : มคี ุณภาพอยู่ในระดับยอดเยีย่ ม ๑.๔.๓) ผลสะทอ้ น : วทิ ยาลยั ฯ มนี โยบายรบั ครูตา่ งชาติ ๑.๕) การบรกิ ารชุมชนและจติ อาสา ๑.๕.๑) เชิงปริมาณ : มผี ลการประเมินครบทง้ั ๕ ข้อ ๑.๕.๒) เชงิ คุณภาพ : :มีคณุ ภาพอยู่ในระดับยอดเยี่ยม ๑.๕.๓) ผลสะทอ้ น : สถานศกึ ษามีการจัดกิจกรรม การใหบ้ ริการแกช่ มุ ชนและสนับสนุนใหบ้ คุ ลากรใน วทิ ยาลัยฯเข้ารว่ ม ๒) ด้านนวตั กรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจยั ๒.๑) ผลงานของผู้เรยี นด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื งานวิจัย ๒.๑.๑) เชิงปริมาณ : จานวนผลงาน นวัตกรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื งานวิจยั ระดบั สถานศกึ ษา ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ มีจานวนทง้ั ส้ิน ๒๐ ผลงาน จานวนผลงาน นวัตกรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื งานวิจยั ระดบั จังหวัด ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ มจี านวนทัง้ สน้ิ ๑๙ ผลงาน จานวนผลงาน นวตั กรรม สงิ่ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ งานวจิ ัย ระดับภาค ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ มี จานวนท้งั สิน้ ๘ ผลงาน ๒.๑.๒) เชิงคุณภาพ : วิทยาลัยสารพัดช่างมีการจัดกิจกรรมประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งาน สรา้ งสรรค์ และงานวจิ ยั ในสถานศกึ ษา ซ่ึงมีผลงานส่งเข้าประกวดจานวน ๒๐ ผลงาน และมีผลงานที่ผ่าน การคดั เลอื กไปแขง่ ขันต่อในระดบั จงั หวัด จานวน ๑๙ ผลงาน และได้รับรางวัล honor aword ระดับภาค จานวน ๑ ผลงาน คอื ผลงานชุดควบคมุ บ้านอัจฉรยิ ะ โดยนักเรยี นแผนกไฟฟา้ กาลัง

๒.๑.๓) ผลสะท้อน : ได้รบั การยอบรบั จาก สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา และสิง่ ประดษิ ฐ์ สามารถนาไปใชง้ านไดจ้ ริง ๒.๒) การจดั การเรียนการสอน ๒.๒.๑) เชงิ ปริมาณ ๑. จานวนครผู สู้ อนทมี่ ีคุณวุฒิทางการศกึ ษาตรงตามสาขาวชิ าทส่ี อน ๒. จานวนครูทีม่ แี ผนการจัดการเรยี นรูค้ รบทุกรายวิชาที่สอน ๓. จานวนครทู ี่จัดการเรยี นการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิควิธกี ารสอนท่ี หลากหลาย ๔. จานวนครูท่ใี ช้ส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยีทางการศกึ ษา และแหล่งการเรียนรใู้ นการจัดการเรียน การสอน ๕. จานวนครผู ู้สอนท่ีทาวจิ ัยเพือ่ พฒั นาคุณภาพจัดการเรียนรู้และ แกป้ ญั หาการจดั การเรยี นรู้ ๒.๒.๒) เชิงคณุ ภาพ : รอ้ ยละของครผู ู้สอนที่มคี ุณภาพในการจดั การเรียนการสอน ๒.๒.๓) ผลสะทอ้ น : องคก์ ร หนว่ ยงานภายนอก หรอื ผู้มสี ่วนเกี่ยวข้องใหก้ ารยอมรับ ตอ่ คุณภาพการ จัดการเรยี นการสอนของสถานศกึ ษา ๓) ด้านการบรกิ ารวิชาชีพแก่ชุมชน และสงั คม ๒.๓) การบริการชุมชนและจติ อาสา ๒.๓.๑) เชงิ ปรมิ าณ : มีผลการประเมนิ ครบทัง้ ๕ ข้อ ๒.๓.๒) เชิงคณุ ภาพ : มคี ณุ ภาพอยู่ในระดับยอดเยยี่ ม ๒.๓.๓) ผลสะท้อน : สถานศกึ ษามีการจัดกจิ กรรม การให้บริการแกช่ ุมชนและสนบั สนนุ ใหบ้ ุคลากรใน วิทยาลัยฯเขา้ ร่วม ๔.๓.๒ จดุ เด่น ให้สถานศึกษาระบุจดุ เดน่ ของการพัฒนาการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้ ด้านความร่วมมอื ใน การสร้าง สงั คมแห่งการเรียนรู้ ด้านนวตั กรรม สิง่ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั ตามบรบิ ทของสถานศกึ ษา ๔.๓.๓ จุดทีค่ วรพฒั นา ให้สถานศกึ ษาระบจุ ดุ ทคี่ วรพัฒนาการสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้ ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคม แหง่ การเรียนรู้ ด้านนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ัยตามบรบิ ทของสถานศกึ ษา ๔.๓.๔ ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนา ใหส้ ถานศึกษาระบขุ ้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ด้านความร่วมมือใน การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ด้านนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัยตามบริบทของ สถานศึกษา

ตารางท่ี ๔.๑ สรปุ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐาน ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา คะแนนทไ่ี ด้ ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ลักษณะของผู้สาเรจ็ การศึกษาอาชีวศกึ ษาทีพ่ ึงประสงค์ ๘๒.๔๔ ประเดน็ ที่ ๑.๑ ดา้ นความรู้ ๘๒.๕๐ ประเด็นที่ ๑.๒ ด้านทกั ษะและการประยกุ ต์ใช้ ๘๒.๕๐ ประเด็นที่ ๑.๓ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะท่พ่ี ึงประสงค์ ๘๒.๓๑ มาตรฐานที่ ๒ การจัดการศึกษา ๘๕.๘๑ ประเดน็ ท่ี ๒.๑ ด้านหลกั สูตรอาชวี ศกึ ษา ๗๖.๐๐ ประเด็นที่ ๒.๒ ด้านการจดั การเรยี นการสอนอาชีวศกึ ษา ๘๔.๐๐ ประเดน็ ที่ ๒.๓ ดา้ นการบรหิ ารจัดการ ๙๔.๖๗ ประเดน็ ที่ ๒.๔ ด้านการนานโยบายสู่การปฏบิ ัติ ๘๘.๕๗ มาตรฐานที่ ๓ การสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ ๘๕.๐๐ ประเด็นที่ ๓.๑ ดา้ นความร่วมมือในการสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ ๑๐๐.๐๐ ประเดน็ ที่ ๓.๒ ดา้ นนวตั กรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ๗๐.๐๐ สรุปผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ๘๔.๔๒ สรปุ ระดบั คณุ ภาพสถานศกึ ษา ยอดเย่ยี ม (รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป) ดีเลิศ (รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙) ดี (รอ้ ยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙) ปานกลาง (รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙) กาลงั พัฒนา (นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๕๐.๐๐)

สว่ นท่ี ๕ ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ตามเกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา ให้สถานศึกษารายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามเกณฑ์การประเมิ น คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา จานวน ๕ ดา้ น ตามระดับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ดงั น้ี ๕.๑ ผลการประเมนิ รายดา้ นและภาพรวม สถานศึกษาที่จัดการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ หรือระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และ หรือการฝึกอบรมวิชาชีพ รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษา จานวน ๕ ดา้ น ๒๕ ข้อการประเมิน ดงั น้ี ๕.๑.๑ ดา้ นผู้เรยี นและผูส้ าเร็จการศกึ ษา การประเมินสมรรถนะผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ท่ีเป็นผลมาจากการพัฒนาคุณภาพ ทางวิชาการ ทักษะและการประยุกต์ใช้ คุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ปรากฏผลดัง ตารางที่ ๕.๑ ตารางท่ี ๕.๑ ผลการประเมินด้านผ้เู รียนและผู้สาเร็จการศึกษาโดยภาพรวมและจาแนกเป็นรายการ ประเมิน ผลการประเมนิ ค่า คะแนนทไ่ี ด้ จากการประเมนิ ขอ้ ท่ี รายการประเมิน คะแนน ระดับ น้าหนกั (คา่ นา้ หนักXคา่ คณุ ภาพ (๕๐) คะแนน) ๑ การดแู ลและแนะแนวผ้เู รียน ๒ ปานกลาง ๒ ๔ ๓ ดี ๒ ๖ ๒ ผู้เรยี นมคี ุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ๓ ดี ๓ ๙ ๓ ผเู้ รยี นมสี มรรถนะในการเป็นผปู้ ระกอบการ หรอื การประกอบอาชีพอิสระ ๑ กาลงั ๓ ๓ พัฒนา ๔ ผลงานของผูเ้ รยี นดา้ นนวตั กรรม สิ่งประดษิ ฐ์ ๒ ปานกลาง ๒ ๔ งานสรา้ งสรรค์ หรืองานวิจัย ๕ ยอดเย่ียม ๒๐ ๑๐๐ ๑ กาลัง ๓ ๓ ๕ ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ๖ ผลการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี ๗ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน

ผลการประเมนิ คา่ คะแนนที่ได้ ขอ้ ท่ี รายการประเมิน คะแนน ระดบั น้าหนัก จากการประเมิน คณุ ภาพ (๕๐) (ค่าน้าหนกั Xค่า คะแนน) อาชีวศึกษา (V-NET) พัฒนา ๘ การมงี านทาและศึกษาตอ่ ของผู้สาเรจ็ ๕ ยอดเยย่ี ม ๑๕ ๗๕ การศึกษา ผลรวมคะแนนท่ีไดจ้ าการประเมนิ ๒๐๔ รอ้ ยละของคะแนน ดา้ นท่ี ๑ = (ผลรวมคะแนนทไี่ ด้ X ๑๐๐) / ๒๕๐ ๘๑.๖ สรปุ ระดับคุณภาพสถานศกึ ษา ด้านท่ี ๑ ดา้ นผู้เรียนและผู้สาเรจ็ การศกึ ษา ยอดเยีย่ ม (ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป) ดเี ลิศ (รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙) ดี (ร้อยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙) ปานกลาง (ร้อยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙) กาลังพฒั นา (น้อยกว่ารอ้ ยละ ๕๐.๐๐) ๕.๑.๒ ดา้ นหลกั สูตรและการจัดการเรียนการสอน สถานศกึ ษามีการพัฒนาหรอื ปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ มีการ พัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรอื ปรับปรุงรายวชิ าเดิม หรอื กาหนดรายวิชาเพ่ิมเติม และมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ครูจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และ นาไปใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนอย่างมคี ุณภาพ เพ่ือพฒั นาผเู้ รยี นให้มีคุณลกั ษณะและทักษะท่ีจาเป็นใน ศตวรรษที่ ๒๑ ปรากฏผลดงั ตารางท่ี ๕.๒ ตารางที่ ๕.๒ ผลการประเมนิ ดา้ นหลักสตู รและการจัดการเรยี นการสอนโดยภาพรวมและจาแนกเป็น รายการประเมิน ผลการประเมิน ค่า คะแนนท่ไี ด้ จากการประเมิน ขอ้ ท่ี รายการประเมนิ คะแนน ระดบั น้าหนกั (ค่าน้าหนกั Xคา่ คุณภาพ (๑๐) คะแนน) ๑. การพฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะ ๕ ๒ ๑๐ ๑.๑ การพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็น ๕ ยอดเยี่ยม ระบบ ๓ ๓ การพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรอื ๑ กาลงั ๕ ๑.๒ ปรบั ปรงุ รายวิชา หรอื ปรับปรุงรายวชิ าเดมิ พัฒนา หรอื กาหนดรายวชิ าเพิม่ เติม ๒. การจดั การเรียนรูส้ กู่ ารปฏบิ ตั ิทเ่ี น้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ

ผลการประเมิน คา่ คะแนนท่ีได้ ขอ้ ท่ี รายการประเมิน คะแนน ระดบั น้าหนกั จากการประเมิน คุณภาพ (๑๐) (คา่ นา้ หนักXคา่ คะแนน) ๒.๑ คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรสู้ กู่ าร ๕ ยอดเยยี่ ม ๒ ๑๐ ปฏบิ ัติ การจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้สกู่ ารปฏิบตั ิ ๓ ๑๕ ๒.๒ ทเี่ นน้ ผู้เรียน เป็นสาคญั และนาไปใชใ้ น การ ๕ ยอดเยี่ยม จัดการเรียนการสอน ผลรวมคะแนนทไ่ี ด้จาการประเมิน ๓๘ รอ้ ยละของคะแนน ด้านที่ ๒ = (ผลรวมคะแนนท่ีได้ X ๑๐๐) / ๕๐ ๗๖ สรุป ระดับคุณภาพสถานศกึ ษา ด้านท่ี ๒ ดา้ นหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ยอดเย่ียม (รอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป) ดเี ลิศ (รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙) ดี (ร้อยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙) ปานกลาง (รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙) กาลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ ๕๐.๐๐) ๕.๑.๓ ด้านครูผูส้ อนและผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดการ เรียนรู้ ตามมาตรฐานตาแหน่ง สายงานครูผู้สอน และผู้บริหารสถานศึกษามีทักษะในการบริหาร จัด การศกึ ษาให้บรรลเุ ปา้ หมายทีก่ าหนดไว้ ปรากฏผลดงั ตารางท่ี ๕.๓ ตารางที่ ๕.๓ ผลการประเมนิ ด้านครูผู้สอนและผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาโดยภาพรวมและจาแนกเป็นรายการ ประเมนิ ผลการประเมิน ค่า คะแนนท่ไี ด้ จากการประเมนิ ขอ้ ท่ี รายการประเมนิ คะแนน ระดับ น้าหนกั (ค่าน้าหนักXคา่ คุณภาพ (๒๐) คะแนน) ๑. ครูผสู้ อน ๑๐ ๕ ยอดเยย่ี ม ๕ ๒๕ ๑.๑ การจดั การเรยี นการสอน ๕ ยอดเยย่ี ม ๓ ๑๕ ๕ ยอดเย่ยี ม ๒ ๑๐ ๑.๒ การบรหิ ารจัดการชนั้ เรยี น ๑๐ ๒๕ ๑.๓ การพัฒนาตนเองและพฒั นาวชิ าชพี ๕ ยอดเย่ียม ๕ ๒๕ ๒. ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ๒.๑ การบรหิ ารสถานศกึ ษาแบบมสี ว่ นร่วม ๒.๒ การบริหารจัดการระบบขอ้ มลู สารสนเทศ ๕ ยอดเย่ียม ๕ เพอ่ื การบริหารจัดการสถานศกึ ษา

ผลการประเมิน ค่า คะแนนทีไ่ ด้ ข้อท่ี รายการประเมนิ คะแนน ระดับ นา้ หนัก จากการประเมิน คณุ ภาพ (๒๐) (คา่ น้าหนกั Xค่า คะแนน) ผลรวมคะแนนที่ไดจ้ าการประเมนิ ๑๐๐ รอ้ ยละของคะแนน ด้านท่ี ๓ = (ผลรวมคะแนนทีไ่ ด้ X ๑๐๐) / ๑๐๐ ๑๐๐ สรปุ ระดบั คุณภาพสถานศกึ ษา ดา้ นท่ี ๓ ดา้ นครูผสู้ อนและผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ยอดเยย่ี ม (รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป) ดเี ลิศ (ร้อยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙) ดี (ร้อยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙) ปานกลาง (รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙) กาลงั พัฒนา (น้อยกว่ารอ้ ยละ ๕๐.๐๐) ๕.๑.๔ ด้านการมสี ่วนร่วม สถานศกึ ษามกี ารส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้สถานประกอบการ บุคคล ชุมชน องคก์ รต่าง ๆ มสี ว่ นร่วม ในการจดั การเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี มกี ารระดมทรพั ยากรในการจดั การเรยี นการสอน เพอ่ื ยกระดบั และพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา ปรากฏผลดงั ตารางท่ี ๕.๔ ตารางท่ี ๕.๔ ผลการประเมินดา้ นการมสี ่วนร่วมโดยภาพรวมและจาแนกเปน็ รายการประเมิน ผลการประเมิน ค่า คะแนนทไี่ ด้ จากการประเมิน ขอ้ ท่ี รายการประเมิน คะแนน ระดับ น้าหนกั คณุ ภาพ (๑๐) (คา่ น้าหนักXคา่ คะแนน) ๑ การจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี ๕ ยอดเยยี่ ม ๖ ๓๐ ๒ การระดมทรัพยากรเพ่ือการจดั การเรยี นการ ๕ ยอดเยี่ยม ๒ ๑๐ สอน ๓ การบรกิ ารชุมชนและจติ อาสา ๕ ยอดเย่ยี ม ๒ ๑๐ ผลรวมคะแนนท่ไี ด้จาการประเมนิ ๕๐ ร้อยละของคะแนน ดา้ นที่ ๔ = (ผลรวมคะแนนทไี่ ด้ X ๑๐๐) / ๕๐ ๑๐๐ สรปุ ระดับคุณภาพสถานศึกษา ดา้ นท่ี ๔ ด้านการมสี ่วนรว่ ม ยอดเย่ยี ม (ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป) ดีเลิศ (รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙) ดี (ร้อยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙) ปานกลาง (รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙) กาลังพัฒนา (นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๕๐.๐๐)

๕.๑.๕ ด้านปัจจยั พ้ืนฐาน สถานศึกษาดาเนินการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน หอ้ งปฏบิ ัติการ แหลง่ การเรยี นรู้ โรงฝึกงาน หรืองานฟารม์ และสิง่ อานวยความสะดวกใหม้ ีความพร้อมและ เพียงพอต่อการใช้งานของผู้เรียนหรือผู้รับบริการ เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ สอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษา ปรากฏผลดังตารางที่ ๕.๕ ตารางท่ี ๕.๕ ผลการประเมินดา้ นปัจจัยพน้ื ฐานโดยภาพรวมและจาแนกเป็นรายการประเมิน ผลการประเมนิ ค่า คะแนนท่ไี ด้ จากการประเมนิ ขอ้ ที่ รายการประเมนิ คะแนน ระดบั น้าหนัก (ค่าน้าหนักXคา่ คณุ ภาพ (๑๐) คะแนน) ๑ อาคารสถานที่ ห้องเรยี น หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร โรง ๕ ยอดเย่ยี ม ๒ ๑๐ ฝึกงาน หรืองานฟาร์ม ๒ ระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน ๕ ยอดเยี่ยม ๒ ๑๐ ๓ แหล่งเรียนรู้และศนู ยว์ ทิ ยบรกิ าร ๕ ยอดเยี่ยม ๒ ๑๐ ๔ ระบบอนิ เทอรเ์ น็ตความเร็วสูงเพื่อการใชง้ าน ๕ ยอดเยย่ี ม ๒ ๑๐ ดา้ นสารสนเทศภายในสถานศกึ ษา ๕ การเข้าถึงระบบอนิ เทอรเ์ น็ตความเรว็ สูงเพอ่ื ๑ กาลัง ๒ ๒ การจดั การเรยี นการสอนในชนั้ เรยี น พัฒนา ผลรวมคะแนนทไี่ ดจ้ าการประเมิน ๔๒ ร้อยละของคะแนน ดา้ นท่ี ๕ = (ผลรวมคะแนนทไ่ี ด้ X ๑๐๐) / ๕๐ ๘๔ สรปุ ระดับคณุ ภาพสถานศึกษา ด้านที่ ๕ ดา้ นปัจจัยพื้นฐาน ยอดเยี่ยม (ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป) ดีเลิศ (รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙) ดี (รอ้ ยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙) ปานกลาง (รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙) กาลงั พฒั นา (นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๕๐.๐๐)

๕.๑.๖ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศกึ ษา สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษาทงั้ ๕ ดา้ น ปรากฏผลดงั ตารางที่ ๕.๖ ตารางที่ ๕.๖ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศกึ ษาจาแนกเป็นรายดา้ น รอ้ ยละของคะแนน ท่ี ด้านการประเมนิ ค่า คะแนนท่ีได้ ท่ีไดจ้ ากการประเมนิ น้าหนกั จากการประเมิน (ผลรวมคะแนนที่ไดจ้ ากการ (๑๐๐) แตล่ ะด้าน ประเมนิ ของด้าน X นา้ หนกั คะแนนของด้าน) / คะแนนรวม ของด้าน ๑ ผเู้ รยี นและผูส้ าเร็จการศึกษา ๕๐ ๒๐๔ (๒๐๔ x ๕๐) / ๒๕๐ = ๔๐.๘๐ ๒ หลกั สตู รและการจดั การเรยี นการ ๑๐ ๓๘ (๓๘ x ๑๐) / ๕๐ = ๗.๖๐ สอน ๓ ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา ๒๐ ๑๐๐ (๑๐๐ x ๒๐) / ๑๐๐ = ๒๐.๐๐ ๔ การมีสว่ นร่วม ๑๐ ๕๐ (๕๐ x ๑๐) / ๕๐ = ๑๐.๐๐ ๕ ปัจจัยพน้ื ฐาน ๑๐ ๔๒ (๔๒ x ๑๐) / ๕๐ = ๘.๔๐ ร้อยละคะแนนทีไ่ ดจ้ ากการประเมินในภาพรวม ๔๓๔ ๘๖.๘๐ สรปุ ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ยอดเยี่ยม (รอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป) ดีเลิศ (รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙) ดี (ร้อยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙) ปานกลาง (รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙) กาลงั พัฒนา (นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๕๐.๐๐)

ส่วนท่ี ๖ แผนพัฒนาเพอื่ ยกระดบั คุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการพฒั นาเพอื่ ยกระดับคณุ ภาพการจัด แผนพฒั นาเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศึกษา การศึกษาของสถานศกึ ษา ของสถานศึกษา (แผนงาน โครงการ กจิ กรรม) วิทยาลัยสารพัดช่างสมุทรปราการได้จัดทา แนวทางการพัฒนาวิทยาลัยสารพัดช่าง แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือ สมทุ รปราการ กาหนดทิศทางและแนวทางในการขบั เคล่ือนคุณภาพ แผนงาน/โครงการ การจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้มีคุณภาพตาม ๑. พฒั นาสื่อการเรียนการสอนผา่ นโปรแกรม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือให้บรรลุซ่ึง บทเรยี นดว้ ยตนเอง (E-learning) ๒. ประชาสัมพันธ์ วิสัยทัศน์ของสถานศึกษา ดังต่อไปน้ี พันธกิจเพ่ือให้ เพิม่ ปริมาณผู้เรยี นและพัฒนากระบวนการจดั การ บรรลุซ่งึ วิสยั ทศั น์ท่กี าหนดไว้ดังนี้ เรยี นรดู้ ้วยส่ือ ๑. พัฒนาวิทยาลยั ให้เป็นองค์กรที่ทันสมัยและเป็นที่ E Advertising E Learning ยอมรับของสังคม ๓. อาชีวะบรกิ ารวชิ าการและวชิ าชีพแก่ชมุ ชน ๒. ยกระดับผู้เรียนและผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้มี ๔. สารวจและพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะรายวิชา สมรรถนะ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล และอาชีพร่วมกับสถานประกอบการที่มีเทคโนโลยี ๓. สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื กับสถานประกอบการ ช้ันสงู พัฒนาครูและนักเรียนในสถานศกึ ษา และองค์กรวชิ าชีพอืน่ ๆ ๕. คลงั สมองสอู่ าชีวศึกษา ๔.๐ ๖. ส่งเสริมให้นักเรียนได้เข้าทดสอบสมรรถนะ วิชาชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการ สอนและปฏิบตั ิงานในวชิ าชีพ ๗. พัฒนาผู้เรียนมุ่งสู่สมรรถนะวิชาชีพร่วมกับสถาน ประกอบการ

จัดทาโดย งานประกนั คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา ฝา่ ยแผนงานและความร่วมมือ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook