Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged_4

ilovepdf_merged_4

Published by juna0575, 2020-04-29 03:26:04

Description: ilovepdf_merged_4

Search

Read the Text Version

บันทกึ องค์ความรู้รายบุคคล เรือ่ ง สนบั สนุนการจดั ตง้ั กลุม่ อาชพี เ จ้ า ข อ ง ค ว า ม รู้ น า ง รั ต น า ต า เ ฮ ร์ ตา แ ห น่ ง นั ก วิ ช า ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น ชา น า ญ ก า ร สั ง กั ด สา นั ก ง า น พั ฒ น า ชุ ม ช น อา เ ภ อ รื อ เ ส า ะ

แบบบันทึกองคค์ วามรู้รายบคุ คล 1. ช่ือองคค์ วามรู้ สนับสนนุ การจดั ต้ังกลุ่มอาชีพ 2. ช่อื เจ้าของความรู้ นางรัตนา ตาเฮร์ ตาแหน่ง นักวิชาการพัฒนาชมุ ชนชานาญการ 3. องคค์ วามรู้ท่ีบ่งช้ี (เลือกไดจ้ านวน 1 หมวด)  หมวดท่ี 1 สรา้ งสรรค์ชมุ ชนพึ่งตนเองได้  หมวดท่ี 2 ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากให้ขยายตวั อยา่ งสมดุล  หมวดที่ 3 เสริมสรา้ งทนุ ชุมชนใหม้ ีธรรมาภิบาล  หมวดที่ 4 เสรมิ สรา้ งองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง 4. ท่มี าและความสาคญั ในการจดั ทาองคค์ วามรู้ การพัฒนากลุ่มอาชีพเป็นนโยบายแก้ไขปัญหาความยากจนโดยส่งเสริมการรวมกลุ่ม เพ่ือร่วมกัน พฒั นาการประกอบอาชพี ทัง้ ด้านเทคนิควิธีการผลิตการพฒั นาผลิตภัณฑ์ การ ส่งเสริมการตลาดมุ่งไปยังชุมชน เพ่อื สรา้ งชมุ ชนใหเ้ ข้มแขง็ พ่งึ ตนเองได้ ประชาชนมีสว่ นรว่ มในการ สร้างรายไดด้ ้วยการนาทรัพยากร ภูมิปัญญา ท้องถิ่นมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์และการบริการท่ีมีคุณภาพ ก่อนให้เกิดรายได้กลับสู่ชุมชน เมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงเป็นรูปแบบของธุรกิจมากข้ึน จนบางกรณีลบล้างแนวคิดเดิมจนกลายเป็นการมุ่งเฉพาะ ผลประโยชน์ด้านกาไรเท่านั้น ส่งผลให้รากฐานของชุมชนอ่อนแอตามไปด้วย ท่ามกลางการแข่งขันในปัจจุบัน และความมุ่งมั่นต้ังใจร่วมกันของผู้คนอย่างเดียวอาจไม่ทาให้ชุมชนบรรลุเป้าหมายท่ีต้องการได้โดยง่าย จาเป็นต้องมีการปรับกระบวนท่าของการทามาหากินให้สอดคล้องและเท่าทันธุรกิจโดยทั่วไปด้วย การ ตรวจสอบถึงองคค์ วามรู้ทจี่ าเป็นในการทาธุรกจิ นนั้ ทัง้ ในด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ การพัฒนาชุมชนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถการดาเนินธุรกิจชุมชนให้มีความเจริญเติบโต อย่างมี คณุ ภาพ มคี วามม่ันคงแข็งแรง และสามรถยืนหยัดบนพื้นฐานของกลุ่มได้น้ัน กลุ่มต้องมีผู้นาท่ีเข้มแข็งเป็นผู้นา การบริหารจดั การท่ีดี ชว่ ยเพม่ิ ผลผลิตและคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ได้จากชุมชนทาให้ธุรกิจชุมชนสามารถแข่งขันได้ และสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการรักษาสมดุลทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีเป็นรากฐาน ของทอ้ งถน่ิ อกี ท้งั รักษาสภาพแวดล้อมและทรพั ยากรท่ีทาให้ชุมชนอยู่ได้อยา่ งยั่งยนื 5. รูปแบบ กระบวนการ หรือลาดับข้นั ตอน นาแนวคิด การบริหารงานกลุม่ โดยการดาเนินการดังนี้ 1. รวมคน คือรวมคนที่มีปัญหาเหมือนกันหรือคล้ายกัน มีความต้องการจุดมุ่งหมายหรือเป้าหมายท่ี เหมือนกัน คนที่มารวมกันจะต้องพร้อมและสมัครใจท่ีจะร่วมแรงร่วมมือ และไม่ใช่เป็นคนท่ีเข้ามาหวัง ประโยชนส์ ่วนตน โดยไม่คานงึ ถงึ คนอ่ืน 2. รวมเงิน คือ การรวมเงินจากสมาชิกเพ่ือเป็นทุนหมุนเวียนในการแก้ไขปัญหากับ สมาชิกที่ เดือดร้อนในรูปการบริการเงินกู้ เงินที่สมาชิกนามารวมกันเรียกว่า “เงินค่าหุ้น” สมาชิกจะนา เงินลงทุนหรือ เงินฝากเทา่ ไรกไ็ ด้ ขึน้ อยู่กับขอ้ ตกลงในกลมุ่

-๒- 3. รวมความคิด คือ ในการทางานกลุ่มต้องกาหนดจากความคิดของสมาชิกทุกคน เพื่อ นาไปใช้ใน การบริหารงาน ซึ่งสมาชิกทุกคนจะต้องร่วมกันคิด มาร่วมกันทางาน กาหนดเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ ตลอดจนวางแผนเพื่อพัฒนากลมุ่ ร่วมกนั 4. รวมใจ คือ เป็นการรวมคนที่ค่อนข้างมีความแตกต่างกันในหลาย ๆ ด้านท้ังความคิด จิตใจ ฐานะ ทางการเงิน การศึกษา คุณวุฒิ และวัยวุฒิ ส่ิงต่าง ๆ เห ล่าน้ีโดยทั่วไปมักเป็นอุปสรรค์ จาเป็นต้องสลายความ แตกต่างเหล่าน้ีออกไปให้หมด โดยอาศัยความช่วยเหลือของสมาชิกทุกคนเพื่อให้ เกิดพลังท่ีเข้มแข็ง ความ ร่วมมือคงเป็นไปได้ยากหากไม่เร่ิมที่การ “รวมใจ” เข้าด้วยกันก่อน และการท า ให้เกิดการรวมใจได้ คนท่ีมา รวมกันคงต้องคนหาก่อนว่าอะไรคือ “จุดมุ่งหมายสูงสุดร่วมกัน” โดยการน าบุคลากรได้แก่ สมาชิก คณะกรรมการ วัตถุดิบและการเงิน ประสานเข้าด้วยกัน เพื่อนา มาบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพให้ได้ ผลตอบแทนมากทีส่ ุดและเสียคา่ ใช้จา่ ยนอ้ ยทีส่ ุด 6. เทคนคิ ในการปฏิบัตงิ าน 1. สนับสนุนให้มีการพบปะเพื่อให้สมาชิกเร่ิมรู้สึกอยากรวมตัวกัน โดยประชาสัมพันธ์เชิญชวน ครวั เรอื นทีป่ ระกอบอาชีพเดียวกันหรือประเภทอาชีพเดียวกัน มาพบกันเพ่ือปรึกษาหารือ เพื่อแก้ไขปัญหาของ ตนเอง ครอบครัวและเพื่อนบ้านในชมุ ชน ก่อเกิดการรวมกล่มุ ขนึ้ ๒.ประชุมหรือจัดเวทีสร้างความรู้ความเข้าใจ โดยอธิบาย วัตถุประสงค์ หลักการ และวิธีการ ดาเนินงานของกลุ่มอาชีพ ความสาคัญของกลุ่มท่ีมีต่อสมาชิกกลุ่มและชุมชนรวมถึงกิจกรรม ที่สมาชิกจะ ร่วมกันทาตามความต้องการและเหมาะสมกับศักยภาพ สภาพท้องถ่ิน พัฒนาเชื่อมโยงจุดมุ่งหมายและสร้าง ความเป็นปึกแผ่นเมื่อมีการประชุมร่วมกันบ่อยๆ จะสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ของกลุ่ม สมาชิกในกลุ่มเกิด ความรู้สกึ ตอ่ กลมุ่ อย่างเหนยี วแนน่ พัฒนาเชื่อมโยงสจู่ ดุ ม่งุ หมายทตี่ ้งั ไว้ ๓. สนับสนนุ การจดั หาเงินทุนจากภายในกลุ่มเอง เช่นการระดมทุน การฝากเงินสัจจะออมทรัพย์ และ ทนุ จากภายนอก ไดแ้ ก่ การกู้ยืมจากสถาบันการเงิน กองทุนในชุมชน/นอกชุมชน หรือการขอรับการสนับสนุน จากหน่วยงาน เชน่ องค์การบรหิ ารส่วนตาบล เพอื่ สร้างความเปน็ ปกึ แผ่น ๔. ปรับองค์กร ปรับโครงสร้างและกาหนดบทบาทหน้าที่ เมื่อสมาชิกเกิดจากการรวมตัว จะต้อง กาหนดบทบาทหน้าที่โดยจัดตั้งเป็น คณะกรรมการของกลุ่ม ตามหลักสากล ได้แก่ ประธานกลุ่ม รองประธาน กลุ่ม เลขานุการกลุ่ม เหรัญญิก ส่วนที่เหลือเป็นคณะกรรมการ คณะกรรมการกลุ่มมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับ ระเบียบขอ้ บังคับของกลุ่ม และมตทิ ปี่ ระชมุ ใหญ่ ๕. ระยะท่ีต้องเผชิญหน้ากับปัญหาข้อขัดแย้งไม่ลงรอยกันบ้าง สมาชิกของกลุ่มเริ่มมีปัญหาขัดแย้งไม่ ลงรอยกนั เนอ่ื งจากไม่รู้บทบาทหน้าท่ีของตนเอง ตามที่ได้รับมอบหมาย ให้กาหนดระเบียบ วิธีการปฏิบัติงาน ของกลมุ่ เพือ่ เปน็ กลไก/ข้อบงั คับเพอ่ื ควบคมุ ให้สมาชิกปฏิบัติตามบทบาทหน้าทข่ี องตนเองวา่ มบี ทบาทอย่างไร ๖. ระยะดาเนินงาน สร้างความเป็นผู้นาและความไว้เนื้อเชื่อใจกันสมาชิกพึงพอใจต่อผลงานของกลุ่ม โดยสมาชิกในกลุ่มต้องมีการแบ่งเบาภารกิจ ปรับปรุงการบริหารจัดการอย่างโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ จัดทาบัญชี บันทึกรายงานการประชุม รับฟังความคิดเห็นของสมาชิก เปิดโอกาสให้บุคลากรในกลุ่มได้ เรียนรู้เพิ่มเตมิ ทาให้เกิดความเชอ่ื มั่นในตนเอง เกดิ ความรัก ความไวว้ างใจ มีความสามัคคีเพ่ิมข้ึน

-๓- 7. ปญั หาทพ่ี บและแนวทางการแก้ไขปญั หา 1. นโยบายของรัฐ กลุ่มอาชีพบางกลุ่มตั้งข้ึนเพื่อรับเงินอุดหนุนเม่ือรับเงินอุดหนุนแล้วก็สลายกลุ่ม ไม่ได้ดาเนนิ งานอีกตอ่ ไป 2. สมาชิกกลุ่ม สมาชิกส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจในการรวมเป็นกลุ่มทาให้ไม่สนใจ หรือไม่ต้ังใจในการรับ ฟงั ในการรับความรหู้ รือทาความเข้าใจเกี่ยวกับกลุ่ม ไม่ทราบว่าเมอ่ื เปน็ กลุม่ แล้วสมาชิกมีหน้าท่ีอย่างไรบ้าง ไม่ ความสนใจท่เี ขา้ รว่ มประชุมเพราะตอ้ งหยดุ เพื่อประกอบอาชพี 3. คณะกรรมการ ยังขาดความรู้ความชานาญในการบริหารจัดการกลุ่ม ขาดผู้นาที่มีประสิทธิภาพ ขาดการประสานงาน กรรมการบางคนสวมหมวกหลายใบ เช่น เป็นสมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบล เป็น ประธานกลมุ่ อาชีพ เปน็ กรรมการองคก์ รต่างๆ จึงทาให้ไม่มเี วลาในการการประชมุ กลุ่ม 4. เจ้าหน้าที่ของรัฐ ขาดความต่อเน่ืองในการเข้าไปดูแลส่งเสริม/สนับสนุนกลุ่มอาชีพได้ทั้งหมด โดยเฉพาะกลมุ่ ทีย่ งั ไมเ่ ข้มแข็ง 5. บริหารจดั การกลมุ่ ปัญหาของการบริหารจดั การกลุ่มมีดังน้ี 1.) กรรมการไมม่ ีความรใู้ นเรอ่ื งการดาเนินงานของกลมุ่ 2.) ด้านเงินทุน กรรมการไม่มีความรู้ จึงไม่สามารถท่ีจะตัดสินใจวางแผนด้านการ จัดการ เงนิ ทนุ ของกลมุ่ ใหส้ อดคล้องกบั การผลิตหรือการตลาดได้ 3.) ขาดความรู้ ทักษะ และขาดเอกสาร ต่างๆ ที่เก่ียวข้อง ในการจัดทาบัญชี ไม่สามารถจัดทาบัญชี จงึ ทาใหไ้ มส่ ามารถดาเนินงานและทาธรุ กจิ ได้ 4.) การจัดการกลุ่ม ขาดการเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม ขาดการประสานงานระหว่างกรรมการ กับสมาชิก ไม่มีการประชุมกลุ่ม ขาดการวางแผนการตลาด ปริมาณไม่คงท่ี บางช่วงมีการผลิตสินค้าล้นตลาด บางช่วงผลิตไมเ่ พียงพอกบั ความตอ้ งการของตลาด รวมทั้งขาดการประสานงานกับหน่วยงานสนับสนนุ 8. ประโยชน์ขององคค์ วามรู้ 1. พัฒนากรและภาคีการพฒั นาชุมชนสามารถนาข้อมลู ไปปรับใชใ้ นการสนับสนุนการจัดต้งั กลมุ่ อาชีพ ในชุมชนได้ 2. สามารถนาความรู้ไปพัฒนาให้ชมุ ชนเกดิ กระบวนการเรียนรู้การดาเนินกจิ กรรมกลุ่มอาชพี เกดิ องค์กรธุรกจิ ในชุมชนซงึ่ เอ้ือประโยชนแ์ ก่ ประชาชน สร้างงานสรา้ งรายได้ เพ่ิมความเข้มแข็งให้กับชุมชน 3. สามารถนาความรไู้ ปส่งเสรมิ กลมุ่ อาชพี ให้เกิดกระบวนการเรียนรแู้ ละสามารถพัฒนากลุ่มให้ เขม้ แข็งได้ในอนาคตและสามารถจดั การทรัพยากรได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ **************************

สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอรอื เสาะ ถนนรอื เสาะสนองกิจ ตาบลรอื เสาะออก อาเภอรอื เสาะ จงั หวดั นราธิวาส 96150


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook