รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | ก สารจากผู้อานวยการสานักงานส่งเสรมิ สหกรณ์กรงุ เทพมหานคร พ้ืนท่ี 2 การส่งเสริมสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในช่วงท่ีมีการแพร่ระบาดโรค COVID-19 บุคลากรได้มีการ ปฏิบัติงาน Work From Home ตามนโยบายกรมฯ ได้มีการปรับ รูปแบบการส่งเสริมสหกรณ์ การประชุม การตดิ ต่อส่อื สาร การอบรมให้ ความรู้แก่สหกรณ์โดยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ในรูปแบบต่างๆ ซึ่งนับว่าเป็นการยกระดับปฏิบัติงานในการนา เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติของแต่ละหน่วยงาน เพ่ือเป็นการ ขับเคลื่อนนโยบายให้สหกรณ์ช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ สมาชิกสหกรณ์ รวมถึงการแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ท่ีเกิดจากจาก สถานการณโ์ ควิด-19 ในรูปแบบต่างๆ ตามฐานะของสหกรณ์ กระผมในฐานะผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2 จะมุ่งม่ัน พัฒนา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์อย่างเต็มกาลังความสามารถ โดยจะสานต่องานท่ีทาดีอยู่แล้ว รวมทั้งจะ พัฒนาปรับปรุง ช่วยแก้ไขปัญหา อุปสรรค ให้บรรลุเป้าหมายในระดับท่ีสูงข้ึนกว่าเดิม และตรงตามนิยามของ กรมฯ ว่า WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร สุดท้ายน้ี กระผมขอขอบคุณข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างประจา ของสานักงาน สง่ เสรมิ สหกรณ์กรุงเทพมหานคร พ้นื ท่ี 2 รวมทงั้ ชมุ นุมสหกรณ์ สหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร และหนว่ ยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ท่ีให้ความร่วมมือในปฏิบัติงานของสานักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นท่ี 2 ใหส้ าเรจ็ ลลุ ว่ งเปน็ ไปตามแผนปฏิบตั ิงานประจาปี พ.ศ.๒๕๖4 ไปดว้ ยดี ………............………..……….. (นายโกญจนาท มายะการ) ผ้อู านวยการสานักงานส่งเสริมสหกรณก์ รุงเทพมหานคร พืน้ ที่ 2 ๑๐ มกราคม 2565 WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | ข ผอู้ านวยการสานักงานส่งเสริมสหกรณก์ รุงเทพมหานคร พ้นื ท่ี 2 นายโกญจนาท มายะการ ดารงตาแหนง่ ตั้งแต่วนั ที่ 27 ตลุ าคม 2564 ถึงปัจจุบนั ฝา่ ยบรหิ ารทั่วไป ข้าราชการ 4 ราย ลูกจ้างประจา 2 ราย พนกั งานราชการ 3 ราย นางสาวณัฐพร สังข์สุวรรณ นกั จดั การงานท่วั ไปชานาญการ หวั หน้าฝ่ายบริหารทั่วไป โทร. 08 6703 9506 Email : [email protected] นายชนะศกั ดิ์ สขุ วสิ ุทธิ์ นายชาญเกียรติ ไกรฤกษ์ นางสาวเสาวนีย์ บุญญาโรจน์ นักวิชาการสหกรณป์ ฏิบัตกิ าร นักวิชาการสหกรณช์ านาญการ นกั วชิ าการสหกรณป์ ฏิบตั กิ าร โทร. 08 6788 8290 โทร. 085-3466001 โทร. 08 0593 5163 Email : [email protected] Email Email: [email protected] นางจินตนา บญุ ทับโถม : [email protected] นายบุญส่ง ศรีสว่าง พนักงานพิมพ์ ส4 พนักงานขับรถยนต์ ส.2 โทร. 081-7765011 โทร. 097-2378569 Email : [email protected] Email : [email protected] นางสาวศรุดา สุปันณี นางสาวสุรนิ ทร์ เท่ยี งตรง นางสาวพรปิติ รน่ื ภริ มย์ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน เจ้าพนักงานธรุ การ เจ้าพนักงานธรุ การ โทร. 093-8898846 โทร. 086-7907533 โทร. 083-9043139 Email : [email protected] Email : [email protected] Email : [email protected] WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | ค กล่มุ ส่งเสริมและพฒั นาการบรหิ ารการจดั การสหกรณ์ ข้าราชการ 3 ราย พนักงานราชการ 1 ราย นางสาวขวัณราตรี ศรรี อด นายทศพร พลีดี นางสาวชยานันท์ นันตาดี นกั วชิ าการสหกรณป์ ฏิบตั กิ าร นกั วชิ าการสหกรณ์ชานาญการพิเศษ นกั วชิ าการสหกรณป์ ฏบิ ตั กิ าร โทร. 02 914 5412 ตอ่ 148 Email: [email protected] ผูอ้ านวยการกลมุ่ ฯ โทร. 0 95676 6310 โทร. 086-6486238 Email: [email protected] Email : [email protected] นายคมสันต์ บุตรี เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ โทร. 083-9751486 Email : [email protected] กลมุ่ สง่ เสริมและพัฒนาธรุ กจิ สหกรณ์ ขา้ ราชการ 3 ราย พนกั งานราชการ 3 ราย นางสาวพมิ พ์ณติ ศา กล่ินจนั ทร์ นายภรต วรวสิ ุทธินันท์ นักวชิ าการสหกรณ์ชานาญการพิเศษ นกั วิชาการสหกรณ์ปฏิบตั กิ าร ผอู้ านวยการกลุ่มฯ นางสาวสชุ รี า ประวิง โทร. 090-717 0305 Email : [email protected] โทร. 085-9132211 นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบตั กิ าร Email : [email protected] โทร. 0 81818 9260 Email : [email protected] นางสาวลาไพร โกศล นางสาวสุนิษา เสมะนู นายสุรชาติ เทพสุภา นักวชิ าการสหกรณ์ นักวชิ าการมาตรฐานสินค้า นักวิชาการสหกรณ์ โทร. 083-0055802 โทร. 087-8582051 โทร. 094-7960404 Email : [email protected] Email : [email protected] WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | ง กลุม่ จดั ตง้ั และสง่ เสรมิ สหกรณ์ ข้าราชการ 3 ราย พนักงานราชการ 4 ราย นางญาดา ผดุงโภชน์ นักวชิ าการสหกรณช์ านาญการพเิ ศษ ผ้อู านวยการกลุ่มฯ โทร. 0 8 1576 8399 Email : [email protected] นางสาวสัมฤทธิ์ ครอบบวั บาน นายศุภฤกษ์ ตันติสวุ รรณโณ นักวิชาการสหกรณป์ ฏิบัติการ นักวิชาการสหกรณป์ ฏิบตั กิ าร โทร. 086-4043476 โทร. 0 86404 3476 Email : [email protected] นางสาวเรวดี บญุ จันศรี นายพรเทพ แกว้ โกมล นักวชิ าการสหกรณ์ นักวชิ าการสหกรณ์ โทร. 087-0406137 โทร. 083-5065931 Email : [email protected] Email : [email protected] นางสาวสรุ ิณี เทย่ี งตรง นางสาวณัฐจรีย์ มาวิเลศิ นักจดั การงานท่วั ไป เจา้ พนกั งานธรุ การ โทร. 081-5657240 Email : [email protected] โทร. 099-2620377 Email : [email protected] WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | จ กลุม่ ตรวจการสหกรณ์ ขา้ ราชการ 5 ราย ลกู จา้ งประจา 1 ราย พนักงานราชการ 2 ราย นางสาววนิสา ศรมี าฆะ นางสาวศริ จิ ิตติ บุณยะจติ ติ นายทรงพล หริ่มสืบ นกั วชิ าการสหกรณ์ชานาญการ นกั วิชาการสหกรณช์ านาญการพิเศษ นิติกรปฏิบัตกิ าร โทร. 083-0112446 ผอู้ านวยการกลุ่มฯ โทร. 085-9339839 โทร. 095-9528414 Email : [email protected] Email : [email protected] นายทวชิ นัย สากระจาย นางสาวนุสรา อินตา นกั วิชาการสหกรณ์ปฏิบตั ิการ นักวชิ าการสหกรณ์ปฏิบตั กิ าร โทร. 081-7902789 โทร. 095-6861199 นางสาวชญั ญา สุรทานนท์ พนักงานพิมพ์ ส4 โทร. 085-1952945 Email : [email protected] นายอุดมศกั ดิ์ สขุ อนันต์ นางสาวพัทธ์ธรี าพร ยชุ ยทดั นักวิชาการสหกรณ์ นิติกร โทร. 085 933 9839 โทร. 088-1814515 Email : [email protected] Email : [email protected] WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | ฉ กล่มุ ส่งเสริมสหกรณ์ 1 ข้าราชการ 4 ราย พนักงานราชการ 1 ราย นางสาวเมษยิ า ทรงอารมภ์ นางสาวกาญจน์ศิริ ชัยกลุ วิวัฒน์ นางสาวสมุ ณฑา ปน่ิ เกตุ นกั วิชาการสหกรณ์ชานาญการ นักวชิ าการสหกรณช์ านาญการพเิ ศษ นักวชิ าการสหกรณ์ชานาญการ โทร. 090-9646541 ผู้อานวยการกลุ่มฯ โทร. 086-708-2848 Email : [email protected] โทร. 081-4230729 Email : [email protected] Email : [email protected] นางสาวชุลพี ร จนั ทรน์ ้อย นักวชิ าการสหกรณป์ ฏิบัติการ โทร. 087-2202045 นางสาวสุมาลี นาคสีทอง เจ้าพนักงานสง่ เสรมิ สหกรณ์ โทร. 092-2468951 Email : [email protected] WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | ช กล่มุ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 2 ข้าราชการ 4 ราย พนักงานราชการ 4 ราย นางสาวสรุ ภี หลัดเกล้ียง นายจริ พันธ์ จนั ทรพิทกั ษ์ นายคตี ภัทร ฉววี งศ์ นกั วชิ าการสหกรณ์ปฏิบัตกิ าร เจา้ พนักงานสง่ เสรมิ สหกรณ์อาวุโส นกั วชิ าการสหกรณ์ปฏิบัติการ โทร. 089-0492809 ผอู้ านวยการกล่มุ ฯ โทร. 081-1233434 โทร. 095-7187953 นายนติ ิ ด่านศรบี รู ณ์ นักวชิ าการสหกรณ์ปฏิบตั กิ าร โทร. 085-2368217 นางสาวปิยมาศ พรหมเสนา นายพรพรหม ชาญสวสั ดิ์ นักวชิ าการสหกรณ์ นักวชิ าการสหกรณ์ โทร. 085-1526848 โทร. 082-3282881 Email : [email protected] Email: [email protected] นางสาวภัทรสุดา ปญั จาระ นกั วิชาการสหกรณ์ โทร. 061-6262490 นางสาวสายฝน ศรพี อ เจา้ พนกั งานสง่ เสริมสหกรณ์ โทร. 097-2318569 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | ซ กลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์ 3 ข้าราชการ 5 ราย พนักงานราชการ 2 ราย นายวิศรตุ ศรมี ากเปย่ี ม นางกสุ มุ า ศรีอคั รกูล นายณธกร อรรถรฐั นกั วิชาการสหกรณช์ านาญการ นกั วชิ าการสหกรณช์ านาญการพิเศษ นักวชิ าการสหกรณ์ปฏิบตั ิการ โทร. 094-8739933 ผู้อานวยการกลุ่มฯ โทร. 098-0132931 Email : [email protected] โทร. 0 81754 0538 Email : [email protected] Email : [email protected] นายซาบรี อาแวกะจิ นางสาวนงนภัส รงุ่ โรจนข์ จรไชย นักวชิ าการสหกรณ์ปฏิบัตกิ าร นกั วิชาการสหกรณป์ ฏิบัตกิ าร โทร. 09 1723 0650 โทร. 0 87395 9268 Email : [email protected] นางสาวเบญจวรรณ ดิษสร นางสาวสนุ ิษา ยูซบ นักวิชาการสหกรณ์ เจา้ พนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณ์ โทร. 092-2803427 โทร. 093-3649724 Email : [email protected] WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | ฌ กลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์ 4 ข้าราชการ 5 ราย พนักงานราชการ 1 ราย นางสาวกรรณกิ า โพธิ์ประพาฬทอง นายพิสฏิ ฐ์ พิมพ์พานนท์ นางสาวเพญ็ ลิสา หาญสมบัติ นักวิชาการสหกรณช์ านาญการ นกั วชิ าการสหกรณช์ านาญการ นกั วิชาการสหกรณ์ชานาญการ โทร. 081-6403556 ผอู้ านวยการกลุ่มฯ โทร. 091-7759329 Email : [email protected] โทร. 098-0940292 Email : [email protected] Email : [email protected] นางสาวปรีดาภรณ์ ศุทธิเวทิน นายณัฐชัย ปรญิ ญานสุ รณ์ นกั วชิ าการสหกรณ์ปฏิบัตกิ าร เจ้าพนกั งานส่งเสรมิ สหกรณ์ชานาญงาน โทร.091-0343945 โทร. 083-0629897 Email: [email protected]; Email : [email protected] นายปรวิ ัฒน์ แผลวมจั ฉะ นกั วชิ าการสหกรณ์ โทร.0 63370 7970 Email : [email protected] WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | ญ กลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์ 5 ขา้ ราชการ 2 ราย นายอทิ ธิพล โตรส นายมานะ โกศล นักวชิ าการสหกรณช์ านาญการ นกั วิชาการสหกรณป์ ฏิบตั กิ าร ผูอ้ านวยการกล่มุ ฯ โทร. 083-0060467 โทร. 086-8804123 Email : [email protected] กลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณภ์ าคการเกษตรและกล่มุ เกษตรกร ขา้ ราชการ 2 ราย นางสาววาสนา แบก้ ระโทก นางสาวศริ ิพร พุทธโส นกั วชิ าการสหกรณช์ านาญการ นกั วชิ าการสหกรณ์ปฏิบัติการ ผู้อานวยการกลุม่ ฯ โทร.085-7173587 โทร. 084-0233895 Email : [email protected] Email: [email protected] WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | ฎ บทสรปุ ผ้บู ริหาร (Executive Summary) สานกั งานสง่ เสรมิ สหกรณก์ รงุ เทพมหานคร พ้นื ท่ี 2 มีหน้าทแ่ี ละความรับผดิ ชอบ ดาเนนิ การตาม กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่นที่เก่ียวข้อง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรทุกประเภท และ ให้ความร้เู ก่ียวกบั อุดมการณ์ หลักการ และวิธกี ารสหกรณ์ ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชน ท่ัวไป ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ หน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย โดยมีอัตรากาลังในการขับเคลื่อนงานตามแผนงาน/โครงการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จานวนทั้งสิ้น 66 คน แบ่งเป็นข้าราชการ 42 คน ลูกจ้างประจา 3 คน และ พนักงานราชการ 21 คน ได้ดาเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและนโยบายที่ได้รับจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งได้รับ จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ รวมท้ังสิ้น 10.71 ล้านบาท แยกเป็นงบบุคลากร 5.73 ล้านบาท งบดาเนนิ งาน 4.01 ล้านบาท และงบเงินอุดหนนุ 0.96 ล้านบาท สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร อยใู่ นความรบั ผิดชอบ จานวนทง้ั สนิ้ 415 แห่ง โดยแยกเป็นสหกรณ์ 412 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 3 แห่ง มีสหกรณ์ประเภทออมทรัพย์จานวนมากที่สุด ส่วนใหญ่ต้ังอยู่ในหน่วยงาน ราชการ รฐั วสิ าหกจิ และสถานประกอบการภาคเอกชน มกี ารจัดตั้งสหกรณช์ ุมชนริมคลองตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่งได้เล็งเห็นประโยชน์ของสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีการจัดตั้งสหกรณ์เพ่ิมข้ึนจานวน 17 แห่ง เป็นประเภทสหกรณอ์ อมทรัพย์ 2 แห่ง สหกรณเ์ ครดติ ยเู น่ยี น 1 แหง่ และสหกรณ์บรกิ าร 14 แห่ง (เคหสถาน,ริม คลอง) มสี มาชิกสหกรณ์รวมทง้ั สิ้น 782,542 ราย สมาชกิ ที่มสี ่วนรว่ มในการดาเนนิ ธรุ กจิ 488,808 คน คิดเป็น ร้อยละ 62.46 มีปริมาณธุรกิจรวมทั้งสิ้น 286,664.79 ล้านบาท ผลการดาเนินงานในภาพรวมมีกาไร 16,882.046 ล้านบาท ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ระดับชั้น 1 จานวน 102 แห่ง ระดับชั้น 2 จานวน 208 แห่ง ระดับช้ัน 3 จานวน 53 แห่ง ระดับชั้น 4 จานวน 49 แห่ง แผนการส่งเสริมสหกรณ์ของสานักงานส่งเสริม สหกรณก์ รุงเทพมหานคร พ้นื ที่ 2 ในปัจจบุ นั เน้นการวิเคราะหผ์ ลการดาเนินงานของสหกรณใ์ หช้ ัดเจนในเร่ืองการ ดาเนินธุรกิจท่ีถูกต้อง สะสางสหกรณ์ท่ีไม่ดาเนินการตามวัตถุประสงค์ และตรวจสอบสหกรณ์ท่ีไม่ประสงค์ ดาเนนิ การ ทาใหม้ ีสหกรณ์ในระดับชน้ั ที่ 4 (ชาระบัญชี/เลกิ ) เพม่ิ ขึ้น ในปี 2564 และถอนชื่อสหกรณ์ได้ 1 แห่ง ปัญหาอุปสรรคส่วนใหญ่ท่ีเป็นเร่ืองร้องเรียน หารือ ถึงสานักงานฯ จะเป็นประเภทสหกรณ์ออม ทรัพย์ขนาดใหญ่ สหกรณ์มักจะดาเนินงานนอกกรอบวัตถุประสงค์ และร้องเรียนคณะกรรมการ เจ้าหน้าที่ของ สหกรณ์ สหกรณ์บริการ (เคหสถานบ้านริมคลองหรือบ้านม่ันคง) ที่ต้ังขึ้นมาแล้ว ไม่มีขีดความสามารถท่ีจะจัดจ้าง เจา้ หนา้ ที่สหกรณใ์ ห้ครบทุกตาแหน่ง บางสหกรณ์มอบหมายให้กรรมการทาหน้าท่ีแทนเจ้าหน้าที่ ซง่ึ ยงั ขาดความรู้ ความเข้าใจในการจัดทาและบันทึกบัญชีสหกรณ์ การลงบันทึกบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน ผลท่ีได้คือ สหกรณ์ไม่สามารถ ปิดบัญชีเพื่อจัดทางบการเงินได้ บางแห่งสมาชิกสหกรณ์ขาดความสามัคคีกัน เนื่องมาจากอาศัยคนละชุมชน แต่ต้องมารวมกันในสถานที่ท่ีรัฐจดั ให้ อีกทั้งสถานการณ์ปัจจุบัน และกรรมการซ่ึงอยู่ในชุมชนมีเวลาวา่ งไม่ตรงกนั สหกรณ์ไมส่ ามารถจัดประชุมคณะกรรมการเป็นประจาทุกเดือนได้ การจัดแผนงานประจาปีสาหรับสหกรณ์ขนาดเล็ก ไม่ค่อยให้ความสาคัญในเรื่องการจัดทา แผนงาน ไม่มีการกากับและติดตามประเมินผล ทาให้ไม่สามารถประเมินสถานภาพทางการเงินของสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้ จึงมีความเส่ียงทางดา้ นการดาเนินธรุ กิจ ปัญหาความเข้าใจในระบบสหกรณ์ หากสมาชิกที่ได้รับเลือก ให้ทาหน้าท่ีกรรมการ ไม่ศึกษากฎหมายสหกรณ์ ข้อบังคับและระเบียบที่ปฏิบัติ รวมถึงแนวทางการดาเนินงาน ตา่ งๆ ที่เกย่ี วขอ้ งโดยถอ่ งแท้ ทาให้เกดิ การดาเนินงานท่ไี ม่ถูกต้องตามมา เกดิ ประเด็นข้อสังเกตจากหน่วยงานที่เข้า กากับดูแลและตรวจสอบให้ดาเนนิ การแก้ไข ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ของสานักงานฯ แนะนาให้สหกรณ์ ท่ีมีงบประมาณดาเนินการจัดจ้างเจ้าหน้าท่ีบัญชี เพ่ือให้การบันทึกบัญชีเรียบร้อยเป็นปัจจุบัน จัดทาเอกสารการ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | ฏ ลงบัญชี และทะเบียนคุมให้เรยี บร้อยเปน็ ปัจจบุ ัน พร้อมท้ังจัดเก็บเอกสารต่าง ๆ ไวใ้ นทปี่ ลอดภยั หากสหกรณ์ไม่มี งบประมาณในการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี แนะนาให้สหกรณ์ส่งหนังสือขอความช่วยเหลือด้านบัญชี เนื่องจาก สานักงานฯ มีทีมงานที่ดาเนินการช่วยเหลือด้านการปิดบัญชีของสหกรณ์ เพ่ือจะได้พิจารณาช่วยเหลือในเบื้องต้น สหกรณ์ท่ีจัดตั้งขึ้นแล้วไม่ดาเนินธุรกิจ ภายในหน่ึงปี หรือหยุดดาเนินกิจการติดต่อกันเป็นเวลา 2 ปี เจ้าหน้าท่ี ส่งเสริมสหกรณ์แจ้งให้สหกรณ์ทราบ นายทะเบียนสหกรณ์มีอานาจส่ังเลิกตามมาตรา 71(1) แห่งพระราชบัญญัติ สหกรณ์ พ.ศ. 2542 เจ้าหนา้ ทสี่ ง่ เสรมิ สหกรณ์ต้องเข้าแนะนาสง่ เสริมและติดตาม ผลกั ดันใหส้ หกรณส์ ามารถปิด บัญชีได้ และต้องเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ แนะนาเพื่อให้สหกรณ์ดาเนินงานเป็นไปตาม กฎหมาย ขอ้ บังคบั ระเบยี บและคาแนะนานายทะเบยี นสหกรณ์ จากผลประเมินการปฏิบตั ิงานสง่ เสรมิ สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2 ในช่วงที่มีสถานการณ์การแพร่ระบาดโรค COVID-19 บุคลากรได้มีการปฏิบัติงานที่บ้านพัก (Work From Home) ตามนโยบายกรมฯ ได้มีการปรับรูปแบบ การส่งเสรมิ สหกรณ์ การประชุม การตดิ ต่อสื่อสาร การอบรมใหค้ วามรู้แก่สหกรณโ์ ดยผา่ นสื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์ นบั วา่ เป็นการยกระดับปฏบิ ตั ิงานในการนาเทคโนโลยีเข้ามาชว่ ยในการปฏบิ ตั ิของแต่ละหนว่ ยงาน ผลการปฏบิ ตั งิ านในปี 2564 ยกระดับดีขึ้น ปัญหาทางด้านการปิดบัญชีไม่ได้ติดต่อกันหลายปี มีการติดตาม จนสามารถทยอยปิดบัญชี ได้หลายแหง่ อย่างไรก็ดี การปฏิบัติหน้าท่ีของสานักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พ้ืนที่ 2 แม้จะมี ข้อจากัดใดๆ ก็ตาม แต่บุคลากรทุกคนก็ต้องปฏิบัติหน้าท่ีของตนเองจนสุดความสาม ารถ ผลงานต่างๆ ทสี่ ะทอ้ นให้เห็นไมว่ า่ จะเปน็ อย่างไร ยงั มคี วามเชอื่ วา่ บคุ ลากรทุกคนทาหนา้ ทข่ี องตนเอง ดีทีส่ ดุ แล้ว WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | ฐ สารบัญ สารผู้บรหิ ารหนว่ ยงาน ก ทาเนยี บบคุ ลาการในหน่วยงาน ข บทสรปุ ผู้บรหิ าร ฎ ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ภาพรวมของหนว่ ยงาน 1 2 1) วิสยั ทศั น์ พันธกจิ และอานาจหนา้ ท่ี 3 2) แนวทางการขับเคล่ือนงาน/โครงการทสี่ อดคล้องกับแผนของกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ 6 และทิศทางการพัฒนาในระดับพ้ืนท่ี 7 3) โครงสรา้ งและกรอบอตั รากาลงั ประจาปี 2564 9 4) งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 14 5) สรุปขอ้ มลู สหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร สว่ นที่ 2 ผลสัมฤทธข์ิ องการปฏิบตั งิ าน และผลการปฏิบตั ิงาน/โครงการภายใต้ 15 แผนปฏิบัตงิ านและงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ 1) ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบตั งิ านและงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ 9๔ 1๑๔ พ.ศ. 2564 และงบประมาณอน่ื ท่หี นว่ ยงานไดร้ บั 1๑๕ 2) ผลการดาเนินงาน/โครงการตามนโยบายสาคญั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 1๑๖ 3) รางวลั ทห่ี น่วยงานไดร้ บั จากหน่วยงานภาคสว่ นตา่ งๆ ภายนอก 1๑๘ สว่ นที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพนั ธ์งานสหกรณฯ์ ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2564 1) งานบรู ณาการรว่ มกับหนว่ ยงานต่างๆ ในพนื้ ที่ และของกรมฯ 1๑๙ 2) การจดั งาน/กิจกรรมต่างๆ ในวนั คล้ายวนั สถาปนากรมสง่ เสริมสหกรณ์ 1๒๐ ครบรอบ 49 1๒๕ 3) ภาพกจิ กรรมของหน่วยงานร่วมกบั หนว่ ยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1๒๖ 1๒๖ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1๒๖ 4) ภาพกิจกรรมของหนว่ ยงานรว่ มกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ส่วนท่ี 4 รายงานข้อมลู งบการเงนิ 1๒๘ 1) งบแสดงฐานะทางการเงนิ 2) งบแสดงผลการดาเนินงานทางการเงนิ 3) หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ และบทวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านงบประมาณของ หนว่ ยงาน สว่ นท่ี 5 บรรณานกุ รม WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 1 ส่วนท่ี 1 ข้อมูลภาพรวม ของหนว่ ยงาน WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 2 1) วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ และอานาจหน้าที่ของหนว่ ยงาน วิสัยทศั น์ สง่ เสรมิ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรเป็นศนู ยก์ ลางของสมาชกิ ยกระดับชนั้ สหกรณ์ พฒั นาบุคลากรให้เป็นมอื อาชีพ ตลอดจนเทคโนโลยีทท่ี ันสมยั พนั ธกจิ 1. พัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มกี ารบูรณาการฐานขอ้ มูลสารสนเทศให้แกส่ มาชกิ 2. สนบั สนุนบุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรใหเ้ ป็นนกั บรหิ ารงานสหกรณม์ อื อาชพี 3. สง่ เสรมิ ให้สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร เขา้ สู่มาตรฐาน ยกระดบั ชัน้ สหกรณใ์ นระดับท่ีดขี ึน้ 4. พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ กลุ่มเกษตรให้มีระบบคุ้มครองสหกรณอ์ ย่างย่ังยนื อานาจหนา้ ทีข่ องหนว่ ยงาน 1. ดาเนินการเกย่ี วกบั งานดา้ นกฎหมายวา่ ด้วยสหกรณแ์ ละกฎหมายอน่ื ท่เี ก่ยี วขอ้ ง 2. สง่ เสรมิ และพฒั นาสหกรณ์ทกุ ประเภทและกล่มุ เกษตรกร 3. สง่ เสริม เผยแพร่ และใหค้ วามรูเ้ กี่ยวกับ อุดมการณ์ หลกั การ และวธิ กี ารสหกรณ์ แกบ่ คุ ลากรสหกรณ์ กลุม่ เกษตรกร และประชาชนท่ัวไป 4. ส่งเสรมิ และพัฒนาธรุ กิจของสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร 5. ปฏบิ ตั งิ านร่วมกบั หรอื สนับสนนุ การปฏบิ ัติงาน ของหนว่ ยงานอ่ืนทเ่ี ก่ยี วขอ้ งหรือท่ีได้รบั มอบหมาย WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 3 2) แนวทางการขับเคลือ่ นงาน/โครงการทส่ี อดคล้องกบั แผนของกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ และทิศทางการพัฒนาในระดับพื้นที่ แผนงาน/โครงการ ค่าเป้าหมาย กิจกรรมในระดบั ผลสัมฤทธ์ิ และผลงานท่ีปฏิบัติ ด้านการบริหารงาน งบประมาณและยุทธศาสตร์ เป็นการบริหารและกากับการใช้จ่าย งบประมาณตามประเภทงบรายจ่ายและกิจกรรมหลัก รวมทั้งบริหารการเบิกจ่ายให้เป็นตามเป้าหมายและเงื่อน เวลาท่ีกรมกาหนด ตามประเภทงบรายจ่าย และกิจกรรมหลกั เช่น การกากับการดาเนนิ กิจการของกลุ่มเปา้ หมาย ให้เป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบ กฎหมายที่เก่ียวข้อง การติดตามเงินอุดหนุน การกากับดูแลตรวจสอบคุ้มครอง ระบบสหกรณ์ การประชุม การเข้ารว่ มกจิ กรรมต่างๆ งานนโยบาย โครงการ การประสานงาน รวมท้ังค่าใช้จา่ ยใช้ สอยและวสั ดุ ใหเ้ กิดผลสมั ฤทธ์ิ และค้มุ ค่ามากทีส่ ุด ซึ่งคา่ เปา้ หมายทกี่ รมฯ กาหนด ตอ้ งมผี ลเบิกจ่ายร้อยละ 100 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานฯ ไดร้ บั งบประมาณทั้งส้ิน 10,452,738.91 บาท เม่อื สิ้นปีงบประมาณ มีการเบิกจา่ ยทัง้ สนิ้ 10,711,955.69 บาท ไดเ้ กนิ ค่าเปา้ หมายในระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ คือร้อยละ 102.48 ด้านการส่งเสริม พัฒนา และการกากับองค์กร สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรต้องได้รับการ พัฒนาให้มีความเข้มแข็งทุกแห่ง ใน 4 ด้าน คือ 1) ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพในการดาเนินธรุ กิจ 2) การแก้ไข ปัญหาในการดาเนินกิจการ 3) การบริหารงานจัดการที่มีธรรมาภิบาล การควบคุมภายใน และ 4) การมีส่วนร่วม ของสหกรณใ์ นการใชบ้ รกิ าร การดาเนนิ กจิ กรรมของสมาชกิ กิจกรรมด้านการส่งเสริม พัฒนา และการกากับองค์กรท่ีกรมฯ กาหนดนั้น ต้องดาเนินการทุก แห่ง กิจกรรมขับเคลื่อนส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง แบ่งเป็นสหกรณ์ภาคการเกษตร 9 แห่ง นอกภาคการเกษตร 367 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง ผลสัมฤทธ์ิที่ได้คือ เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ติดตาม แนะนาครบทกุ แหง่ กิจกรรมการแนะนาส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่ม การจัดต้ังสหกรณ์ กรมฯ ไม่ได้กาหนดค่าเป้าหมาย ซ่ึงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานฯ จัดตั้งสหกรณ์จานวน 17 แห่ง แยกเป็นประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ 2 แหง่ สหกรณเ์ ครดิตยเู นี่ยน 1 แหง่ และประเภทสหกรณบ์ รกิ าร (เคหสถาน) 14 แห่ง กิจกรรมแนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร นาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการ บริหารงานและร่วมขบั เคลื่อนกิจกรรมไปสูช่ ุมชน การจัดทาแผนงานรว่ มกัน การจดั ทาฐานขอ้ มูล การจดั เกบ็ ข้อมูล การฝากและการกู้เงินระหว่างสหกรณ์ และการจัดเก็บข้อมูลอัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินของสมาชิก ค่าเป้าหมาย ทุกแห่ง ผลสมั ฤทธไิ์ ดท้ ุกแหง่ กิจกรรมการกากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ การประชุมแก้ไขปัญหา ดาเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีมีข้อบกพร่อง (จกบ.) เป้าหมาย 4 คร้ัง ได้ค่าระดับผลสัมฤทธ์ิ รอ้ ยละ 100 กิจกรรมชาระบัญชี เป้าหมายสหกรณ์ 32 แหง่ กลมุ่ เกษตรกร 1 แหง่ ไมไ่ ดผ้ ลตามคา่ เป้าหมาย ด้านการติดตาม ปี 2564 มีการติดตามเงินอุดหนุนท่ีได้รับงบประมาณจากกรมฯ โครงการ พัฒนาศักยภาพการดาเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมหลัก เพิ่มศักยภาพการ ดาเนินธุรกิจรวบรวม จัดเก็บ และแปรรูปผลผลิตการเกษตรในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จานวนเงิน 945,000 บาท เป็นการซื้อรถบรรทุกเพื่อใช้ประโยชน์ในกิจการของชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด และ กิจกรรมติดตามการดาเนินโครงการลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพเกษตรกร เป้าหมาย 1 ราย สานัก WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 4 งานฯ ดาเนนิ กิจกรรมเขา้ ร่วมโครงการ จัดทาฐานขอ้ มลู ประชมุ ถ่ายทอดความรู้เป็นไปตามแผนงานได้ค่าเปา้ หมาย ในระดบั ผลสัมฤทธิ์ อีกทงั้ มีกลมุ่ เปา้ หมายนอกเหนือจากโครงการ เพ่ิมเตมิ อกี 7 รายดว้ ย ตวั ชว้ี ดั เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ บรหิ ารและกากับการใชจ้ ่ายงบประมาณตามประเภทงบรายจ่ายและกจิ กรรม รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ หลัก รวมท้ังบริหารการเบิกจ่ายให้เป็นตามเป้าหมายและเงื่อนเวลาที่กรม 102.48 กาหนด 324 แห่ง 324 แห่ง สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีประสิทธภิ าพในการบริหารจัดการองคก์ ร (การ 7 แหง่ บริหารจัดการที่มีธรรมาภิบาล / การควบคุมภายในของสหกรณ์ / กลุ่ม 4 แหง่ เกษตรกร 4 แหง่ 5 แหง่ 4 แหง่ สหกรณ์ภาคการเกษตร (ผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุม - ภายในระดับพอใช้ขึ้นไป ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 88) 316 แห่ง 316 แห่ง 1) รกั ษาฯ ใหอ้ ยใู่ นระดบั ดี และ ดีมาก 236 แหง่ 47 แห่ง 233 แหง่ 2) ยกระดับจาก ต้องปรับปรุง / ไม่มีการควบคุมภายใน ขึ้นไปอย่างน้อย 75 แหง่ 42 แหง่ 1 ระดบั 41 แห่ง 8 แห่ง สหกรณ์นอกภาคการเกษตร (ผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการ 2 แห่ง 1 แหง่ ควบคมุ ภายในระดบั พอใชข้ ้ึนไป ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 88) โดย 5 แห่ง - 260 แหง่ 1) รักษาฯ ใหอ้ ย่ใู นระดบั ดี และ ดมี าก 192 แห่ง 1 แห่ง 19 แหง่ 214 แหง่ 2) ยกระดบั จาก พอใช้ ข้ึนไปอย่างนอ้ ย 1 ระดบั 49 แหง่ 185 แห่ง ไม่นอ้ ยกวา่ 29 แห่ง 3) ยกระดับจาก ต้องปรับปรุง / ไม่มีการควบคุมภายใน ขึ้นไปอย่าง 1 รอ้ ยละ 60 หนงึ่ ระดบั - สหกรณท์ ่นี ามาจัดมาตรฐานผา่ นเกณฑม์ าตรฐานกรม ฯ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ร้อยละ 3 62.46 สหกรณ์ภาคการเกษตร (ผ่านมาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 88 ร้อยละ 3 1) ผลักดัน ฯ ระดบั ดี สู่ ดีเลศิ และ ดีมาก ไมน่ อ้ ยกว่า ร้อยละ 100 2) ผลักดัน ฯ ระดบั ไมผ่ า่ นฯ ให้ผา่ นอย่างน้อย 1 ระดับ รอ้ ยละ 61 44.28 สหกรณน์ อกภาคการเกษตร (ผ่านมาตรฐาน ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 82) 1) รกั ษา ฯ ระดับ ดีเลิศ และ ดมี าก 2) ผลักดนั ฯ ระดับ ดี สู่ ดีเลิศ และดมี าก 3) ผลกั ดัน ฯ ระดับ ไมผ่ า่ นฯ ใหผ้ ่านอย่างน้อย 1 ระดบั สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการให้บริการสมาชิก (การมี ส่วนร่วมของสหกรณ์ในการใช้บริการ / ดาเนินกิจกรรมร่วมกับสหกรณ์ / กลุ่ม เกษตรกร) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีสถานะดาเนินกิจการ มีอัตราการขยายตัวของ ปริมาณธุรกิจเพิ่มขึน้ จากปกี อ่ น สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจอยู่ในระดับ มาตรฐานขึ้นไป (พัฒนาประสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจของสหกรณ์ / กลุ่ม เกษตรกร) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีมีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของ สมาชกิ เพมิ่ ขน้ึ จากปกี ่อน WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 5 ตัวช้วี ดั เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ ร้อยละของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างชาระบัญชีข้ันตอนที่ 3 รอ้ ยละ 100 0 - 4 ยกระดับข้ึนสู่ขัน้ ตอนที่ 5 0 ร้อยละของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างชาระบัญชี ไม่รวมท่ีอยู่ใน รอ้ ยละ 25 5 สหกรณ์ ขนั้ ตอนที่ 6 (คด)ี สามารถถอนชื่อได้ 18 สหกรณ์ สหกรณ์ภาคการเกษตร (ท่ีมีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่าร้อย 5 สหกรณ์ รอ้ ยละ 100 ละ 88) ร้อยละ 100 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร (ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่า 18 ร้อยละ 88) สหกรณ์ ติดตามการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาด / สิ่งก่อสร้าง ที่สหกรณ์และ ใช้ประโยชน์ กลมุ่ เกษตรกร ไดร้ ับการสนบั สนุนจากกรมฯ รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 100 10. ติดตามงบประมาณเงินอุดหนุน ให้เปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ นโยบายและทศิ ทางการพัฒนาในระดบั พืน้ ท่ี สานักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2 จัดทาฐานข้อมูลของสหกรณ์ท่ีรับผิดชอบ และแบ่งจานวนสหกรณ์ให้เจ้าหน้าทสี่ ่งเสรมิ สหกรณ์รับผิดชอบโดยพิจารณาจากฐานข้อมูล และตามความยากง่าย ของสหกรณ์ รวมทั้งคานึงถึงเหมาะสมกับระดับตาแหน่ง ทั้งน้ี ผู้อานวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะต้องกากับดูแล และช่วยเหลือเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ในบางกรณีท่ีมีปัญหาหรือเข้าไปเป็นพี่เลี้ยงในบางเร่ืองบางกรณี รวมท้ัง ต้องกาหนดภารกิจในการเข้าไปแนะนาส่งเสริมให้ชัดเจนในแต่ละกิจกรรม เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์จะต้อง ดาเนินการอย่างไรบ้าง และเตรียมพร้อมอย่างไรบ้าง 1) การเข้าไปแนะนาส่งเสริมสหกรณ์ ตามแผนปฏิบัติงาน ประจาปี เช่น การติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง การสอบสวนข้อเท็จเรื่องร้องเรียน แนะนาให้ความรู้กฎหมาย คาส่ัง ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ นโยบายกระทรวง กรมฯ 2) การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 3) การเข้า ร่วมประชุมใหญ่ 4) การตรวจการสหกรณ์ จัดทาฐานข้อมูลท่ีนามาพิจารณา ประกอบด้วย สหกรณ์ที่ไม่มีปัญหาในการดาเนินงาน ชุมนุมสหกรณ์ สหกรณ์ขนาดใหญ่ท่ีมีสินทรัพย์มากกว่า 5,000 ล้านบาท สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่อง ปิดบัญชีไม่ได้ หยุดดาเนนิ กิจการ ขาดทนุ เกินกึง่ หนึง่ มีมลู ค่าห้นุ ติดลบ กลุ่มงานวิชาการ จะเข้ามาช่วยแนะนาส่งเสริมและแก้ไขปัญหาร่วมกับกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ เช่น ชุมนุมสหกรณ์ สหกรณ์ขนาดใหญ่ สหกรณ์ท่ีมีปัญหาการดาเนินงาน เช่น สหกรณ์เครดิตยูเน่ียนคลองจั่น จากัด สหกรณอ์ อมทรพั ย์บริษทั ไม้อดั ไทย จากัด สหกรณก์ ารเกษตรหนองจอก จากดั ฯลฯ ผู้อานวยการสานักงานฯ จะพิจารณาเกล่ียจานวนสหกรณ์ให้สอดคล้องกับอัตรากาลัง และ สลับปรับเปลี่ยนหมุนเวียนสหกรณ์ที่รับผิดชอบภายในกลุ่ม และการสลับกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ มีการกาหนด เป้าหมายความสาเร็จ ซึ่งในแผนอาจจะประกอบด้วย กิจกรรมการแก้ไขปัญหา/วิธีการแก้ไขปัญหา เป้าหมายการ แก้ไขปญั หา ระยะเวลาดาเนนิ การ และผู้รบั ผิดชอบในแตล่ ะเร่อื ง ทิศทางการพัฒนา การแก้ไข ตั้งรับปัญหา อุปสรรค จะใช้ผสมผสานระหว่าง การให้กลุ่มวิชาการ เขา้ มาช่วยดแู ลแนะนาส่งเสริมสหกรณ์และแก้ไขสหกรณท์ ่ีมปี ัญหา และการเกลีย่ จานวนสหกรณ์ใหเ้ หมาะสมในแต่ ละกลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณด์ ้วย WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 6 3) โครงสร้างและกรอบอัตรากาลงั ของสานักงานสง่ เสริมสหกรณก์ รุงเทพมหานคร พนื้ ท่ี 2 ประจาปี 2564 ...... โครงสร้างของสานกั งานสง่ เสริมสหกรณ์กรงุ เทพมหานคร พน้ื ท่ี 2 ข้าราชการ จานวน 42 ราย ลกู จ้างประจา จานวน 3 ราย พนักงานราชการ จานวน 23 ราย รวม 68 ราย สานกั งานส่งเสริมสหกรณ์กรงุ เทพมหานคร พื้นที่ 2 ฝา่ ยบริหาร กลุ่มจัดตง้ั และ กลมุ่ ส่งเสรมิ กลุ่มสง่ เสริม กลุม่ ตรวจการ ท่ัวไป และพัฒนา และพัฒนาการ สหกรณ์ สง่ เสรมิ ธุรกิจสหกรณ์ สหกรณ์ บรหิ ารการ ข้าราชการ 4 จัดการสหกรณ์ พนักงานราชการ 4 ข้าราชการ 3 ขา้ ราชการ 4 ข้าราชการ 3 ขา้ ราชการ 5 ลกู จ้างประจา 3 พนักงานราชการ 2 พนักงานราชการ 4 พนกั งานราชการ 1 พนกั งานราชการ 5 กลมุ่ ส่งเสรมิ กลมุ่ ส่งเสริม กล่มุ ส่งเสรมิ กลุม่ ส่งเสริม กลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์ 1 สหกรณ์ 2 สหกรณ์ 3 สหกรณ์ 4 สหกรณ์ 5 ขา้ ราชการ 5 ขา้ ราชการ 4 ข้าราชการ 4 ขา้ ราชการ 5 ข้าราชการ 2 พนักงานราชการ 2 พนักงานราชการ 2 พนกั งานราชการ 2 พนักงานราชการ 1 จานวน 2 เขต จานวน 7 เขต จานวน 5 เขต จานวน 5 เขต จานวน 5 เขต เขตบางนา เขตมนี บุรี ดอนเมอื ง เขตจตุจักร บางซื่อ เขตลาดกระบงั วฒั นา เขตหนองจอก พระโขนง หลักส่ี บางเขน สายไหม บึงก่มุ สะพานสงู ดนิ แดง หว้ ยขวาง คนั นายาว คลองสามวา สวนหลวง ประเวศ วังทองหลาง ลาดพร้าว คลองเตย บางกะปิ กลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลมุ่ เกษตรกร ข้าราชการ 2 สหกรณภ์ าคการเกษตร และกลมุ่ เกษตรกร ทัง้ หมด ท่ีมา : กองการเจา้ หนา้ ท่ี กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564 WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 7 อตั รากาลังของสานกั งานส่งเสริมสหกรณก์ รุงเทพมหานคร พ้นื ที่ 2 3 0 21 ข้าราชการ 41 พนักงานราชการ ลูกจ้างประจา ประเภทอตั รากาลงั ชาย หญงิ หน่วย : คน ข้าราชการ 18 23 รวม 41 ลกู จ้างประจา 1 2 3 พนกั งานราชการ 6 15 21 รวม 25 40 65 *** ข้อมลู ฝา่ ยบรหิ ารท่ัวไป สานักงานส่งเสริมสหกรณก์ รงุ เทพมหานคร พื้นท่ี 2 ณ วันท่ี 30 กันยายน 2564 4) งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 งบประมาณทัง้ สิ้น 10,452,738.91 บาท ใชไ้ ป 10,711,995.69 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 102.48 แผนภูมิแสดงงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 จาแนกตามแผนงาน 9.37% 1.98% 25.87% 62.78% แผนบุคลากร แผนงานพื้นฐาน แผนงานยทุ ธศาสตร์ แผนงานบูรณาการ WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 8 1. แผนงาน บุคลากรภาครฐั กจิ กรรมหลกั คา่ ใชจ้ า่ ยบุคลากรภาครัฐกรมสง่ เสริมสหกรณ์ งบบคุ ลากร คา่ ตอบแทนพนักงานราชการ (งบประมาณ 5,736,046.77 บาท) งบดาเนินงาน เงนิ สมทบประกันสงั คม (งบประมาณ 141042.13 บาท) ค่าเช่าบ้าน (งบประมาณ 847,972.78 บาท) 2. แผนงาน พืน้ ฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถ ในการแข่งขัน ผลผลติ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรไดร้ บั การสง่ เสรมิ และพฒั นาตามศกั ยภาพ กจิ กรรมหลัก ส่งเสรมิ และพฒั นาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร งบดาเนินงาน คา่ ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ (งบประมาณ 2,081,625.36 บาท) ค่าสาธารณูปโภค (งบประมาณ 425,167.65 บาท) คา่ จ้างเหมาพนกั งานขบั รถยนต์ (งบประมาณ 264,000.00 บาท) กจิ กรรมหลกั การพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร งบดาเนินงาน จดั ซือ้ ชดุ โปรแกรมจดั การสานกั งาน และ ชุดโปรแกรมระบบปฏิบตั กิ าร (งบประมาณ 31,600.00 บาท) 3. แผนงาน ยทุ ธศาสตร์ เสริมสรา้ งพลังทางสงั คม โครงการ สง่ เสริมการดาเนินงานอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ กิจกรรมหลกั พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพนื้ ทีโ่ ครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ งบดาเนนิ งาน (งบประมาณ 197,187 บาท) งบเงนิ อดุ หนุน (งบประมาณ 15,000.00 บาท) 4. แผนงาน บรู ณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการ สง่ เสริมและสร้างทกั ษะในการประกอบอาชีพท้งั ในและนอกภาคเกษตร กจิ กรรมหลัก นาลกู หลานเกษตรกรกลับบ้าน สานตอ่ อาชีพการเกษตร งบดาเนินงาน (งบประมาณ 18,600.00 บาท) โครงการ พฒั นาศักยภาพการดาเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชมุ ชน กิจกรรมหลัก เพมิ่ ศักยภาพการดาเนนิ ธรุ กิจรวบรวม จัดเกบ็ และแปรรูปผลผลิตการเกษตร ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร งบดาเนินงาน (งบประมาณ 2,880.00 บาท) งบเงินอุดหนุน (งบประมาณ 945,000.00 บาท) กจิ กรรมหลัก เพม่ิ ขีดความความสามารถในการดาเนนิ ธรุ กจิ ของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรใหเ้ ป็น องค์กรหลกั ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ระดบั อาเภอ งบดาเนินงาน (งบประมาณ 37,474.00 บาท) WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 9 แผนภมู ิแสดงงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕62- ๒๕๖4 จาแนกตามประเภทงบรายจ่าย 6 5.3 5.5 5.7 4.5 4.01 5 3.5 4 ปี 2562 3 ปี 2563 ปี 2564 2 0.96 งบดาเนนิ งาน 0.61 0.59 0.38 1 0.11 0 เงินอุดหนุน 0 งบลงทนุ งบบุคลากร ประเภทงบรายจา่ ย ปี 2562 ปี 2563 หน่วย : ลา้ นบาท รวมท้ังสน้ิ 10.524 10.082 ปี 2564 งบบคุ ลากร 5.320 5.555 งบดาเนนิ งาน 4.501 3.528 10.711 งบลงทนุ 0.113 0.614 5.736 เงินอุดหนนุ 0.590 0.385 4.012 0 0.960 5) สรปุ ข้อมูลสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลมุ่ อาชีพ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ข้อมลู ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 จานวนสหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร และจานวนสมาชิก จานวนสมาชกิ สมาชกิ มี ส่วนร่วม ประเภท จานวน รวมสมาชกิ การมสี ่วน คดิ เป็น (แห่ง) ทง้ั หมด สมาชกิ สามญั สมาชกิ สมทบ รว่ ม รอ้ ยละ (คน) (คน) (คน) 1. สหกรณก์ ารเกษตร 9 12,082 12,006 76 1,008 8.34 2. สหกรณ์ประมง 1 132 132 0 105 79.55 3. สหกรณน์ คิ ม 00 0 0 00 4. สหกรณ์ออมทรพั ย์ 187 640,861 588,760 52,101 430,159 67.12 5. สหกรณ์รา้ นคา้ 15 31,082 31,038 44 7,800 25.09 6. สหกรณบ์ ริการ 168 52,623 51,012 1,611 16,460 31.27 7. สหกรณเ์ ครดติ ยูเนยี่ น 32 45,700 45,406 294 33,381 73.04 8. กล่มุ เกษตรกร 3 62 62 0 0 0 รวม 415 782,542 728,416 54,126 488,808 62.46 ที่มา : ฝ่ายบริหารทัว่ ไป สานักงานสง่ เสรมิ สหกรณก์ รุงเทพมหานคร พนื้ ท่ี 2 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 10 0 แผนภูมิแสดงผลการมสี ่วนร่วมของสมาชิกสหกรณ์แตล่ ะประเภท ข้อมลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564 คน 700,000 640,861 600,000 430,159 500,000 400,000 สมาชิกท้ังหมด 300,000 การมสี ว่ นรว่ ม 200,000 52,61263,46031,0872,800 45,3730,0381 12,082 132 100,000 1008 105 0 ออมทรพั ย์ บริการ รา้ นค้า เครดิตยเู นีย่ น เกษตร ประมง สถานะ จานวน (แห่ง) จานวนทั้งหมด (1) + (2) + ประเภท ดาเนินงาน/ หยดุ ดาเนนิ งาน/ เลกิ จัดตัง้ ใหม่ (3) + (4) ธรุ กจิ ธุรกจิ /ชาระบญั ชี 1. สหกรณก์ ารเกษตร (1) (2) (4) 9 2. สหกรณป์ ระมง (3) 1 3. สหกรณ์นคิ ม 7 0 0 0 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 1 0 2 0 18๗ 5. สหกรณ์ร้านคา้ 0 0 0 0 15 6. สหกรณบ์ รกิ าร 178 1 0 2 168 7. สหกรณ์เครดติ ยเู น่ียน 13 0 6 0 32 8. กลมุ่ เกษตรกร 117 0 2 14 3 29 0 37 1 415 รวม 2 0 0 1 17 345 2 2 51 ที่มา : ฝ่ายบริหารท่ัวไป สานักงานส่งเสริมสหกรณก์ รงุ เทพมหานคร พ้นื ที่ 2 WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 11 0 จานวนปริมาณธุรกิจ : ล้านบาท ปรมิ าณ ปริมาณธรุ กจิ แยกตามประเภทการใหบ้ ริการ (ล้านบาท) ธรุ กิจ ประเภท ของ รบั ฝากเงนิ ใหเ้ งนิ กู้ จัดหาสนิ คา้ มา รวบรวม แปรรูป บรกิ าร รวมท้ังส้นิ สหกรณ์ จาหน่าย ผลผลติ ผลผลติ และอ่นื ๆ (แห่ง) 1. สหกรณก์ ารเกษตร 7 5.9 15.38 141.67 0 0 397.32 560.29 2. สหกรณ์ประมง 0 0 1 0.02 0 0 0 0 0.15 0.18 3. สหกรณ์นิคม 0 0 4. สหกรณอ์ อมทรพั ย์ 00 0 7.3 00 0 570.192 8.64 5. สหกรณร์ ้านค้า 181 113,369.93 162,347.56 117.32 1.39 0 0.002 275,717.49 6. สหกรณ์บรกิ าร 17.66 7. สหกรณเ์ ครดติ 13 260.85 0.93 0 0 55.68 894.98 ยูเนยี น 0 8. กลุ่มเกษตรกร 131 341.11 469.38 0 168.78 1,105.25 30 3,683.05 4,676.64 0 7.83 8,386.60 10 0 00 0 รวมทัง้ ส้นิ 364 117,660.86 167,509.89 846.84 17.33 0 629.76 286,664.79 ทม่ี า : กลุ่มสง่ เสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ สานักงานส่งเสรมิ สหกรณก์ รงุ เทพมหานคร พ้นื ที่ 2 ผลการดาเนนิ งาน : ล้านบาท ผลการดาเนินงานปีล่าสดุ ที่มีการปิดบัญชใี นปงี บประมาณ พ.ศ.2564 กาไร (ขาดทุน) สทุ ธิ ผลการดาเนนิ งานในภาพรวม การดาเนินงานมีผลกาไร - ขาดทนุ ในภาพรวม ประเภท (1) (2) (3) สหกรณท์ ่ีมผี ลกาไร สหกรณ์ทขี่ าดทุน (ลา้ นบาท) (5) – (7) จานวน รายได้ คา่ ใชจ้ ่าย (4) (5) (6) (7) จานวน ขาดทนุ สหกรณ์ (ลา้ น (ล้าน จานวน กาไร สหกรณ์ (ลา้ นบาท) (แหง่ ) (แหง่ ) บาท) บาท) สหกรณ์ (ล้านบาท) (แห่ง) 1. สหกรณก์ ารเกษตร 7 0 03 38.877 0 0 38.877 2. สหกรณ์ประมง 1 0 0 3. สหกรณ์นคิ ม 0 0 00 00 0 0 4. สหกรณ์ออมทรพั ย์ 181 6.561 5. สหกรณร์ ้านคา้ 13 0 00 00 1.013 16,613.338 6. สหกรณ์บรกิ าร 131 4.604 3.091 7. สหกรณเ์ ครดิตยเู น่ียน 30 0 0 151 16,616.900 2 10.937 61.964 8. กลุ่มเกษตรกร 1 0 0 05 4.104 2 164.773 รวมทง้ั สิ้น 364 23.117 0 0 0 36 66.569 10 16,882.046 0 0 15 175.711 8 0 00 00 0 0 210 16,905.163 22 ทม่ี า : กลมุ่ สง่ เสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ สานักงานสง่ เสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พน้ื ที่ 2 WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 12 0 ผลการจัดระดับช้ันสหกรณ์ จาแนกตามประเภทของสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ รวม ชัน้ 1 ช้นั 2 ชั้น 3 ชน้ั 4 9 สหกรณ์ภาคการเกษตร - 1 1. สหกรณ์การเกษตร 1 242 187 2. สหกรณน์ คิ ม - --- 32 168 3. สหกรณป์ ระมง - 1- - 15 412 4. สหกรณ์ออมทรพั ย์ 81 92 8 6 5. สหกรณ์เครดติ ยูเนย่ี น 8 19 3 2 6. สหกรณบ์ รกิ าร 10 85 36 37 7. สหกรณ์รา้ นค้า 2 922 รวม 102 208 53 49 ทีม่ า : รายงานสรปุ ผลการจดั ระดบั ชนั้ สหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน ผลการจัดระดบั ชน้ั สหกรณ์ เปรยี บเทียบ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2562 – 2564) แผนภมู ิแสดงผลการจดั ระดับชัน้ สหกรณ์ ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2564 จานวน : แห่ง 250 208 200 179 161 191 150 134 ชัน้ 4 102 ช้ัน 3 100 ชัน้ 2 50 30 18 33 41 49 53 ชนั้ 1 0 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2562 ระดบั ชน้ั ระดบั ช้นั ระดับช้นั ระดบั ชั้น ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562 ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2563 ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2564 (แหง่ /รอ้ ยละ) (แห่ง/รอ้ ยละ) (แหง่ /ร้อยละ) ชน้ั 1 163/41.69 134/33.58 102/24.76 ชน้ั 2 179/45.78 191/47.87 208/50.49 ชัน้ 3 18/4.60 41/10.28 53/12.86 ชน้ั 4 31/7.93 33/8.27 49/11.89 รวม 391/100 399/100 412/100 ทม่ี า : รายงานสรุปผลการจัดระดับช้นั สหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 13 0 ผลการจดั มาตรฐานสหกรณ์ จานวน ไม่นามาจัดมาตรฐาน (แห่ง) นามาจัด ผลการจัดมาตรฐาน สหกรณ์ มาตรฐาน (แห่ง) ท่ี ประเภท ท้ังหมด (แหง่ ) ไมค่ รบ 2 ชาระ ปี หยดุ บัญชี (แห่ง) ผา่ น ไมผ่ ่าน 1 การเกษตร 9 - - - 716 2 นิคม 0- - - - - - 3 ประมง 1- - -1-1 4 ออมทรพั ย์ 187 6 8 - 173 148 25 5 ร้านคา้ 15 - - 2 13 4 9 6 บริการ 168 23 5 35 105 17 88 7 เครดติ ยูเนีย่ น 32 1 2 2 27 16 11 รวม 412 30 15 39 326 186 140 ที่มา : รายงานสรปุ ผลการจดั มาตรฐานสหกรณ์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน แผนภูมิแสดงผลการจดั มาตรฐานสหกรณ์ ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2564 จานวน : แหง่ 160 148 140 ผา่ น 120 ไม่ผ่าน 100 88 80 60 40 25 16 11 4 9 1 6 0 1 20 17 0 ออมทรพั ย์ บรกิ าร เครดิตยูเนี่ยน รา้ นค้า เกษตร ประมง WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 14 0 ส่วนท่ี 2 ผลสมั ฤทธ์ิของการปฏบิ ตั ิงาน และผลการปฏบิ ัตงิ าน/ โครงการภายใตแ้ ผนปฏิบัติ งานและงบประมาณรายจา่ ย ประจาปี WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 15 0 1) ผลการปฏิบัติงาน ตามแผนปฏิบัตงิ านและงบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และงบประมาณอ่นื ทหี่ นว่ ยงานไดร้ บั แผนงานพ้ืนฐาน ดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน งานสง่ เสรมิ และพัฒนาสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกรให้มีความเขม้ แข็งตามศกั ยภาพ สานกั งานฯ รับผดิ ชอบสหกรณ์ กลมุ่ เกษตร ดา้ นทศิ เหนือและทศิ ตะวนั ออกของกรุงเทพมหานคร ท้งั หมด 24 เขต มีสหกรณ์เพียง 6 ประเภท ไม่มีสหกรณ์ประเภทนิคม มีสหกรณ์นอกภาคการเกษตรมากท่ีสุด มีจานวน 402 สหกรณ์ สหกรณภ์ าคการเกษตร จานวน 10 แห่ง ส่วนใหญเ่ ป็นประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ทอี่ ยใู่ นหนว่ ยงาน ราชการและสถานประกอบการ มีชุมนุมสหกรณ์ระดับชาติ/ประเทศ 4 ประเภท ได้แก่ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จากัด ชุมนุมร้านสหกรณ์แห่งประเทศไทย จากัด ชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย จากัด และชุมนุมสหกรณ์บรกิ ารแห่งประเทศไทย จากัด สรปุ ตามเขต ดงั นี้ สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 1. เขตมีนบรุ ี สหกรณ์ท้ังหมด 13 แหง่ สถานะดาเนนิ การ 10 แหง่ ชาระบัญชี/เลิก 3 แห่ง แยกเป็น สหกรณ์ออมทรัพย์ 3 แห่ง สหกรณ์บริการ 7 แห่ง (ชาระบัญชี 2 แห่ง) สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 แห่ง สหกรณ์ รา้ นค้า 1 แหง่ (เลกิ ) มสี มาชิกรวม 3,373 คน ผลการเข้าแนะนา ส่งเสริมสหกรณ์ 1. เขา้ แนะนาใหค้ ณะกรรมการดาเนนิ การ และฝา่ ยจดั การ ของสหกรณ์ ใหป้ ฏิบัตงิ านตามพระราชบัญญัติ สหกรณ์ พ.ศ. 2542 ขอ้ บังคบั ระเบยี บ คาสั่งนายทะเบยี นสหกรณ์ และคาแนะนานายทะเบยี นสหกรณ์ 2. ช่วยแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของสมาชิกสหกรณ์ โดยเป็นตัวกลางในการสื่อสารทาความเข้าใจ ระหว่างสมาชิก กับเจา้ หน้าท่ขี องสหกรณ์ หรอื คณะกรรมการของสหกรณ์ 3. แนะนา ส่งเสริมใหร้ ักษาระดบั มาตรฐานอยู่ในระดบั ผา่ นมาตรฐาน และผลกั ดนั สหกรณ์ที่ไมผ่ ่านเกณฑ์ มาตรฐานให้ผา่ นมาตรฐาน 4. สหกรณ์ดาเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และ กฎหมายว่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการสนบั สนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธท่ีมี อานภุ าพทาลายล้างสงู 5. สหกรณ์ดาเนนิ งานอยภู่ ายใต้ขอบเขตกฎหมายสหกรณ์ กฎหมายอน่ื ท่ีเก่ียวข้อง ระเบยี บคาสั่งนายทะเบยี นสหกรณ์ ข้อบังคับ ระเบียบ และมติของสหกรณ์ 6. สง่ เสริมสหกรณต์ ามกฎกระทรวง การดาเนนิ งานและการกากับดแู ลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์ เครดติ ยูเนยี่ น พ.ศ. 2564 ปญั หา/อปุ สรรคในการดาเนินงานของสหกรณ์ 1. สหกรณ์ดาเนินงานออกนอกกรอบวตั ถปุ ระสงค์ 2. สหกรณ์เคหสถานทต่ี ้งั ขึ้นมาแลว้ ไมม่ ขี ีดความสามารถทจ่ี ะจดั จา้ งเจ้าหนา้ ท่ีสหกรณใ์ หค้ รบทุกตาแหน่ง บางสหกรณ์ใช้กรรมการทาหน้าที่แทนเจา้ หน้าท่ี ซึ่งขาดความรู้ ในการลงบันทึกบัญชี ทาให้สหกรณ์ไม่สามารถปิด บัญชี เพือ่ จัดทางบการเงนิ ได้ เพ่อื เสนอผสู้ อบบญั ชีมาตรวจสอบ 3. สหกรณไ์ มส่ ามารถปดิ บัญชไี ด้ 4. สหกรณไ์ ม่สามารถจัดประชมุ คณะกรรมการเป็นประจาทุกเดือนไดเ้ นื่องจากการคณะกรรมการมีเวลา วา่ งไมต่ รงกัน WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 16 0 5. สหกรณ์ขาดบุคลากรท่ีมีความรู้ทางด้านบัญชี คณะกรรมการท่ีได้รับมอบหมายให้จัดทาบัญชียังขาด ความรูค้ วามเขา้ ใจในการจัดทาและบันทึกบัญชสี หกรณ์ 6. สมาชิกสหกรณ์ขาดความสามัคคีกนั เกิดความขดั แย้งภายในสหกรณ์ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. สหกรณ์ควรจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี เพ่ือให้การบันทึกบัญชีเรียบร้อยเป็นปัจจุบัน จัดทาเอกสารการ ลงบัญชี และทะเบียนคุมใหเ้ รียบรอ้ ยเป็นปจั จุบนั พรอ้ มทัง้ จดั เก็บเอกสารตา่ ง ๆ ไว้ในทปี่ ลอดภัย 2. สหกรณ์ที่จัดต้ังขึ้น แล้วไม่ดาเนินธุรกิจ ภายในหนึ่งปี หรือหยุดดาเนินกิจการติดต่อกันเป็นเวลา 2 ปี จะตอ้ งเสนอนายทะเบียนสหกรณ์ส่ังเลิกตามมาตรา 71(1) แห่งพระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ พ.ศ. 2542 3. เจา้ หนา้ ทสี่ ง่ เสรมิ สหกรณ์ต้องเข้าแนะนาส่งเสรมิ และตดิ ตาม ผลกั ดันให้สหกรณ์สามารถปิดบัญชีได้ 4. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมต้องร่วมเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ แนะนาเพื่อให้สหกรณ์ ดาเนินงานเปน็ ไปตามกฎหมาย ขอ้ บังคับ ระเบยี บและคาแนะนานายทะเบยี นสหกรณ์ สหกรณท์ ี่สะท้อนผลสาเรจ็ ของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสพ. 2 ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 1. สหกรณอ์ อมทรพั ยอ์ ลั มอลด์ (ไทยแลนด)์ จากัด 2. สหกรณอ์ อมทรัพยพ์ นักงานในเครือสหยูเนี่ยน เขตบางชนั จากัด ผลงาน/ความสาเร็จของสหกรณ์ 1. สหกรณ์จดั ทาบญั ชีได้เป็นปัจจุบนั ปดิ บญั ชีได้ และมผี ลการดาเนนิ งานของสหกรณม์ ีกาไร 2. สหกรณ์ผ่านเกณฑม์ าตรฐานตามทก่ี าหนด ปจั จัยแหง่ ความสาเร็จ 1. สมาชิกในเขตมีนบุรีได้ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามคาแนะนาของนายทะเบียนสหกรณ์ และ เจา้ หน้าท่ีสง่ เสรมิ และสมาชกิ เขา้ ร่วมการฝึกอบรมให้ความรทู้ ุกครงั้ ทมี่ ีการเปิดอบรม 2. สมาชิกสหกรณ์และคณะกรรมการดาเนินการมีความรู้ความเข้าใจ ในหลักการสหกรณ์สหกรณ์ รู้ถึง สิทธิและหน้าท่ีของตน เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมประชมุ สม่าเสมอเพื่อทราบถึงการดาเนินงานของสหกรณ์ เพ่อื ให้คาแนะนา และแก้ไขปัญหาได้ก่อนทีจ่ ะเกดิ ความเสียหายต่อสหกรณ์และสมาชกิ 3. สหกรณป์ ฏบิ ัติตามกฎหมาย ขอ้ บังคับ ระเบียบ และคาแนะนานายทะเบียนสหกรณ์ 2. เขตพระโขนง สหกรณส์ ถานะดาเนินการทง้ั หมด 1 แห่ง ซึ่งเป็นประเภทออมทรพั ย์ มีสมาชิก 1,122 คน ผลการเขา้ แนะนา สง่ เสริมสหกรณ์ 1 .เข้าแนะนา ส่งเสริมให้คณะกรรมการดาเนินการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ รวมถึง คาแนะนา ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ และนาหลกั ธรรมาภบิ าล มาเปน็ หลักในการบริหารกิจการสหกรณ์เพ่ือให้ สหกรณม์ คี วามมนั่ คง เป็นท่ีพึ่งของสมาชิกไดอ้ ยา่ งย่งั ยนื 2. แนะนา สง่ เสริมให้รักษาระดับมาตรฐานอยู่ในระดับผา่ นมาตรฐาน และผลักดนั สหกรณ์ท่ีไมผ่ ่านเกณฑ์ มาตรฐานให้ผา่ นมาตรฐาน 3. สหกรณด์ าเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงนิ และกฎหมาย วา่ ด้วยการป้องกันและปราบปรามการสนบั สนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธทม่ี ีอานุภาพ ทาลายล้างสงู 4. สหกรณ์ดาเนินงานอยภู่ ายใตข้ อบเขตกฎหมายสหกรณ์ กฎหมายอ่นื ท่ีเก่ยี วข้อง 5. ระเบียบคาส่ังนายทะเบยี นสหกรณ์ ขอ้ บังคบั ระเบียบ และมตขิ องสหกรณ์ 6. สง่ เสรมิ สหกรณต์ ามกฎกระทรวง การดาเนนิ งานและการกากบั ดแู ลสหกรณ์ออมทรพั ยแ์ ละสหกรณ์ เครดิตยูเนยี่ น พ.ศ. 2564 ปญั หา/อุปสรรคในการดาเนนิ งานของสหกรณ์ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 17 0 1. เจา้ หนา้ ทสี่ หกรณ์มีไม่เพียงพอในการปฏิบตั ิงานของสหกรณ์ 2. เจ้าหน้าทส่ี หกรณแ์ บ่งหนา้ ทใ่ี นการทางานไมช่ ดั เจน 3. คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ยงั ไมม่ ีความเข้าใจในกฎหมาย กฎกระทรวง การดาเนินงานและ การกากบั ดแู ลสหกรณ์ออมทรัพยแ์ ละสหกรณเ์ ครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา 1. แนะนาให้สหกรณ์จดั หาเจา้ หน้าทีส่ หกรณ์เพ่ิม 2. แนะนาใหส้ หกรณ์แบง่ โครงสร้างตาแหน่งในสหกรณใ์ ห้ชดั เจน 3. เจ้าหนา้ ท่สี ง่ เสรมิ เข้าแนะนา ใหค้ วามรเู้ ก่ียวกบั กฎหมาย กฎกระทรวง การดาเนนิ งานและการกากับ ดแู ลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณเ์ ครดติ ยเู นี่ยน พ.ศ. 2564 สหกรณท์ สี่ ะทอ้ นผลสาเร็จของการปฏบิ ตั งิ านตามภารกิจของ สสพ.2 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. สหกรณอ์ อมทรพั ย์กลุ่มบรษิ ทั อุตสาหกรรมไหมไทย จากดั ผลงาน/ความสาเร็จของสหกรณ์ 1. สหกรณ์สามารถรักษามาตรฐานสหกรณใ์ ห้อยู่ในระดับ ผ่านมาตรฐาน 2. สหกรณจ์ ัดปดิ บญั ชไี ด้เป็นปจั จบุ นั และมผี ลการดาเนินงานของสหกรณม์ ีกาไรทกุ ปี ปจั จยั แห่งความสาเรจ็ 1. สหกรณ์ปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย ข้อบงั คบั ระเบียบ และคาแนะนานายทะเบยี นสหกรณ์ 2. คณะกรรมการดาเนินการและสมาชิกสหกรณม์ ีความรคู้ วามเข้าใจ ในหลักการสหกรณ์สหกรณ์ 3. คณะกรรมการดาเนินการสหกรณใ์ หค้ วามสาคัญกับงานของสหกรณ์ 4. เจ้าหน้าทสี่ ง่ เสริมสหกรณ์เขา้ ให้คาแนะนา ส่งเสริมสหกรณ์เปน็ ประจา 3. เขตบางนา สหกรณ์ทั้งหมด 6 แห่ง เป็นประเภทออมทรัพย์ และมีสถานะดาเนินการ มีสมาชิก 4,182 คน ผลการเข้าแนะนา ส่งเสริมสหกรณ์ 1. เข้าแนะนา ส่งเสริมให้คณะกรรมการดาเนินการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ รวมถึง คาแนะนา ประกาศนายทะเบยี นสหกรณ์ และนาหลกั ธรรมาภบิ าล มาเป็นหลกั ในการบริหารกิจการสหกรณเ์ พื่อให้ สหกรณม์ คี วามมั่นคง เปน็ ท่ีพง่ึ ของสมาชกิ ได้อย่างย่ังยืน 2. แนะนา ส่งเสริมให้รักษาระดับมาตรฐานอยใู่ นระดับผ่านมาตรฐาน และผลกั ดนั สหกรณท์ ไ่ี ม่ผา่ นเกณฑ์ มาตรฐานให้ผา่ นมาตรฐาน 3. สหกรณ์ดาเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และ กฎหมายวา่ ด้วยการป้องกันและปราบปรามการสนบั สนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มี อานภุ าพทาลายลา้ งสูง 4. สหกรณ์ดาเนินงานอยภู่ ายใตข้ อบเขตกฎหมายสหกรณ์ กฎหมายอน่ื ท่ีเกีย่ วข้อง 5. ระเบียบคาสัง่ นายทะเบยี นสหกรณ์ ข้อบังคบั ระเบียบ และมติของสหกรณ์ 6. ส่งเสริมสหกรณ์ตามกฎกระทรวง การดาเนินงานและการกากับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์ เครดิตยูเนีย่ น พ.ศ. 2564 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 18 0 ปญั หา/อุปสรรคในการดาเนนิ งานของสหกรณ์ 1. เจ้าหนา้ ท่ีสหกรณแ์ บ่งหน้าที่ในการทางานไม่ชัดเจน 2. คณะกรรมการดาเนนิ การสหกรณย์ งั ไม่มีความเขา้ ใจในกฎหมาย กฎกระทรวง การดาเนินงานและ การกากบั ดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนีย่ น พ.ศ. 2564 3. สหกรณไ์ ม่สามารถปิดบัญชีได้ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปัญหา 1. แนะนาให้สหกรณ์แบ่งโครงสร้างตาแหนง่ ในสหกรณใ์ ห้ชดั เจน 2. เจา้ หน้าท่ีส่งเสริมเขา้ แนะนา ใหค้ วามรู้เกยี่ วกับกฎหมาย กฎกระทรวง การดาเนนิ งานและการกากับ ดูแลสหกรณอ์ อมทรัพยแ์ ละสหกรณ์เครดิตยเู น่ียน พ.ศ. 2564 3. เจา้ หน้าท่สี ง่ เสรมิ เขา้ ติดตาม ใหค้ าแนะนา ช่วยเหลือ เพอื่ ใหส้ หกรณ์ปดิ บญั ชีได้ สหกรณ์ท่สี ะทอ้ นผลสาเรจ็ ของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสพ.2 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. สหกรณอ์ อมทรัพย์องคก์ ารแกว้ จากดั 2. สหกรณ์ออมทรพั ยก์ รมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา จากดั 3. สหกรณอ์ อมทรพั ยพ์ นกั งานในเครือ แพรนด้า จิวเวลร่ี จากัด 4. สหกรณ์ออมทรัพยเ์ นชนั่ มัลตมิ เี ดีย กรปุ๊ จากดั 5. สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานครสิ เตียนีและนีลเส็น (ไทย) จากัด ผลงาน/ความสาเร็จของสหกรณ์ 1. สหกรณ์สามารถรักษามาตรฐานสหกรณใ์ หอ้ ยู่เกณฑผ์ ่านมาตรฐานตามท่ีกาหนด 2. สหกรณ์จดั ปิดบัญชีได้เปน็ ปจั จุบัน และมีผลการดาเนนิ งานของสหกรณ์มีกาไรทุกปี 3. สหกรณม์ กี ารจดั จัดสรรกาไรเข้าทุนสวัสดิการสมาชิกเป็นประจาทุกปี ปจั จยั แหง่ ความสาเรจ็ 1. สหกรณป์ ฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบยี บ และคาแนะนานายทะเบยี นสหกรณ์ 2. คณะกรรมการดาเนนิ การและสมาชกิ สหกรณ์มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ ในหลักการสหกรณ์สหกรณ์ 3. คณะกรรมการดาเนินการสหกรณใ์ ห้ความสาคญั กบั งานของสหกรณ์ 4. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณเ์ ขา้ ให้คาแนะนา ส่งเสริมสหกรณ์เป็นประจา 5. คณะกรรมการดาเนนิ งานสหกรณม์ ีการประชมุ ติดตามงานเป็นประจาทุกเดือน 4. เขตดอนเมือง สหกรณ์ท้ังหมด 32 แห่ง เป็นประเภทออมทรัพย์ 19 แห่ง (ดาเนินการ 18 แห่ง ชาระบัญชี 1 แห่ง) สหกรณ์บรกิ าร 12 แหง่ ร้านคา้ 1 แห่ง มีสมาชิกทงั้ หมด 98,599 คน ผลการเขา้ แนะนา ส่งเสรมิ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร - เข้าแนะนาให้คณะกรรมการดาเนินการ และฝ่ายจัดการ ของสหกรณ์ ให้ปฏิบัติงานตาม พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 ข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ และคาแนะนานายทะเบียน สหกรณ์ - เข้าแนะนาให้คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ บริหารงานและดาเนินงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาลมา เป็นหลักในการปฏบิ ตั งิ าน - ตดิ ตามเรง่ รัดให้สหกรณ์ จัดทารายงาน ผลการปฏิบัติงาน เสรจ็ ทันกาหนดเวลา - แนะนาตามขอ้ สงั เกตผสู้ อบบัญชี ผู้ตรวจสอบกจิ การ ผ้ตู รวจการสหกรณ์ - แนะนาเร่ืองการบริหารจัดการสหกรณเ์ ร่อื งการบรหิ ารสภาพคล่อง การบริหารความเส่ียงด้านเงนิ ฝาก และเงินกู้ การควบคุมภายใน การติดตามประเมินผลโครงการต่างๆ ที่สหกรณ์จัดทาข้ึนและกาหนดตัวช้ีวัดว่า เป็นไปตามแผนงานผลท่ีกาหนดหรอื ไม่และตวั ชว้ี ัดมีความเหมาะสมหรือไม่ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 19 0 - การติดตามการดาเนินงาน การเปรียบเทียบแผน ผล งบประมาณรายจ่ายว่าเป็นไปตามแผนหรือไม่ ติดตามผลการดาเนินงานมีการกระจายแผน ผลเป็นรายเดือนและผลการดาเนินงานเพิ่ม/ลดจากปีก่อนและเทียบ เป็นร้อยละ - ติดตามมาตรฐาน การควบคุมภายในให้เพ่ิมข้ึนหรือรักษามาตรฐานและผลักดันให้สหกรณ์ที่ไม่ผ่าน มาตรฐานใหผ้ ่านเกณฑ์ - ติดตามแนะนาการแก้ไข หรือ กาหนดระเบียบ ข้อบังคับ ให้เป็นไปตามเกณฑ์กากับการดูแลสหกรณ์ ในประเภทออมทรพั ย์ เครดิตยูเนย่ี นและบรกิ าร (แทก็ ซี)่ - ตดิ ตามการบนั ทึกรายงานการประชมุ ใหถ้ กู ต้อง - ติดตามการนาเงนิ ไปลงทุนให้เปน็ ไปตามที่กฎหมายกาหนด - ตดิ ตามแนะนาขอ้ ที่สหกรณไ์ มผ่ า่ นในเร่อื งธรรมาภิบาล - ติดตามแนะนาการยกระดับช้นั ของสหกรณใ์ นหวั ข้อที่ไมผ่ า่ น - ตดิ ตามและแนะนาใหส้ หกรณป์ ฏิบัตติ ามขอ้ บังคบั ระเบียบ ท่กี าหนด และไม่ขัดกบั กฎหมายสหกรณ์ ปญั หา/อปุ สรรคในการดาเนินงานของสหกรณ์ - สหกรณ์ขนาดเล็ก ขาดเจ้าหน้าทีใ่ นการปฏบิ ัติงาน และกรรมการมีงานประจา (สว่ นใหญ่เปน็ พนักงาน บริษัทหรือหน่วยงานต่างๆ) จึงทาให้ขาดความรู้ในการทางานประจาด้านบัญชีและการเงิน การบันทึกรายงานการ ประชมุ และการปฏบิ ัติตามระเบยี บ ข้อบังคับ - สหกรณเ์ คหสถานทีต่ งั้ ข้ึนมาแลว้ ไมม่ ีขดี ความสามารถท่ีจะจัดจ้างเจา้ หนา้ ทีส่ หกรณ์ให้ครบทกุ ตาแหนง่ บางสหกรณ์ใช้กรรมการทาหน้าที่แทนเจา้ หนา้ ที่ ซึ่งขาดความรู้ ในการลงบนั ทึกบัญชี ทาใหส้ หกรณ์ไม่ สามารถปดิ บญั ชี เพื่อจดั ทางบการเงินได้ เพื่อเสนอผสู้ อบบัญชมี าตรวจสอบ - ไม่มีการอุทิศเวลาให้กับสหกรณ์เช่น ไม่ประชุมคณะกรรมการประจาเดือน ไม่มีคนจัดทาบัญชี ลงบัญชีไม่ถูกต้อง จดบันทึกวาระการประชุมไม่ถูกต้อง ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับให้ถูกต้อง ไม่รู้แต่ไม่ศึกษา แนะนาแลว้ แตไ่ มป่ ฏบิ ตั ิ รวมถึงไมใ่ หค้ วามร่วมมือกบั หนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้องในการจัดอบรมต่างๆ - ผู้ตรวจสอบกิจการขาดการตระหนักในหน้าท่ี ไมม่ ีความรู้ในการตรวจสอบและเขยี นรายงาน การรับ จ่ายและเก็บเงนิ สดเกนิ กว่าทรี่ ะเบยี บกาหนด บัญชไี ม่เป็นปจั จุบนั ไมม่ ที ะเบียนคุมการจ่ายหรือออกใบเสรจ็ - ประธานกรรมการและคณะกรรมการ ขาดความเป็นผนู้ าในการพัฒนา หรือเข้าครอบสมาชิกซึ่งเปน็ ชอ่ งว่างในการทจุ รติ ได้งา่ ย - ขาดการวางแผนการดาเนินงานและติดตามประเมินผลการดาเนินงานความคิดริเริ่ม สมาชิกขาด ความสนใจ และไม่ค่อยให้ความรว่ มมือ จึงเปน็ อปุ สรรคและความยากในการสง่ เสริมเนื่องจากการจดทะเบยี นจัดต้ัง เป็นไปตามนโยบายภาครัฐ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา - มกี ารจัดอบรมสมั มนา แกก่ รรมการ และเจ้าหนา้ ที่สหกรณ์ ให้รถู้ งึ บทบาทหน้าทีข่ องตนเอง พร้อม ท้งั การบริหารจัดการ เพ่อื เพิม่ ศกั ยภาพในการทางาน - เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ ต้องเข้าแนะนาส่งเสริมช่วยเหลือสหกรณ์ พร้อมทั้งเสริมสร้าง ความสมั พันธอ์ นั ดกี ับสหกรณ์ - สร้างความเข้มแข็งตามหลักธรรมาภิบาล บุคคลทั้ง 4 ฝ่าย กรรมการ สมาชิก เจ้าหน้าท่ี ผตู้ รวจสอบกจิ การให้มจี รยิ ธรรม คุณธรรมในการปฏิบตั ิงาน สรา้ งจติ สานึกร่วมกนั ภายในองคก์ ร - สร้างระบบตรวจสอบที่เข้มแข็งโดยความร่วมมือจากกรรมการ สมาชิก เจ้าหน้าที่ผู้ตรวจสอบ กิจการโดยมกี ารฝกึ อบรมสมั มนารว่ มกัน - การจัดส่วนงาน ความรับผดิ ชอบ คู่มอื การทางาน - มีระบบการใหบ้ รกิ ารสมาชิกอยา่ งเปน็ รูปธรรม WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 20 0 - มีแนวทางติดตามการตรวจสอบประเมินผลการทางานของทุกฝ่ายอย่างเป็นรูปธรรมและมีการ ปรับปรุงพัฒนา การบริหารจัดการองค์กร การตรวจสอบ พัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศ การให้บริหารอย่าง ต่อเน่ือง - ตอ้ งมผี ู้นาทีเ่ ข้มแข็งมาเปน็ ประธานในการชีน้ าองค์กรใหเ้ กดิ ความเขม้ แขง็ สหกรณ์ทสี่ ะท้อนผลสาเรจ็ ของการปฏิบตั งิ านตามภารกิจของ สสพ.2 ในปงี บประมาณ พ.ศ.2564 1. สหกรณ์ออมทรพั ยส์ านักผบู้ งั คบั ทหารอากาศดอนเมือง จากัด 2. สหกรณอ์ อมทรัพย์ บรษิ ทั ทา่ อากาศไทย จากัด 3. สหกรณอ์ อมทรพั ย์หนว่ ยบัญชาการทหารพฒั นา จากดั ผลงาน/ความสาเรจ็ ของสหกรณ์ - สหกรณส์ ามารถรักษามาตรฐานสหกรณ์ใหอ้ ย่ใู นระดบั ดเี ลศิ ปัจจัยแห่งความสาเรจ็ สหกรณ์ในเขตดอนเมืองบางส่วนเปน็ สหกรณท์ หาร จงึ ทาใหก้ ารดาเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ์อยูใ่ นกรอบ 5. เขตหลักสี่ สหกรณ์ท้ังหมด 41 แห่ง เป็นประเภทออมทรัพย์ 19 แห่ง (ดาเนินการ 19 แห่ง)สหกรณ์ บริการ 20 แห่ง (ดาเนินการ17 แห่ง ชาระบญั ชี 3 แห่ง) สหกรณเ์ ครดิตยเู นี่ยน 1 แห่ง (ดาเนินการ 1 แห่ง) และ ร้านคา้ 1 แหง่ (ดาเนินการ 1 แหง่ ) มสี มาชิกทง้ั หมด 119,565 คน ผลการเข้าแนะนา ส่งเสรมิ สหกรณ์ 1. เข้าแนะนาให้คณะกรรมการดาเนนิ การ และฝ่ายจดั การ ของสหกรณ์ ใหป้ ฏบิ ตั งิ านตามพระราชบญั ญัติ สหกรณ์ พ.ศ. 2542 ขอ้ บังคับ ระเบยี บ คาสงั่ นายทะเบียนสหกรณ์ และคาแนะนานายทะเบยี นสหกรณ์ 2. เข้าแนะนาให้คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ บริหารงานและดาเนนิ งานโดยใชห้ ลกั ธรรมภิบาล มาเปน็ หลัก ในการปฏิบัติงาน 3. ติดตามเรง่ รดั ใหส้ หกรณ์ จัดทารายงาน ผลการปฏบิ ตั ิงาน เสร็จทันกาหนดเวลา 4. ช่วยแกไ้ ขปัญหาความเดือดรอ้ นของสมาชกิ สหกรณ์ โดยเป็นตัวกลางในการสื่อสารทาความเข้าใจ ระหวา่ งสมาชิก กบั เจ้าหน้าท่ีของสหกรณ์ หรือคณะกรรมการของสหกรณ์ 5. แนะนา ส่งเสรมิ ให้รกั ษาระดับมาตรฐานอยู่ในระดบั ดีเลิศ และผลกั ดนั สหกรณ์ท่ีไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จาก ระดับ F เปน็ ระดบั C ,ระดับ C เป็นระดบั B และระดบั B เป็น ระดับ A ปัญหา/อปุ สรรคในการดาเนนิ งานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณอ์ อมทรพั ยด์ าเนินงานออกนอกกรอบวตั ถุประสงค์ 2. สหกรณ์เคหสถานท่ตี ั้งขน้ึ มาแล้ว ไม่มีขดี ความสามารถทีจ่ ะจดั จา้ งเจา้ หน้าทีส่ หกรณ์ให้ครบทกุ ตาแหนง่ บางสหกรณ์ใช้กรรมการทาหนา้ ที่แทนเจ้าหน้าที่ ซึ่งขาดความรู้ ในการลงบนั ทึกบัญชี ทาใหส้ หกรณ์ไม่ สามารถปิดบัญชี เพ่ือจดั ทางบการเงนิ ได้ เพ่ือเสนอผู้สอบบัญชีมาตรวจสอบ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 21 0 ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา 1. ให้นายทะเบยี นสหกรณ์ใชอ้ านาจตามพระราชบัญญัตสิ หกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 (1) ให้คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่อง ตามวิธีการ และระยะเวลาที่ นายทะเบยี นสหกรณก์ าหนด (2) ให้คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ระงับการปฏิบัติบางส่วนที่เป็นเหตุให้เกิดข้อบกพร่อง หรอื เส่ือมเสยี ผลประโยชน์ของสหกรณ์หรอื สมาชิก 2. สหกรณ์ควรจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี เพ่ือให้การบันทึกบัญชีเรียบร้อยเป็นปัจจุบัน จัดทาเอกสารการ ลงบัญชี และทะเบียนคุมให้เรยี บร้อยเปน็ ปัจจบุ นั พรอ้ มทัง้ จดั เก็บเอกสารต่าง ๆ ไว้ในท่ปี ลอดภัย 3. จัดอบรมสัมมนา แก่กรรมการ และเจ้าหน้าท่ีสหกรณ์ ให้รู้ถึงบทบาทหน้าที่ของตนเอง พร้อมทั้งการ บริหารจัดการ เพือ่ เพ่มิ ศักยภาพในการทางาน 4. สหกรณ์ท่ีจัดตั้งข้ึน แล้วไม่ดาเนินธุรกิจ ภายในหนึ่งปี หรือหยุดดาเนินกิจการติดต่อกันเป็นเวลา 2 ปี จะต้องเสนอนายทะเบียนสหกรณส์ งั่ เลกิ ตามมาตรา 71(1) แหง่ พระราชบัญญตั สิ หกรณ์ พ.ศ. 2542 5. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ ต้องเข้าแนะนาส่งเสริมช่วยเหลือสหกรณ์ พร้อมทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ อนั ดกี ับสหกรณ์ สหกรณ์ที่สะท้อนผลสาเร็จของการปฏบิ ัติงานตามภารกจิ ของ สสพ.2 ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 1. สหกรณอ์ อมทรพั ยอ์ งค์กรอิสระ 2. สหกรณอ์ อมทรพั ย์บรษิ ัท ทีโอที จากดั 3. สหกรณอ์ อมทรัพย์พนักงานการประปานครหลวง จากัด ผลงาน/ความสาเรจ็ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร - สหกรณ์สามารถรกั ษามาตรฐานสหกรณใ์ ห้อย่ใู นระดบั ดเี ลิศ ปจั จยั แหง่ ความสาเร็จ สหกรณ์ในเขตหลักส่ี ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ให้ความร่วมมือและปฏิบัติตามคาแนะนาของ นายทะเบยี นสหกรณ์ และเจ้าหนา้ ทีส่ ง่ เสรมิ สหกรณ์ WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 22 0 6. เขตคลองสามวา สหกรณ์ท้ังหมด 8 แห่ง เป็นสหกรณ์บริการ 6 แห่ง (ดาเนินการ 6 แห่ง)สหกรณ์ เครดิตยเู นีย่ น 2 แหง่ (ดาเนินการ 1 แหง่ เลิก 1 แหง่ ) สมาชิก 1,985 คน ผลการเขา้ แนะนาส่งเสรมิ สหกรณ์ 1. เข้าแนะนาใหค้ ณะกรรมการดาเนนิ การ และฝา่ ยจดั การ ของสหกรณ์ ให้ปฏิบตั ิงานตามพระราชบญั ญัติ สหกรณ์ พ.ศ. 2542 ขอ้ บังคับ ระเบยี บ คาสงั่ นายทะเบียนสหกรณ์ และคาแนะนานายทะเบยี นสหกรณ์ 2. เข้าแนะนาให้คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ บริหารงานและดาเนินงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาล มาเป็น หลักในการปฏิบตั ิงาน 3. ติดตามเร่งรัดใหส้ หกรณ์ จดั ทารายงาน ผลการปฏบิ ตั ิงาน เสร็จทันกาหนดเวลา 4. ช่วยแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของสมาชิกสหกรณ์ โดยเป็นตัวกลางในการสื่อสารทาความเข้าใจ ระหวา่ งสมาชิก กับเจ้าหนา้ ทข่ี องสหกรณ์ หรอื คณะกรรมการของสหกรณ์ 5. แนะนา สง่ เสริมใหร้ กั ษาระดบั มาตรฐานอยูใ่ นระดบั ดีเลศิ และผลกั ดันสหกรณท์ ไ่ี ม่ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน จาก ระดับ F เปน็ ระดบั C และระดบั C เป็นระดบั B ระดบั B เปน็ A ปัญหา/อุปสรรคในการดาเนินงานของสหกรณ์ 1. สหกรณ์เครดิตยเู น่ียนดาเนินงานออกนอกกรอบวตั ถปุ ระสงค์ 2. สหกรณเ์ คหสถานท่ตี งั้ ขนึ้ มาแลว้ ไมม่ ีขีดความสามารถท่ีจะจดั จา้ งเจา้ หน้าที่สหกรณใ์ ห้ครบทุกตาแหน่ง บางสหกรณ์ใช้กรรมการทาหน้าที่แทนเจ้าหน้าท่ี ซ่ึงกรรมการไม่มีเวลาและขาดความรู้ในการลงบันทึกบัญชี ทาให้ สหกรณ์ไม่สามารถปิดบัญชีและจัดทางบการเงินได้ เพื่อเสนอผู้สอบบัญชีมาตรวจสอบทาให้สหกรณ์ตกค้างการ ตรวจสอบบญั ชีและเขา้ ขา่ ยการเลกิ สหกรณไ์ ด้ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา 1. ใหน้ ายทะเบยี นสหกรณใ์ ช้อานาจตาม พระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 (1) ให้คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่อง ตามวิธีการ และระยะเวลาที่นาย ทะเบียนสหกรณ์กาหนด (2) ให้คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ระงับการปฏิบัติบางส่วนท่ีเป็นเหตุให้เกิดข้อบกพร่อง หรือเส่ือมเสียผลประโยชนข์ องสหกรณห์ รือสมาชิก 2. สหกรณ์ควรจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี เพ่ือให้การบันทึกบัญชีเรียบร้อยเป็นปัจจุบัน จัดทาเอกสารการ ลงบัญชี และทะเบียนคมุ ใหเ้ รียบร้อยเปน็ ปจั จบุ นั พร้อมทงั้ จัดเก็บเอกสารต่าง ๆ ไวใ้ นท่ีปลอดภัย 3. จัดอบรมสัมมนา แก่กรรมการ และเจ้าหน้าที่สหกรณ์ ให้รู้ถึงบทบาทหน้าที่ของตนเอง พร้อมท้ังการ บรหิ ารจัดการ เพือ่ เพิ่มศักยภาพในการทางาน 4. สหกรณ์ท่ีจัดต้ังข้ึน แล้วไม่ดาเนินธุรกิจ ภายในหน่ึงปี หรือหยุดดาเนินกิจการติดต่อกันเป็นเวลา 2 ปี จะตอ้ งเสนอนายทะเบยี นสหกรณส์ ่ังเลกิ ตามมาตรา 71(1) แหง่ พระราชบญั ญัตสิ หกรณ์ พ.ศ. 2542 5. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ต้องเข้าแนะนาส่งเสริมช่วยเหลือสหกรณ์ พร้อมท้ังเสริมสร้างความสัมพันธ์ อันดีกบั สหกรณ์ สหกรณ์ทีส่ ะท้อนผลสาเร็จของการปฏิบตั งิ านตามภารกจิ ของ สสพ.2 ในปงี บประมาณ พ.ศ.2564 1. สหกรณบ์ รกิ ารรวมใจมโนรมย์ 4 จากัด WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 23 0 ปัจจัยแหง่ ความสาเรจ็ สมาชิกสหกรณ์ จะให้ความร่วมมือในทุกๆ ด้าน ท่ี สานักงานฯ ขอความร่วมมือ และจะมีส่วนร่วมในการ ฝกึ อบรมกลุ่ม และอบรมสมาชิกเสมอ 7. คันนายาว สหกรณ์ท้ังหมด 7 แห่ง เป็นประเภทออมทรัพย์ 2 แห่ง (ดาเนินการ 2 แห่ง) สหกรณ์ บริการ 2 แหง่ (ดาเนนิ การ 1 แห่ง ชาระบัญชี 1 แห่ง) สหกรณ์เครดิตยเู น่ียน 2 แห่ง (ดาเนินการ 2 แห่ง) รา้ นค้า 1 แหง่ (ดาเนนิ การ 1 แห่ง) สมาชิก 5,108 คน ผลการเขา้ แนะนา สง่ เสริมสหกรณ์ 1. เขา้ แนะนาให้คณะกรรมการดาเนนิ การ และฝา่ ยจัดการ ของสหกรณ์ ให้ปฏบิ ัตงิ านตามพระราชบัญญัติ สหกรณ์ พ.ศ. 2542 ข้อบงั คบั ระเบียบ คาส่งั นายทะเบียนสหกรณ์ และคาแนะนานายทะเบียนสหกรณ์ 2. เข้าแนะนาให้คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ บริหารงานและดาเนินงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาล มาเป็น หลักในการปฏิบัตงิ าน 3. ตดิ ตามเร่งรัดใหส้ หกรณ์ จัดทารายงาน ผลการปฏบิ ตั งิ าน เสร็จทนั กาหนดเวลา 4. ช่วยแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของสมาชิกสหกรณ์ โดยเป็นตัวกลางในการสื่อสารทาความเข้าใจ ระหว่างสมาชิก กบั เจา้ หน้าที่ของสหกรณ์ หรือคณะกรรมการของสหกรณ์ ปัญหา/อุปสรรคในการดาเนนิ งานของสหกรณ์ บางสหกรณ์ใช้กรรมการทาหน้าท่ีแทนเจ้าหน้าท่ี ซ่ึงกรรมการไม่มีเวลาและขาดความรู้ในการลงบันทึก บัญชี ทาให้สหกรณ์ไม่สามารถปิดบัญชีและจัดทางบการเงินได้ เพื่อเสนอผู้สอบบัญชีมาตรวจสอบทาให้สหกรณ์ ตกค้างการตรวจสอบบญั ชีและเขา้ ข่ายการเลกิ สหกรณ์ได้ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ใหน้ ายทะเบียนสหกรณ์ใช้อานาจตาม พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 (1) ให้คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่อง ตามวิธีการ และระยะเวลาที่นาย ทะเบยี นสหกรณก์ าหนด (2) ให้คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ระงับการปฏิบัติบางส่วนที่เป็นเหตุให้เกิดข้อบกพร่อง หรือเสือ่ มเสยี ผลประโยชน์ของสหกรณ์หรือสมาชิก 2. สหกรณ์ควรจัดจ้างเจ้าหน้าท่ีบัญชี เพ่ือให้การบันทึกบัญชีเรียบร้อยเป็นปัจจุบัน จัดทาเอกสารการ ลงบัญชี และทะเบียนคมุ ใหเ้ รียบร้อยเป็นปจั จบุ นั พร้อมทงั้ จัดเกบ็ เอกสารต่าง ๆ ไวใ้ นท่ีปลอดภยั 3. จัดอบรมสัมมนา แก่กรรมการ และเจ้าหน้าท่ีสหกรณ์ ให้รู้ถึงบทบาทหน้าท่ีของตนเอง พร้อมทั้งการ บริหารจดั การ เพอ่ื เพิ่มศักยภาพในการทางาน 4. สหกรณ์ท่ีจัดต้ังขึ้น แล้วไม่ดาเนินธุรกิจ ภายในหนึ่งปี หรือหยุดดาเนินกิจการติดต่อกันเป็นเวลา 2 ปี จะต้องเสนอนายทะเบียนสหกรณ์สงั่ เลิกตามมาตรา 71(1) แหง่ พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 5. เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ ต้องเข้าแนะนาส่งเสริมช่วยเหลือสหกรณ์ พร้อมทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ อันดกี ับสหกรณ์ WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 24 0 สหกรณ์ท่สี ะท้อนผลสาเร็จของการปฏบิ ตั ิงานตามภารกจิ ของ สสพ.2 ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 1. สหกรณ์ออมทรพั ย์บูรพาการไฟฟ้า จากัด 2. สหกรณ์เครดติ ยเู นย่ี นอมรพนั ธ์นคร จากดั ผลงาน/ความสาเร็จของสหกรณ์ - คณะกรรมการดาเนินการมคี วามรู้ ความเขา้ ใจในบทบาทและหน้าทมี่ ากขนึ้ ปจั จยั แห่งความสาเร็จ - สมาชิกในเขตคันนายาว ได้ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามคาแนะนาของนายทะเบียน และเจ้าหน้าท่ี ส่งเสริม และสมาชิกเขา้ ร่วมการฝึกอบรมใหค้ วามรู้ทุกครั้งทม่ี ีการเปดิ อบรม - สมาชิกสหกรณ์และกรรมการดาเนินการมีความรู้ความเข้าใจ ในหลักการสหกรณ์สหกรณ์ รู้ถึงสิทธิและ หน้าที่ของตน เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมประชุมสม่าเสมอเพ่ือทราบถึงการดาเนินงานของสหกรณ์เพื่อให้ คาแนะนา และแก้ไขปญั หาได้ก่อนทจี่ ะเกดิ ความเสยี หายตอ่ สหกรณ์และสมาชิก 8. บางเขน สหกรณ์ท้ังหมด 18 แหง่ เป็นประเภทออมทรพั ย์ 10 แหง่ (ดาเนนิ การ 10 แห่ง) สหกรณ์ บริการ 6 แห่ง (ดาเนินการ 5 แห่ง ชาระบัญชี 1 แห่ง) ร้านค้า 2 แห่ง (ดาเนินการ 2 แหง่ ) มสี มาชิกท้ังหมด 15,586 คน ผลการเขา้ แนะนาสง่ เสรมิ สหกรณ์ - แนะนาส่งเสริมสหกรณ์ในเขตบางเขนในเรอื่ งมาตรฐานสหกรณ์ทั้ง 137 ข้อ เพ่ือให้สหกรณ์ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน เร่ืองการดาเนินการของสหกรณ์โดยนาหลักธรรมาภิบาล และหลักการควบคุมภายในที่ดีมาใช้ เพื่อให้ เกิดความเชื่อมั่นแก่สมาชิกและผู้ท่ีเกี่ยวข้อง แนะนาในเร่ืองการกาหนดระเบียบข้ึนถือใช้ให้ครอบคลุมทุกธุรกิจ แนะนาเรื่องการจดบันทึกรายงานการประชุม ให้คาแนะนาและปรึกษาแก่สหกรณ์เพ่ือให้ดาเนินงานเป็นไปตาม วตั ถุประสงค์ของสหกรณ์ - เขา้ แนะนาให้คณะกรรมการ ฝา่ ยจัดการ บรหิ ารงานและดาเนินงานโดยใช้หลักธรรมาภบิ าลมาเปน็ หลกั ใน การปฏิบตั ิงาน - ติดตามเร่งรดั ใหส้ หกรณ์ จดั ทารายงาน ผลการปฏิบตั งิ าน เสรจ็ ทนั กาหนดเวลา - แนะนาตามข้อสงั เกตผูส้ อบบญั ชี ผ้ตู รวจสอบกิจการ ผู้ตรวจการสหกรณ์ - แนะนาเร่อื งการบริหารจัดการสหกรณ์เรื่องการบรหิ ารสภาพคลอ่ ง การบรหิ ารความเสย่ี งด้านเงนิ ฝาก และเงินกู้ การควบคุมภายใน การติดตามประเมนิ ผลโครงการต่างๆ ทส่ี หกรณ์จัดทาขึ้นและกาหนดตัวชว้ี ัดวา่ เป็นไปตามแผนงานผลทีก่ าหนดหรือไม่และตวั ชี้วัดมคี วามเหมาะสมหรือไม่ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 25 0 - การติดตามการดาเนนิ งาน การเปรียบเทียบแผน ผล งบประมาณรายจา่ ยวา่ เปน็ ไปตามแผนหรือไม่ ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานมีการกระจายแผน ผลเปน็ รายเดือนและผลการดาเนนิ งานเพิ่ม/ลดจากปกี ่อนและเทยี บ เปน็ รอ้ ยละ - ตดิ ตามมาตรฐาน การควบคุมภายในให้เพ่ิมข้ึนหรือรักษามาตรฐานและผลักดนั ให้สหกรณท์ ่ีไม่ผ่าน มาตรฐานให้ผา่ นเกณฑ์ - ตดิ ตามแนะนาการแก้ไข หรือ กาหนดระเบยี บ ข้อบงั คับ ให้เปน็ ไปตามเกณฑ์กากบั การดูแลสหกรณ์ใน ประเภทออมทรัพย์ เครดิตยเู นี่ยนและบรกิ าร (แท็กซ)ี่ - ติดตามการบันทึกรายงานการประชุมให้ถูกต้อง - ตดิ ตามการนาเงินไปลงทนุ ใหเ้ ป็นไปตามที่กฎหมายกาหนด - ติดตามแนะนาข้อทส่ี หกรณ์ไม่ผ่านในเรือ่ งธรรมาภบิ าล - ติดตามแนะนาการยกระดับชน้ั ของสหกรณ์ในหวั ข้อท่ไี ม่ผ่าน - ติดตามและแนะนาให้สหกรณ์ปฏบิ ัติตามข้อบงั คบั ระเบียบ ที่กาหนด และไม่ขัดกับกฎหมายสหกรณ์ ปัญหา/อุปสรรคในการดาเนนิ งานของสหกรณ์ - สหกรณ์บริการยังไม่มีความพร้อมในการจ้างพนักงาน จะมอบหมายให้คณะกรรมการทาหน้าท่ีไปพลาง ก่อน ซึ่งกรรมการไม่มีเวลา และไม่มีความรู้เร่ืองสหกรณ์ ทาให้มีการจัดทาเอกสารทั้งรายงานการประชุม สัญญา กู้ยืม จัดทาบัญชี ไม่ถูกต้อง ต้องเข้าแนะนาส่งเสริมอย่างใกล้ชิด และสหกรณ์เคหสถานบา้ นม่ันคง ซึ่งมีปัญหาเรื่อง การบันทึกบัญชีไม่เป็นปัจจุบันเน่ืองจากไม่มีเจ้าหน้าท่ีบัญชี เก็บเงินจากสมาชิกไม่ได้ ไม่มีรายได้ ไม่มีเจ้าหน้าท่ี ทางาน คณะกรรมการไม่มคี วามรู้ จัดทาเอกสารไมถ่ ูกต้องทั้งสญั ญาเช่า ไม่มีการประชมุ ให้เป็นไปตามข้อบังคับ ไม่ มีการบนั ทึกรายงานการประชุม - สหกรณ์ขนาดเล็ก ขาดเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงาน และกรรมการมีงานประจา(ส่วนใหญ่เป็นพนักงาน บริษัทหรือหน่วยงานต่างๆ) จึงทาให้ขาดความรู้ในการทางานประจาด้านบัญชีและการเงิน การบันทึกรายงานการ ประชมุ และการปฏิบตั ติ ามระเบยี บ ข้อบังคบั - ไม่มีการอุทิศเวลาใหก้ ับสหกรณ์เช่น ไม่ประชุมคณะกรรมการประจาเดือน ไม่มีคนจัดทาบัญชี ลงบัญชีไม่ ถูกต้อง จดบันทึกวาระการประชุมไม่ถูกต้อง ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับให้ถูกต้อง ไม่รู้แต่ไม่ศึกษา แนะนา แลว้ แต่ไมป่ ฏบิ ตั ิ รวมถึงไมใ่ ห้ความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกีย่ วขอ้ งในการจดั อบรมต่างๆ - ผู้ตรวจสอบกิจการขาดการตระหนกั ในหน้าที่ ไม่มีความร้ใู นการตรวจสอบและเขียนรายงาน การรับจ่าย และเกบ็ เงินสดเกนิ กวา่ ทร่ี ะเบยี บกาหนด บัญชไี มเ่ ปน็ ปจั จบุ ัน ไม่มีทะเบยี นคมุ การจ่ายหรอื ออกใบเสรจ็ - ประธานกรรมการและคณะกรรมการ ขาดความเป็นผู้นาในการพัฒนา หรือเข้าครอบสมาชิกซึ่งเป็น ชอ่ งวา่ งในการทจุ ริตไดง้ า่ ย - ขาดการวางแผนการดาเนินงานและติดตามประเมินผลการดาเนินงานความคิดริเร่ิม สมาชิกขาดความ สนใจ และไม่ค่อยให้ความร่วมมือ จึงเป็นอุปสรรคและความยากในการส่งเสริมเน่ืองจากการจดทะเบียนจัดต้ัง เป็นไปตามนโยบายภาครฐั ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - มีการจัดอบรมสัมมนา แก่กรรมการ และเจ้าหน้าท่ีสหกรณ์ ให้รู้ถึงบทบาทหน้าท่ีของตนเอง พร้อมทั้ง การบริหารจดั การ เพ่ือเพิม่ ศกั ยภาพในการทางาน - เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ ต้องเข้าแนะนาส่งเสริมช่วยเหลือสหกรณ์ พร้อมท้ังเสริมสร้างความสัมพันธ์ อันดกี ับสหกรณ์ - สร้างความเข้มแข็งตามหลักธรรมาภิบาล บุคคลท้ัง 4 ฝ่าย กรรมการ สมาชิก เจ้าหน้าท่ี ผู้ตรวจสอบ กิจการให้มีจริยธรรม คุณธรรมในการปฏบิ ตั งิ าน สรา้ งจิตสานึกร่วมกันภายในองค์กร WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 26 0 - สร้างระบบตรวจสอบที่เข้มแข็งโดยความร่วมมือจากกรรมการ สมาชิก เจ้าหน้าท่ีผู้ตรวจสอบกิจการ โดยมีการฝึกอบรมสัมมนาร่วมกนั - การจัดสว่ นงาน ความรับผดิ ชอบ คู่มอื การทางาน - มรี ะบบการให้บริการสมาชกิ อย่างเป็นรูปธรรม - มีแนวทางติดตามการตรวจสอบประเมินผลการทางานของทกุ ฝ่ายอย่างเป็นรูปธรรมและมีการปรับปรุง พัฒนา การบริหารจัดการองคก์ ร การตรวจสอบ พัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศ การใหบ้ รหิ ารอยา่ งต่อเนอ่ื ง - ตอ้ งมผี นู้ าที่เข้มแขง็ มาเปน็ ประธานในการช้ีนาองคก์ รใหเ้ กดิ ความเข้มแข็ง สหกรณ์ทสี่ ะทอ้ นผลสาเรจ็ ของการปฏบิ ัติงานตามภารกจิ ของ สสพ.2 ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 1. สหกรณ์ออมทรัพย์กรมทางหลวงชนบท จากดั 2. สหกรณ์ออมทรัพยก์ องบินตารวจ จากดั ผลงาน/ความสาเร็จของสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์และกรรมการดาเนินการมีความรู้ความเข้าใจ ในหลักการสหกรณ์สหกรณ์ รู้ถึงสิทธิและ หน้าที่ของตน เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมประชุมสม่าเสมอเพ่ือทราบถึงการดาเนินงานของสหกรณ์เพ่ือให้ คาแนะนา และแก้ไขปญั หาได้กอ่ นทจี่ ะเกดิ ความเสยี หายต่อสหกรณ์และสมาชกิ ปจั จัยแห่งความสาเร็จ สมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร จะใหค้ วามรว่ มมือในทุกๆ ด้านท่ีสานกั งานฯ ขอความร่วมมอื และจะมสี ว่ นร่วมในการฝึกอบรมกล่มุ และอบรมสมาชกิ เสมอ 9. เขตประเวศ สหกรณท์ ้งั หมด 12 แหง่ เป็นประเภทออมทรพั ย์ 5 แหง่ (ดาเนนิ การ 5 แห่ง)สหกรณ์ บรกิ าร 7 แหง่ (ดาเนินการ 5 แหง่ ชาระบญั ชี 2 แห่ง) มีสมาชิกทงั้ หมด 6,166 คน ผลการเขา้ แนะนาสง่ เสรมิ สหกรณ์ - เข้าแนะนา ส่งเสริมให้คณะกรรมการดาเนินการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ รวมถึง คาแนะนา ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ และนาหลักธรรมาภิบาล มาเป็นหลักในการบริหารกิจการสหกรณ์ เพอื่ ให้สหกรณ์มีความม่นั คง เปน็ ท่ีพึง่ ของสมาชิกได้อย่างยง่ั ยนื - ช่วยแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของสมาชิกสหกรณ์ โดยเป็นตัวกลางในการส่ือสารทาความเข้าใจ ระหว่างสมาชกิ กบั เจ้าหนา้ ทข่ี องสหกรณ์ หรือคณะกรรมการของสหกรณ์ - แนะนา ติดตามให้สหกรณแ์ ก้ไขขอ้ บกพร่องต่างๆ - แนะนา ส่งเสรมิ ใหร้ ักษาระดับมาตรฐานอยู่ในระดับดเี ลศิ และผลักดันสหกรณ์ที่ไม่ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน จาก ระดับ F เปน็ ระดบั C และระดับ C เปน็ ระดบั B ระดบั B เปน็ A - แนะนาส่งเสรมิ เพ่ือยกระดบั ชนั้ สหกรณ์ ปญั หา/อุปสรรคในการดาเนนิ งานของสหกรณ์ - สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทาให้หน่วยงานต้น สังกัดของสหกรณ์ปรับโครงสร้างใหม่ พนักงานต้องออกจากต้นสังกัดและลาออกจากสหกรณ์ส่งผลให้จา นวน สมาชิกและปริมาณธรุ กจิ ลดลง - สหกรณไ์ ม่มีความรเู้ พยี งพอด้านการบรหิ ารเกี่ยวกับสหกรณ์ - เน่ืองจากสถานการณไ์ วรสั โคโรนา่ สายพนั ธุใ์ หม่ 2019 จึงสง่ ผลใหเ้ กิดปัญหาหลายดา้ น เช่น ปิด บญั ชไี มท่ นั สหกรณม์ หี นีส้ งสัยจะสญู เพ่ิมข้ึน เพราะพนักงานถกู เลกิ จา้ ง บางรายไม่สามารถติดตามหนี้ได้ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 27 0 - ผูต้ รวจสอบกิจการขาดการตระหนกั ในหน้าที่ ไม่มคี วามร้ใู นการตรวจสอบและการเขยี นรายงาน บางสหกรณไ์ ม่ปฏิบัตหิ นา้ ทตี่ ามที่ไดร้ ับมอบหมาย - การเกบ็ รักษาเงินสดเกนิ กว่าท่ีระเบยี บกาหนด - สหกรณ์บรกิ ารขนาดเลก็ ไม่มเี งนิ ทุนมกั จะไมจ่ ้างเจ้าหน้าทีบ่ ัญชี การบนั ทกึ บญั ชีไมเ่ รียบร้อย ไม่เป็นปัจจบุ นั ทาใหส้ หกรณ์ไมส่ ามารถปิดบัญชีได้ - เจ้าหน้าทีส่ ่งเสริมไมเ่ พียงพอกับสหกรณ์ที่จดั ตั้งเพม่ิ มากขึ้น ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - อบรมให้ความรู้ผูต้ รวจสอบกิจการ - แนะนาใหส้ หกรณป์ ฏบิ ัติใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บ - เผยแพร่หลกั การ อดุ มการณ์ และวิธีการสหกรณ์ สหกรณท์ ่ีสะทอ้ นผลสาเรจ็ ของการปฏิบัตงิ านตามภารกิจของ สสพ.2 ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - สหกรณอ์ อมทรัพย์กลุ่มบรษิ ทั พรีเมยี ร์ จากัด ผลงาน/ความสาเร็จของสหกรณ์ สหกรณ์ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ คาแนะนา และ ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ และประชาสัมพันธ์เก่ียวกับการมีส่วนร่วมระหว่างสมาชิกกับสหกรณ์เพ่ิมมากขึ้น และในปีน้ีสมาชิกมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมประชุมใหญ่กับสหกรณ์เป็นจานวนมากข้ึนกว่าปีก่อน สมาชิกเห็นถึง ความสาคัญในบทบาทหนา้ ทขี่ องตวั เองมากขน้ึ ปจั จัยแหง่ ความสาเร็จ เจา้ หน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์เข้าแนะนาสมา่ เสมอ ทาใหส้ หกรณป์ ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ข้อบังคบั ระเบียบ คาแนะนา และประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ 10. เขตสวนหลวง สหกรณ์ท้ังหมด 10 แห่ง เป็นประเภทออมทรัพย์ 3 แห่ง (ดาเนินการ 2 แห่ง ชาระ บัญชี 1 แห่ง) สหกรณ์บริการ 6 แห่ง (ดาเนินการ 3 แห่ง ชาระบัญชี 3 แห่ง) สหกรณ์เครดิตยูเน่ียน 1 แห่ง (ดาเนนิ การ 1 แหง่ ) มสี มาชกิ 1,285 คน ผลการเข้าแนะนา สง่ เสรมิ และแก้ไขปญั หาสหกรณ์ - แนะนาส่งเสริมสหกรณ์ใหป้ ฏิบตั ติ ามระเบียบ ข้อบงั คับ กฎหมายท่ีเกีย่ วข้อง - แนะนาส่งเสริมสหกรณ์จัดตั้งใหม่ให้กาหนดระเบียบต่างๆ ขึ้นถือใช้เพ่ือเป็นแนวทางในการดาเนินงาน และเขา้ ร่วมประชุมคณะกรรมการดาเนินการเพื่อแนะนาสง่ เสรมิ หลักการ อดุ มการณ์ และวิธกี ารสหกรณ์ - ให้คาแนะนาในการปัญหาการดาเนินงานของสหกรณ์ท่ีประสบปัญหาขาดทุนจากการถูกตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสยั จะสญู เนอื่ งจากสหกรณ์เครดิตยูเนยี่ นคลองจน่ั จากัด ไม่สามารถชาระหนต้ี ามแผนได้ - แนะนา ส่งเสริมให้รักษาระดับมาตรฐาน และผลักดันสหกรณ์ท่ีไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจาก ระดับ F เปน็ ระดบั C และระดับ C เปน็ ระดบั B ระดบั B เป็น A การแนะนาส่งเสรมิ สหกรณเ์ พือ่ ให้สหกรณ์มกี ารดาเนินงาน ตามมาตรฐานสหกรณ์ ผลการเขา้ แนะนาสง่ เสรมิ สหกรณ์ในปี 2564 WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 28 0 - แนะนาส่งเสรมิ เพ่ือยกระดบั ชนั้ สหกรณ์ ปญั หา/อปุ สรรคในการดาเนนิ งานของสหกรณ์ - เนอื่ งจากในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ระลอกใหม่ ปี 2564 ทาให้มีข้อจากัดใน การเข้าแนะนาส่งเสริมสหกรณ์ และสหกรณ์ได้รับผลกระทบด้านธุรกิจท่ีลดลงทาให้ผลการดาเนินงานสหกรณ์ไม่ เป็นไปตามแผนทตี่ ้ังไว้ - ผลการดาเนินงานสหกรณ์ขาดความมั่นคงเน่ืองจากผลสืบเนื่องจากสหกรณ์เครดิตยูเน่ียน คลองจัน่ จากดั ไมส่ ามารถปฏบิ ตั ติ ามแผนการชาระหน้ีได้ ทาให้สหกรณม์ ีคา่ เผอื่ หน้สี งสยั จะสญู จานวนมาก - สหกรณ์จัดตั้งใหมย่ งั ขาดความรู้ความเข้าใจในระบบสหกรณ์ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา - แนะนาสง่ เสริมผ่านระบบออนไลน์ - อบรมใหค้ วามรผู้ ูต้ รวจสอบกิจการ - เผยแพร่หลกั การ อุดมการณ์ และวิธกี ารสหกรณ์ ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการ - แนะนาให้สหกรณ์พิจารณาจัดสรรกาไรสุทธิเข้าเป็นทุนสารองมากข้ึน รวมถึงทุนอ่ืนๆ ทส่ี หกรณ์ไม่ได้ใช้ให้โอนเข้าทุนสารอง เพอื่ รองรับการชดเชยผลการขาดทนุ สหกรณ์ท่ีสะท้อนผลสาเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสพ.2 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สหกรณ์เครดติ ยเู นีย่ นพนั ธกิจรม่ เย็น จากัด สหกรณ์มีผลการดาเนินงานกาไรสุทธชิ ดเชยการขาดทนุ สะสม ปัจจัยแห่งความสาเร็จ เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมประชุมสม่าเสมอเพื่อทราบถึงปัญหาในการ ดาเนินงานของสหกรณ์และให้คาแนะนาส่งเสรมิ แนวทางในการแก้ไขปัญหา และป้องกันปัญหาท่ีจะเกิดขึ้น โดยได้ แนะนาให้สหกรณ์ปรับแผนการดาเนินธุรกิจเพ่ือให้มีรายได้มากข้ึน เช่น การพิจารณาแก้ไขระเบียบว่าด้วยกา รให้ เงินกู้ให้สอดคล้องกับความต้องการของสมาชิก และลดค่าใช้จ่ายท่ีไม่จาเป็น รวมถึงหาแนวทางในการป้องกัน ปญั หาการขาดทนุ สะสมทอ่ี าจจะเกิดขน้ึ โดยให้สหกรณ์จดั สรรกาไรสุทธเิ ข้าทนุ สารองเพ่ิมมากขึ้น 11. เขตลาดกระบัง สหกรณ์ท้ังหมด 27 แห่ง เป็นประเภทออมทรัพย์ 12 แห่ง (ดาเนินการ 12 แห่ง) สหกรณ์บริการ 8 แห่ง (ดาเนินการ 5 แห่ง ชาระบัญชี 3 แห่ง) สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 6 แห่ง (ดาเนินการ 6 แห่ง) สหกรณร์ า้ นคา้ 1 แหง่ (ดาเนินการ 1 แหง่ ) มีสมาชกิ 12,386 คน ผลการเขา้ แนะนา สง่ เสริมสหกรณ์ - เข้าแนะนา ส่งเสริม ตามแผนปฏิบัติการ หรือ Action plan ซึ่งมีทั้งสหกรณ์ท่ีต้องพัฒนาความเข้มแข็ง และสหกรณ์ที่ต้องแก้ไขปัญหาการดาเนินงาน ผลจากการเข้าแนะนาส่งเสริมภาพรวมพบว่าส่วนใหญ่สหกรณ์ สามารถปิดบัญชีได้และนาเสนองบการเงินให้ท่ีประชุมใหญ่สามัญประจาปีพิจารณาได้ภายใน 150 วัน นับแต่วัน ส้ินปีทางบัญชีของสหกรณ์ ซ่ึงเกิดผลดีกับสมาชิกได้รับทราบผลการดาเนินงานของสหกรณ์ รวมถึงปัญหา ข้อบกพร่องต่างๆ ที่เกิดข้ึน ทาให้ปัญหาต่างๆ ได้รับการแก้ไข มีเพียง 2 สหกรณ์ ท่ีไม่สามารถส่งสาเนางบการเงนิ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 29 0 ประจาปีต่อนายทะเบียนสหกรณ์ 3 ปี คือสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงาน บิส เอ อี ไอ จากัด อยู่ระหว่างปิดบัญชี และสหกรณไ์ ทยแทก็ ซ่ี สวุ รรณภมู ิ จากดั ซ่งึ ปจั จุบันสหกรณไ์ ด้จา้ งบุคคลภายนอกปิดบญั ชี - สหกรณ์ทผี่ ่านเกณฑม์ าตรสหกรณ์ สามารถรักษามาตรฐานสหกรณไ์ ด้ ปญั หา/อปุ สรรคในการดาเนนิ งานของสหกรณ์ - สหกรณ์ออมทรัพย์บางแห่งมเี งนิ ทุนล้นระบบจงึ นาเงนิ ไปลงทนุ ภายนอกท่ีมีความเสี่ยง - สหกรณ์แท็กซป่ี ระสบปัญหาในการดาเนินธรุ กิจเน่ืองจากสถานการการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 - คณะกรรมการดาเนนิ การบางรายขาดความรดู้ ้านกฎหมายทเี่ ก่ยี วข้องกบั สหกรณ์ อีกทั้งยงั ขาดทักษะ ทางดา้ นบญั ชี ส่งผลให้สหกรณไ์ มส่ ามารถจดั ทางบทดลองได้ - สหกรณ์ขนาดเล็กมที นุ ไม่เพยี งพอต่อการจัดจ้างเจา้ หนา้ ที่บัญชที าใหส้ หกรณ์ไม่สามารถปิดบัญชไี ด้ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปัญหา - สหกรณค์ วรจดั จ้างเจา้ หนา้ ท่ีบญั ชี เพือ่ ให้การบนั ทึกบัญชเี รยี บร้อยเปน็ ปัจจบุ นั จัดทาเอกสารการ ลงบัญชี และทะเบียนคมุ ให้เรยี บรอ้ ยเป็นปจั จุบนั พร้อมท้ังจัดเก็บเอกสารตา่ ง ๆ ไวใ้ นท่ีปลอดภัย - จดั อบรมสัมมนา แก่กรรมการ และเจา้ หน้าทีส่ หกรณ์ ใหร้ ถู้ ึงบทบาทหน้าที่ของตนเอง พร้อมท้งั การ บรหิ ารจดั การ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการทางาน - อบรมให้ความรู้ผตู้ รวจสอบกิจการ - เผยแพร่หลกั การ อุดมการณ์ และวธิ ีการสหกรณ์ - อบรมให้ความรู้ดา้ นกฎหมายที่เกยี่ วข้องกบั สหกรณ์ ให้แก่สมาชิกและคณะกรรมการดาเนินการ สหกรณ์ - แนะนาการจดั ทาบัญชใี ห้แก่เจา้ หน้าทบี่ ัญชขี องสหกรณ์ สหกรณ์ที่สะท้อนผลสาเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสพ.2 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สหกรณ์ออมทรัพย์พระจอมเกล้าลาดกระบัง จากัด ผลงาน/ความสาเร็จของสหกรณ์ สหกรณ์มีศักยภาพในการ บริหารจัดการและดาเนนิ ธรุ กิจท่ีมคี วามโปร่งใส ซงึ่ สามารถสรา้ งความเช่อื ม่นั และความเข้มแข็งให้แก่สมาชกิ ได้ ปัจจัยแห่งความสาเร็จ เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจาปี 2564 เม่ือวันที่ 15 ธันวาคม 2564 ซ่ึงเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมแนะนาการแก้ไขข้อบังคับของสหกรณ์แก่คณะกรรมการดาเนินการ แนะนา ให้คณะกรรมการดาเนนิ การยึดหลักการบรหิ ารจดั การสหกรณ์ตามหลักธรรมาภบิ าล เพื่อพัฒนาความเข้มแข็งและ สร้างความโปร่งใสให้แก่สมาชิก และติดตามผลการดาเนินธุรกิจของสหกรณ์อย่างสม่าเสมอเพื่อป้องกันไม่ให้เกิด การทจุ รติ ทีส่ ่งผลกระทบต่อธรุ กิจสหกรณ์ ผลงาน/ความสาเร็จของสหกรณ์ สหกรณ์บริการพนกั งานกลุ่มบริษัทยูนิลเี วอร์ (ไทย) จากัด มีศักยภาพ ในการบรหิ ารจดั การและดาเนินธรุ กิจทม่ี ีความโปร่งใส ซ่งึ สามารถสร้างความเช่ือมนั่ ใหแ้ ก่สมาชิก WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 30 0 ปัจจัยแห่งความสาเร็จ เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์เข้าแนะนา ให้คณะกรรมการดาเนินการยึดหลักการ บริหารจัดการสหกรณ์ตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อพัฒนาความเข้มแข็งและสร้างความโปร่งใสให้แก่สมาชิก และ ติดตามผลการดาเนินธุรกิจของสหกรณ์อย่างสม่าเสมอเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตท่ีส่งผล กระทบต่อธุรกิจ สหกรณ์ และสหกรณ์สามารถบริหารจัดการจนมีผล การดาเนินงานดีเยี่ยม สามารถส่งเข้าประกวดสหกรณ์ดีเด่น จนได้สหกรณ์ดเี ดน่ ระดบั จงั หวัดในปี 2564 12. เขตคลองเตย สหกรณ์ทั้งหมด 20 แหง่ เป็นประเภทออมทรัพย์ 12 แห่ง (ดาเนนิ การ 12 แหง่ ) สหกรณ์บริการ 7 แหง่ (ดาเนินการ 5 แหง่ ชาระบัญชี 2 แห่ง) สหกรณ์ร้านค้า 1 แหง่ (ชาระบญั ชี 1 แห่ง) มี สมาชิก 28,587 คน ผลการเข้าแนะนา สง่ เสริม และแกไ้ ขปญั หาสหกรณ์ - แนะนาส่งเสริมสหกรณ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง และติดตาม การแก้ไข ขอ้ บกพรอ่ งของสหกรณ์ ท้ังท่ีเป็นขอ้ บกพร่องเก่า และขอ้ บกพร่องทเ่ี กิดขนึ้ ใหมร่ ะหว่างปี - การแนะนาส่งเสริมการใช้หลักธรรมาภบิ าลมาใช้ในการบริหารงานของสหกรณ์ ตามโครงการ สหกรณส์ ีขาวดว้ ยธรรมาภบิ าล โดยบูรณาการงานรว่ มกันกับกลุม่ ส่งเสรมิ และพฒั นาการบรหิ ารการจัดการ สหกรณ์เพื่อสง่ เสริมให้สหกรณ์มีการบรหิ ารจัดการโดยการนาหลกั ธรรมาภบิ าลไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ - ช่วยแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของสมาชิกสหกรณ์ โดยเป็นตัวกลางในการสื่อสารทาความเข้าใจ ระหวา่ งสมาชิก กบั เจา้ หน้าที่ของสหกรณ์ หรอื คณะกรรมการของสหกรณ์ - แนะนา ส่งเสรมิ ใหร้ กั ษาระดบั มาตรฐานอย่ใู นระดับดีเลิศ และผลกั ดันสหกรณท์ ี่ไมผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐาน จาก ระดับ F เป็น ระดับ C และระดับ C เป็นระดับ B ระดับ B เป็น A การแนะนาส่งเสรมิ สหกรณ์เพ่ือให้สหกรณ์มี การดาเนินงานตามมาตรฐานสหกรณ์ ผลการเข้าแนะนาส่งเสริมสหกรณ์ในปี 2564 จากสหกรณ์ท้ังหมดจานวน 19 แห่ง มีผลการประเมินมาตรฐานสหกรณ์ระดับมาตรฐานดีเลิศ จานวน 5 แห่ง ระดับมาตรฐานดีมาก จานวน 3 แห่ง ระดับมาตรฐานดี จานวน 2 แห่ง และไม่ผ่านมาตรฐานจานวน 5 แห่ง สหกรณ์ อยู่ระหว่างการชาระบัญชี จานวน 3 แหง่ WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 31 0 - แนะนาส่งเสริมเพื่อยกระดับช้ันสหกรณ์ ผลการจัดชั้นสหกรณ์ มีสหกรณ์ท่ีอยู่ในช้ันหนึ่ง จานวน 5 สหกรณ์ ชัน้ สอง จานวน 7 สหกรณ์ และช้ันสาม จานวน 4 สหกรณ์ - การแก้ปัญหาสหกรณ์ท่ีปิดบัญชีไม่ได้ สานักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พ้ืนท่ี 2 ได้จัดให้มี พนักงานราชการ เพื่อแนะนาส่งเสริมให้คาแนะนา ติดตาม และช่วยเหลือสหกรณ์ ที่ไม่สามารถปิดบัญชีได้อย่ าง ใกล้ชดิ ปญั หา/อุปสรรคในการดาเนนิ งานของสหกรณ์ - เนื่องจากในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ระลอกใหม่ ปี 2564 ทาให้สานักงาน สหกรณ์ต้องปรับเปลี่ยนระยะเวลาในการให้บริการแก่สมาชิก ส่งผลกระทบต่อการใช้บริการทาให้สมาชิกไม่ได้รับ ความสะดวก - ผู้ตรวจสอบกิจการขาดการตระหนักในหน้าท่ี ไม่มีความรู้ในการตรวจสอบและเขียนรายงาน การรับ จ่ายและเก็บเงนิ สดเกนิ กว่าที่ระเบียบกาหนด บัญชีไม่เปน็ ปจั จุบัน ไมม่ ที ะเบยี นคมุ การจา่ ยหรอื ออกใบเสร็จ - คณะกรรมการดาเนนิ การบรหิ ารสหกรณ์โดยมงุ่ เน้นที่การเพ่ิมกาไรสุทธิเปน็ ท่ตี ั้ง มิไดย้ ึดคนเปน็ หลักมุ่ง พฒั นาและมงุ่ ขยายเงินกู้ตามทีส่ มาชกิ เรยี กรอ้ งโดยไม่คานึงถึงความเสี่ยงของสหกรณ์ทีเ่ พิม่ ขึ้น - เจ้าหน้าทส่ี ง่ เสรมิ ไม่เพยี งพอสวนทางกับสหกรณ์จดั ตัง้ เพิ่มมากขน้ึ - สหกรณ์ขนาดเล็กไม่มเี งินทุนมักจะไมจ่ ้างเจ้าหนา้ ทบ่ี ัญชที าใหส้ หกรณ์ไม่สามารถปิดบัญชีได้ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา - ให้สหกรณ์ปรับเปล่ียนแปลงเวลาทาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ระลอก ใหม่ ปี 2564 เพ่ืออานวยความสะดวกใหก้ ับสมาชกิ สหกรณ์มากขึ้น - อบรมให้ความรผู้ ้ตู รวจสอบกิจการ - เผยแพร่หลักการ อุดมการณ์ และวธิ กี ารสหกรณ์ - แนะนาให้สหกรณ์จัดสรรเจ้าหน้าที่ที่มาปฏิบัติงานให้เพียงพอต่อการให้บริการ เพ่ืออานวยความ สะดวกใหแ้ ก่สมาชกิ ทมี่ าใชบ้ ริการได้อย่างท่ัวถึง สหกรณ์ที่สะท้อนผลสาเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสพ.2 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สหกรณ์เคหสถานชุมชนคลองเตย จากัด ผลงาน/ความสาเร็จของสหกรณ์ สหกรณ์ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ คาแนะนา และประกาศนายทะเบียนสหกรณ์อย่างเคร่งครัด ซึ่งสหกรณ์ได้ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการมี สว่ นรว่ มระหวา่ งสมาชิกกบั สหกรณ์ เพื่อให้สมาชกิ เห็นถงึ ความสาคัญในบทบาทหนา้ ที่ของตนเองมากข้นึ WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 32 0 ปัจจัยแห่งความสาเร็จ สานักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พ้ืนที่ 2 ดาเนินการในการแนะนา ส่งเสรมิ และผลักดนั ใหส้ หกรณ์สามารถดาเนินงานไดป้ ระสบความสาเร็จทั้งในเชิงเศรษฐกจิ สงั คม และชมุ ชน โดย อาศัยการ บูรณาการทางานร่วมกันของบุคลากรในหน่วยงานทั้งกลุ่มงานและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ในการเข้า ร่วมให้คาแนะนาคณะกรรมการในที่ประชุม และผ่านโครงการกิจกรรมต่าง ๆสมาชิกสหกรณ์และกรรมการ ดาเนินการมีความรู้ความเข้าใจ ในหลักการสหกรณ์สหกรณ์ รู้ถึงสิทธิและหน้าที่ของตน เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ เข้ารว่ มประชุมสมา่ เสมอเพื่อทราบถงึ การดาเนนิ งานของสหกรณ์เพ่ือให้คาแนะนา และแกไ้ ขปญั หาได้ก่อนทจี่ ะเกิด ความเสียหายต่อสหกรณ์ 13. เขตวัฒนา สหกรณ์ทั้งหมด 8 แห่ง เป็นประเภทออมทรัพย์ 3 แห่ง (ดาเนินการ 3 แห่ง) สหกรณ์ บริการ 2 แห่ง (ดาเนินการ 1 แห่ง ชาระบัญชี 1 แห่ง) สหกรณ์เครดิตยูเน่ียน 1 แห่ง (ดาเนินการ 1 แห่ง) สหกรณ์รา้ นค้า 2 แห่ง (ดาเนินการ 2 แห่ง) มสี มาชกิ 25,589 คน ผลการเข้าแนะนาสง่ เสรมิ สหกรณ์ - เขา้ แนะนา ส่งเสริม ตามแผนปฏบิ ัตกิ าร หรือ Action plan ซึง่ มที ้ังสหกรณ์ที่ต้องพฒั นาความเข้มแข็งและ สหกรณ์ที่ต้องแก้ไขปัญหาการดาเนินงาน ผลจากการเข้าแนะนาส่งเสริมภาพรวมพบว่าส่วนใหญ่สหกรณ์สามารถ ปิดบัญชีได้และนาเสนองบการเงินให้ท่ีประชุมใหญ่สามัญประจาปีพิจารณาได้ภายใน 150 วัน นับแต่วันสิ้นปีทาง บัญชีของสหกรณ์ ซึ่งเกิดผลดีกับสมาชิกได้รับทราบผลการดาเนินงานของสหกรณ์ รวมถึงปัญหาข้อบกพร่องต่างๆ ท่ีเกิดขึ้น ทาให้ปัญหาต่างๆ ได้รับการแก้ไข มีเพียง 1 สหกรณ์ ท่ีไม่สามารถส่งสาเนางบการเงินประจาปีต่อนาย ทะเบียนสหกรณ์ 3 ปี คือร้านสหกรณ์การศึกษาประสานมิตร จากัด ซ่ึงปัจจุบันสหกรณ์ดังกล่าวได้ปิดบัญชีได้เปน็ ปัจจุบัน และสง่ หนงั สอื ขอรับการสอบบญั ชีถึงผสู้ อบบัญชแี ลว้ อยู่ระหว่างรอรบั การสอบบญั ชี - สหกรณ์ทผ่ี ่านเกณฑม์ าตรสหกรณ์ สามารถรกั ษามาตรฐานสหกรณไ์ ด้ ปญั หา/อุปสรรคในการดาเนนิ งานของสหกรณ์ - สหกรณอ์ อมทรัพย์มเี งนิ ทนุ ล้นระบบจึงการนาเงินไปลงทนุ ภายนอกที่มีความเสย่ี ง - ร้านสหกรณป์ ระสบปัญหาในการดาเนนิ ธุรกจิ เน่ืองจากหน่วยงานตน้ สงั กัดให้รา้ นสะดวกซ้อื เขา้ มา เปดิ บรกิ ารใกลก้ ับรา้ นสหกรณท์ าให้ปรมิ าณธรุ กิจลดลง ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา - สหกรณค์ วรจัดจา้ งเจ้าหนา้ ท่ีบัญชี เพ่อื ให้การบันทึกบัญชเี รยี บร้อยเป็นปัจจบุ ัน จัดทาเอกสารการ ลงบัญชี และทะเบยี นคุมใหเ้ รยี บรอ้ ยเปน็ ปจั จุบนั พร้อมทั้งจัดเก็บเอกสารตา่ ง ๆ ไวใ้ นท่ีปลอดภัย - จดั อบรมสมั มนา แก่กรรมการ และเจา้ หนา้ ที่สหกรณ์ ให้รู้ถึงบทบาทหน้าท่ีของตนเอง พร้อมทั้งการ บริหารจดั การ เพื่อเพ่ิมศักยภาพในการทางาน ผลงาน/ความสาเรจ็ ของสหกรณ์ สหกรณอ์ อมทรัพย์เครือสมติ เิ วช จากดั เข้าติดตามผลการดาเนนิ งาน อย่างสมา่ เสมอ และคอยให้คาปรกึ ษา คาแนะนา เพ่ือใหส้ หกรณผ์ า่ นมาตรฐานสหกรณ์ WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 33 0 14. เขตสายไหม สหกรณท์ งั้ หมด 15 แหง่ เปน็ ประเภทออมทรัพย์ 5 แหง่ (ดาเนินการ 5 แห่ง) สหกรณ์ บริการ 8 แห่ง (ดาเนินการ 7 แห่ง ชาระบัญชี 1 แห่ง) สหกรณ์เครดิตยูเน่ียน 2 แห่ง (ดาเนินการ 1 แห่ง ชาระ บัญชี 1 แห่ง) มีสมาชิก 7,868 คน ผลการเข้าแนะนา ส่งเสริม และแก้ไขปญั หาสหกรณ์ - แนะนาส่งเสริมสหกรณ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และติดตาม การแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งของสหกรณ์ ทั้งท่เี ป็นขอ้ บกพรอ่ งเก่า และขอ้ บกพรอ่ งท่ีเกิดขึ้นใหมร่ ะหว่างปี - การแนะนาส่งเสรมิ การใชห้ ลกั ธรรมาภบิ าลมาใช้ในการบรหิ ารงานของสหกรณ์ ตามโครงการสหกรณ์ สีขาวด้วยธรรมาภิบาล โดยบูรณาการงานร่วมกันกับกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์เพ่ือ สง่ เสรมิ ให้สหกรณ์มีการบรหิ ารจัดการโดยการนาหลักธรรมาภบิ าลไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ - ช่วยแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของสมาชิกสหกรณ์ โดยเป็นตัวกลางในการสื่อสารทาความเข้าใจ ระหวา่ งสมาชิก กับเจา้ หน้าท่ขี องสหกรณ์ หรอื คณะกรรมการของสหกรณ์ - แนะนา ส่งเสริมให้รักษาระดับมาตรฐานอยู่ในระดับดีเลิศ และผลักดันสหกรณ์ท่ีไม่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานจาก ระดับ F เป็น ระดบั C และระดับ C เปน็ ระดับ B ระดบั B เปน็ A การแนะนาส่งเสริมสหกรณ์เพ่ือให้ สหกรณม์ กี ารดาเนนิ งานตามมาตรฐานสหกรณ์ ผลการเขา้ แนะนาสง่ เสรมิ สหกรณ์ในปี 2564 จากสหกรณ์ทงั้ หมด จานวน 14 แห่ง มีผลการประเมินมาตรฐานสหกรณ์ระดับมาตรฐานดีเลิศ จานวน 5 แห่ง ระดับมาตรฐานดีมาก จานวน 1 แหง่ ระดับมาตรฐานดี จานวน 2 แห่ง ไมผ่ ่านมาตรฐานจานวน 4 แหง่ เปน็ สหกรณ์จดั ต้งั ใหม่ไม่ครบ 2 ปี จานวน 1 แห่ง และอยูร่ ะหว่างการชาระบัญชี จานวน 1 แหง่ - แนะนาส่งเสริมเพื่อยกระดับช้ันสหกรณ์ ผลการจัดชั้นสหกรณ์ มีสหกรณ์ท่ีอยู่ในช้ันหนึ่ง จานวน 4 แห่ง ช้ันสอง จานวน 5 แหง่ ช้ันสาม จานวน 4 แห่ง และเป็นสหกรณ์จดั ตัง้ ใหมย่ ังไมจ่ ัดระดับชั้น 1 แห่ง - การแก้ปัญหาสหกรณท์ ปี่ ิดบญั ชีไม่ได้ สานักงานส่งเสรมิ สหกรณก์ รุงเทพมหานคร พ้ืนท่ี 2 ได้จดั ให้มี พนักงานราชการ เพื่อแนะนาส่งเสริมให้คาแนะนา ติดตาม และช่วยเหลือสหกรณ์ ที่ไม่สามารถปิดบัญชีได้อย่าง ใกล้ชิด ปญั หา/อุปสรรคในการดาเนนิ งานของสหกรณ์ - เนื่องจากในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ระลอกใหม่ ปี 2564 ทาให้สานักงาน สหกรณ์ต้องปรับเปลี่ยนระยะเวลาในการให้บริการแก่สมาชิก ส่งผลกระทบต่อการใช้บริการทาให้สมาชิกไม่ได้รับ ความสะดวก - ผู้ตรวจสอบกิจการขาดการตระหนักในหน้าท่ี ไม่มีความรู้ในการตรวจสอบและเขียนรายงาน การรับ จ่ายและเก็บเงินสดเกนิ กวา่ ทรี่ ะเบยี บกาหนด บัญชีไมเ่ ป็นปจั จุบนั ไมม่ ีทะเบยี นคุมการจา่ ยหรือออกใบเสรจ็ - คณะกรรมการดาเนินการบริหารสหกรณ์โดยมุ่งเน้นที่การเพ่ิมกาไรสุทธิเป็นที่ตั้ง มิได้ยึดคนเป็นหลัก มุง่ พฒั นาและม่งุ ขยายเงนิ กู้ตามที่สมาชกิ เรียกร้องโดยไมค่ านงึ ถงึ ความเสี่ยงของสหกรณ์ทเี่ พ่ิมขึ้น - เจา้ หน้าท่ีส่งเสรมิ ไม่เพียงพอสวนทางกบั สหกรณจ์ ัดตง้ั เพิ่มมากขึ้น - สหกรณข์ นาดเลก็ ไม่มีเงินทนุ มักจะไมจ่ า้ งเจา้ หนา้ ทีบ่ ัญชีทาให้สหกรณ์ไมส่ ามารถปิดบัญชีได้ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา - ให้สหกรณ์ปรับเปลี่ยนแปลงเวลาทาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือ COVID-19 ระลอก ใหม่ ปี 2564 เพ่อื อานวยความสะดวกใหก้ ับสมาชิกสหกรณม์ ากขน้ึ - อบรมใหค้ วามรู้ผตู้ รวจสอบกิจการ - เผยแพร่หลกั การ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ - แนะนาให้สหกรณ์จัดสรรเจ้าหน้าท่ีที่มาปฏิบัติงานให้เพียงพอต่อการให้บริการ เพ่ืออานวยความ สะดวกใหแ้ กส่ มาชกิ ท่มี าใช้บรกิ ารไดอ้ ยา่ งทั่วถึง WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 34 0 ผลงาน/ความสาเร็จของสหกรณ์ สหกรณ์ออมทรัพย์บริษัทเฉลียวการช่างและค้าวัสดุก่อสร้าง จากัด สหกรณ์มีศักยภาพในการบริหารจัดการและดาเนินธุรกิจท่ีมีความโปร่งใส ซึ่งสามารถสร้างความเชื่อม่ันและความ เข้มแข็งใหแ้ ก่สมาชิกได้ เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์เข้าแนะนา ให้คณะกรรมการดาเนินการยึดหลักการบริหารจัดการสหกรณ์ ตามหลกั ธรรมาภบิ าล เพอ่ื พัฒนาความเขม้ แข็งและสรา้ งความโปร่งใสให้แกส่ มาชกิ และตดิ ตามผลการดาเนนิ ธรุ กิจ ของสหกรณ์อย่างสม่าเสมอเพื่อป้องกันไม่ใหเ้ กิดการทุจริตท่ีสง่ ผล กระทบต่อธุรกิจสหกรณ์ และสหกรณ์สามารถบ ริหารจัดการจนมีผล การดาเนินงานดเี ย่ียม สามารถส่งเข้าประกวดสหกรณ์ดีเดน่ จนได้สหกรณ์ดีเด่นระดับจังหวัด ในปี 2564 สหกรณ์เครดิตยูเน่ียนเอ้ืออาทรคลองถนน จากัด สหกรณ์จัดทางบการเงินและปิดบัญชีประจาปีของ สหกรณ์ได้ภายใน 30 วันนับแต่วันส้ินปที างบัญชี มีผลการดาเนินงานของสหกรณ์มีกาไรประจาปี และสามารถจัด ประชุมใหญ่สามัญประจาปีได้ ภายใน 150 วันนับแต่วันส้ินปีทางบัญชี เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการอย่างสม่าเสมอเพื่อทราบถึงปัญหาในการดาเนินงานของสหกรณ์และให้คาแนะนาส่งเสริมแนวทาง ในการแก้ไขปัญหา และป้องกันปัญหาท่ีจะเกิดข้ึน โดยได้แนะนาให้สหกรณ์ปรับแผนการดาเนินธุรกิจเพื่อให้มี รายไดม้ ากขน้ึ เช่น การพิจารณาแก้ไขระเบียบวา่ ด้วยการใหเ้ งินกู้ให้สอดคล้องกับความต้องการของสมาชกิ และลด ค่าใชจ้ า่ ยที่ไม่จาเปน็ WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 35 0 15. เขตห้วยขวาง สหกรณ์ท้ังหมด 25 แห่ง เป็นประเภทออมทรัพย์ 12 แห่ง (ดาเนินการ 11 แห่ง ชาระบัญชี 1 แห่ง) สหกรณ์บริการ 11 แห่ง (ดาเนินการ 8 แห่ง ชาระบัญชี 3 แห่ง) สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 แห่ง (ดาเนนิ การ 2 แห่ง) มีสมาชิก 9,977 คน ผลการแนะนาส่งเสริมสหกรณ์ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จานวน 10 สหกรณ์ ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จานวน 10 สหกรณ์ ไม่นามาจดั มาตรฐาน จานวน 5 สหกรณ์ ปัญหาในการดาเนินงานของสหกรณ์ สหกรณ์เครดิตยูเน่ียนท่องเที่ยวไทยเพื่อการพัฒนา จากัด ยังไม่ สามารถดาเนินธุรกิจตามวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ได้ สมาชิกมีส่วนร่วมในการดาเนินธุรกิจไม่เกิน 10% โดยผล การดาเนินการของสหกรณ์มีรายรับน้อยกว่ารายจ่าย ทาให้มีผลดารดาเนินงานขาดทุนติดต่อกันเป็นระยะเวลา 3 ปี สหกรณเ์ คหสถานบ้านมั่นคงลาดพร้าว 45 พัฒนา จากัด ไมส่ ามารถปิดบัญชีให้เปน็ ปจั จุบนั ได้ เนอ่ื งจาก เอกสารสาคัญจ่ายสูญหาย และไม่มีเจ้าหน้าท่ีจัดทาบัญชีของสหกรณ์ มีเพียงกรรมการท่านหนึ่งเป็นผู้จัดทาบัญชี เพียงคนเดียว ซึ่งไม่มีความรู้ด้านบัญชีโดยตรง ปัจจุบัน เจ้าหน้าท่ีส่งเสริม และผู้สอบบัญชีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ไดป้ ระสานงานเพอื่ ทาการสอนบัญชีแกเ่ จา้ หนา้ ท่ีของสหกรณ์ ซง่ึ ขณะน้ีสหกรณม์ ผี รู้ ับผดิ ชอบการทาบญั ชแี ล้ว สหกรณ์เคหสถานบ้านม่ันคงร่วมใจพิบูล จากัด ไม่สามารถจัดทางบการเงินเป็นปัจจุบันได้เน่ืองจากงบ การเงินส้ินปีบัญชี พ.ย.2562 ยอดไม่ตรงกับท่ีผู้สอบบัญชีตรวจสอบ สหกรณ์อยู่ระหว่างการตรวจทานเอกสาร ประกอบงบการเงิน และการจดั ทางบการเงนิ สน้ิ ปีบัญชี พ.ย.2563 – พ.ย.2564 อปุ สรรคในการดาเนนิ งานของสหกรณ์ 1. คณะกรรมการบางสว่ นยงั ไมม่ ีความรเู้ รื่องสหกรณแ์ ละเข้าใจหลกั การของสหกรณ์ 2. ไมม่ เี จ้าหนา้ ทที่ างาน 3. สหกรณ์ไมม่ ีเจา้ หน้าทจี่ ดั ทาบญั ชี 4. สหกรณ์บางแห่งมีอัตราการมีส่วนร่วมของสมาชกิ ในการดาเนนิ ธุรกิจท่คี ่อนข้างน้อย 5. เหตกุ ารณ์การแพรร่ ะบาดของ ไวรสั โควิด-19 ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา เห็นควรให้มีการจัดอบรมการจัดทาบัญชีและการจัดทาเอกสารสาคัญทางบัญชี ให้กับ สหกรณ์ประเภท เคหสถาน เน่ืองจาก สหกรณ์เคหสถานหลายแห่งในพื้นท่ีเขตห้วยขวางท่ีไม่สามรถปิดบัญชีได้ บางที่สามารถปิด บัญชีได้แต่หลักฐานประกอบงบการเงินไม่เรียบร้อย และ ในด้านของคณะกรรมการในหลายสหกรณ์ยังไม่ไม่มี ความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวสหกรณ์ ทงั้ นี้ สหกรณ์ท่ีนอกเหนือจากประเภทเคหสถานแลว้ น้ัน การให้ความรู้ความเข้าใจ ในหลักการของสหกรณ์เป็นองค์ประกอบสาคัญท่ีคณะกรรมการจะได้เข้าใจและรู้หน้าที่เพื่อนาไปปฏิบัติ เพื่อเป็น การยกระดับศกั ยภาพของสหกรณ์ และมีผลการดาเนินงานท่ีดีย่งิ ขน้ึ ผลงาน/ความสาเร็จของสหกรณ์ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลพระราม 9 จากัด เป็นสหกรณ์ท่ีปฏิบัติ เป็นไปตามระเบยี บ ขอ้ บังคับ และกฎหมายตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกบั ของสหกรณ์อย่างเคร่งครัด ทาให้ได้รบั การประเมิน ใหไ้ ดร้ บั การจดั ระดบั มาตรฐานในระดับ ดเี ลศิ WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานประจาปี 2564 (Annual Report) | 36 0 เจ้าหนา้ ที่สง่ เสรมิ สหกรณ์เขา้ ร่วมการประชมุ คณะกรรมการดาเนินการของสหกรณ์ เพ่ือรว่ มรบั ฟัง แนะนา สง่ เสรมิ ชแี้ นะให้สหกรณ์ปฏิบตั ใิ หเ้ ป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ และกฎหมายที่เก่ียวขอ้ งกบั สหกรณ์ 16. เขตดนิ แดง สหกรณ์ท้ังหมด 12 แห่ง เปน็ ประเภทออมทรัพย์ 9 แห่ง (ดาเนนิ การ 9 แห่ง) สหกรณ์ บริการ 1 แห่ง (ดาเนินการ 1 แห่ง ชาระบัญชี 1 แห่ง) สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 1 แห่ง (ดาเนินการ 1 แห่ง) มสี มาชกิ 69,108 คน ผลการเข้าแนะนาส่งเสริมสหกรณ์ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จานวน 11 สหกรณ์ ไม่ผ่านมาตรฐานจานวน 1 สหกรณ์ มีโรงเรียนท่ีดาเนินกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนตามโครงการ พระราชดาริสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาสยามบรมราชกมุ ารี จานวน 1 โรงเรียน คอื โรงเรียนวิชทู ศิ ปัญหา/อุปสรรคในการดาเนินงานของสหกรณ์ สหกรณ์ประเภทเคหสถาน คณะกรรมการและสมาชิก ยังไม่มีความรู้ความสามารถเพียงพอในการจัดทาบัญชี จึงเป็นสาเหตุทาให้ไม่สามารถปิดบัญชีได้เป็นปัจจุบัน และ ไม่มีเวลาเพยี งพอในการปฏิบัติงานด้านเอกสารของสหกรณ์ จงึ ทาให้การจัดทาเอกสารลา่ ช้า เอกสารจัดเก็บไม่เป็น ระเบียบเรยี บรอ้ ย ไมส่ ะดวกต่อการหยบิ ใชง้ านและบริการสมาชิก การจัดทารายงานการดารงสินทรัพย์สภาพคล่องของสหกรณ์ ตามรูปแบบรายงานท่ีกรมส่งเสริมสหกรณ์ กาหนด สหกรณ์ไม่เห็นถึงความสาคัญของการจัดทารายงาน เน่ืองมาจากสหกรณ์ได้ใช้เครื่องมือทางการเงินท่ีทาง ผ้สู อบบัญชไี ด้คานวณไว้ใหแ้ ลว้ และทางสหกรณก์ ็ไดบ้ รหิ ารจัดการโดยการใชท้ นุ ภายในของสหกรณเ์ องเปน็ หลัก ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา คณะกรรมการ และสมาชิก ควรศึกษาข้อบังคับ ระเบียบ ของ สหกรณ์ให้เข้าใจ เพ่ือจะได้บริการสมาชิก เป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่สมาชิก และเสียสละเวลาในการปฏิบัติหน้าท่ีใน ฐานะกรรมการ สมาชิกก็ควรปฏิบัติหน้าที่ในฐานะสมาชิก ช่วยกันสอดส่องดูกิจการของสหกรณ์ เพ่ือเป็นการ ปอ้ งกนั และปอ้ งปรามการทจุ รติ ภายในของสหกรณ์ สหกรณ์ที่มีผลการดาเนินงานเด่น สหกรณ์ท่ีมีผลการดาเนินงานเด่นในเขตดินแดง ได้แก่ สหกรณ์ออม ทรพั ย์มหาวิทยาลัยหอการคา้ ไทย จากัด มผี ลการจดั มาตรฐานผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สหกรณ์ปดิ บัญชไี ด้เปน็ ปจั จุบัน เสนอผู้สอบรับรองแล้วเสนอท่ีประชุมใหญ่อนุมัติภายใน 150 วัน หลังส้ินปีทางบัญชีของสหกรณ์ , ผลการ ดาเนนิ งานในรอบสองปบี ัญชีสุดท้ายย้อนหลงั มผี ลการดาเนนิ งานไมข่ าดทนุ และไม่มีการกระทาอันถือไดว้ ่าทุจริต , สมาชิกมีส่วนร่วมทาธรุ กิจกับสหกรณ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของสมาชิกท้ังหมด , ผลการดาเนินงานในรอบสองปี บัญชีย้อนหลงั มีการจัดสรรกาไรสุทธิและจา่ ยทุนสวัสดิการหรือทุนสาธารณประโยชน์อย่างน้อย 1 คร้ัง , ไม่กระทา อันเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบ คาส่ัง ของนายทะเบียนสหกรณ์ , ดาเนินงานภายใต้อุดมการณ์หลักการและ วิธกี ารสหกรณ์ - สหกรณ์มีการกาหนดระเบียบเพ่ือถือใช้ในการปฏิบัติงานต่าง ๆ ไว้ครบถ้วนเหมาะสมกับลักษณะธุรกิจ ของสหกรณ์ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143