Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่3

หน่วยที่3

Published by เกียงไกร พาคํา, 2019-11-16 03:41:47

Description: ilovepdf_merged (4)

Search

Read the Text Version

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 1/12 เร่ืองหน่วยการเรียนที่ 4 : โลหะผสม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 โลหะผสม 4.1 โลหะผสม หมายถึง การนาโลหะ 2 ชนิด นามาผสมกนั ตามอตั ราส่วน เพ่ือใหไ้ ดค้ ุณสมบตั ิทางกล ทาง ไฟฟ้ า และเคมีตามความตอ้ งการ โดยปกติเราสามารถแบ่งโลหะผสมได้ 2 ประเภทใหญ่ คือ 4.2 ชนิดของโลหะหนักผสม แบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 4.2.1 โลหะหนกั ผสม หมายถึง โลหะท่ีไม่ใชเ้ หล็ก นามาผสมกนั ต้งั แต่สองชนิดข้ึนไป โดยมีความ หนาแน่นมากกวา่ 5 kg/cm2 โลหะที่เกิดจากการผสมน้ีมีคุณสมบตั ิดีกวา่ โลหะแม่ (โลหะเดิม) ข้อดีของโลหะผสม - มีความแขง็ - มีความแขง็ แรง - ทนต่อการสึกหรอ - ปรับปรุงคุณสมบตั ิไดต้ ามตอ้ งการ - ทนตอ่ ความเคน้ แรงดึง - ใชง้ านไดม้ ากวา่ เดิม ข้อเสียของโลหะผสม - จุดหลอมเหลวจะลดลง - การนาไฟฟ้ าจะลดลง ข้อควรจา โลหะยงิ่ บริสุทธ์ิจุดหลอมเหลวยงิ่ สูง คุณสมบตั ิในการนาไฟฟ้ ายงิ่ ดีมากข้ึน โลหะหนกั ผสมมีหลาย ชนิด จะกล่าวเฉพาะโลหะผสมที่จะเป็นตอ้ งใชก้ บั งานช่าง คือ 1. ทองแดงผสม ทองแดงเป็นโลหะแม่ มีปริมาณผสมอยมู่ ากแบง่ เป็น - ทองเหลือง มีสัญลกั ษณ์เกิดจากทองแดงผสมกบั สงั กะสี สัญลกั ษณ์ของทองเหลือง ความ บริสุทธ์ิของทองแดงเขียนไดเ้ ป็นเกรดตวั อกั ษร A – F เช่น F-Cu จะมีความบริสุทธ์ิกวา่ A-Cu ทองแดงที่ใชเ้ ป็ นอิเล็กโตรลิติกเป็นตวั นาไฟฟ้ าที่ดี การเขียนสัญลกั ษณ์ของทองเหลืองดงั น้ี

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม เรื่องหน่วยการเรียนที่ 4 : โลหะผสม ใบเนือ้ หา 2/12 ตัวอย่างที่ 1 MS 60 คือ ทองเหลืองท่ีมีส่วนผสมของทองแดง 60% อีก 40% เป็นสังกะสี (Zn) ตวั อย่างท่ี 2 MS 63 F 48 คือ ทองเหลืองท่ีมีทองแดงผสมอยู่ 63 มีความเคน้ แรงดึงต่าท่ีสุด 48 กก./ตร.มม. ความสัมพนั ธ์ระหว่างความแข็งกบั ความแขง็ แรงของทองเหลอื ง สัญลกั ษณ์มาตรฐาน ลกั ษณะความแข็ง ความเค้นแรงดงึ กก./มม.2 อตั รายดึ ตวั % MS 60 E 29 ออ่ น 29 - 33 45 MS 60 F 35 ก่ึงแขง็ 35 - 45 25 MS 60 F 41 แขง็ 41 - 50 18 MS 60 F 52 แขง็ สปริง ต่ากวา่ 25 5 MS 60 F 37 อ่อน 37 - 45 28 MS 58 F 44 ก่ึงแขง็ 44 - 54 12 MS 52 F 51 แขง็ 51 - 63 6 คุณสมบัติ - มีสีเหลือง - ใชง้ านมากที่สุด - มีทองแดงผสม 50 % ถา้ ผสมมากกวา่ น้ี เช่น มีทองแดง 70 % ข้ึนไปจะทาใหเ้ น้ือทองแดงอ่อนมาก เรียกวา่ ทอมบคั (Tombak) - รีดเป็ นแผน่ ได้ - ดึงเป็นเส้นได้ - การนาไฟฟ้ าลดลง - ความแขง็ เพิ่มข้ึน ประโยชน์ - พนั ทุ่นอาเมเจอร์ - ใชท้ าโลหะงานประณีตต่าง ๆ - ชิ้นส่วนเครื่องมือกล - นาฬิกา - ชอ้ นส้อม - มีดตา่ ง ๆ - ใบจกั รเรือ

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม เร่ืองหน่วยการเรียนที่ 4 : โลหะผสม ใบเนือ้ หา 3/12 1. ทองเหลอื งอะลูมิเนียม (Cu + Zn + AI– MSAI) มีอะลูมิเนียมผสมอยไู่ มเ่ กิน 3% มีความ เคน้ แรงดึงดี รีดเป็นเส้นไดย้ าก ทนต่อการกดั กร่อนดี หล่อข้ึนรูปง่าย ใชท้ าใบจกั รเรือบดั กรี ไดแ้ ละใชท้ าอุปกรณ์ในงานเคมี 2. ทองเหลอื งแมงกานิส (Cu + Zn + Mn – MSMh) มีแมงกานีสผสมอยนู่ อ้ ยมากทาใหแ้ ขง็ ทนตอ่ ความเคน้ แรงดึง 60 กก./มม.3 ทนต่อน้าทะเลใชท้ ากา้ นลูกสูบ กา้ นลิ้น ใบจกั รเรือ 3. ทองเหลอื งเหลก็ (Cu + Zn + Fe – MSFe) มีเหลก็ ผสมอยู่ 1-3% ช่วยใหห้ ล่อหลอมไดง้ ่าย 4. ทองเหลอื งตะกว่ั (Cu + Zn + Pb – MSPb) มีตะกวั่ ปนอยู่ 1-2% ช่วยใหใ้ ชก้ บั งานกลึงไดด้ ี และง่ายข้ึน 2. เงนิ เยอรมัน (NS) เงินเยอรมนั เดจากทองแดงผสมกบั สังกะสีผสมนิกเกิล (Cu 40 – 70%, Zn 20 – 45% Ni 10-30%) ตวั อยา่ งสญั ลกั ษณ์เงินเยอรมนั 60 25 หมายถึง เงินเยอรมนั ท่ีมีส่วนผสมของทองแดง 60% นิกเกิล 25 % ท่ีเหลือเป็นสังกะสี คุณสมบตั ิ - มีสีขาวคลา้ ยเงินมาก - ดึงและข้ึนรูปเยน็ ได้ - ทนตอ่ การกดั กร่อน - ถา้ ผสมตะกวั่ 2% จะทาใหก้ ลึงไดง้ ่ายข้ึน ประโยชน์ - ทาเคร่ืองมือมีคม - เครื่องโลหะรูปพรรณต่าง ๆ - ชุดเคร่ืองมือเขียนแบบ - เครื่องมืองานประณีต เช่น ชอ้ น ส้อม - กรอบนาฬิกา

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม เร่ืองหน่วยการเรียนที่ 4 : โลหะผสม ใบเนือ้ หา 4/12 3. บรอนซ์ (BZ) บรอนซ์ เกิดจากทองแดงผสมสังกะสีประสมดีบุก แบง่ ออกเป็ นหลายชนิด ไดแ้ ก่ 1. บรอนซ์อะลูมิเนียม (Cu + Zn + Sn + AI – BZAI) มีความเคน้ แรงดึงสูงมาก (70 กก./มม.2) ทนต่อการกดั กร่อนไดด้ ี เชื่อมไดด้ ี บดั กรีอ่อนและแข็งไม่ติด ใชท้ าทุน่ อาร์เมเจอร์ ทาชุด เฟื องหนอน ทากา้ นลิ้น 2. บรอนซ์ดีบุก (Cu + Zn + Sn – BZSn) มีดีบุกไม่เกิน 20% มีความแขง็ แรงใชท้ าสปริงลอ้ ตาม ตวั หนอนในกงั หนั ตะแกรงลวด งานต่อเรือเดินทะเล 3. บรอนซ์ตะกวั่ (Cu + Zn + Sn + Pb – BZPb) มีผวิ ล่ืน รับแรงกดอดั บนผวิ ตวั มนั เองใชท้ าเป็น วสั ดุแบริ่ง 4. บรอนซ์เบริลเลียม (Cu + Zn + Sn + Be – BZBe) มีความยดื หยนุ่ ชุบแขง็ ไดแ้ ต่ตอ้ งเผาให้ ร้อน 7000 – 800 0C แลว้ จุม่ ในน้า นาไปอบเหนียวท่ีอุณหภมู ิ 2500 – 4000C ในสุญญากาศ ทาสปริงแขง็ ทาจุดแหลมชนกนั ทาเป็นแบร่ิงในเคร่ืองมืออุปกรณ์ 5. ทองแดงหล่อ (Cu + Zn + Sn + Pb – BZPb) เป็นบรอนซ์ชนิดหน่ึงมีสีค่อนขา้ งแดงมี คุณสมบตั ิเป็นวสั ดุแบริ่งที่ดี รับภาระหนกั ไดใ้ ชท้ าแบริ่งใชห้ ล่อเป็นตวั หนอนและลอ้ ตามตวั หนอน 4. สังกะสีผสม (Zn + Al + Mn + Cu) มี 2 ชนิด ชนิดรีด มีอะลูมิเนียม 4-12% คุณสมบัติ - เหมาะแก่งานรีด - มีความแขง็ แรงนอ้ ย - มีความเท่ียงขนาดนอ้ ย ประโยชน์ - ใชแ้ ทนทองเหลืองไดด้ ี ชนิดอดั หล่อ มีความแขง็ แรงมากกวา่ และยงั มีความเที่ยงมากกวา่ ใหผ้ วิ งานท่ีเรียบร้อยดีกวา่ ชนิดรีด คุณสมบตั ิ - มีความแขง็ แรงมากกวา่ ชนิดรีด - มีความเท่ียงขนาดมากกวา่ ชนิดรีด - มีผวิ งานที่เรียบร้อยดีกวา่

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 5/12 เรื่องหน่วยการเรียนท่ี 4 : โลหะผสม ประโยชน์ - ใชห้ ล่อชิ้นงานที่ยาก ๆ - ใชห้ ล่อชิ้นงานท่ีตอ้ งการผวิ ท่ีไดข้ นาด - ใหค้ วามประณีตสูงมาก 5. ดบี ุกผสม (Sn + Pb + Bi + Cd + Sb) โลหะกลุ่มน้ีเป็นโลหะที่มีจุดหลอมต่า คุณสมบตั ิ - มีความลื่นตวั - มีจุดหลอมต่า ประโยชน์ - ทาโลหะบดั กรี - อุปกรณ์ในมิเตอร์วดั น้า - ใชท้ ามิเตอร์ไฟฟ้ า โลหะบดั กรีชนิดต่าง ๆ โลหะ มาตราฐาน ส่วนผสม % อุณหภูมิทีน่ ้อยทส่ี ุด ตวั อย่างงาน โลหะบดั กรี 25 L Sn 25 Sn 25 Sb 1.7 ตอ้ งบดั กรีดว้ ยเปลวไฟ โลหะบดั กรี 60 L Sn 60 Pb ที่เหลือ Sn 60 257 จากหวั เชื่อม ทองเหลืองบดั กรี 63 L Ms 63 Sb 3.3 Pb ท่ีเหลือ บดั กรีลวดและงาน เงินบดั กรี 25 L Ag 25 Cu 62 – 64 185 บดั กรีเดินสายทวั่ ไป Zn 35 Si 0.2 – 0.4 บดั กรีประสานท่อ Ag 24 – 26 910 บดั กรีตวั ถงั Cu 43 Zn ท่ีเหลือ บดั กรีงานละเอียดที่ตอ้ งทน 780 ตอ่ ความร้อนสูง

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 6/12 เร่ืองหน่วยการเรียนท่ี 4 : โลหะผสม โลหะบดั กรีดีบุกผสมตะกว่ั ดบี ุก % ตะกวั่ % ชื่อโลหะ คุณสมบตั ิและตัวอย่างงาน 66.6 33.3 บดั กรีอ่อน Fine Solder จุดหลอมต่ามาก 50 50 Tinman’s Solder ใชบ้ ดั กรีแผน่ เหลก็ 33.3 66.6 ท่อตะกวั่ Plumbing Solder ทาขอ้ อ่อนท่อประปา 6. ตะกว่ั ผสม ตะกว่ั ผสม (Pb + Sb + Sn + Cu) โลหะตะกวั่ ผสมท่ีสาคญั คือ ตะกว่ั แขง็ (Hard Lead) มีพลวง Sb 5-25% คุณสมบตั ิ - ล่ืน - รับภาระไดส้ ูง (ทนต่อการสึกหรอ) ประโยชน์ - ทาแบริ่ง - ใชห้ ล่อทาตวั พิมพต์ า่ ง ๆ 7. นิกเกลิ ผสม แบ่งเป็ น - นิกเกลิ ผสมทองแดง (Ni + Cu) มีนิกเกิล 70% ทองแดง 30% เป็นโลหะชนิดใหม่เรียกวา่ โมเนล (Monel Metal) เป็ นโลหะท่ีทนต่อการกดั กร่อน และทนต่ออุณหภูมิตา่ ง ๆ ไดด้ ี โลหะ น้ีใชท้ าอุปกรณ์ไฟฟ้ า ทาขดลวดตา้ นทาน แหวนลูกสูบเคร่ืองยนต์ และบรรทดั โลหะ - นิกเกลผสมเหลก็ (Ni + Fe) โลหะชนิดน้ีเรียกวา่ อินเวอร์ สตีล (Invar Steel) โลหะน้ีมี ความเคน้ แรงดึงสูงถึง 60 กก./ตร.มม. ขยายตวั ไดน้ อ้ ย ถา้ นิกเกิล (Ni) ผสมอยเู่ กิน 25% ข้ึน ไป เหล็กจะหมดคุณสมบตั ิแม่เหล็ก ถา้ นิกเกิล 30% จะมีความตา้ นทานสูงใชป้ ระโยชน์ เหมือนกบั นิกเกิลผสมทองแดง - นิกเกลิ ผสมโครเมียม (Ni + Cr) มีนิกเกิล 70-92% โครเมียม 8-30% ทนต่อความเร็วสูง ทน ต่อกรดไดด้ ี ถา้ ผสมโครเมียม 35% จะข้ึนรูปหรือปาดผดิ ไดย้ าก

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม เร่ืองหน่วยการเรียนท่ี 4 : โลหะผสม ใบเนือ้ หา 7/12 8. โลหะแบริ่ง (Bearing Metal) โลหะแบริ่งจะตอ้ งสวมรับกบั เพลาหมุน คุณสมบตั ิของโลหะแบริ่งที่ดี คือ - มีความเสียดทานอ้ ย - ล่ืน - ไม่จบั เพลา - ไม่กดั เพลา - ปรับเขา้ ศูนยไ์ ดง้ ่าย - ทนการสึกหรอ - ทนการกกั กร่อน 9. ไวท์เมตอล (White Metal) ก. โลหะผสมตะกว่ั –พลบวง (Pb + Sb) เป็นโลหะผสมตามอตั ราส่วน แต่ถา้ ผสมพลวงมาก ข้ึนมีความแข็งและเปราะถ้าประสมพลวงประมาณ 15-20% รับภาระได้มากข้ึน ประโยชนใ์ ชท้ าแบริ่งรองรับกบั เพลาหมุน ข. โลหะผสมดีบุก – พลวง – ทองแดง (Sn + Sb + Cul) โดยทวั่ ไปเรียกโลหะน้ีวา่ โลหะ แบบบิต (Babbitt Metal) ราคาแพงกวา่ ตะกวั่ ผสมพลวงแต่มีคุณสมบตั ิดีกวา่ เพราะมี ดีบุกผสมอยมู่ าก ช่วยใหไ้ มแ่ ขง็ และมีความเปราะลดลงใชง้ านเหมือนกบั ตะกว่ั ประสม พลวง 10. บรอนซ์ผสมตะกว่ั (Leaded Bronze) เป็นโลหะท่ีเกิดจากทองแดง – ตะกว่ั – ดีบุก – นิกเกิล (Cu + Pb + Sn + Ni) เรียกวา่ ไวทเ์ มตอล มีส่วนผสมของทองแดง 64% ตะกว่ั 30% ดีบุก 5% นิกเกิล 1% มีความแขง็ แรงกวา่ โลหะแบบชนิด แต่ใชง้ านเหมือนกนั การกดั กร่อนและการชารุดของแบริ่ง สาเหตุของการกดั กร่อน 1. สาเหตุจากขาดการหล่อล่ืน 2. เศษโลหะชิ้นเลก็ ๆ หยดุ เขา้ ไปแลว้ เกิดการเสียดสี 3. ใชง้ านไมถ่ ูกตอ้ งกบั ชนิดของแบริ่ง 4. ความผดิ พลาดในการติดต้งั แบร่ิง การบารุงรักษาแบบร่ิง การหล่อล่ืนเป็ นสิ่งจาเป็นท่ีขาดไม่ไดเ้ ม่ือมีกานาแบร่ิงไปใชง้ าน น้ามนั หล่อลื่นจะช่วยลด ความเสียดทานท่ีเกิดจากการหมุนเวยี นของแบริ่ง ทาใหส้ ามารถลดความร้อนท่ีเกิดจากการเสียดสี การหมุนที่ คล่องตวั สามารถหมุนดว้ ยความเร็วรอบสูงได้

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม เรื่องหน่วยการเรียนที่ 4 : โลหะผสม ใบเนือ้ หา 8/12 วตั ถุท่ีใชส้ าหรับหล่อลื่นแบร่ิงมี 2 ประเภท คือ 1. จาระบี 2. น้ามนั หล่อล่ืน จาระบี เหมาะสาหรับงานท่ีมีความเร็วรอบต่า และมีภาระสูงตลอดจนงานที่มีแรงสน่ั สะเทือน มาก ๆ นอกจากน้ียงั เหมาะกบั งานท่ีไมม่ ีการปิ ดฝาครอบของแบร่ิง หรือในโรงงานอุตสาหกรรมท่ีมีฝ่ นุ ผงและ สิ่งสกปรก น้ามันหล่อลื่น เหมาะกบั แบร่ิงของงานท่ีตอ้ งการประณีตสูงและหมุนดว้ ยความเร็วรอบสูง เหมาะจะช่วยลดความร้อนไดด้ ีอีกดว้ ย 4.2.2 โลหะเบาผสม โลหะเบาผสม คือ โลหะท่ีมีความหนาแน่นนอ้ ยกว่ 4 กก./ดม. 3 ไดแ้ ก่ อะลูมิเนียม แมกนีเซียม ไทเทเนียม เซอร์โครเมียม และเบริลเลียม 1. อะลมู เิ นียม (Aluminum) กรรมวธิ ีถุงอะลมู ิเนียม แร่ท่ีนามาถลุง คือ แร่บอกไซด์ มีสินแร่ประมาณ 55% นาแร่มาสกดั เอาละลูมินมั (AI2 O3) ออกแลว้ นาแร่ไปผสมโซดาไฟเขม้ ขน้ ท่ีอุณหภมู ิ 1500 – 1800C ที่ความดนั 7 บรรยากาศ กรองสารละลายออก ทิง้ ใหเ้ ยน็ อะลูมินมั จะตกผลึก นาผลึกน้ีไปเผาเพ่อื ไล่ความช้ืน ตอ่ จากน้นั นาอะลูมินมั ไปถลุงในเตาไฟฟ้ าท่ี อุณหภมู ิ 900 – 9500C อะลูมิเนียมจะแยกตวั มา โดยจะเกิดอยใู่ นข้วั ลม เป็นอะลูมิเนียมบริสุทธ์ิ คุณสมบัติ - ทนตอ่ บรรยากาศ - น้าหนกั เบา - นาไฟฟ้ าได้ - นาความร้อยไดด้ ี - เชื่อมและบดั กรีได้ - ทาใหเ้ ป็นผลได้ - ราคาถูก ประโยชน์ - ใชโ้ รงงานอุตสหกรรม - ทาแผน่ สะทอ้ นแสง - ถงั น้ามนั - สร้างยานอวกาศ

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม เร่ืองหน่วยการเรียนที่ 4 : โลหะผสม ใบเนือ้ หา 9/12 - เป็นวสั ดุก่อสร้าง - ทาโลหะผสม - ทาถงั รถบรรทุกเคมีภณั ฑ์ - ทาคอนเดนเชอร์วทิ ยุ - ทาสายเคเบิล - ทาแผน่ ฟอยด์ - ใชส้ ร้างเครื่องบิน - ทาภาชนะอาหาร 2. อะลมู เิ นียมผสม ส่วนใหญ่ผสมแมกนีเซียม ทองแดง ซิลิคอน นิกเกิล และแมงกานีส อะลูมิเนียมผสมแบ่งเป็น 2 ชนิด  ชนิดน่ิม จะเรียกคาวา่ (Gattung) นาหนา้ เช่น Gattung Al + Cu + Mg (อะลูมิเนียมผสมทองแดงและแมกนีเซียม) ไดโ้ ลหะใหม่ คือ ดู ลาลูมิน (Duralumin) เป็นโลหะผสมของอะลูมิเนียมที่สาคญั เพราะแขง็ แรงเกือบเทา่ เหลก็ แตเ่ บากวา่ ส่วนใหญ่ ใชท้ าชิ้นส่วนเครื่องบิน และใชง้ านท่ีอดั ทาบผวิ บนไวป้ ้ องกนั การกดั กร่อนไดด้ ี ถา้ ตอ้ งการนาไปกลึงกผ็ สม ตะกว่ั ลงไปประมาณ 15% Gattung Al + Mg + Si (อะลูมิเนียมผสมแมกนีเซียมและซิลิคอน) มีความแขง็ แรงปาน กลาง ขดั มนั ไดส้ ่วนงามมากใชท้ าโครงสร้างชิ้นงานในอุตสาหกรรมเคมี ปาดผิวไดด้ ีแตต่ อ้ งเติมตะกวั่ ดีบุก แคดเมียม และบิสมทั ลงไป Gattung Al + Mg (อะลูมิเนียมผสมแมกนีเซียม) มีความแขง็ แรง ทนต่อการกดั กร่อน ทน ตอ่ น้าทะเล ขดั ข้ึนเงาไดง้ ่าย เคลือบสีได้ Gattung Al + Cu + Ni (อะลูมิเนียมผสมทองแดงประสมนิกเกิล) ดีข้ึนรูปไดง้ ่าย ใชท้ าผา สูบ ลูกสูบเคร่ืองยนต์  ชนิดหล่อ เขียน Gattung นาหนา้ ตามดว้ ย G เช่น Gattung G Al + Si (อะลูมิเนียมผสมซิลิคอน) เป็ นอะลูมิเนียมผสมท่ีใชก้ บั งานหล่อ ชิ้นงานยาก ๆ บาง ๆ Gattung G Al + Si + Mg (อะลูมิเนียมผสมซิลิคอนผสมแมกนีเซียม) เป็นอะลูมิเนียมผสม ที่เชื่อมประสานได้ แขง็ สึกหรอยาก

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม เร่ืองหน่วยการเรียนท่ี 4 : โลหะผสม ใบเนือ้ หา 10/12 3. แมกนีเซียม (Mg)  กรรมวธิ ีถลุงแมกนีเซียม โลหะแมกนีเซียมเตรียมไดจ้ ากน้าทะเลและแร่หินปูนโดโลไมต์ (มีลกั ษณะคลา้ ยหินปูน หรือหินอ่อน) แมกนีเซียมในทะเลอยใู่ นสภาพของแมกนีเซียมไฮดอกไซด์ แมกนีเซียมในแร่หินปูนโดโลไมด์ เป็ นแมกนีเซียมคาร์บอเนต กรรมวธิ ีถลุงตอ้ งเปล่ียนสารประกอบแมกนีเซียมท้งั สองใหเ้ ป็นแมกนีเซียมออกไซด์ ผสม กบั กรดเกลือปฏิกิริยากลายเป็นแมกนีเซียมคลอไรด์ แลว้ นาไปแยกดว้ ยไฟฟ้ าไดแ้ มกนีเซียมออกมา คุณสมบตั ิ - เป็นโลหะที่เบาท่ีสุด - แขง็ แรงนอ้ ย ตอ้ งผสมกบั โลหะอ่ืน - แมกนีเซียมผสมชุบแขง็ ได้ - ไม่ทนตอ่ การกดั กร่อน - ลุกติดไฟ เปลวไฟพะเนียง ประโยชน์ - ผสมกบั โลหะอ่ืน - ใชท้ าหลอดไฟถ่ายรูป - ทาดอกไมไ้ ฟ  แมกนีเซียมประสม การใชง้ นของแมกนีเซียมผสมคลา้ ยกบั อะลูมิเนียมผสมแต่ปาดผวิ ไดง้ ายกวาผวิ จะรียบกวาโลหะ ผสมอ่ืน ๆ แบง่ เป็น 2 ชนิด - ชนิดนิ่ม ได้แก่ Gattung Mg + Mn (แมกนีเซียมผสมแมงกานีส) แมกนีเซียมผสมชนิดน้ีเช่ือมไดใ้ ชก้ บั งาน อดั งานตีข้ึนรูป ทาถงั น้ามนั บนเคร่ืองบินมีลกั ษณะเป็นแผน่ ท่อ แทง่ ภาคตดั เป็นรูปตา่ ง ๆ Gattung Mg + Al แมกนีเซียมผสมอะลูมิเนียม) มีความแขง็ แรงทนทานดีมาก ใชเ้ ป็ นงาน หล่อ งานดีข้ึนรูป เป็นเส้นท่ีมีหนา้ ตดั ตา่ ง ๆ ไดใ้ ชท้ าชิ้นส่วนรถยนตช์ ิ้นส่วนเครื่องจกั รพิเศษ - ชนิดหล่อ ได้แก่ Gattung G Mg + Al + Zn (แมกนีเซียมประสมอะลูมิเนียม ผสมสังกะสี) ใชก้ บั งานหล่อมี อตั รายดึ ตวั มาก แขง็ แรงรับภาระไดส้ ูง ทนต่อแรงกระแทกไดด้ ี ใชท้ าชิ้นส่วนอะไหล่รถยนต์

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 11/12 เรื่องหน่วยการเรียนท่ี 4 : โลหะผสม 4. ไทเทเนียม (Ti) คุณสมบัติ - มีจุดหลอมเหลวสูง (1,7270C) - น้าหนกั เบา - มีความแขง็ แรงสูง - ทนต่อการกดั กร่อนไดด้ ี - มีความแขง็ ประโยชน์ - ทาโครงสร้างจรวด - ทาโครงสร้างยายอวกาศ - ทาคีบเทอร์ไบน์ของเคร่ืองยนตไ์ อพน่ - ทาแผน่ ก้นั ความร้อน 5. เซอร์โคเนียม (Zr) คุณสมบตั ิ - ทนการกดั กร่อน - ทนกรดและน้าทะเล - ทนความร้อนไดส้ ูงมาก ประโยชน์ - ใชใ้ นการเตาปฏิกรณ์ปรมาณู - ทาหลอดไฟถ่ายรูป - ชิ้นส่วนท่ีใชผ้ งั ในการผา่ ตดั เช่น สกรู หมุดย้า

วชิ า : วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม ใบเนือ้ หา 12/12 เรื่องหน่วยการเรียนที่ 4 : โลหะผสม 6. เบริลเลยี ม (Be) คุณสมบัติ - ยดึ ตวั ไดน้ อ้ ย - น้าหนกั เบา - ฝ่ นุ ของมนั เป็นพิษต่อร่างกาย - ทนความร้อนได้ 1,2850C - มีความแขง็ แรง - ทนต่อการกดั กร่อนไดส้ ูง ประโยชน์ - ใชเ้ ป็นโลหะผสม - ใชก้ บั งานที่ตอ้ งการความแข็งแรง - สร้างยานอวกาศ - ถงั น้ามนั - เป็นวสั ดุก่อสร้าง - ทาโลหะผสม - ทาถงั รถบรรทุกเคมีภณั ฑ์ - ทาคอนเดนเชอร์วทิ ยุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook