Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการบัญชีเบืองต้น

หลักการบัญชีเบืองต้น

Published by pramual.c, 2020-06-24 01:03:10

Description: หลักการบัญชีเบื้องต้น หลักสมการบัญชี ประเภทสินทรัพย์

Keywords: หลักบัญชีเบื้องต้น

Search

Read the Text Version

การบัญชีเบ้อื งต้น Basic Accounting Pamadda Wijitkunsawat Tax & Accounting Dept.

วัตถปุ ระสงค์ • เพอื่ เขา้ ใจความหมาย และความสาํ คญั ของการบญั ชไีด้ • เพอ่ื เขา้ ใจถงึ วตั ถุประสงค์ และประโยชนข์ องการบญั ชี • เพอ่ื ทราบถงึ ขอ้ สมมตฐิ านทางการบญั ชี • เพอ่ื เรยี นร้ปู ระเภท และประโยชนข์ ององค์ประกอบทเี่กยี่ วขอ้ ง กบั งบการเงนิ ได้ • เพอ่ื สามารถวเิคราะห์รายการค้า และเขยี นสมการบญั ชไีด้ 2

หัวข้อ • นยิ าม • ขน้ั ตอนทางการบญั ชี • วตั ถุประสงค์ของการบญั ชี • ประโยชน์ของการบญั ชี • หลกั การพน้ื ฐานของการบญั ชี • งบการเงนิ – งบดุล – งบกาํ ไรขาดทุน 3

นิยาม • การบญั ชี หมายถึง ศลิ ปะ ของการจดบนั ทกึ ขอ้ มูล และจาํ แนกประเภทรายการตาม สถานการณ์ทเ่ีกยี่ วขอ้ งกบั การเงนิ และสงิ่ เทยี บเท่าเงนิ สดใน รูปแบบของหนว่ ยเงนิ ตรา รวมถงึ การสรปุ ผล การประมวลผล และตคี วามหมายของเหตุการณ์นนั้ 4

ขั้นตอนทางการบัญชี ข้อมลู รายการการค้า การเก็บรวบรวมข้อมลู ใน ในแต่ละวัน การบนั ทึกรายการค้า (Input) (Recording) การสรปุ ผล การจัดหมวดหมขู่ องรายการค้า ของรายการค้า ในเหตกุ ารณ์แต่ละวัน (Summarizing) (Classifying) การตีความหมายและการ แสดงผลลัพธ์ (Interpreting & output) 5

วัตถปุ ระสงค์ของการบัญชี • เพอื่ จดบนั ทกึ เหตุการณ์ทางการเงนิ ทเ่ีกดิ ขน้ึ ตามประเภทรายการ และเรยี งลาํ ดบั ก่อนหลงั อย่าง ครบถ้วน • เพอื่ จดบนั ทกึ รายการค้าให้ ถูกต้อง เป็นตามหลกั การบญั ชแี ละ ตามกฎหมายว่าด้วยการบญั ชี • เพอ่ื แสดงผลการดาํ เนนิ งานใน รอบระยะเวลาหนงึ่ (งบกาํ ไรขาดทุน) • เพอ่ื แสดงฐานะการเงนิ ของกจิ การ ณ วนั ใดวนั หนง่ึ (งบดุล) • เพอ่ื เป็นการ ป้ องกนั การทุจริต ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ 6

ประโยชน์ของการบัญชี • ช่วยให้เจา้ ของกจิ การสามารถ ควบคุม ดูแล รกั ษา สนิ ทรพั ยข์ อง กจิ การได้ • ช่วยให้ทราบ ผลการดาเนนิ งาน ของกจิ การ – งบกาํ ไร/ขาดทุน • ช่วยให้ทราบ ฐานะทางการเงิน ของกจิ การ - งบดุล • ช่วยในการ กาหนดนโยบาย วางแผนการดาํ เนนิ งาน • ช่วยในการ ตดั สนิ ใจในการบริหาร การดาํ เนนิ งาน • ช่วยในการ ตรวจสอบ หาขอ้ ผดิ พลาด • ช่วย ให้ขอ้ มูล แก่บุคคลภายใน และภายนอก 7

หลักการพ้นื ฐาน Basic Concept

รายการบญั ชี / รายการค้า • รายการบัญชี/รายการค้า หมายถงึ รายการที่ ก่อให้เกิด การโอน /แลกเปลยี่ น เงนิ หรอื สงิ่ ทม่ี มี ูลค่าเป็นเงนิ ระหว่าง กจิ การกบั บุคคลอนื่ ซง่ึ ทาํ ให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงในสนิ ทรพั ย์ หนส้ี นิ และส่วนของเจา้ ของ 9

แบบฝึ กหัด จ่ายค่าขนส่งและพาหนะ ต้อนรับลกู ค้าท่ีมาประชมุ ส่งหนังสือไปขอก้ยู ืมเงิน ส่งโทรสารติดต่องาน ส่งจดหมายขอผดั ผอ่ นหน้ี รับชาระหน้จี ากลกู ค้า ทาความสะอาดอุปกรณ์สานกั งาน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร รายได้รบั ค่าสินค้า จัดสานกั งานใหม่ การสาธิตการใช้อุปกรณ์ ซ้ือวัสดุส้ินเปลืองใช้ไป รบั สมัครพนกั งาน จ่ายเงินเดือนพนักงาน ก้เู งินจากธนาคาร ติดป้ ายโฆษณาหน้าร้าน จ่ายเงินซ้ือเคร่ือง PC ปรบั ปรงุ สวนหย่อมหนา้ สานักงาน จ่ายค่าเช่าล่วงหน้า ซ้ืออุปกรณ์สานกั งานเป็ นเงินเช่ือ 10

ตัวอย่างรายการบัญชี / รายการค้า รายการบัญชี ไมใ่ ช่รายการบญั ชี 1. จา่ ยเงนิ เดอื นพนกั งาน 1. ส่งโทรสารตดิ ต่องาน 2. จา่ ยค่าขนส่งและพาหนะ 2. รบั สมคั รพนกั งาน 3. จา่ ยค่าเช่าลว่ งหนา้ 3. ตดิ ป้ายโฆษณาหนา้ ร้าน 4. รบั ชาํ ระหนจ้ี ากลูกหน้ี 4. ส่งจดหมายไปขอผดั ผอ่ นหน้ี 5. จา่ ยเงนิ ซ้อื เครอื่ ง PC 5. ส่งหนงั สอื ไปขอกูย้ มื เงนิ 6. ซ้อื อุปกรณ์สาํ นกั งานเป็นเชอ่ื 6. ปรบั ปรุงสวนหย่อมหนา้ สาํ นกั งาน 7. กูเ้ งนิ จากธนาคาร 7. ตอนรบั ลูกค้าทมี่ าประชุม 8. รายได้รบั ค่าสนิ ค้า 8. จดั สาํ นกั งานใหม่ 9. เงนิ เบกิ เกนิ บญั ชธี นาคาร 9. ทาํ ความสะอาดอุปกรณ์สาํ นกั งาน 10.ซ้อื วสั ดุสน้ิ เปลอื งใช้ไป 10.การสาธติ การใชอ้ ุปกรณ์ 11

การวิเคราะห์รายการบญั ชี / รายการค้า • การวิเคราะห์รายการบัญชี/รายการค้า คอื การวเิคราะห์ รายการทเี่กดิ ขน้ึ จากการดาํ เนนิ งาน ก่อน การบนั ทกึ บญั ชี ว่า รายการทเี่กดิ ขน้ึ นนั้ มผี ลกระทบต่อสมการบญั ชอี ยา่ งไร • นยิ มใช้ สมการบญั ชี (Accounting Equation) เขา้ มาช่วยในการ วเิ คราะห์รายการ 12

สมการบัญชี • สมการบัญชี คอื สมการทแ่ี สดง สดั ส่วนความสมั พนั ธ์ ระหว่าง สนิ ทรพั ย์ หนส้ี นิ และ ส่วนของเจา้ ของ (ทุน) จากเหตุการณ์ที่ ส่งผลกระทบต่องบการเงนิ ของกจิ การ 13

A=L+O Assets = Liabilities + Owner’s equity สินทรัพย์ = หน้ีสิน + ส่วนของเจ้าของ ทุน + กาํ ไร (ขาดทุน) สุทธิ รายได้ - ค่าใชจ้ า่ ย 14

หลักในการบันทึกบัญชีคู่ • การบันทึกบัญชีคู่ (Double-Entry System) คอื การบนั ทกึ บญั ชแี ต่ละรายการ จาํ นวนเงนิ ทบ่ี นั ทกึ บญั ชดี ้านเดบติ เท่ากบั จาํ นวน เงนิ ทบี่ นั ทกึ ด้านเครดติ เสมอ เดบติ (Dr) = เครดิต (Cr) 15

เดบิต และ เครดิต เดบติ (Debit , Dr.) เครดิต (Credit ,Cr.) 1.ด้านขวาของบญั ชี 1. ด้านซ้ายของบญั ชี 2. การลงรายการ (ผา่ นบญั ช)ี 2. การลงรายการ (ผา่ นบญั ช)ี ด้านขวาของบญั ชี ทาํ ให้ ด้านซ้ายของบญั ชี ทาํ ให้ - สนิ ทรพั ย์ ค่าใชจ้ า่ ย ลดลง - สนิ ทรพั ย์ ค่าใชจ้ า่ ย เพมิ่ ข้นึ - หนส้ี นิ ทุน รายได้ เพมิ่ ข้นึ - หนส้ี นิ ทุน รายได้ ลดลง 3. แสดงยอดคงเหลอื ตามปกตขิ อง 3. แสดงยอดคงเหลอื ตามปกตขิ อง บญั ชปี ระเภทหนส้ี นิ รายได้ และทุน บญั ชปี ระเภทสนิ ทรพั ย์ ค่าใชจ้ า่ ย และ ส่วนของเจา้ ของ 16

จากสมการบญั ชี สินทรัพย์ = หน้ีสิน + ทนุ + รายได้ – ค่าใช้จ่าย สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หน้ีสิน + ทนุ + รายได้ เดบติ (Debit) เครดิต (Credit) สินทรัพย์ หน้ีสิน ค่าใช้จ่าย ทนุ รายได้ 17

หลักในการวิเคราะห์รายการ หมวดหมบู่ ญั ชี เพมิ่ (+) ลด (-) 1. สินทรัพย์ เดบติ เครดิต 2. หน้ีสิน เครดิต เดบติ 3. ส่วนของเจ้าของ เครดิต เดบติ 4. รายได้ เครดิต เดบติ 5. ค่าใช้จ่าย เดบติ เครดิต 18

สินทรพั ย์ • สินทรัพย์ (Assets) หมายถงึ สง่ิ ทมี่ มี ูลค่าเป็นตวั เงนิ ทบี่ ุคคล หรอื กจิ การเป็นเจา้ ของ –สง่ิ ทมี่ ตี วั ตน เชน่ เงนิ สด สนิ ค้า เครอ่ื งจกั ร อาคาร ทดี่ นิ –สงิ่ ทไ่ีม่มตี วั ตน เช่น เครอื่ งหมายการค้า ลขิ สทิ ธ์ิ สทิ ธบิ ตั ร สมั ปทาน ค่านยิ ม สญั ญาเช่า เป็นต้น 19

ประเภทของสินทรพั ย์ สินทรพั ย์ Assets สินทรัพย์หมนุ เวียน สินทรัพย์ไมห่ มนุ เวียน Current Assets Non-Current Assets - เงินสด & เงินฝากธนาคาร - เงินลงทนุ ระยะยาว - เงินลงทนุ ช่ัวคราว - เงินลงทนุ ในบรษิ ัทรว่ ม - ตั๋วเงินรับ - เงินลงทนุ ในบริษัทย่อย - ลกู หน้กี ารค้า - กองทนุ - เงินก้ยู ืมระยะส้ัน - ท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สินค้าคงเหลือ - สินทรพั ย์ไม่มตี ัวตน - รายได้ค้างรับ - ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหนา้ 20

การรบั ร้สู ินทรัพย์ สนิ ทรพั ยค์ วรรบั รู้ใน งบดุล เมอ่ื • มคี วามเป็นไปได้ค่อนขา้ งแนท่ ปี่ ระโยชนเ์ ชงิ เศรษฐกจิ ในอนาคตจะเขา้ สู่กจิ การ • สนิ ทรพั ย์นนั้ มรี าคาทุนหรอื มูลค่าทสี่ ามารถวดั ได้อยา่ งน่าเชอ่ื ถอื 21

หน้ีสิน • หน้ีสิน (Liabilities) หมายถงึ ภาระผูกพนั ในปจั จุบนั ของ กจิ การ เป็นผลของเหตุการณ์ในอดตี การชาํ ระภาระผูกพนั นน้ั คาดว่าจะส่งผลใหก้ จิ การสูญเสยี ทรพั ยากรทม่ี ปี ระโยชนเ์ ชงิ เศรษฐกจิ • หน้ีสิน หมายถงึ จาํ นวนเงนิ ทกี่ จิ การเป็นหนบ้ี ุคคลอน่ื ซง่ึ จะต้อง ชาํ ระคนื ในภายหนา้ ด้วยสนิ ทรพั ย์ หรอื บรกิ าร เช่น เจา้ หนก้ี ารค้า เงนิ กู้เงนิ เบกิ เกนิ บญั ชธี นาคาร เจา้ หนอ้ี น่ื ๆ เป็นต้น 22

ประเภทของหน้ีสิน หน้ีสิน liabilities หน้ีสินหมนุ เวียน หน้ีสินระยะยาว Current liabilities Long-term liabilities - เจา้ หนก้ี ารค้า - ตวั๋ เงนิ จา่ ย - ตวั๋ เงนิ จา่ ย - เงนิ กู้ - เงนิ ปนั ผลค้างจา่ ย - หุน้ กู้ - เงนิ กูย้ มื ระยะยาวทถี่ งึ กาํ หนดใน 1 ปี - เงนิ กูย้ มื ระยะยาว - เงนิ มดั จาํ - เจา้ หนจ้ี าํ นอง - เงนิ เบกิ เกนิ บญั ชี - รายได้รอการตดั บญั ชี - ค่าใชจ้ า่ ยค้างจา่ ย - รายได้รบั ลว่ งหนา้ 23

การรับร้หู น้ีสิน หนส้ี นิ ควรรบั รู้ใน งบดุล เมอื่ • มคี วามเป็นไปได้ค่อนขา้ งแน่ทปี่ ระโยชนเ์ ชงิ เศรษฐกจิ ของทรพั ยากร จะออกจากกจิ การเพอ่ื ชาํ ระภาระผูกพนั ในปจั จุบนั • มูลค่าของภาระผูกพนั ทต่ี ้องชาํ ระนนั้ สามารถวดั ได้อยา่ งน่าเชอื่ ถอื 24

ส่วนของเจ้าของ • ส่วนของเจ้าของ (Owner’s equity) หมายถงึ ส่วนได้เสยี คงเหลอื ในสนิ ทรพั ยข์ องกจิ การหลงั จากหกั หนส้ี นิ ออกแลว้ • ส่วนของเจ้าของ หมายถงึ สทิ ธคิ วามเป็นเจา้ ของทแี่ ทจ้ รงิ ใน สนิ ทรพั ย์ หรอื เรยี กว่า สนิ ทรพั ย์สุทธิ (Net Assets) หรอื สนิ ทรพั ยท์ เ่ีป็นส่วนของเจา้ ของกจิ การ 25

ส่วนของเจ้าของประกอบด้วย ส่วนของเจ้าของ Owner’s equity เงินลงทนุ ถอนใช้ส่วนตัว ผลกาไรขาดทนุ Investment Withdraw Profit / (Loss) รายได้ - ค่าใช้จ่าย Revenue - Income 26

ส่วนของเจ้าของ ตามประเภทกิจการ 1 3 ส่วนของผูถ้ ือห้นุ (Shareholder’ Equity) ส่วนของเจ้าของ (Owner’s Equity) ทนุ เรอื นห้นุ ทุน- นาย ก xxxx ทุนจดทะเบยี น xxxx 2 ทุนทอี่ อกและชาํ ระแลว้ xxx xxxx ส่วนของผูเ้ ป็ นห้นุ ส่วน (Partners’ Equity) ทุน- นาย ก xxxx ส่วนเกนิ มูลค่าหุน้ ทุน- นาย ข xxxx xxxx กาไร (ขาดทนุ ) สะสม เดนิ สะพดั นาย ก xxx xxx จดั สรรแลว้ xx เดนิ สะพดั นาย ข xxx xx สาํ รองตามกฎหมาย xx สาํ รองอนื่ xxxx xx ยงั ไมไ่ ด้จดั สรร รวมส่วนของผูถ้ ือห้นุ 27

รายได้ • รายได้ (Revenue) หมายถงึ ผลตอบแทนทกี่ จิ การได้รบั จาก การขายสนิ ค้าหรอื บรกิ ารตามปกตขิ องกจิ การรวมทงั้ ผลตอบแทนอน่ื ๆ ทไ่ีมไ่ ด้เกดิ จากการดาํ เนนิ งานตามปกติ 28

ประเภทของรายได้ รายได้ revenue รายได้จากการขาย รายได้อื่น Sales Other Incomes - ขายสนิ ค้า - หุน้ กู้ - ใหบ้ รกิ าร - เงนิ กู้ยมื ระยะยาว - เจา้ หนจ้ี าํ นอง 29

การรับรรู้ ายได้ กจิ การจะรบั รู้รายได้ใน งบกาไรขาดทุน เมอ่ื • มคี วามเป็นไปได้ค่อนขา้ งแน่ทปี่ ระโยชน์เชงิ เศรษฐกจิ ในอนาคต เพม่ิ ขน้ึ เนอ่ื งจากการเพม่ิ ขน้ึ ของสนิ ทรพั ย์หรอื การลดลงของ หนส้ี นิ • สามารถวดั ค่าของประโยชนเ์ ชงิ เศรษฐกจิ ในอนาคตได้อย่าง นา่ เชอื่ ถอื 30

ค่าใช้จ่าย • ค่าใช้จ่าย (Expense) หมายถงึ ต้นทุนส่วนทห่ี กั ออกจากรายได้ ในรอบระยะเวลาทดี่ าํ เนนิ การงานหนง่ึ 31

ประเภทของค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย expenses ต้นทนุ ขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย & บริหาร ค่าใช้จ่ายอ่ืน Cost of sales Selling & Admin. Expenses Other Expenses - ค่าวตั ถุดบิ - เงนิ เดอื น - ดอกเบย้ี จา่ ย - ค่าแรงงาน - ค่าเช่าสาํ นกั งาน - ภาษเีงนิ ได้ - โสหุย้ การผลติ - ค่าไฟฟ้ า - ค่าภาษศี ุลกากร - ค่าโฆษณา 32

การรับร้คู ่าใช้จ่าย กจิ การควรรบั รู้ค่าใชจ้ า่ ยใน งบกาไรขาดทุน เมอื่ • ประโยชนเ์ ชงิ เศรษฐกจิ ในอนาคตลดลง เนอ่ื งจากการลดลงของ สนิ ทรพั ย์หรอื การเพมิ่ ขน้ึ ของหนส้ี นิ และ • กจิ การสามารถวดั มูลค่าของประโยชนเ์ ชงิ เศรษฐกจิ ในอนาคตนน้ั ได้อย่าง น่าเชอ่ื ถอื • เมอื่ กจิ การคาดว่าประโยชนเ์ ชงิ เศรษฐกจิ ของรายการจะเกดิ ในหลายรอบ ระยะเวลาบญั ชี และค่าใชจ้ า่ ยทเี่กดิ ขน้ึ ไม่สมั พนั ธ์โดยตรงกบั รายได้ กจิ การ ควรรบั รู้ค่าใชจ้ า่ ยนน้ั ในงบกาํ ไรขาดทุนตามเกณฑ์การปนั ส่วนอย่างเป็น ระบบและสมเหตุผล 33

รอบระยะเวลาบญั ชี • รอบระยะเวลาบญั ชี (Accounting Period) คอื การ กาํ หนดช่วงเวลาสาํ หรบั การสรุปผลการดาํ เนนิ งานของกจิ การ ซง่ึ จะกาํ หนดไว้เป็นระยะเวลาเท่าใด ขน้ึ อยู่กบั ดุลพนิ จิ ของเจา้ ของ หรอื ผูบ้ รหิ ารกจิ การ โดยปกตจิ ะไมน่ านเกนิ 1 ปี 34

แบบฝึ กหัด 35

งบการเงิน Financial statement

วัตถปุ ระสงค์ของงบการเงิน • การใหข้ อ้ มูลเกยี่ วกบั ฐานะการเงนิ ผลการดาํ เนนิ งาน และ การเปลย่ี นแปลงฐานะทางการเงนิ ของกจิ การ อนั เป็น ประโยชนต์ ่อผูใ้ ชง้ บการเงนิ ในการนาํ ไปใชต้ ดั สนิ ใจเชงิ เศรษฐกจิ 37

ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน • ความเขา้ ใจได้ (Understandability) • ความเกยี่ วขอ้ งกบั การตดั สนิ ใจ (Relevance) • ความเชอ่ื ถอื ได้ (Reliability) • การเปรยี บเทยี บกนั ได้ (Comparability) 38

องค์ประกอบของงบการเงิน วัดฐานะการเงิน วัดผลการดาเนินงาน งบดุล งบกาํ ไรขาดทุน สนิ ทรพั ย์ รายได้ หนส้ี นิ ค่าใช้จา่ ย ส่วนของเจา้ ของ 39

สมมติฐานทางการบญั ชี • เกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis ) เกณฑ์บนั ทกึ บญั ชรี ายได้และค่าใชจ้ า่ ย ดว้ ยการยดึ หลกั ว่า รายได้และค่าใชจ้ า่ ย ทเ่ีกดิ ขน้ึ ในงวดบญั ชใีด ใหถ้ อื เป็นรายได้และค่าใชจ้ า่ ยของงวดบญั ชนี น้ั ๆ ไม่ว่าจะ รบั หรอื จา่ ยเป็นเงนิ สดหรอื ไม่กต็ าม • การดาเนินงานต่อเนื่อง ( Going Concern ) กจิ การจดั ตงั้ ตามวตั ถุประสงค์ทจ่ี ะดาํ เนนิ งานอยา่ งต่อเนอ่ื งและดาํ รงอยูต่ ่อไป ในอนาคต หากกจิ การมเีจตนาหรอื ความจาํ เป็นทเ่ีลกิ กจิ การการดาํ เนนิ งาน อย่างมนี ยั สาํ คญั งบการเงนิ ต้องจดั ทาํ ขน้ึ โดยใชเ้ กณฑ์อนื่ และต้องเปิดเผย หลกั เกณฑ์ทใ่ีชใ้ นงบการเงนิ นน้ั ๆ 40

เกณฑ์คงค้าง • รายได้และค่าใชจ้ า่ ยไม่ได้บนั ทกึ ณ จุดทรี่ บั หรอื จา่ ยเงนิ เสมอ ไป แต่จะรบั รู้เมอื่ “เกิดข้นึ ” • ผลคอื รายได้และค่าใชจ้ า่ ย ไมใ่ ช่ตวั สะทอ้ นกระแสเงนิ สด 41

การดาเนินงานต่อเนื่อง • กจิ การ ไมม่ ี เจตนาหรอื ไมม่ ี ความจาํ เป็นทจี่ ะเลกิ กจิ การ หรอื ลดขนาดการดาํ เนนิ งานอยา่ งมนี ยั สาํ คญั • หาก มคี วามไมแ่ นน่ อน อนั เป็นเหตุใหส้ งสยั ว่ากจิ การอาจไม่สามารถ ดาํ เนนิ งานได้อยา่ งต่อเนอื่ ง กจิ การต้องเปิดเผยขอ้ มูล 42

งบดลุ • งบดุล (Balance Sheet) เป็นรายงานการเงนิ ทแี่ สดง ถงึ ฐานะการเงนิ (สนิ ทรพั ย์ หนส้ี นิ และส่วนของเจา้ ของ) ของ กจิ การ ณ วนั ใดวนั หนงึ่ • งบดุลประกอบด้วย – สนิ ทรพั ย์ (Assets) – หนส้ี นิ (Liabilities) – ส่วนของเจา้ ของ (Owner’s equity) • ด้านซ้ายมอื และ ด้านขวามอื ของงบดุล มยี อดรวมเท่ากนั เสมอ 43

งบดุล • จดั ทาํ ขน้ึ ตาม เกณฑค์ งค้าง และการดาํ เนนิ งานต่อเนอ่ื ง • ตงั้ อยู่บนสมการทว่ี ่า สนิ ทรพั ย์ = หนส้ี นิ + ส่วนของเจา้ ของ • งบดุล สามารถแสดงได้ 2 แบบ – งบดุลแบบบญั ชี – งบดุลแบบรายงาน 44

ตัวอย่างงบดุลแบบบญั ชี บริษทั เมอื งคอน จากดั งบดุล ณ วันท่ี31 ธนั วาคม 2547 หน่วย:บาท สิ นทรั พย์ หนีส้ ินและส่ วนของเจ้าของ 750,000 สินทรัพย์หมนุ เวียน 1,047,000 หนี้สินหมนุ เวยี น 1,797,000 เงนิ สดและเงนิ ฝากธนาคาร เงนิ ลงทุนระยะส้ัน 120,000 เงนิ เบกิ เกนิ บญั ชีและเงนิ ก้ยู ืมธนาคาร180,000 45 ลูกหนี้การค้า สิ นค้ าคงเหลื อ 250,000 เจ้าหนีก้ ารค้า 120,000 ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ 50,000 หนี้สินระยะยาว ที่ดิน 80,000 500,000 เงนิ ก้ยู ืมระยะยาว 450,000 อาคาร อุปกรณ์สานักงาน ส่ วนของเจ้าของ รวมสิ นทรัพย์ 500,000 ทุน 767,500 700,000 บวก กาไรสุทธิ 279,500 97,000 1,297,000 1,797,000 รวมหนี้สินและส่ วนของผู้ถือหุ้น

ตัวอย่างงบดลุ แบบรายงาน บริษทั เมืองคอน จากดั หน่วย:บาท งบดุล ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2547 สิ นทรัพย์ สินทรัพย์หมนุ เวียน 120,000 เงนิ สดและเงนิ ฝากธนาคาร 250,000 เงนิ ลงทุนระยะส้ั น 50,000 ลูกหนีก้ ารค้า 80,000 สิ นค้ าคงเหลื อ สินทรัพย์หมนุ เวียนอ่ืน 500,000 รวมสินทรัพย์หมนุ เวียน 500,000 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 700,000 ที่ดนิ 97,000 อาคาร อุปกรณ์สานักงาน 1,297,000 รวมท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์ 1,797,000 รวมสิ นทรัพย์ 46

ท่ีดนิ 500,000 อาคาร 700,000 อุปกรณ์สานักงาน 97,000 รวมท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์ 1,297,000 รวมสิ นทรัพย์ 1,797,000 หนี้สินหมนุ เวยี น หนี้สินและส่ วนของเจ้าของ เงนิ เบกิ เกนิ บญั ชีและเงนิ ก้ยู ืมธนาคาร เจ้าหนี้การค้า 180,000 120,000 รวมหนีส้ ินหมนุ เวยี น หนี้สิ นระยะยาว 300,000 เงนิ ก้ยู ืมระยะยาว 450,000 รวมหนีส้ ิน 750,000 ส่ วนของเจ้าของ ทุน 767,500 บวก กาไรสุทธิ 279,500 รวมส่ วนของเจ้าของ 1,047,000 รวมหนีส้ ินและส่ วนของเจ้าของ 1,797,000 47

งบกาไรขาดทนุ • งบกาไรขาดทนุ เป็นรายงานทางการเงนิ ทแ่ี สดงถงึ ผลการ ดาํ เนนิ งาน (รายได้ และค่าใชจ้ า่ ย) ของกจิ การ สาํ หรบั รอบ ระยะเวลาใดเวลาหนง่ึ (งวดบญั ช)ี • องค์ประกอบของงบกาํ ไรขาดทุน – รายได้ (Revenues) – ค่าใชจ้ า่ ย (Expenses) – กาํ ไร (Gains) / ขาดทุน (Losses) 48

งบกาไรขาดทนุ • จดั ทาํ ขน้ึ ตาม เกณฑค์ งค้าง และการดาํ เนนิ งานต่อเนอื่ ง • ตง้ั อยู่บนสมการทวี่ ่า กาํ ไร (ขาดทุน) = รายได้ - ค่าใชจ้ า่ ย 49

ตัวอย่างงบกาไรขาดทนุ บริษทั เมอื งคอน จากดั หน่วย:บาท งบกาไรขาดทนุ 450,000 ประจาปี สิ้นสุดเพียงวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2547 200,500 รายได้จากการดาเนินงาน: 1,200,000 249,500 ขายสุทธิ 750,000 30,000 120,000 279,500 หัก ตน้ ทนุ จาย 72,000 กาไรขน้ั ตน้ 8,500 50 หัก คา่ ใช้จา่ ยในการขายและบริหาร เงินเดอื นพนักงาน คา่ สาธารณูปโภค คา่ ใช้จา่ ยเบด็ เตลด็ กำไร (ขำดทนุ ) จำกกำรขำย รายไดจ้ ากการดาเนินงานอนื่ ดอกเบ้ยี รบั กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook