Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2023_พธ.ด.(พระครูปริยัติกิจธำรง และคณะ)

2023_พธ.ด.(พระครูปริยัติกิจธำรง และคณะ)

Published by E-Library, Buddhist Studies, MCU Surin, 2023-07-16 02:33:05

Description: 2023_พธ.ด.(พระครูปริยัติกิจธำรง และคณะ)

Search

Read the Text Version

วารสารมหาจฬุ าคชสาร ปที่ 14 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2566) : 211 แนวทางการมีสว นรวมในการพัฒนาชมุ ชนคุณธรรมตน แบบอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาวัดวังปลดั สามัคคี จังหวัดสรุ ินทร และวดั ปา วงั ศิลา จังหวดั ศรีสะเกษ Guidelines for Participation in Sustainable Moral Community Development: A Case Study of Wat Wang Palad Sammakkhi, Surin Province and Wat Pa Wang Sila, Sisaket Province พระครโู กศลสมาธวิ ัตร1 พระณัฏฐธ นชยั กลยฺ าณธมโฺ ม2 ธนรฐั สะอาดเอย่ี ม3 Phrakhrukosolsamathiwat1 Phra Nattanachai Kanyanadhammo2 Thanarat Sa-ard-iam3 12หลกั สตู รพุทธศาสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา บณั ฑิตศึกษา วิทยาลยั สงฆส ุรนิ ทร 3มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตสรุ นิ ทร 12Ph.D. Program in Buddhist Studies, Graduate Studies Surin Sangha College, 3Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Surin Campus E-mail: [email protected] Received : November 24, 2022; Revised : May11, 2023; Accepted : May28, 2023 บทคัดยอ บทความวิจัยเรื่อง“แนวทางการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนคุณธรรมตนแบบอยางยั่งยืน” มี วัตถุประสงค คือ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดชุมชนคุณธรรมตนแบบ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนตาม แนวทางพระพุทธศาสนา และ 3) เพื่อวิเคราะหแนวทางการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนคุณธรรมตน แบบอยา งย่ังยืน: กรณศี ึกษาวดั วังปลดั สามคั คี จังหวัดสรุ นิ ทร และวัดปา วังศิลา จังหวดั ศรสี ะเกษ โดยศึกษา ขอมูลจากเอกสารวชิ าการที่เกี่ยวของและการสัมมนากลุมยอย(Focus Group Discussion) ซึ่งมีผูใ หขอมูล หลักจำนวน 10 รูป/คน ผลจากการศึกษาพบวา 1) องคประกอบที่สำคัญของการพัฒนาชุมชนคุณธรรม ตนแบบประกอบดวย (1) คน (2) สิ่งแวดลอ ม และ (3) สถานการณ เพราะถาในชุมชน มีคนดี มสี ง่ิ แวดลอม ดี สถานการณในชุมชนก็จะดีตามไปดวย สงผลใหทกุ คนอยรู ว มกันอยางสามัคคีอยูดีมีสุข พึ่งตนเองไดอยาง ยั่งยืน 2) การพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวทางพระพุทธศาสนา มีองคประกอบที่สำคัญในการขับเคลื่อนชุมชน คุณธรรม คือ “พลังบวร” อันประกอบดวย บาน-วัด-โรงเรียน โดยวัดมีบทบาทหนาที่ใหการอบรมกลอม เกลาสมาชิกในชุมชน โรงเรยี นมีบทบาทในการสรางเยาวชนใหเปนสมาชิกที่ดขี องสังคม ขณะเดียวกันชุมชน ก็มีบทบาทความสำคัญตอการจัดการศึกษาของโรงเรียน ทั้งในแงของการเปนแหลงเรียนรูมรดกทาง วฒั นธรรม ประเพณี คานยิ มของสังคม 3) แนวทางการมีสวนรวมในการพฒั นาชมุ ชนคณุ ธรรมตนแบบอยาง ยั่งยืนของวัดวังปลัดสามัคคี จังหวัดสุรินทร และวัดปาวังศิลา จังหวัดศรีสะเกษ ประกอบดวย การมี กระบวนการในการขับเคลื่อน และเปาหมายที่สำคัญ คือ คนในชุมชนอยูรวมกันอยางมีความสุข โดยมี ศาสนาเปนเคร่ืองยดึ เหนยี่ วจิตใจ คนในชมุ ชนมีการเรยี นรูและนอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ใชใ นการพัฒนาคุณภาพชวี ิต และสืบสานวิถีวฒั นธรรมท่ีดีงาม เร่ิมจากการเปดพ้ืนวัดใหเปนศูนยการเรียนรู ทั้งภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบตั ใิ นงานดานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม สงผลใหคนในชุมชนมชี ีวิตพออยู พอกิน

212: Mahachulagajasara Journal Vol. 14 No. 1 (January – June 2023) พอเพียง เปนชมุ ชนที่เขมแข็ง มง่ั คงั่ มนั คงยงั ยืน เปน ชมุ ชนคุณธรรมตน แบบใหก ับชุมชนตลอดจนหนว ยงาน ตา งๆ มาเรยี นรศู กึ ษาดงู านเพ่อื นำไปเปนปรับใชก บั ชุมชนตอไป คำสำคัญ : การมีสว นรวม, การพฒั นา, ชมุ ชนคณุ ธรรม Abstract A case study of Wat Wang Palad Samakkhi Surin Province and Wat Pa Wang Sila Sisaket Province This study was based on papers and group seminars. The results of the study revealed 1) the development of a moral community model The important elements are people, environment, and situation because if in the community there are good people and a good environment. The situation in the community will also be good. As a result, everyone lives together in harmony and happiness. Sustainable self-reliance. 2) Sustainable development according to Buddhist principles. have operating procedures It is important to drive the moral community with power. House-Temple-School The temple has to give training to the members of the community. Schools play a role in building young people to be good members of society. At the same time, the community plays an important role in school education management. both in terms of being a learning center for cultural heritage, traditions, and social values; in Surin Province and Wat Pa Wang Sila Sisaket Province There is a driving process and the main goal is that people in the community live happily together. with religion as a tool to hold the mind Learn and apply the philosophy of sufficiency economy to improve the quality of life. and continue the good cultural way It started by opening the temple grounds to be a learning center for both theory and practice in religion, arts, and culture, resulting in people in the community living sufficiently, being a strong, prosperous community that persists and is a model community for virtue. with communities and agencies Let's learn, study, and study to be applied to the community further. It started by opening the temple grounds to be a learning center for both theory and practice in religion, arts, and culture, resulting in people in the community living sufficiently, being a strong community, prosperous, sustaining, and a model community for virtue. with communities and agencies Let's learn, study, and study to be applied to the community further. It started by opening the temple grounds to be a learning center for both theory and practice in religion, arts, and culture, resulting in people in the community living sufficiently, being a strong community, prosperous, sustaining, and a model community for virtue. with communities and agencies Let's learn, study, and study to be applied to the community further. Keywords: Participation, Development, Moral Community

วารสารมหาจฬุ าคชสาร ปท่ี 14 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2566) : 213 บทนำ สภาพสังคมในปจจุบัน มีความเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วและหลากหลาย อันเนื่องมาจาก ความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ขอมูลขาวสารตางๆ แพรหลายอยางรวดเร็ว ทำให แนวคิด วิถีชีวิต คานิยมของบุคคลในสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลง เนนการบริโภควัตถุตาง ๆ จนเกิดความ สับสน ระบบสังคมวิถีไทยที่เคยดีงาม ไดรับผลกระทบอยางหลีกเลี่ยงไมได อันสืบเนื่องมาจากการให ความสำคัญในดานเศรษฐกิจ ซึ่งเปนการพัฒนาทางดานวัตถุมากกวาพัฒนาสังคมในดานอื่น ๆ โดยเฉพาะ การพัฒนาทางดานจิตใจของคนในสังคมไทย เกิดปญหาศีลธรรมเสื่อมและปญหาทางสังคมตาง ๆ ติดตาม มา อาทิ ปญหาการทุจริตคอรัปชั่น ปญหายาเสพติด ครอบครัวแตกแยก การหลงมัวเมาในอบายมุข ขาด ระเบียบวินัย ใชชีวิตฟุมเฟอย เห็นแกประโยชนสวนตัวมากกวาประโยชนสวนรวม ปจจุบันรัฐบาลไดให ความสำคัญกับการสงเสริมและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย เพื่อใหคนไทยเปนพลเมืองที่มีคุณภาพและ คุณธรรมดังนั้นเพื่อใหการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมของประชาชนเปนผลสำฤทธิ์ รัฐบาลจึงไดประกาศใช แผนแมบทสงเสริมคุณธรรมแหงชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2559-2564) ซึ่งเปนแผนระดับชาติดานการสงเสริม คุณธรรมอยางเปนระบบฉบับแรกของไทย ที่เปดโอกาสใหทุกภาคสวนไดมีสวนรวมปลูกฝงคุณธรรม สราง คา นิยม และจติ สำนึกท่ีดีใหแ กป ระชาชน โดยเนน การสรางความเขม แข็งจากภายใน และใชคุณธรรมนำการ พัฒนาเพื่อสรางสังคมไทยใหมีคุณธรรมเปนรากฐาน ผานกลไกความรวมมือของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของใน แตละมิติ เพื่อรวมกันขับเคลื่อนประเทศไทยไปขางหนา “รวมสรางสังคมคุณธรรม” ตั้งแตตนน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ คือ การพัฒนาที่ตรงตามความตองการของประชาชน สงผลใหประชาชนมีความสุข มีรายได เพียงพอกับการดำรงชีวิตไรซึ่งคดีความตางๆ เปนสังคมที่สงบสุข เปนการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน(กรมการ ศาสนา, 2561:3) อนุรักษ ปญญานุวัฒน ไดแสดงทัศนะเกี่ยวกับหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนไววา การพัฒนาที่ ยั่งยืนเปน กระบวนการเรียนรูเละเปลี่ยนแปลงที่กวางลึก เปนพลวัตร (dynamic process) โดยมี จุดมุงหมายเพื่อ สรางเสริมระบบการดำเนนิ งานของมนุษย มีเหตมุ ีผลเหมาะสมกับวิธีชีวิตท่ีมีเหตุผล อาศยั หลักการพัฒนาที่ ยั่งยืนแบบองครวม และหลักการที่เปนผลแหงการบูรณาการทางแนวความคิดที่ เนนโครงสรางและ วัฒนธรรมทางสังคม เพื่อเปนการสรางรากฐานความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาในสังคม มนุษยการพัฒนาโดย เนนยดึ หลกั บรู ณาการตามท่ีกลาวมาขางตนน้ันมีความสมั พันธก ับหลักการจัดการ มนุษยกับสง่ิ แวดลอม คือ พัฒนาเพื่อนำไปสูความยั่งยืน ในขณะเดียวกันหลักที่เปนหัวใจของการพัฒนา อยูที่ตัวของมนุษย และ ประเทศชาติ โดยใหค วามหมายของการพัฒนาประเทศคือการแสวงหาลูท าง แกไ ขปญ หาความอดอยากหรือ ทุพโภชนาการแกปญหาความยากจนและปญหาดานการเจ็บปวยของประชาชน (อนุรักษ ปญญานุวัฒน, 2548:26) กาญจนา บุญยัง และคณะกลาววา สังคมไทยจะยั่งยืนไดดวยการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงไดอยางถูกตอง และนำไปปฏิบัติไดอยางแพรหลาย และกวางขวาง นอกจากนี้แนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียงยังกอใหเ กิดการพัฒนาสงั คมในหลากหลายมติ แิ บบบูรณาการ ไมว า จะเปนเรอื่ งการพ่งึ ตนเอง ความ มีจริยธรรมโลกาภิวัตน และการบริหารประเทศ ซึ่งลวนเกี่ยวกับการตัดสินใจในทุกระดับ ในทุกภาคสวน ชุมชนประชาชน ธุรกิจเอกชน ภาควิชาการ และการเมืองใหถูกทิศถูกทาง อันจะนำไปสูพัฒนาการอยาง ยงั่ ยืนในระยะยาวตอไป(กาญจนา บญุ ยัง และคณะ, 2552: 14) พลังบวร (บาน วัด โรงเรียน) จึงเปนพลังที่สำคัญในสังคมที่จะสามารถนำมาเปนกลไกในการ พฒั นาและสรางชุมชนใหเขม แขง็ กอ ใหเกดิ กระบวนการสรา งสงั คมคุณธรรม อยางยงั่ ยนื ในทกุ พน้ื ทโ่ี ดยใหทำ

214: Mahachulagajasara Journal Vol. 14 No. 1 (January – June 2023) หนาที่เปนแกนกลางในการพัฒนา รวมวางแผน ดำเนินการ พัฒนาใหเปนชุมชนคุณธรรม โดยโรงเรียนมี บทบาทในการสรางเยาวชนใหเปนสมาชิกที่ดีของสังคม ใหสามารถดำรงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข ขณะเดียวกันชุมชนก็มีบทบาทและความสำคัญตอการจัดการศึกษาของโรงเรียน ทั้งในแงของการเปนแหลง เรียนรูมรดกทางวฒั นธรรม ประเพณี คานยิ มของสังคม และวดั กม็ บี ทบาทหนา ที่ท่ีจะใหการอบรมกลอมเกลา สมาชกิ ในชุมชน การขบั เคลอื่ นเพือ่ ใหเ กิด “ชุมชนคณุ ธรรม สูสงั คมคุณธรรม” ในทกุ พ้ืนท่ี มีหลกั การสำคัญ คือ การประสานสัมพันธ การมีสวนรวมระหวางบาน(ชุมชน)-วัด (ศพอ.) โรงเรียน หรือ บวร ซึ่งเปนองคกร หลักในชุมชนที่เปนพลังสำคัญในการขับเคลื่อนใหเกิดการพัฒนาและสรางชุมชนใหเขมแข็ง กาวสู “สังคม คุณธรรม” โดยความรวมมือสงเสริมสนับสนุนจากหนวยงานตาง ๆ ในพื้นที่ เพื่อรวมเชิดชูสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริยดวยการยดึ มั่นในขอ ปฏิบัตหิ ลัก 3 ประการ คือ 1. ยดึ ถือและปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรมทางศาสนา 2. นอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนหลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให สามารถดำเนินชีวิตอยางมั่นคงบนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเอง พอมีพอกิน รูจักพอประมาณ และคำนึงถึง ความมีเหตผุ ล ดวยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ 3. ดำรงชีวิตตามวิถีวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของไทย เปดพื้นที่ศูนยศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตยใหเปนพื้นทีส่ รางสรรคเ ปนแหลงเรียนรูทางประวัติศาสตรและเปนที่จดั กิจกรรม ทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของชุมชน (กรมการศาสนา, 2559: 5) จากการศึกษาขอมูลพื้นฐาน พบวา ปจจุบันชุมชุนตาง ๆ ทั้งในกรุงเทพและตางจังหวัด มีวัดและศาสนสถานของศาสนาตาง ๆ ที่ไดตระหนักถึงความสำคัญและไดดำเนินการขับเคลื่อนชุมชนใน ทองถิ่นของตน ตามรูปแบบและวิธีการดำเนินงานของแตละชุมชนอยางหลากหลาย เชนเดียวกับชุมชน คุณธรรมฯ วัดปาวังศิลา อำเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ เปนวัดที่ดำเนินการขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมดวย พลงั บวร ทมี่ ีแนวคิดและเปน ศนู ยรวมใจในการขับเคล่ือนและสง เสรมิ คุณธรรม นับวา เปน หน่ึงในตัวอยางวัด ที่นาศึกษาอยางยิ่ง ในฐานะที่มีบทบาทสำคัญในการดำเนินการขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมดวยพลังบวรท่ี เขม แข็ง วตั ถปุ ระสงคข องการวิจยั 1. เพ่ือศกึ ษาแนวคิดชมุ ชนคุณธรรมตน แบบ 2. เพอ่ื ศกึ ษาแนวคดิ การพฒั นาท่ยี งั่ ยนื ตามแนวทางพระพุทธศาสนา 3. เพื่อวิเคราะหแนวทางการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนคุณธรรมตนแบบอยางยั่งยืน: กรณศี ึกษาวัดวังปลดั สามคั คี จงั หวดั สุรินทร และวดั ปาวังศิลา จงั หวดั ศรสี ะเกษ การทบทวนวรรณกรรม (1) แนวคดิ และทฤษฎีการมีสวนรวม การขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมโดยพลังบวร (บาน วัด โรงเรียน) สูสังคมคุณธรรมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” ซึ่งเปนหนึ่งในโครงการที่อยูในยุทธศาสตรชาติ 20 ป ของรัฐบาลและยังเปนนโยบายที่สำคัญ ของกระทรวงวัฒนธรรมดวย กลาวคือ ในกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ปไดกำหนดวิสัยทัศนไววา”ประเทศมี ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลวดว ยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เพ่อื ให คนไทยมีความสุข สำหรับกระทรวงวัฒนธรรมไดกำหนดยุทธศาสตรเพื่อใหสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ

วารสารมหาจฬุ าคชสาร ปท ี่ 14 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มถิ ุนายน พ.ศ.2566) : 215 โดยมีวิสัยทัศน “วัฒนธรรมไทยเขมแข็งเปนรากฐานสำคัญของการพัฒนาคน สังคมและเศรษฐกิจของ ประเทศอยางยั่งยืน” โดยเนนสรางคนดี สังคมดี มีคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งจะมีการเสริมสราง “ชุมชน คุณธรรม องคกรคุณธรรม”ตามนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงวัฒนธรรมที่ตองการสงเสริมใหศาสนามี บทบาทนำในการเทิดทูนสถาบันหลักของชาติ คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ตลอดจนสงเสริมความ เขาใจอันดีและสมานฉันทของทุกศาสนา รวมทั้งตองการสืบสาน สรางสรรค งานดานศาสนา ศิลปะและ วฒั นธรรม โดยใชศ าสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรมเปน เครือ่ งหลอหลอม ยึดเหนี่ยว สรางคุณคา ทางสังคมและสราง ภูมิคุมกันใหกับสถาบนั ครอบครวั ชุมชน สังคมและประเทศชาติใหเกิดความเขมแข็ง เกิดคานิยมที่ดีงามใน การดำเนินชวี ติ อยา งรูรักสามัคคี และยงั สามารถนำทุนทางวฒั นธรรม มาเพ่ิมมูลคา ใหเ ศรษฐกจิ ชุมชน (2) แนวคดิ เรอ่ื งการพัฒนาชมุ ชนคุณธรรมตน แบบ ชมุ ชนคุณธรรมตนแบบ คือ ชุมชนคณุ ธรรมทีด่ ำเนนิ การสง เสรมิ คุณธรรมจนประสบความสำเร็จ ในเชิงประจักษ ท้งั ในดา นกระบวนการพัฒนาและการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของคนในชุมชนที่สงผลในเชิง บวก มีการทำความดีเพิ่มขึ้น ปญหาเชิงคุณธรรมลดลง และมีแนวโนมเกิดการพัฒนาที่ตอเนื่อง เกิดความ ยั่งยืน ทำใหคนในชุมชนมีความสุข มีองคความรูสามารถถายทอดและเปนแหลงเรียนรูใหกับชุมชนอื่นได (กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม, 2561: 32-33) หลักการพัฒนาชุมชนคุณธรรมนำชาติมั่นคงมั่งคั่ง ยั่งยืนโดยนอมนำหลักปรัชาของเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มาเปนโยบายหลกั ของการดำเนินงานเพ่ือใหเ กิด “ชุมชนคุณธรรม” เรม่ิ จากการเปดพื้นที่ใน ชุมชน วัด ศาสนสถาน ใหเปนศูนยการเรียนรูทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในงานดานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ภายใตหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสงเสริมใหค นในชุมชนพึ่งพาตนเอง พึ่งพากันเอง รวมกลุมอยางมีพลังใชชีวิตพออยูพอกินพอเพียงมีเหตุผลมีภูมิคุมกันที่เหมาะสมตามสภาพของชุมชนและ วัฒนธรรมในทองถิ่น รวมทั้งเปนศูนยกลางการจัดกิจกรรมเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยกิจกรรมทาง ศาสนาสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมตลอดจนเปนศูนยกลางการถายทอดภูมิปญญาทองถน่ิ จากการมีสวนรวม และความเสียสละของคนในชมุ ชนทจ่ี ะรวมขบั เคลื่อนใหช ุมชนคุณธรรมกาวส“ู สงั คมคณุ ธรรม” หลักการเสริมสรางชุมชนคุณธรรมที่สามารถพึ่งพาตนเองไดโดยมีบานวัด/ศาสนสถาน/ โรงเรียน/ราชการหรือภาคประชารัฐ รวมกันดำเนนิ การตามหลักการ ดังนี้ 1. นำสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และศาสตรพระราชาเปนแกนหลักสำคัญในการ พัฒนาคน เสรมิ สรา งใหช ุมชนเกิดความเขมแขง็ อยา งยั่งยืน 2. นอมนำหลักการทรงงาน “ระเบิดจากขางใน” “เขาใจ เขาถึง พัฒนา” มาเปนหลักการใน การปฏิบตั งิ านในพื้นที่ โดยใหค นในชุมชนมคี วามสมัครใจ และเขา ใจแกนแทของการพฒั นาชุมชนภายใตวิถี ถิ่น วิถีไทย เพื่อสรางชุมชนใหเขมแขง็ ดวยหลักธรรมทางศาสนา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและวถิ ี วัฒนธรรมท่ดี ีงาม 3. นำหลักการ 3 ประสาน คอื บาน วัด/ศาสนาสถาน โรงเรยี น/ราชการ หรือนโยบายประชารัฐ เปนแนวทางในการขับเคลอ่ื นการดำเนินงานของชมุ ชน 4. สนับสนุนใหม ีการเช่อื มโยงขบั เคล่ือนงานของชุมชนในระดบั ตาง ๆ โดยใชห ลักการมสี วนรวม จากทุกภาคสวนในพื้นที่ ในลักษณะที่ให “รวมคิด รวมทำ รวมรับประโยชน” อยางเปนระบบและเปน รูปธรรม โดยตองสรางเวทีเปดโอกาสใหทุกคนในชุมชนมีสวนรวม เพราะเปาหมายสำคัญของการสงเสริม คุณธรรมคือคนมีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่สะทอนการมีคุณธรรมมากขึ้น จึงตองใหทุกคนรวมพลังรวมกัน ขับเคลื่อนและใหทุกภาคสวนบูรณาการความรวมมือทำแบบองครวม คือ ทำทั้งระบบ ทุกระบบของชุมชน

216: Mahachulagajasara Journal Vol. 14 No. 1 (January – June 2023) และประสานสอดแทรกกับการบริหารและการพัฒนาชุมชนดานตาง ๆ ไมแยกออกมาเปนโครงการหรือ กิจกรรมเดย่ี ว ๆ ที่ขาดความเช่ือมโยงกับระบบใหญข องชมุ ชน 5. ใหค นในชุมชนนำทุนทางวัฒนธรรมความหลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มาเสรมิ สรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจใหแ กช มุ ชน 6. ใชกระบวนการคุมบานในการพัฒนา ใหเขาถึงและใกลชิดชาวบานเพื่อใหการพัฒนาชุมชน เปนไปอยา งมีประสทิ ธิภาพและสง ผลตอการพัฒนาจติ ใจของคนในชมุ ชนใหเกิดความเขม แขง็ อยางยง่ั ยนื 7. มีการขยายภาคีเครือขายโดยใชหลักการชุมชนแบบเครือญาติและสรางชุมชนคุณธรรม ตนแบบใหการยกยองเชิดชู พัฒนายกระดับใหเปนตัวอยางเพื่อเปนแหลงเรียนรูในพื้นที่ (กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม, 2561: 35-36) บรบิ ทพนื้ ทก่ี ารวิจัย 1. ชนคณุ ธรรมฯ วดั วังปลัดสามคั คี จังหวัดสุรนิ ทร ตั้งอยูที่หมูบานวังปลัด หมูที่ 8 ตำบลทับทัน อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร มีจำนวนครัวเรือน 189 ครัวเรือน ประชากรทั้งสิ้น 816 คน มีพระครูโกศลสมาธิวัตร เปนเจาอาวาส หมูบานวังปลัด ไดรับ คัดเลือกเปนหมูบานรักษาศีล 5 ระดับจังหวัดสุรินทร ประจำปงบประมาณ 2565 ดวยกิจกรรมการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานที่เปนรูปธรรมประจักษชัด มีการจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อสงเสริมสนับสนุนให ประชาชนในพื้นที่ไดปฏิบัติแนวทางของศีล 5 ซึ่งไดรับความรวมมือจากหนวยงานในพื้นท่ี มาโดยตลอดจน ไดร ับการยกยองในเชิงประจักษดังนี้ - รางวัลอทุ ยานการศกึ ษาในวดั ประจำป 2552 จากสมเด็จพระมหารัชมงั คลาจารย - รางวัลพระราชทานเสาเสมาธรรมจักร ประจำป 2555 จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยาม บรมราชกมุ ารี - รางวัลเสาอโศกผนู ำศีลธรรม ประจำป 2560 จากพระองคเจาโสมสวลี วรราชาธนิ ัดดามาตุ - รางวัลวดั พฒั นาตวั อยาง ประจำป 2560 จากสำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแหงชาติ - รางวลั วัดพัฒนาตวั อยา งทีม่ ีผลงานดเี ดน ประจำป 2563 จากสำนกั งานพระพุทธศาสนาแหงชาติ 2. ชนคุณธรรมฯ วัดปาวังศลิ า จงั หวัดศรสี ะเกษ ตง้ั อยูบ านดอนพระเจา หมทู ่ี 19 ตำบลบุสูง อำเภอวังหิน จงั หวดั ศรสี ะเกษ มีจำนวนครัวเรือน 84 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 379 คน เปนชุมชนเล็กๆ ที่อยูในชนบท ไดรับผลกระทบจากกระแสสังคม ในปจ จบุ นั ซึง่ มีการพัฒนาไปอยา งรวดเร็ว อาจจะทำใหสงั คมเกดิ ความเปลยี่ นแปลงไป ทางชมุ ชนจึงมีความ พยายามท่ีจะเฝาระวังทางสังคมในทุกดาน ดวยการมุงพัฒนาในดานคุณงามความดียึดหลักคำสอนในทาง พระพทุ ธศาสนามาปฏบิ ตั ิ โดยความรว มมือของ บาน วัด โรงเรียน (บวร) และหนว ยงานราชการตา งๆ สง ผล ใหช มุ ชนเขมแขง็ เกดิ การพฒั นาอยา งตอเน่ืองจนปจจุบันไดเปน แหลง ศึกษาเรยี นรูศึกษาดงู านของหนวยงาน ราชการและประชาชนท่ัวไป จนไดรบั การยกยอ งในเชงิ ประจักษ ดงั น้ี 1. รางวลั วฒั นคุณาธร ผทู ำคุณประโยชนต อ กระทรวงวัฒนธรรม (ประเภทคณะบคุ ลคล) 2. รางวลั ชุมชนคณุ ธรรมนอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. รางวลั หมูบา นอยเู ย็น (แผน ดินธรรมแผนดนิ ทอง)

วารสารมหาจฬุ าคชสาร ปท ี่ 14 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถนุ ายน พ.ศ.2566) : 217 จนวันนี้ ชุมชนคุณธรรมฯ วัดปาวังศิลา ตำบลบุสูง อำเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ ไดกลายมาเปน ศูนยรวมจิตใจ เปนพื้นประกอบคุณงามความดีของพุทธศาสนานิกชนทั่วไป สงผลใหชุมชนเขมแข็ง มั่นคง มง่ั คั่ง ยง่ั ยนื สืบไป งานวิจยั ท่เี ก่ียวขอ ง พระมหาพรประสงค พุทธจันทร ไดกลาวในงานวิจัยเรื่อง “บทบาทของพระสงฆในการพัฒนา วดั ใหเปน ศูนยกลางของชุมชน” ผลการวจิ ัยพบวา ประชาชนสว นใหญม ีความคดิ เหน็ วาพระสงฆม ีบทบาทใน ดานใหการสงเสริม สนับสนุนความมั่นคงทางสังคม อันไดแกสงเสริมความมั่นคงในสถาบันครอบครัว โดย รวมมือกับองคการบริหารสวนตำบล จัดกิจกรรมวันครอบครัวอยางตอเนื่อง สนับสนุนการจัดหาทุนเพ่ือ สรางความปลอดภัยใหแกหมูบาน สนับสนุนทุนเพื่อสนับสนุนใหความเปนอยูของผูสูงอายุดีขึ้น และส่ิง สำคัญอยางยิ่งคือเมื่อมีเหตุการณที่ขัดแยง กันระหวางประชาชนในพื้นที่ ที่ไมสามารถหาขอยุติได (พระมหา พรประสงค พทุ ธจันทร, 2552: 10) พระมหาดนัย อุปวฑฺฒโน (ศรีจันทร) พบวา การบริหารจัดการองคกรสันติสุขของวัด ปญญานันทารามและหลักคดิ ทฤษฎกี ารบริหารจดั การ ผูวิจัยไดรวบรวมบูรณาการและนำเสนอรปู แบบการ บริหารจดั การองคกรสนั ตสิ ุข ผูวิจัยสรุปและนำเสนอรูปแบบแนวทางการบริหารจัดการองคกรสันติสุข ตอง ประกอบดวย 1) ผูนำ (Leadership) นอกจากจะมีธรรมะของผูบริหารแลว ตองประกอบดวยชุดธรรมะ ที่ สำคญั ๆ คือ มคี วามกตญั ูเปนเลิศ เชดิ ชูครอู ุปชฌายอาจารยสบื สานวัฒนธรรม เปนผูนำทกุ ดา น ประสาน รอบทิศ สุจริตจริงใจ มีน้ำใจไมตรีตลอดกาล ใหโอกาสพัฒนาแกทุกทานแตกฉานในพระธรรมวินัย ใสใจทกุ สิ่งดวยคุณธรรม อำนวยความสะดวกทุกอยาง รูละปลอยวางทำงานเพื่องาน สมานสามัคคี วจีสุภาพ นากราบนา ไหวแบง งานถกู คน วางตนเหมาะสม ไมส ะสมทรัพย แบง ปนผลประโยชน 2) ในดานธรรมะ (Dhammas) เพื่อการบริหารตน บริหารคน บริหารงานอันประกอบไปดวย หลักอปริหานิยธรรม 7, สาราณียธรรม 6, สังคหวัตถุ 4 อิทธิบาท 4 สรางสรรคสิ่งแวดลอมในองคกรดวย หลักสัปปายะ และอาศัยหลักธรรมอื่น ๆ ในทางพระพุทธศาสนาโดยเนนชุดที่สำคัญคือ เสียสละ ใชปญญา ประกอบการงาน สจั จะ เสมอภาค ขันติ นิวาโต และมีจติ สำนึกรหู นา ท่ี 3) ดานการจดั การ (Organizing) ตอ งมีการจัดการในเรื่องเหลา นี้ใหเปนไดดวยกันไดอยางลงตัว เนน ประโยชนส ูงประหยดั สุด แตไ มใหข ดั ขอ งในเร่อื งตา ง ๆ คอื การวางแผน การอำนวยการ งานบคุ คล การ อำนวยการ การประสานงาน การรายงาน และงบประมาณ รูปแบบการบริหารจัดการองคกรสันติสุขน้ี สามารถยอเพื่อใหจำไดงายดวยอักษรภาษาอังกฤษ คือ “LeDOM”เปนการบริหารจัดการองคกรที่สามารถ นำพาสันติสุขใหเกิดขึ้นทั้งภายในองคกรและภายนอกองคกร เปนองคกรที่สรางสันติสุขใหกับสังคมและ ประเทศชาติ (พระมหาดนัย อปุ วฑฒฺ โน (ศรจี ันทร) , 2557: 108-109)

218: Mahachulagajasara Journal Vol. 14 No. 1 (January – June 2023) กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั จากประเด็นดงั กลาวขา งตน น้ันสามารถเขียนกรอบแนวคดิ (conceptual Framework) ได ดังนี้ แผนภาพที่ 1 แสดงกรอบแนวคดิ ในการศึกษา ระเบยี บวิธีวิจัย (1) รูปแบบการวิจยั การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยจำแนกเปนสองสวน คือ การศึกษาเชิงเอกสาร (Documentary Research) เพื่อประมวลองคความรู ศึกษาแนวคิด หลักการตางๆ โดยศึกษาจากคัมภีร เอกสารที่เกี่ยวของ ตลอดทั้งงานวิจัยที่มีผูรูไดศกึ ษาไว และการวิจัยภาคสนาม (Filed Research) โดยการสัมภาษณและการจัดกลุมสนทนากลุมยอยนักวิชาการและผูมีสวนรวมในการพัฒนา ชุมชน (2) ขอบเขตการศึกษา (2.1) ขอบเขตดา นเน้ือหา ศึกษาแนวทางการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนคุณธรรมตนแบบอยางยั่งยืนของชุมชน คุณธรรมฯวัดปาวังศิลา อำเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ ในการพัฒนาชุมชนอยางยั่งยืน ตามหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา โดยศึกษาหลักธรรมในคัมภีรพระพุทธศาสนาไดแก พระไตรปฎก อรรถกถา และศึกษา แนวคิดทฤษฏีการขับเคล่ือนชุมชนคุณธรรมและที่เกย่ี วของ จากตำรา หนงั สอื เชน คูมอื การขับเคล่ือนแผน แมบทสงเสริมคุณธรรมแหง ชาติ ฉบับที่1 (พ.ศ.2559 - 2564), คมู อื การดำเนินงานชมุ ชนคณุ ธรรมขบั เคลื่อน ดวยพลังบวร, คูมือการสงเสริมและพัฒนาองคกร ชุมชน อำเภอและจังหวัดคุณธรรม, คูมือการประเมิน องคกร ชุมชน อำเภอและจังหวัดคุณธรรม งานวิจัย และบทความที่เกี่ยวของ ประกอบกับขอมูลจากการ สัมมนากลุมยอย สัมภาษณผูใหขอมูลสำคัญ (Key Informants) ซึ่งเปนผูมีสวนรวมและพัฒนาชุมชน คุณธรรมตนแบบอยา งยั่งยนื

วารสารมหาจุฬาคชสาร ปที่ 14 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มิถนุ ายน พ.ศ.2566) : 219 (2.2) ขอบเขตดา นผใู หขอมลู สำคัญ กำหนดกลุมผใหขอมูลสำคัญ เพื่อทราบแนวคิดและหลักการขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรม รวม 10 ทาน ซ่งึ แบง ไดด ังนี้ - พระสงฆ จำนวน 2 รปู - ผนู ำชุมชน จำนวน 2 คน - ปราชญช ุมชน จำนวน 2 คน - นกั วิชาการวัฒนธรรม จำนวน 2 คน - ชาวบา นท่ีเก่ยี วขอ ง จำนวน 2 คน รวมทง้ั หมด 10 รปู /คน (2.3) ขอบเขตดานพ้ืนที่ กำหนดเลือกศึกษาภาคสนาม (Field Research) เปนการศึกษาผูมีสวนรวมในการ ขับเคลอ่ื นชุมชนคุณธรรมตนแบบอยา งย่ังยืน 2 ชมุ ชนคอื 1. ชุมชนคุณธรรมฯ วดั วงั ปลัดสามัคคี หมูท่ี 8 ตำบลทบั ทนั อำเภอสงั ขะ จังหวัดสุรินทร สามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานที่เปนรูปธรรมประจักษชัด มีการจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อสงเสริมสนับสนุน ใหประชาชนในพื้นที่ไดปฏิบัติแนวทางของศีล 5 ซึ่งไดรับความรวมมือจากหนวยงานในพื้นที่ มาโดย ตลอดจนไดรับการยกยอ งในเชงิ ประจกั ษ 2. ชุมชนคุณธรรมฯ วัดปาวังศิลา หมูที่ 19 ตำบลบุสูง อำเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ เปนชุมชนเลก็ ๆ ที่อยูในชนบท ไดรับผลกระทบจากกระแสสังคมในปจจุบัน ซึ่งมีการพัฒนาไปอยา งรวดเร็ว อาจจะทำใหสงั คมเกิดความเปล่ียนแปลงไป ทางชุมชนจึงมีความพยายามทีจะเฝา ระวงั ทางสงั คมในทกุ ดาน ดวยการมุงพัฒนาในดานคุณงามความดียึดหลักคำสอนในทางพระพุทธศาสนามาปฏิบัติ โดยความรวมมือ ของ บาน วัด โรงเรียน (บวร) และหนวยงานราชการตางๆ สงผลใหชุมชนเขมแข็ง เกิดการพัฒนาอยาง ตอ เน่ืองจนปจจบุ นั ไดเ ปนแหลงศกึ ษาเรยี นรูศกึ ษาดูงานของหนว ยงานราชการและประชาชนท่วั ไป จนไดร ับ การยกยองในเชงิ ประจกั ษ (2.4) ขอบเขตดา นระยะเวลาในการศึกษา ระยะเวลาที่ใชใ นการศกึ ษาวจิ ยั ครั้งนี้ ตั้งแตเ ดือนกันยายน-เดือนตลุ าคม 2565 (3) เคร่อื งมอื การวิจยั การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงเอกสารและคุณภาพ ประกอบดวย การศึกษาจากเอกสาร (Documentary Research) เพื่อประมวลองคความรู ศึกษาแนวคิด หลักการตางๆ โดยศึกษาจากคัมภีร เอกสารที่เก่ียวของ และการสนทนากลมุ (Focus Group) ในรปู แบบของการสมั มนา โดยมรี ายละเอียดดงั นี้ (3.1) การศึกษาเชิงเอกสาร (Documentary Research) ทำการศึกษาและรวบรวม ขอมูล จากเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวของ จากพระไตรปฎกของมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัยป 2535 อรรถกถา หนังสือ รายงานการวิจัย เอกสารที่เกี่ยวของกับการขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรม ดวยพลังบวร ดังนี้ 1. ศึกษา คนควา และรวบรวมขอมูลจากเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวของทั้งหนังสือ รายงาน การวจิ ัย และเอกสารอนื่ ๆ โดยอาศยั แนวความคิดทางดานการขับเคลื่อนชมุ ชนคณุ ธรรมดว ยพลังบวร 2. ศึกษาแนวทางการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนคุณธรรมตนแบบอยางยั่งยืน ทั้ง แนวคิดและทฤษฎี

220: Mahachulagajasara Journal Vol. 14 No. 1 (January – June 2023) 3. ศกึ ษาแนวทางการมีสว นรวมในการพฒั นาชมุ ชนคณุ ธรรมตนแบบอยา งย่งั ยืน 4. สรุปผลการศึกษาที่แสดงใหเห็นถึงแนวทางการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนคุณธรรม ตนแบบอยางยง่ั ยืน (3.2) การสนทนากลุม (Focus Group) โดยใชกระบวนการสัมมนากลุม ซึ่งไดเรียน เชิญผูทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ทาน อันประกอบดวย (1) พระมหาวิชาญ สุวิชาโน ดร. ประธานสงฆสำนักสติ ภาวนาภิรตาราม (2) พระมหาโชตนิพิฐพนธ สุทฺธจิตฺโต พระปริยัตินิเทศกประจำอำเภอ เขวาสินรินทร จังหวัดสุรินทร และ (3) นางสาวปรียากรณ ทะคำสอน ผูอำนวยการกลุมสงเสริมศาสนา ศิลปะและ วัฒนธรรม สำนักงานวฒั นธรรมจังหวดั สรุ ินทร มาเปน วิทยากรรวมสัมมนา และการแลกเปลี่ยนกบั ผูเขารวม สมั มนา ผลการศกึ ษา 1. แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนคณุ ธรรมตนแบบ ผลการวิจัยพบวา การมี สวนรวมในการพัฒนาชมุ ชนคุณธรรมตนแบบนั้น ผานกระบวนการมีสวนรว มในการขับเคลื่อนกิจกรรมตา ง ๆ และมีการคัดเลือกคณะกรรมการโครงการจากตัวแทนของกลุมตาง ๆ ในชุมชน องคประกอบสำคัญ คือ คน สิ่งแวดลอม และสถานการณ เพราะถาในชุมชน มีคนดี มีสิ่งแวดลอมดี สถานการณในชุมชนกจ็ ะดีตาม ไปดวย จะทำใหชุมชนนาอยู มีความสงบสุข ประชาชนก็จะมีคุณภาพชีวิตที่ดีในที่สุด อนึ่ง พลังชุมชนก็ถือ เปนหัวใจสำคัญของการยกระดับฐานะความเปนอยูของชุมชนใหดีขึ้น การรวมตัวของคนในครอบครัว หมูบาน ที่ทำงาน องคกร ฯลฯ เปนตน รวมกันกำหนดความตองการเอง วางโครงการเอง และรวมมือกัน ปฏิบัติตามโครงการนั้น ๆ วิธีการที่ชุมชนคิดทำเองมีความสำคัญยิ่งกวาผลงานความสำเร็จที่เกิดขึ้น เพราะ เปนการสรา งพลงั ของชุมชน สรางความเชื่อม่ันในตนเอง เรียนรูใหชมุ ชนอื่น ๆ ไดมีแนวทางพึ่งพาตนเอง มี เปาหมายตองการเปน ชุมชนทดี่ ี คนในชมุ ชนเปนคนดี มคี ณุ ธรรมมสี ่ิงแวดลอมที่ดีมีสถานการณร อบขางและ เพ่อื นบา นท่ีเอื้อเฟอเผื่อแผม ีน้ำใจสงผลใหทุกคนอยรู ว มกันอยางมีความสุข อยดู ีมีสขุ อยูอยางพ่ึงตนเอง อยู อยางยงั่ ยืน 2. แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนคุณธรรมตนแบบ ผลการวิจัยพบวา หลักการพัฒนาชุมชนคุณธรรมดวยพลังบวร บาน วัด โรงเรียน โดยนอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มาเปนนโยบายหลกั ของการ ดำเนินงานเพื่อใหเกิด “ชุมชนคุณธรรม” เริ่มจากการเปดพื้นที่ในชุมชน วัดใหเปนศูนยการเรียนรูทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในงานดานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ภายใตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื สง เสรมิ ใหคนในชุมชนพง่ึ พาตนเอง พงึ่ พากันเอง รวมกลมุ อยางมพี ลงั ใชช ีวติ พออยู พอกนิ พอเพียง 3.แนวทางการมีสวนรวมในการพฒั นาชุมชนคุณธรรมตน แบบอยางยั่งยนื : กรณีศึกษาวัดวัง ปลดั สามัคคี จังหวดั สรุ ินทร และวดั ปาวังศลิ า จังหวัดศรสี ะเกษ ผลจากการสัมมนาพบวา แนวทางการมี สวนรวมในการพฒั นาชมุ ชนคณุ ธรรมตนแบบอยางยั่งยืน เปนกระบวนการในการขับเคล่ือนชมุ ชนคุณธรรม ดวยพลังบวร โดยมีเปาหมายที่สำคัญ คือ คนในชุมชนอยูรวมกันอยางมีความสุข รูจักดำเนินชีวิตดวยความ ถูกตอง โดยมีศาสนาเปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ รูจักเรียนรูและนอมนำศาสตรพระราชา คือ หลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ นการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสืบสานวิถวี ฒั นธรรมทด่ี ีงาม ทั้งนี้ หัวใจของชุมชนคุณธรรม คือ คนในชุมชนอยูรวมกันอยางมีความสุข รูจักดำเนินชีวิตดวย ความถูกตอง โดยมีศาสนาเปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ รูจักเรียนรูและนอมนำศาสตรพระราชา หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสืบสานวิถีวัฒนธรรมที่ดีงาม ดวยความ

วารสารมหาจุฬาคชสาร ปท ่ี 14 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2566) : 221 พอประมาณ มีเหตุมีผล เสียสละ อดทน อดออม ขยัน ไมโลภ ไมเบียดเบียนผูอื่น เอื้อเฟอเผื่อแผ พึ่งพา กันเอง ชวยเหลือแบงปน มีภูมิคุมกันที่ดีในตัว เตรียมพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น คนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีรายไดเพิ่มขึ้น หนี้สินลดลง มีการรวมกลุมสรางอาชีพ สรางรายได เกิด กลมุ ตาง ๆ ขนึ้ ในชุมชน เชน กลมุ วิสาหกิจชมุ ชน กลุม ออมทรัพย กลมุ พฒั นาอาชีพ กลุมถายทอดภูมิปญญา ศิลปะ วัฒนธรรม กลมุ จติ อาสาพัฒนาชุมชน เปน ตน อภปิ รายผล แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนคุณธรรมตนแบบ เปนแนวคิดเกี่ยวกับการ ขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมซึ่งมีองคประกอบ คือ คน สิง่ แวดลอ ม และสถานการณ เพราะถาในชุมชน มีคนดี มสี ่งิ แวดลอมดี สถานการณในชมุ ชนกจ็ ะดีตามไปดว ย จะทำใหชมุ ชนนาอยู มคี วามสงบสขุ ประชาชนก็จะมี คุณภาพชีวิตที่ดีในทีส่ ดุ อนึ่ง พลังชุมชนก็ถือเปนหัวใจสำคัญของการยกระดับฐานะความเปนอยูของชุมชน ใหดขี ้นึ การรวมตัวของคนในครอบครวั หมบู าน โดยมเี ปาหมายเพื่อตองการเปนชมุ ชนทด่ี ี คนในชุมชนเปน คนดี มคี ุณธรรมมสี ่ิงแวดลอมท่ีดี มีสถานการณร อบขา งและเพ่ือนบานทเ่ี อื้อเฟอเผ่ือแผ มีน้ำใจ สงผลใหทุก คนอยูรวมกันอยางมีความสุข อยูดีมีสุข อยูอยางพึ่งตนเอง อยูอยางยั่งยืน ซึ่งสอดคลองกับ พระมหาพร ประสงค พุทธจันทร ไดกลาวในงานวิจัยเรื่อง “บทบาทของพระสงฆในการพัฒนาวัดใหเปนศูนยกลางของ ชุมชน” พบวา ประชาชนสว นใหญม ีความคดิ เห็นวา พระสงฆมีบทบาทในดานใหการสงเสรมิ สนบั สนนุ ความ มั่นคงทางสังคม อันไดแกสงเสริมความมั่นคงในสถาบันครอบครัว โดยรวมมือกับองคการบริหารสวนตำบล จัดกิจกรรมวันครอบครัวอยางตอเนื่อง สนับสนุนการจัดหาทุนเพื่อสรางความปลอดภัยใหแกหมูบาน สนับสนุนทุนเพื่อสนับสนุนใหความเปนอยูของผูสูงอายุดีขึ้น และสิ่งสำคัญอยางยิ่งคือเมื่อมีเหตุการณที่ ขัดแยงกันระหวา งประชาชนในพื้นที่ ที่ไมสามารถหาขอ ยุตไิ ด (พระมหาพรประสงค พุทธจันทร, 2552:10) และสอดคลองกับ Chris Cocklin and Jacqui Dibden ที่ไดศึกษาเรื่องความยั่งยืนและความเปลี่ยนแปลงใน ชนบทของประเทศออสเตรเลียพบวา ชมุ ชนในชนบทจะมีความย่ังยนื จะตองประกอบดว ยมติ หิ ลัก 3 มิติ คือ มิติดานเศรษฐกิจ มิติดานสังคม และมิติดานสิง่ แวดลอม ทั้งสามมิติมีความเก่ียวโยงกันอยางมีพลวัต ชุมชน ชนบทจะมีความยั่งยืนได ตองเปนชุมชนที่สามารถอยูไดโดยปราศจากการสนับสนุนจากภาครัฐเหมือนใน อดตี (Chris Cocklin and Jac Qui Dibden,2009: 443-44) แนวทางการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนคุณธรรมตนแบบอยางยั่งยืน เปนแนวคิดการ ขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมดวยพลังบวร (บาน วัด โรงเรียน) นั้นเปนพลังที่สำคัญในสังคมที่จะสามารถนำมา เปนกลไกในการพัฒนาและสรางชุมชนใหเ ขมแข็งกอใหเกิดกระบวนการสรางชุมชนคุณธรรม อยางย่ังยืนใน ทุกพื้นที่ โดยวัดทำหนาที่เปนแกนกลางในการพัฒนา มีพระสงฆเปนศูนยรวมใจของชุมชน มีบทบาทรวม วางแผนดำเนนิ การพัฒนาใหเปนชุมชนคุณธรรม ซึง่ สอดคลองกับบทความวิจยั ของ ราชรถ ปญ ญาบุญ และ นายธวัชชัย ณ พทั ลุง ไดศึกษาวจิ ัยเร่ือง “กระบวนการมีสว นรว มของชมุ ชนในการขบั เคลอื่ นชุมชนคุณธรรม นอมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา : ชุมชนคุณธรรมตนแบบวัดกาญจนบริรักษจังหวัดตรัง” พบวา ชุมชนคุณธรรมตนแบบวัดกาญจนบริรักษ เกิดจากการกระบวนมีสวนรวมในการแกไขปญหากันใน ชุมชนของทุกภาคสวนอยางเขมแข็ง ภายใตการสนับสนุนของสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดตรังและองคกร ทองถิ่น มีกระบวนการขับเคลื่อนผานกิจกรรมตาง ๆ ในชุมชน ภายใตแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู การเปนชุมชนคุณธรรมตนแบบของจังหวัดตรัง ในสวนของกระบวนการมีสวนรวมของชุมชนในการ ขับเคลื่อนโครงการชุมชนคุณธรรม ประกอบดวย 4 กระบวนการ คือ 1. ประชาชนมีสวนรวมกับการ

222: Mahachulagajasara Journal Vol. 14 No. 1 (January – June 2023) ตัดสินใจ 2. รวมวางแผนและดำเนินการ 3. รวมประเมินผล และ 4. มีสวนรวมในการรับผลประโยชนจาก ผลลัพธข องการดำเนินการชมุ ชนไดท ำการขยายผลกจิ กรรมใน 3 มติ ิ (ราชรถ ปญญาบญุ และนายธวัชชัย ณ พัทลุง, 2563:1-13) ยังมีความสอดคลองกับผลงานวิจัยของ พระครูสุจิณธรรมนิวิฐ (สมจิตี อธิปฺโญ) ได ศกึ ษาเร่ืองพระสงฆในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของชุมชน : กรณีศกึ ษาคณะสงฆอำเภอลองจงั หวัดแพร พบวา ระดับความคิดเห็นของประชาชนตอบทบาทของพระสงฆ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนในภาพรวม อยูในระดับมากเมื่อพิจารณาเปนรายดานทั้ง 3 ดานพบวา ดานการใหความรูเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตตาม หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและ การดำรงชีวติ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ พระสงฆ มีบทบาทสำคญั ตอ การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของทา นดานคุณธรรม จริยธรรม ดานการเปน แบบอยางทดี่ ี องคค วามรูจากการศกึ ษา แนวทางการมสี วนรวมในการพฒั นาชมุ ชนคณุ ธรรมตนแบบอยางยงั่ ยืน พลงั บวร การมีสว นรว มในการพัฒนาชมุ ชนคณุ ธรรม การพฒั นาชุมชนคุณธรรมตนแบบอยา งย่ังยืน กระบวนการ กระบวนการ 1) เกดิ จากความคิดรเิ ร่ิมของสมาชิกในชุมชน 1) ประกาศเจตนารมณหรือขอ ตกลงของชุมชน 2) คนหาความจรงิ ของพ้ืนที่ 2) กำหนดเปาหมายของชมุ ชน 3) ตัง้ เปา หมายการเปล่ยี นแปลงรว มกัน 3) จดั ทำแผนชมุ ชน 4) สรา งกลมุ แกนนำเพอื่ การเปลี่ยนแปลง 4) ดำเนินการตามแผนชุมชน 5) แสวงหาทีมงาน 5) ตดิ ตามประเมนิ ผล 6) ดำเนินงานแบบรวมคิด 6) ยกยอ งบุคคลทำความดี 7) ประเมินผลสำเร็จ วธิ ีการ 8) ขยายผลกจิ กรรม 9) แลกเปล่ยี นเรียนรู 1) ลงมือปฏิบัตจิ นเปนวถิ ชี วี ติ ขอปฏบิ ัตคิ ุณธรรม ของชมุ ชนคณุ ธรรม 2) ถอดบทเรียนเพอ่ื สรางความรู 1. การนอมนำหลักธรรมไปประพฤติปฏบิ ตั ติ ามคำสอน 3) ชนื่ ชมยกยอ งใหปรากฏแกส าธารณชน 2. การนอ มนำหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาปฏบิ ัติ 4) สรางและแสวงหาเครือขายคุณธรรม 3. การดำเนนิ ชีวิตแบบวถิ วี ัฒนธรรมไทย 5) จัดทำแผนงานพฒั นา 6) ประเมินผลลัพธผ ลกระทบ พ่ึงพาตนเอง พ่งึ พากนั เอง รวมกลุมอยางมพี ลงั ชวี ิตพออยู พอกิน พอเพยี ง ม่ันคง มั่งคั่ง ยงั่ ยืน แผนภาพท่ี 2 แสดงแนวทางการมสี วนรว มในการพฒั นาชุมชนคณุ ธรรมตนแบบอยางย่ังยนื

วารสารมหาจุฬาคชสาร ปท ี่ 14 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน พ.ศ.2566) : 223 จากการศึกษาพบวา แนวคิดการขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมนั้น สำคัญที่องคประกอบ คือคน สิ่งแวดลอม และสถานการณ เพราะถาในชุมชน มีคนดี มีสิ่งแวดลอมดี สถานการณในชุมชนก็จะดีตามไป ดว ย จะทำใหชุมชนนาอยู มคี วามสงบสุข ประชาชนก็ จะมีคณุ ภาพชีวิตท่ีดีในที่สุด อน่ึงพลังชุมชนก็ถือเปน หัวใจสำคัญของการยกระดับฐานะความเปนอยูของชุมชนใหดีขึ้น การรวมตัวของคนในครอบครัว หมูบาน ท่ที ำงาน องคก ร ฯลฯ เปนตน รวมกนั กำหนดความตองการเอง วางโครงการเอง และรวมมือกันปฏิบัติตาม โครงการนั้น ๆ วิธีการที่ชุมชนคิดทำเอง มีความสำคัญยิ่งกวาผลงานความสำเร็จที่เกิดขึ้น เพราะเปนการ สรา งพลังของชมุ ชน สรางความเช่ือมนั่ ในตนเอง เรยี นรูใ หช มุ ชนอ่ืน ๆ ไดมแี นวทางพึ่งพาตนเอง มเี ปา หมาย ตองการเปนชุมชนที่ดี คนในชุมชนเปนคนดี มีคุณธรรมมีสิ่งแวดลอมที่ดี มีสถานการณรอบขางและเพื่อน บานที่เอื้อเฟอเผื่อแผ มีน้ำใจ สงผลใหทุกคนอยูรวมกันอยางมีความสุข อยูดีมีสุข อยูอยางพึ่งตนเอง อยู อยา งยง่ั ยนื แนวทางการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนคุณธรรมตนแบบอยางยั่งยืน คือ กระบวนการ ขับเคลอ่ื นชมุ ชนคุณธรรมดวยพลังบวร (บาน วัด โรงเรยี น) นั้น เปน พลงั ทส่ี ำคัญในสังคมท่ีจะสามารถนำมา เปน กลไกในการพัฒนาและสรางชุมชนใหเขมแข็งกอใหเกิดกระบวนการสรางชุมชนคุณธรรม อยางย่ังยืนใน ทกุ พื้นท่ี โดยวดั ทำหนาทเ่ี ปนแกนกลางในการพัฒนา รว มวางแผน ดำเนนิ การ พฒั นาใหเ ปนชุมชนคุณธรรม โรงเรียนมีบทบาทในการสรางเยาวชนใหเปนสมาชิกที่ดีของสังคม ใหสามารถดำรงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมี ความสขุ ขณะเดียวกนั ชุมชนกม็ บี ทบาทและความสำคญั ตอการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน ทั้งในแงข องการเปน แหลงเรียนรูมรดกทางวัฒนธรรม ประเพณี คานิยมของสังคม และวัดก็มีบทบาทหนาที่ที่จะใหการอบรม กลอมเกลาสมาชิกในชุมชน ดังนั้น หากการประสานการทำงานของสามประสาน คือ บาน-วัด-โรงเรียน มี ความเขมแข็งและมีประสิทธิภาพ ก็จะทำใหเกิดชมุ ชนคุณธรรมเปนรปู ธรรมมากยิ่งขึ้น โดยเริ่มจากการเปด พ้นื ท่ใี นชุมชน วัด ศาสนสถาน ใหเ ปน ศนู ยการเรยี นรทู ้งั ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัตใิ นงานดานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ภายใตหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสงเสริมใหคนในชมุ ชนพึ่งพาตนเอง พึ่งพากันเอง รวมกลุมอยางมีพลัง ใชชีวิตพออยู พอกิน พอเพียง มีเหตุผล มีภูมิคุมกันที่เหมาะสมตามสภาพของชุมชน และวฒั นธรรมในทองถ่นิ รวมท้งั เปน ศูนยกลางการจดั กิจกรรมเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย กจิ กรรมทาง ศาสนาสง เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมตลอดจนเปนศูนยกลางการถายทอดภูมิปญญาทองถิ่น จากการมีสวนรวม และความเสียสละของคนในชุมชนที่จะรวมขับเคลื่อนใหชุมชนคุณธรรมกาวสู “ชุมชนคุณธรรม” ที่มีหลักธรรมทางศาสนา และความเชื่อความศรัทธาเปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ สามารถนำมาใชใน ชีวิตประจำวันไดอยางมีความสุข โดยดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และตามวิถี วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดงี าม มีความเอื้ออาทรซ่ึงกันและกันเปนสังคมที่ดีงามและอยเู ยน็ เปน สุข เปนสงั คมแหงความพอเพียงและสนั ติสุข ซง่ึ แนวทางการมีสว นรว มในการพฒั นาชุมชนคุณธรรมตนแบบอยางยั่งยนื มเี ปา หมายที่สำคัญคือ ยึดมั่นหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ คนใน ชุมชนมีหลักธรรมทางศาสนาเปนแนวทางในการดำเนินชีวิต เปนเคร่ืองยดึ เหนยี่ วจิตใจ ใหปฏิบตั ิในสิง่ ทีถ่ ูกตองดีงาม เมอื่ คนในชมุ ชนปฏิบัตติ ามหลักศาสนา อยูในกรอบ ของศีลธรรมและขอปฏิบัติตามศาสนาที่ตนเคารพนับถือ ปญหาตาง ๆ ในชุมชนก็จะลดลงหรือหมดไป เกิด สิ่งดีงามในชุมชน นอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาคุณภาพชีวิต การดำเนินชีวิตดวย ความพอประมาณ มีเหตุมีผล เสียสละ อดทน อดออม ขยัน ไมโลภ ไมเบียดเบียนผูอื่น เอื้อเฟอเผื่อแผ พึ่งพากันเอง ชวยเหลือแบงปน มีภูมิคุมกันที่ดีในตัว เตรียมพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่จะ เกิดขึ้น คนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีรายไดเพิ่มขึ้น หนี้สินลดลง มีการรวมกลุมสรางอาชีพ สราง

224: Mahachulagajasara Journal Vol. 14 No. 1 (January – June 2023) รายได เกดิ กลมุ ตา ง ๆ ขึน้ ในชมุ ชน เชน กลมุ วิสาหกจิ ชุมชน กลมุ ออมทรพั ย กลมุ พฒั นาอาชีพ กลมุ ถา ยทอด ภูมิปญ ญา ศิลปะ วัฒนธรรม กลุม จิตอาสาพัฒนาชุมชน เปนตน บทสรปุ การพัฒนาชุมชนเปนงานที่มุงกอใหเกิดความยุติธรรมขึน้ ในชมุ ชน โดยตองการใหประชาชนทุกคน ในชุมชน ไดมีชีวิตความเปนอยู การศึกษาและมีความเทาเทียมกันมากที่สุดเทาที่จะเปนไดและยังชวยให ประชาชนทุกคนมีสิทธิและมีความเสมอภาคในการมีโอกาสที่จะมุงกระทำการใด ๆ เทาเทียมกันทุกคน มี สิทธิที่จะมีโอกาสเจริญกาวหนา มีโอกาสที่จะแสดงความรูความสามารถอยางเสมอภาคกัน โดย กระบวนการพัฒนาชุมชนนั้นไดเปดโอกาสกวางใหประชาชนทุกเพศ ทุกวัย เขามามีสวนรวมในการพัฒนา ทองถ่นิ ของตนอยางเทาเทียมกันเสมอ มไิ ดมงุ จำกดั เฉพาะคนรวยหรือเพศชายเทาน้นั นอกจากนี้ ผลท่ไี ดรับ จากการพฒั นาน้ัน จะตองเปน ประโยชนตอบสนองตอประชาชนสว นรวมมิใชเ พื่อคนสวนนอย จุดมุงหมายท่ี สำคัญของแผนแมบทสงเสริมคุณธรรมแหงชาติฉบับท่ี 1 คือ การเสริมสรางสังคมใหม ีคุณธรรมความดี เปน สังคมทปี่ ระกอบดวยคนมีคุณธรรม ครอบครวั มคี ุณธรรม องคก ร/หนวยงานมีคณุ ธรรม ชมุ ชนมคี ณุ ธรรม ทกุ ภาคสวนมีคุณธรรมในทุกระดับ สังคมนั้นยอมเปนสังคมที่มีคุณธรรมดวย เนื่องจากความดีงามทั้งหลายท่ี เกิดขึ้นในสังคมไทย เกิดจากการที่คน ครอบครัว องคกร/หนวยงาน ชุมชนและสังคม มีหลักธรรมทาง ศาสนา และความเชื่อความศรัทธาเปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ สามารถนำมาใชในชีวิตประจำวันไดอยางมี ความสุข โดยดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และตามวิถีวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ดีงาม มีความเอื้ออาทรซึ่งกันและกันเปนสังคมที่ดีงามและอยูเย็นเปนสุข เปนสังคมแหงความ พอเพียงและสันติสุขโดยมวี ิธีการขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมดังน้ี 1. ลงมอื ปฏิบัติจนเปน วิถีชีวิต ชุมชนปฏิบัติ ตามขอตกลงอยางสม่ำเสมอตอเน่ืองจนเปน วิถชี ีวติ ของประชาชนและการพัฒนาชมุ ชน 2. ถอดบทเรียนเพ่ือ สรางความรู ชมุ ชนนำความกาวหนาที่เกดิ ข้นึ มาสูการถอดบทเรียน ประเมนิ ผลสง่ิ ท่เี กิดขึ้น เพ่ือแกไขปญหา อุปสรรคและขยายความสำเร็จนั้นไปสูชาวบานใหกวางขวาง และนำไปสูการจัดการความรู ผลิตเปนองค ความรูในรูปแบบตาง ๆ หรือสื่อสาร ถายทอดแลกเปลี่ยนระหวางชุมชน 3. ชื่นชมยกยองใหปรากฏแก สาธารณชน เนอื่ งจากคุณธรรมเปนเร่ืองนามธรรมเหน็ ผลการเปลี่ยนแปลงชา ดงั นนั้ เมื่อเห็นความสำเร็จกจ็ ัด ใหม กี ารชื่นชม ยกยอ ง เพื่อใหก ำลงั ใจ รวมท้ังส่อื สารเผยแพรผ ลงานตอสาธารณะใหเ ปนทีป่ ระจักษ 4. สราง และแสวงหาเครือขายคุณธรรม งานสงเสริมคุณธรรมเปนงานที่ยากตองการพลังของเครือขายในการ ขับเคลื่อน โดยมีการเชื่อมโยงกันเปนเครือขายชุมชนคุณธรรมเพื่อใหกำลังใจถายทอดความรู และพัฒนา นโยบายรวมกัน 5. จัดทำแผนงานพัฒนาชุมชน และกำหนดกิจกรรม โดยกำหนดบทบาทหนาที่และ มอบหมายภารกิจ การลงมือปฏิบัติตามภารกิจที่ไดกำหนดไวในแผนงาน ตลอดจนทำการประชาสัมพันธ เผยแพร และการเตรียมพัฒนากลไก เชื่อมโยงความรวมมือ 6. ประเมินผลลพั ธผลกระทบ ตองมีระบบและ กลไกในการประเมินเพื่อใหเ ห็นผลลัพธ มีการประเมินผลและตดิ ตามผลการปฏิบัตงิ าน มีทั้งการประเมนิ ภายใน และประเมนิ จากภายนอกมกี ารปรับปรุงและพฒั นางานใหดมี คี ุณภาพมากทส่ี ดุ ตลอดจนการสรุปผล ความกาวหนาและขยายผลงานไปสูชุมชนอื่นที่สนใจ รวมทั้งเปดเผยผลการประเมินแกคนในชุมชนและ สาธารณชน เปนตน

วารสารมหาจฬุ าคชสาร ปท ่ี 14 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2566) : 225 ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะเชงิ ปฏิบัติ 1. ชุมชน หนวยงาน ที่มีความสนใจ สามารถนำผลงานวิจัยนี้ไปตอยอดเพื่อเปนแนวทางการ สรางความเขมแข็งใหกับชุมชน ดวยการขับเคลื่อนดวยพลังบวร (บาน วัด โรงเรียน) ในการดำเนินงานเพื่อ พัฒนา ปองกันแกไขปญหา หรือสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในดานอื่น ๆ ในชุมชน ขับเคลื่อนสูชุมชน คณุ ธรรมตอ ไป 2. ควรมกี ารสง เสริม สนับสนุนใหขวญั และกำลงั ใจในการขบั เคลื่อนชุมชนคณุ ธรรมดว ยพลงั บวร ใหม ีความมั่นคง ม่งั คัง่ และยงั่ ยนื อยา งตอ เนอ่ื ง ขอเสนอแนะในการศึกษาครัง้ ถัดไป 1. ควรมีการศึกษารูปแบบการแนวทางการขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมดวยพลังบวร โดยมุงเนนไปที่แตละหนวยงานในชุมชน ไดแก การขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมดวยพลังบวรขององคกร ปกครองสวนทองถน่ิ , สถาบันการศึกษา, หนว ยงานราชการรฐั วิสาหกิจ สูการเปน องคกรคุณธรรม โรงเรียน คุณธรรม หนวยงานคุณธรรม เพื่อใหไดขอมูลในการขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมดวยพลังบวร ในบริบทท่ี แตกตางกัน 2. ควรศึกษารูปแบบและวิธีการติดตามผล และประเมินผลดานความกาวหนาและความสำเร็จ ของการขับเคลอ่ื นชมุ ชนคณุ ธรรมดว ยพลังบวรทเี่ หมาะสม กิตตกิ รรมประกาศ บทความวิจัยนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาในรายวิชาสัมมนาพระพุทธศาสนากับการพัฒนาที่ ยั่งยืน หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิขาพระพุทธศาสนา บัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆสุรินทร คณะผูวิจัยขออนุโมทนาและขอบคุณวิทยากรผูเขารว มสนทนากลุม (Focus Group) ในครั้งนี้ อันประกอบ ไปดวย พระมหาวิชาญ สุวชิ าโน ดร. ประธานสงฆสำนกั สตภิ าวนาภิรตาราม พระมหาโชตนิพฐิ พนธ สทุ ธฺ จติ ฺ โต พระปริยัตินิเทศกประจำอำเภอเขวาสินรินทร จังหวัดสุรินทร และนางสาวปรียากรณ ทะคำสอน ผูอำนวยการกลุมสงเสริมศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสุรินทร และขอ อนุโมทนาอยางยิ่งตอ ดร.ธนรัฐ สะอาดเอี่ยม อาจารยผูรับผิดชอบในรายวิชาที่กรุณาชวยชี้แนะแนวทาง การศกึ ษา และตรวจแกไ ขงานตั้งแตเร่ิมตน กระทงั่ สำเร็จเปน บทความวิจัยในคร้งั นี้ดว ย เอกสารอา งองิ กรมการศาสนา, กระทรวงวัฒนธรรม. (2562). คูมือการสงเสริมและพัฒนาองคกร ชุมชน อำเภอ และ จงั หวัดคณุ ธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พช มุ ชนสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จำกดั . กรมการศาสนา, กระทรวงวัฒนธรรม. (2561). การดำเนินงานชุมชนคุณธรรมขับเคลื่อนดวยพลังบวร. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พอกั ษรไทย. กรมการศาสนา, กระทรวงวฒั นธรรม. (2561). คูม อื การประเมนิ องคกร ชมุ ชนุ อำเภอ และจงั หวดั คุณธรรม. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พการศาสนา สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง ชาติ. กรมการศาสนา, กระทรวงวัฒนธรรม. (2559). การพัฒนารูปแบบการขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมดวยพลัง บวร. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พการศาสนา สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแหงชาติ.

226: Mahachulagajasara Journal Vol. 14 No. 1 (January – June 2023) กาญจนา บุญยัง, และคณะ.(2552). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในองคการบริหารสวนตําบล. กรุงเทพมหานคร : สาํ นักงานเลขาธกิ ารวฒุ ิสภา. น. 14. จติ จำนงค กิติกีรติ. (2536). การพัฒนาชมุ ชน. กรงุ เทพมหานคร: คณุ พิณอกั ษรกจิ . พระครูสุจิณธรรมนิวิฐ (สมจิตร อธิปฺโญ). (2555). บทบาทของพระสงฆในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ชุมชนกรณีศึกษาคณะสงฆอำเภอลอง จังหวัดแพร. (วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต) สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา. บณั ฑติ วทิ ยาลัย: มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . พระมหาดนัย อุปวฑฺฒโน (ศรีจันทร). (2557). รูปแบบการบริหารจัดการองคกรสันติสุขศึกษากรณีวัด ปญญานันทาราม อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี. (วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต) สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา. บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. พระมหาพรประสงค พุทธจันทร. (2552). บทบาทของพระสงฆใ นการพัฒนาวัดใหเ ปนศนู ยกลางของชุมชน. (วิทยานิพนธศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต) สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั . อนุรักษ ปญญานุวัฒน. (2548) การศึกษาชุมชนเชิงพหุลักษณ. บทเรียนจากวิจัยภาคสนาม. กรงุ เทพมหานคร : โครงการเสริมสรางการเรียนรเู พือ่ ชุมชนเปน สุข (สรส.). น. 26.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook