Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2564_ธรรมาธิปไตย

2564_ธรรมาธิปไตย

Published by E-Library, Buddhist Studies, MCU Surin, 2023-07-17 06:07:53

Description: 2564_ธรรมาธิปไตย

Search

Read the Text Version

วารสารมหาจุฬาคชสาร ปีท่ี 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มถิ ุนายน พ.ศ.2564) : 97 ธรรมาธปิ ไตย: จากหลักธรรมสหู่ ลักการปกครองทยี่ ่งั ยืน: ในยุครัตนโกสินทร์ จาก รัชสมยั รัชกาลท่ี 6 ถงึ รชั สมัยรชั กาลท่ี 10 Dhammadhipateyya: From the Dhamma Principle to Sustainable Governance: In the Rattanakosin Era, from the Reign of King Rama VI to the Reign of King Rama X 1ธนรฐั สะอาดเอยี่ ม, 2พระครูปรยิ ัตวิ สิ ุทธิคณุ , 3พระมหาโชตนิพิฐพนธ์ สทุ ธฺ จติ ฺโต, 4สรุ ชยั พุดชู Thanarat Sa-ard-iam, Phrakhrupariyatwisutthikhun, Phramaha Chotniphitphon Sutthacitto, Surachai Phutchu 123มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตสรุ นิ ทร์ 4มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั Email: 1 E-mail: [email protected] Received November 18, 2021; Revised December 15, 2021; Accepted December 22, 2021 บทคัดยอ่ บทความนี้มวี ัตถปุ ระสงค์ในการนาเสนอ 3 ประเดน็ คอื (1) เพอื่ นาเสนอหลัก “ธรรมาธิปไตย” ใน อาธิปไตยสูตร (2) เพ่อื นาเสนอปฐมบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์ไทยท่ีทรงข้ึนครองราชย์ในยุค รตั นโกสินทร์ โดยเฉพาะในรัชสมยั ราชกาลท่ี 6 -10 และ (3) เพ่ือวิเคราะหห์ ลักปาตโิ มกข์ซ่ึงเป็นแผนแม่บท การปกครอง ตามวิถีธรรม (Dhamma Way) ทางพระพทุ ธศาสนา มาเปน็ แกนกลางในการวิเคราะห์กับปฐม บรมราชโองการ ผลการศึกษาพบว่า หลักธรรมาธิปไตยน้ี ไม่ใช่ระบบการเมืองการปกครอง แต่เป็น แนวความคิดท่ีถอื หลกั ความถูกตอ้ ง ความยุตธิ รรมเปน็ หลกั ในการปกครอง ในอาธิปเตยยสูตรนั้น ได้แบ่ง อาธปิ ไตย ออกเป็น 3 คอื 1) อตั ตาธปิ ไตย (ความมตี นเปน็ ใหญ่) (2) โลกาธิปไตย (ความมีโลกเป็นใหญ่) และ (3) ธมั มาธิปไตย (ความมีธรรมเป็นใหญ่)” ในส่วนของหลักธรรมาธิปไตยน้ัน พระพุทธองค์ เน้นที่หลัก “ละอกศุ ล บาเพ็ญกุศล ละกรรมที่มโี ทษ บาเพญ็ กรรมท่ไี มม่ โี ทษ รกั ษาใจตนให้บริสุทธ์ิ ” และในปฐมบรม ราชโองการของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทยในรชั รัชสมยั ราชกาลท่ี 6-10 น้ันมีปรากฏในรัชสมัย ร.6 และ ร.7 ปรากฎคาว่า “..ธมฺเมน สเมน...แปลวา่ “..โดยธรรมสมา่ เสมอ...” และในรัชสมัย ร.9 และ ร.10 ปรากฏ เพยี งภาษาไทย คือ “...โดยธรรม...” ดังน้ัน เม่ือนาหลักปาติโมกข์ ซึ่งเป็นแผนแม่บทการปกครองตาม แนวทางพระพุทธศาสนามาทาการศกึ ษา ผลปรากฏชดั วา่ ในปฐมบรมราชโองการนนั้ มีหลักการที่สอดรับกับ หลกั การของโอวาทปาติโมกขใ์ นพระพทุ ธศาสนา คือ เน้นท่กี ารหา้ มทาส่ิงไม่ดี สร้างแต่ส่ิงดี และมุ่งพัฒนา จติ ใจคนเปน็ สาคัญ พร้อมทง้ั อุดมการณ์และวิธีการทั้งหมดก็มีการสอดรบั ซึ่งกันและกัน ดังนั้น จึงควรกล่าว

98: Mahachulagajasara Journal Vol.12 No.1 (January-June 2021) ได้ว่า ธรรมาธิปไตยน้นั ยังคงเปน็ แนวคดิ การปกครองทีเ่ หมาะสมกับการเป็นแผนแม่บทของการปกครอง เพื่อพฒั นาประเทศ อันนาไปสู่การเป็นประเทศทีม่ ีการปกครองทยี่ ง่ั ยนื คาสาคัญ: ธรรมาธิปไตย; ปาติโมกข์; การปกครองทย่ี งั่ ยืน; ยุครตั นโกสินทร์ Abstract This article aims to present 3 issues: (1) to present the main \" Dhammadhipateyya\" in the master plan especially during the reign of King Rama VI-X, to be the fundamental of the analysis with the commandment.The results of this paper indicated that Dhammadhipateyya is not a political system but is a concept that holds the principle of accuracy justice is the main rule. According to the Athipateyya Sutta, there are three kinds of Athipateyya namely; (1) Atthadhipateyya: supremacy of self; (2) Lokadhipateyya: the supremacy of the world or public opinion and (3) Dhammadhipateyya: the supremacy of the Dhamma or righteousness. For the Dhammadhipateyya, the Buddha emphasized the principle of \"not to do any evil, to do good and emphasis on the purification of the mind. In the Commandment in the reign of the King of Thailand in the reign of King Rama VI – X, for the reign of Rama VI and Rama VII have appeared the word is “…Dhammena Samena…” which means “…by the Dhamma regularly…” and in the reign of Rama VIII and kind Rama X appear only in the Thai word is “...By Dhamma...\". Therefore, when bringing the Patimokkha which is the master plan for administration according to the guidelines of Buddhism to analyzed. The result is clear that in the commandment is the principle that adapts to the principles of the Patimokkha's teachings in Buddhism, focusing on prohibiting doing bad things, create only good things, and focused on developing people's minds. Along with all ideologies and methods, it is compatible with each other, so it should be said that the Dhammadhipateyya is still the concept of government that is suitable for being the master plan of government to develop the country. This leads to a country with a regime that is sustainable. Keywords: Dhammadhipateyya; Patimokkha; Sustainable Governance; Rattanakosin Period บทนา นับเนอื่ งจากประเทศไทยมีวกิ ฤตการณท์ างการเมอื ง ตั้งแตป่ ี พ.ศ.2549 เป็นต้นมา ท่ีเกิดขึ้นจาก การกระทารัฐประหารรฐั บาลทม่ี าจากการเลือกตงั้ ทาให้ประเทศไทยตอ้ งเผชิญกับภาวะกับดักหลุมดาทาง การเมอื งทสี่ ่งผลตอ่ การพฒั นาประเทศโดยส่วนรวมอยา่ งตอ่ เน่อื ง และทาให้คนไทยมีการแบ่งแยกกันทาง ความคดิ เห็นทางการเมอื งออกเปน็ สองฝ่ายอย่างชัดเจน กระทั่งไดเ้ กดิ มีวาทะกรรมของกลุ่มการเมืองซ่ึงเป็น ผลจากภาวะวกิ ฤตทางการเมอื งทเี่ กิดขึ้นอย่างต่อเน่ือง เช่น กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพ่ือประชาธิปไตย (พธม.) หรอื กลุ่มเส้อื เหลือง, กลุ่มแนวร่วมประชาธปิ ไตยตอ่ ตา้ นเผด็จการแหง่ ชาติ (นปช.) หรือกลุ่มเส้ือแดง กระท่งั มาถงึ ภาวะวกิ ฤตทางการเมืองในชว่ งเลอื กตัง้ ปี พ.ศ.2562 กย็ ังคงปรากฏวาทะกรรมท่ีแสดงออกถึง

วารสารมหาจุฬาคชสาร ปที ่ี 12 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม-มถิ นุ ายน พ.ศ.2564) : 99 การแบง่ ฝกั แบ่งฝา่ ยทช่ี ัดเจน ในสงั คมการเมอื งไทย เช่น คาว่า “การสืบทอดอานาจเผด็จการ”, “กลุ่มพรรค ประชาธิปไตย” “บกพร่องโดยสุจรติ ”,“เผดจ็ การประชาธิปไตย”, “กลุ่มหัวก้าวหน้า”, “กลมุ่ อนุรักษ์นิยม”, “เผด็จการรฐั สภา”, “ตลุ าการภวิ ฒั น์ (Judicial activism)” เปน็ ต้น ซ่ึงวาทะกรรมเหลา่ น้ี ก็ยงั คงมีคาใหม่ท่ี เกดิ ขึ้นอยา่ งต่อเน่อื ง จากประเด็นปัญหาดงั กล่าวนี้ จึงเกิดมคี าถามขึ้นมาว่า ในเมื่อประเทศไทยเป็นเมือง พระพทุ ธศาสนา และประชาชนสว่ นใหญ่ (ร้อยละ 95) นับถือพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นศาสนาท่ีมีหลักคา สอนทเ่ี น้นความสงบสุขเปน็ สาคัญ และเพราะเหตผุ ลอนั ใดประเทศไทย ยังคงประสบกับปัญหาทางการเมือง อยา่ งต่อเนือ่ ง และดูทีทา่ วา่ จะไมร่ จู้ ักจบส้ิน แลว้ หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนายังคงสามารถตอบโจทย์คือ เป็นเครอื่ งมอื (mean) หรอื ชว่ ยในการแกไ้ ขปัญหาทางการเมืองได้หรอื ไม่ ประเด็นเหล่าน้ยี ังคงเป็นประเด็น ท่สี งั คมเมืองไทยยงั คงถามหากนั อยู่ โดยเฉพาะการมองหาการเมอื งทพ่ี งึ ประสงค์ ที่มีการใช้หลัก “หลักธรร มาภบิ าล (Good Governance)” ซึง่ เปน็ หลกั การที่เปน็ อดุ มคติในการปกครองและบรหิ ารบ้านเมืองให้เป็น สงั คมแห่งอดุ มคติ ประชาชนมสี ันติสขุ อย่ดู ว้ ยกันอย่างสมานฉันท์ โดยใชห้ ลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเป็น ธงชยั นาทาง อะไร คอื ธรรมาธิปไตยในวิถแี ห่งธรรม? ความหมายของธรรมาธปิ ไตยอะไร? คาว่า ธรรมาธปิ ไตย อา่ นว่า ทามาทปิ ไตย ทามาทปิ ปะไต หมายความว่า การถือธรรมเป็นใหญ่ การถอื ความถกู ตอ้ งเปน็ หลัก (พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.2554, 2556) มีธรรมเป็นใหญ่ หรือ จะหมายความวา่ การถอื ธรรมเป็นใหญ่ เปน็ หลกั ในการบรหิ ารจัดการ ซ่ึงมาจากศัพท์ว่า ธรรม+อธิปไตย ความหมายในท่ีนี้ คือ แนวคิดใช้ธรรมะเป็นสาคญั ไม่วา่ จะเป็นระบบ หรือตัวผู้บริหาร กจ็ าเปน็ ตอ้ งมีธรรมนา การบรหิ ารจัดการท้ังส้ิน พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โฺ ต) ได้ให้ความหมายของธรรมาธิปไตยไว้ว่า คือการ จะตดั สนิ ใจทาส่ิงใดสง่ิ หนงึ่ ลงไปใหย้ ึดหลกั ความจริง ความถูกต้องเป็นสาคัญ ธรรมาธิปไตย ไม่ใช่ระบบ การเมืองการปกครอง แต่เป็นแนวความคดิ ทถ่ี ือหลักความถูกตอ้ ง ความยุติธรรมเป็นหลักในการปกครอง จดั การบ้านเมอื งให้มีความเจริญก้าวหน้า มน่ั คง สร้างความสามัคคีปรองดองคนในชาติและเป็นท่ียอมรับ ของคนทกุ ฝ่าย และนอกจากน้ที า่ นพระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต) (2549) ท่านยังได้มีทัศนะเพ่ิมเติมไว้ วา่ ธรรมาธปิ ไตยเป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจของบคุ คลทอ่ี ยู่ร่วมกันในระบบการปกครองต่าง ๆ เน่ืองจาก บุคคลทุกคนไม่ว่าจะเปน็ ผู้ปกครองก็ตาม ต่างก็มีอานาจในการตัดสินใจในทางการเมืองการปกครอง เพราะฉะน้ัน หากจะตอ้ งมีการตัดสนิ ใจในเรื่องใด ๆ ในทางการเมืองการปกครอง ทั้งผู้ปกครองและผู้ถูก ปกครองกต็ ้องคานึงถงึ เร่ืองความถกู ต้องดีงามหรอื ความเป็นธรรม ความสาคญั ของธรรมาธปิ ไตย คือ “หลักธรรมาธิปไตย จึงมีความสาคัญท้ังในแง่ของการเป็น หลกั ธรรมทสี่ าคญั ในแงข่ องการปฏบิ ตั ิหรือปรบั ประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั และในแง่ของการบริหารและ การปกครอง” (พระอุดมสิทธินายก, 2561) “หากจะสกั การะพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยสักการะ ดนตรี หรอื สงิ่ อ่ืนใด จะมากหรือย่ิงใหญเ่ พยี งใด ก็ยังไม่ชื่อว่าเคารพสักการะพระองค์ได้ การเคารพหลักการที่ แท้จรงิ จะต้องปรารภธรรมเป็นใหญ่ ถอื ธรรมเปน็ ใหญ่ กล่าวคือธรรมาธิปไตย ปฏบิ ตั ติ ามคาสั่งสอน ปฏิบัติ ตามธร รม จึงจะชื่อว่าเคาร พสักการะพร ะสัมมา สัมพุทธเจ้าอย่างแท้จริง ซึ่งโดยนัยนี้นั้น ในหลัก พระพุทธศาสนานนั้ ไดแ้ บง่ การบชู าออกเปน็ 2 ประการ คือ (1) อามสิ บูชา การบูชาด้วยส่ิงของ และ (2) ปฏปิ ตตฺ บิ ูชา การบชู าดว้ ยการปฏิบตั ติ าม (มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, 2539) ในการบชู าท้ังสองประการ นี้ พระพทุ ธองคท์ รงยกย่องการบชู าด้วยการปฏิบตั ิตามว่าเปน็ ยอดของการบูชาท้ังหลาย ดังน้ัน หากบุคคล

100: Mahachulagajasara Journal Vol.12 No.1 (January-June 2021) นบั ถือผูใ้ ดวา่ เปน็ ต้นแบบ บคุ คลน้ันไม่ควรเพยี งแคก่ ารสรรเสริญเยินยอด้วยกายและวาจาเท่าน้ัน แต่หาก ตอ้ งดาเนนิ ชีวิตตามที่บคุ คลที่คนเองให้การเคารพนับถือ มาเปน็ แบบอย่างทางเดินใหก้ บั ชวี ิตของตนเอง ในประเด็นทกี่ ลา่ วมานี้ พระอุดมสิทธนิ ายก (2561) ไดท้ าการสรปุ วิเคราะห์ไว้ว่า ธรรมาธิปไตยที่ ปรากฏในพระไตรปิฎกมี 2 นัย คือ โดยตรง และโดยอ้อม ปรากฏโดยตรงคือ พระพุทธเจ้าตรัสถึง ธรรมาธิปไตยโดยตรงวา่ “นีเ้ รียกวา่ ธรรมาธิปไตย” นี้ชื่อวา่ โดยตรง เชน่ ท่ีปรากฏในองั คุตตรนกิ าย ติกนิบาต โดยธรรมาธิปไตย เป็นหน่งึ ในอธปิ ไตย 3 ประการ สว่ นโดยอ้อม วิเคราะหจ์ ากความหมายของธรรมาธิปไตย ซง่ึ หมายถงึ การถอื ธรรมเป็นใหญ่ยดึ เอาธรรม ความถูกตอ้ ง ชอบธรรม เป็นใหญ่ ในการดารงชีวิต ในการ ปฏิบัติ หรอื ในการบรหิ าร ซง่ึ กห็ มายความวา่ หากผ้ใู ดเป็นผ้ทู รงธรรม ปฏิบัตธิ รรมสมควรแก่ธรรม ถือธรรม เป็นใหญ่ ผู้น้นั มีธรรมาธิปไตย นนั่ เอง สว่ นที่ปรากฏในธรรมราชาสตู รปรากฏโดยนัยของการปกครอง รปู แบบการปกครองไทยในยุครัตนโกสนิ ทร์ ในบทความฉบับน้ี ผเู้ ขียนขอนาเสนอในรัชสมัยราช กาลท่ี 6 ถงึ รัชสมยั ราชกาลที่ 10 ซึ่งมรี ปู แบบการปกครอง 2 รูปแบบ คือ (1) รูปแบบการปกครองแบบ ระบอบสมบูรณาญาสทิ ธิราชย์ ในระหว่างรัชสมัยราชกาลท่ี 1 ถึง รัชสมัยราชกาลท่ี 6 (2) รูปแบบการ ปกครองแบบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ เ์ ปน็ ประมุข ซง่ึ อยใู่ นชว่ งรัชสมัยราชการที่ 7 ถึง รัช สมยั ราชกาลที่ 10 ซึ่งเหตกุ ารณ์การเปล่ยี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็น ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขน้ัน เกิดขึ้น “เม่ือวันท่ี 2 4 มิถนุ ายน พ.ศ. 2475 ไดม้ กี ลุ่มบคุ คลทเี่ รยี กวา่ คณะราษฎร ได้ปฏิวัตเิ ปลย่ี นแปลงรปู แบบการปกครอง จาก สมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยม์ าเปน็ ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เป็นเหตุการณ์ที่ สร้า งความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการ ปกครองแก่ประเทศไทยอย่างมาก และทา ให้สถาบัน พระมหากษตั ริยท์ ่เี คยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานตอ้ งสูญเสยี อานาจสว่ นใหญ่ไปในท่ีสุด โดย มีการร่างรฐั ธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2475 ข้ึนเป็นรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยอยา่ งถาวรเป็นฉบบั แรก” ดังนนั้ เมื่อต้องการศึกษาถึงรูปแบบการปกครองของประเทศไทยว่ามลี กั ษณะอย่างไรน้ัน ส่ิงที่ควร ตง้ั เป็นประเด็นหลกั เพ่ือศกึ ษาถงึ สาระหรอื แกน่ ของการปกครองน้ัน ควรอย่างย่งิ ทเ่ี ราจะศึกษาโดยผ่านพระ ปฐมบรมราชโองการพระมหากษัตรยิ ์ ในยคุ รัตนโกสินทร์ อนงึ่ ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก หลังจากพราหมณ์ทูลเกล้าฯ ถวาย เครื่องเบญจราช กกุธภัณฑ์ และเครอ่ื งราชูปโภคแล้ว พระมหากษตั รยิ ์จะพระราชทานพระปฐมบรมราชโองการแก่ประชาชน เพ่อื แสดงถงึ พระราชปณิธานในฐานะทรงเปน็ ผู้รบั พระราชภาระแห่งบ้านเมือง พระปฐมบรมราชโองการ นับตั้งแตร่ ัชกาลที่ 1 จนถึงรัชกาลที่ 10 มเี นอื้ ความเปล่ียนแปลงมาตามยุคสมยั ซ่ึงในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรง ให้มีการเพิม่ คาภาษามคธด้วย ในสว่ นของบทความวชิ าการน้ี ผเู้ ขยี นขอนาเสนอในพระปฐมบรมราชโองการรัชสมัยราชกาลท่ี 6 ถงึ รัชสมยั รัชกาลที่ 10 (ประชาชาติธุรกจิ , “พระปฐมบรมราชโองการพระมหากษัตริย์ 10 รัชกาลแห่งกรุง รตั นโกสินทร์ สืบคน้ เม่ือ 25 มิถนุ ายน พ.ศ.2562) แหล่งท่ีมาเทา่ นัน้ ดังมีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี 1. พระปฐมบรมราชโองการ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว รชั กาลท่ี 6 (วันที่ 11 พฤศจกิ ายน พุทธศกั ราช 2453) คาภาษามคธ “อทิ านาห พฺราหฺมณา ราชภาร วหนฺโต พหุโน ชนสสฺ อตถฺ าย หิตาย สุขาย ธมฺเมน สเมน รชฺช กาเรมิ ตุมฺหาก สปริคคฺ หิตาน อปุ ริ ราชก อาณ ปสาเรตฺวา นาโถ หุตฺวา ธมฺมิก รกฺขาวรณคุตฺตี สวิทหามิ วิสฺสฎฐฺ า หตุ ฺวา ยถาสขุ วิหรถ ฯ

วารสารมหาจุฬาคชสาร ปที ่ี 12 ฉบับท่ี 1 (มกราคม-มถิ นุ ายน พ.ศ.2564) : 101 คาแปล “ดกู รพราหมณ์ บัดนี้เราทรงราชภาระครองแผน่ ดินโดยธรรมสม่ำเสมอ เพ่ือประโยชน์เก้ือกูลและ สุขแหง่ มหาชน เราแผร่ าชอาณาเหนือทา่ นทั้งหลายกับโภคสมบัติ เปนท่ีพ่ึงจัดการปกครองรักษาป้องกัน อนั เปนธรรมสืบไป ท่านท้ังหลายจงวางใจอยู่ตามสบาย เทอญ ฯ” 2.พระปฐมบรมราชโองการ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 7 (วนั ท่ี 25 กมุ ภาพนั ธ์ พุทธศักราช 2468) คาภาษามคธ “อทิ านาห พรฺ าหฺมณ ราชภาร วหนฺโต พหโุ น ชนสฺส อตฺถาย หิตาย สุขาย ธมฺเมน สเมน รชฺช กาเร มิ ตมุ ฺหาก สปรคิ คฺ หิตาน อุปริ ราชก อาณ ปสาเรตวฺ า นาโถ หุตฺวา ธมมฺ กิ รกขฺ าวรณคุตฺตี สวทิ หามิ วสิ ฺสฎฺฐา หุตวฺ า ยถาสขุ วิหรถ ฯ คาแปล “ดูกรพราหมณ์ บดั นี้เราทรงราชภาระครองแผน่ ดนิ โดยธรรมสม่ำเสมอ เพื่อประโยชน์เก้ือกูลและ สุขแหง่ มหาชน เราแผ่ราชอาณาเหนอื ทา่ นทัง้ หลายกับโภคสมบัติ เปนท่ีพึ่งจัดการปกครองรั กษาป้องกัน อันเปนธรรมสืบไป ท่านทั้งหลายจงวางใจอย่ตู ามสบาย เทอญ ฯ” 3.พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอฐั มรามาธบิ ดินทร รัชกาลท่ี 8 เสด็จสวรรคตกอ่ นทรงรับพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก 4. พระปฐมบรมราชโองการ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร รัชกาลที่ 9 (วันท่ี 5 พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช 2493) “เราจะครองแผ่นดนิ โดยธรรม เพือ่ ประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” 5.พระปฐมบรมราชโองการพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดศี รีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ รัชกาลที่ 10 (วันที่ 4 พฤษภาคม 2562) “เราจะสืบสาน รกั ษา และต่อยอด และครองแผน่ ดนิ โดยธรรม เพอ่ื ประโยชนส์ ุขแหง่ อาณาราษฎร ตลอดไป” จากปฐมพระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์น้ัน มีปรากฏพระดารัสถึง กลา่ วถึง “ธรรม” ทุกพระองค์ (สังเกตได้จากตัวหนงั สือหนาและเอียง พรอ้ มทัง้ ขดี เสน้ ใต้) นั้นหมายความว่า หลักแห่งการปฏิบตั ิพระราชกรณียกจิ น้ัน พระมหากษัตริยไ์ ทยทุกพระองค์ เน้นท่ีการปฏิบัตพิ ระราชกรณีท่ีมี หลักการแหง่ “ธรรม” คือ ความถกู ต้องเป็นเสาหลกั ของการบริหารรัชกาลแผ่นดนิ และเป็นที่แกนหลักของ การบาเพญ็ พระราชกรณยี กิจน้อยใหญ่ ท้งั นี้ เพอ่ื ประโยชน์แดป่ วงประชา ราษฎร์ ซ่ึงมีลักษณะท่ีสอดคล้อง กบั หลักวถิ ีธรรมในทางพระพทุ ธศาสนา คอื การทาเพอื่ ประโยชน์สขุ แหง่ มหาชนหมูมาก น่ันเอง สมดังพุทธ ดารัสท่ีส่งสมณทูตออกไปเผยแผค่ รัง้ แรก ดังปรากฏในพระวนิ ัยปิฎก มหาวรรค ดงั น้ี “...ภิกษทุ ้ังหลาย พวกเธอจงจาริกไป เพ่ือประโยชน์สุขแก่ชนจานวนมาก เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก เพ่ือประโยชนส์ ุขเก้ือกลู และความสขุ แก่ทวยเทพและมนุษย์... (มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539) จากพุทธพจนด์ งั กล่าวนี้ ยอ่ มเปน็ ทเี่ ด่นชดั กว่า การออกเผยแผ่พทุ ธธรรม หรือการออกนิเทศธรรม ของพระพุทธเจา้ และพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนานนั้ ตง้ั แต่ยคุ ต้นพทุ ธกาล กระท่ังถงึ ปัจจุบันน้ัน มิได้มุ่งหวัง

102: Mahachulagajasara Journal Vol.12 No.1 (January-June 2021) เพยี งแค่จากดั ในตัวบคุ คล หรือสถานที่ แต่มุ่งหวังเพ่ือก่อให้เกิดประโยชน์ และความสุขมหาชนหมู่บ้าน ดังน้นั เพอ่ื ให้วถิ ธี รรมที่วา่ ด้วย “หลกั ธรรมาธิปไตย” ได้ปรากฏเด่นชัดข้ึน หลักของพุทธธรรมซึ่งถือเป็น หัวใจสาคัญ หรือเป็นแผนแมบ่ ทของการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนานนั่ คอื ปาตโิ มกข์ ปาตโิ มกข์: แผนแมบ่ ทของวถิ ีพทุ ธธรรมสู่การปกครองทีย่ ง่ั ยนื (1) หลักการของ โอวาทปาติโม กข์ : โอวาทปาติโมกข์น้ีเป็น หลักคาสอนสา คัญของ พระพุทธศาสนา เป็น \"ปาตโิ มกข์\" ท่ีพระพทุ ธองคท์ รงแสดงตลอดปฐมโพธิกาล คือ 20 พรรษาแรก เฉพาะ ครง้ั แรกในวันเพญ็ เดือนมาฆะ (เดอื น 3) หลงั จากตรสั รแู้ ลว้ 9 เดือน เปน็ การแสดงปาตโิ มกข์ที่ประกอบด้วย องค์ 4 เรยี กวา่ จาตรุ งคสนั ติบาต ซ่งึ มีเพียงครั้งเดียวในพระศาสนาของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่งๆ หรือจะ เรยี กวา่ เป็นการประกาศตงั้ ศาสนาก็ได้ (อรรถกถาแสดงไวว้ า่ พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดง \"โอวาทปาติโมกข์\" น้ี ดว้ ยพระองค์เอง ท่ามกลางที่ประชมุ สงฆ์ตลอด 20 พรรษาแรก หลังจากน้ันทรงบัญญัติให้พระสงฆ์แสดง \"อาณาปาตโิ มกข์ แทน) (2). ความหมาย: ในคานิยามความหมายของคาวา่ “โอวาทปาตโิ มกข์ นน้ั ในคัมภีร์ชั้นอรรถกถา ของพระสุตตนั ตปฎิ ก พระอรรถกถาจารย์ ได้ใหค้ วามหมายไว้วา่ “บทว่า ปาติโมกข์ แยกศัพท์เป็น ป+อติ+ โมกขฺ แปลวา่ การพ้นทวั่ ยงิ่ คือ ศีลสูงสุด ย่อมรกั ษาด้วยความวิเศษคอื สคุ ติ และย่อมให้พ้นจากภัยคือทุคติ หรือย่อมรักษาพ้นให้ทุคติ เพรา ะฉะนั้น ศีลน้ัน ท่าน เรียกว่า ปาติโมกข์ ผู้สารวมปาติโมกข์น้ัน ” (พระไตรปฎิ กภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม 13 ขอ้ 54 หน้า 162) และพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้ให้ความหมายไวว้ ่า “โอวาทปาติโมกข์ แปลว่า โอวาท หรือคากล่าวสอนที่เป็นหลักเป็น ประธาน อย่างทเ่ี รียกว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เปน็ หลักสาคัญใหย้ ึดถือปฏบิ ัติกัน ” (พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยตุ โฺ ต), 2539) ซึ่งมีความสอดคล้องกับ เจษฎาภรณ์ รอดภยั ท่ไี ดศ้ กึ ษาและสรุปผลการศึกษาวิจัยว่า “โอวาทปาตโิ มกข์ คอื ปาติโมกข์ท่เี ป็นโอวาท กลา่ วคือ สิง่ ท่ีเปน็ หลักเปน็ ประธานในดา้ นคากล่าวสอน หรือ หลักการโดยสรุปของพทุ ธศาสนา มที ง้ั คาสอนและหลักการปกครองคณะสงฆ์ ไดป้ ระกาศหลักอันเป็นหัวใจ สาคญั ของพระพทุ ธศาสนา วธิ ีการการประกาศพร้อมทัง้ จรรยาบรรณของนักเผยแผ่ ทั้งน้ี เพ่ือให้เกิดความ เป็นเอกภาพรว่ มกนั ในการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา และเพ่ือความหลุดพ้นจากทุกข์ท้ังปวง ” (เจษฎาภรณ์ รอดภยั , 2557) (3) ความสาคญั : กิตติ กนั ภัย ไดก้ ล่าวว่า “นยั ของการสอื่ สารในปาติโมกข์จากพระพุทธวัจนะมี ความชัดเจนมากว่ามคี วามสาคัญในฐานะท่เี ป็นเครื่องมือ (Apparatus) รอ้ ยสมาชิกกลุ่มสังคมเข้าไว้ด้วยกัน ใหเ้ กิดความเปน็ ปึกแผน่ หากปราศจากการวางกฎระเบียบ บรรทัดฐาน (สกิ ขาบท) และถ่ายทอดการสื่อสาร อยา่ งต่อเนอ่ื งและเคร่งครดั (ปาตโิ มกข)์ แลว้ กลุม่ สงั คมและสถาบันกไ็ มอ่ าจจะดารงอย่ไู ดน้ าน เพราะขาดส่ิง ยดึ โยงเม่ือเวลาผ่านไปและเมือ่ มีสมาชิกใหม่เขา้ มาสูก่ ลุ่ม” (กิตติ กันภยั , 2547) (4) พฒั นาการ: ภิกขุปาติโมกขใ์ นพระพทุ ธศาสนาเถรวาท พบวา่ มกี าเนดิ และพัฒนาการเริ่มต้ังแต่ พระพุทธเจ้าวปิ ัสสี พระองค์ได้ทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ 6 เดอื นตอ่ หน่งึ เดือน แต่การบัญญัติสิกขาบทยัง ไมม่ กี ารบญั ญัติ การทาอุโบสถก็ทาในท่ีแห่งเดียวเท่าน้ัน คือ ในอุทยานเขมมฤคทายวัน ต่อมาถึงสมัย พุทธกาลจึงไดม้ กี ารบญั ญตั ภิ กิ ขุปาตโิ มกขไ์ ว้ และทรงแสดงเพยี งครั้งเดียวต่อต่อจากน้ัน ก็ทรงให้สาวกเป็นผู้ แสดง ภิกขุปาตโิ มกขใ์ นพระพทุ ธศาสนา คอื ข้อวินัยของพระภกิ ขุ คาวา่ ภิกขุปาติโมกข์ หมายถึง สิกขาบท ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรงบญั ญัตแิ ก่ภิกษทุ ง้ั หลาย หรอื ศลี ของภกิ ษสุ งฆ์ ซง่ึ ทาให้บุคคลผู้รักษา คุ้มครองศีลดีแล้ว ยอ่ มไม่ตกไปสู่อบาย ความสาคัญของภิกขุปาตโิ มกข์ คือ มีความสาคญั ตอ่ ความเป็นอยู่ของพระภิกษุ ทาให้

วารสารมหาจฬุ าคชสาร ปที ่ี 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน พ.ศ.2564) : 103 พระภิกษุไดร้ ะลึกถงึ ศีลของตน อันจากเป็นประโยชน์ต่อพระภิกษุให้ได้ศึกษาทบทวนพระวินัยท่ีเป็นหลัก ปฏิบตั ิ ประเภทของปาติโมกข์มี 2 ประเภท คอื โอวาทปาติโมกข์ และ อาณาปาติโมกข์ เนื้อหาเกี่ยวกับศีล ของภิกษุ และภกิ ษณุ ี การปรับอาบัติ บทลงโทษ และอานิสงส์ของการเข้าร่วมสังฆกรรมการสวดและฟัง ภกิ ขปุ าตโิ มกข์ (พระบุญเกดิ อทิ ฺธมิ ุตโฺ ต, 2559) ในมติ ขิ องการพัฒนาการนั้น กติ ติ กันภยั ได้ระบไุ ว้ว่า “ในการบัญญัติสิกขาบทหรือกฎเกณฑ์ท่ีพึง ปฏิบัติไมพ่ ึงละเมดิ นัน้ พระพทุ ธองค์ทรงรอเวลาเมอ่ื เกิดคณะสงฆ์เปน็ หมูใ่ หญ่เพราะมีภิกษุบวชนาน เพราะ แพรห่ ลาย เพราะมีลาภสักการะ และเพราะความเป็นพหุสตู ร ทาใหเ้ ร่ิมมผี ู้กระทาความผิดและส่ิงที่ไม่ควร ” กิตติ กันภยั , 2547) “จงรอไปกอ่ นเถดิ สารบี ุตร จงรอไปก่อนเกดิ สารีบตุ ร ตถาคตรู้เวลาในเรื่องที่จะบัญญัติ สิกขาบทน้นั ศาสดาจะไมย่ ังบัญญตั ิสกิ ขาบทนัน้ ศาสดาจะยังไมบ่ ญั ญัติสกิ ขาบทแก่สาวก ไม่ยกปาติโมกข์ ขน้ึ แสดง เมื่อเกิดอาสวัฏฐานยิ ธรรม (ธรรมท่เี ป็นต้งั อาสวะ ความช่วั ต่างๆ) บางอย่างในสงฆ์ ตถาคตจึงจะ บัญญัตสิ กิ ขาบท จะยกปาตโิ มกข์ขึ้นแสดงแก่สาวกเพ่อื ขจัดอาสวฏั ฐานยิ ธรรม” (กิตติ กนั ภัย, 2547) (5) หลักการนิเทศธรรมในปาติโม กข์พระพุทธศาสน ามีหลักคาสอนที่เป็นสากล คือ ห้า ม พทุ ธศาสนกิ ชนกระทาส่ิงที่สากลมองว่าไม่ดี หรือเป็นอกุศลกรรม “คอื ความเปน็ สากล เปน็ สากลทั้งความคิด และการปฏบิ ตั ิ เหมอื นอยา่ งทเี่ ป็นสายกลางท้งั ความคิด และการปฏิบัติ” (พระพรหมคณุ าภรณ์, 2558) 1) สพฺพปาปสสฺ อกรณ การไม่ทาบาปทัง้ ปวง 2) กุสลสปู สมฺปทนา การทากุศลให้ถงึ พรอ้ ม 3) สจิตตฺ ปรโิ ยทปน การชาระจิตของตนใหข้ าวรอบ (6) หลกั อดุ มการณเ์ พ่อื นิเทศธรรมในปาติโมกข์:พระพุทธเจ้าได้ตรัสอุดมการณ์อันสูงสุดของ พระพทุ ธศาสนา เพือ่ ใหพ้ ระภิกษุในพระพุทธศาสนาได้ยึดมั่นเป็นอุดมการณ์อย่างหนักแน่นและม่ันคง สาหรับยึดเปน็ หลักชยั ในการเผยแพรพ่ ุทธธรรม ทัง้ น้ีเพือ่ ใหม้ คี วามแตกต่างจากศาสนกิ ของศาสนาอ่ืน ๆ ซึ่ง มีการเผยแพศ่ าสนธรรมในภาคพ้ืนชมพูทวีปดว้ ยเหมือนกัน อุดมการณ์ 4 ข้อของนักเผยแผ่ศาสนธรรมใน พระปาตโิ มกข์ มดี ังน้ี 1) ขนฺตี ปรม ตโป ตีติกขฺ า ขันติ คอื ความอดกลน้ั เปน็ ธรรม เคร่ืองเผากิเลศอย่างย่ิง หมายถึง ความอดทนอดกลน้ั น้ี เป็นธรรมท่นี ักบวชในพระพทุ ธศาสนานพ้ี งึ ยึดถอื และเป็นส่ิงที่ต้องใช้เมื่ อประสบกับ สง่ิ ท่ีไม่ชอบใจทกุ อยา่ งท่ตี อ้ งเจอในชวี ิตนักบวช เชน่ ประสงค์ร้อนได้เย็น ประสงค์เย็นไดร้ ้อน 2) นิพฺพาน ปรม วทนฺติ พุทฺธา ผูร้ ู้ทั้งหลายกล่าวพระนิพพานว่าเปน็ ธรรมอันยิ่ง หมายถึง การมุ่ง ให้ถึงพระนพิ พานเปน็ เป้าหมายหลกั ของผ้อู อกบวช มใิ ช่สิ่งอน่ื นอกจากพระนพิ พาน 3) น หิ ปพพฺ ชโิ ต ปรูปฆาตี ผู้กาจัดสัตว์อน่ื ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิตเลย หมายถึง พระภิกษุ และ บรรพชิตในพระธรรมวนิ ัยน้ี (เช่น ภกิ ษุณี สามเณร สามเณรี สิกขามานา) ไม่พึงทาผอู้ น่ื ให้ลาบากด้วยการทา ความทกุ ขก์ ายหรอื ทกุ ข์ทางใจไมว่ า่ จะในกรณใี ด ๆ 4) สมโณ โหติ ปร วเิ หฐยนโฺ ต ผทู้ าลายสัตว์อื่นให้ลาบากอยู่ ไม่ช่ือว่าเป็นสมณะเลย หมายถึง พระภิกษุตลอดจนบรรพชติ ในพระธรรมวนิ ัยน้ตี ้องขอ ฉ.วธิ ีการนเิ ทศธรรรมในปาตโิ มกข์: วิธีการหรอื เทคนคิ ของพระธรรมทตู หรือผู้ออกนิเทศธรรมถือ เป็นกลยุทธ์ พระภกิ ษุทีอ่ อกเผยแพร่พระพุทธศาสนาซ่ึงมีเป็นจานวนมาก ทาให้มีวิธีการเผยแพร่ท่ีไม่ เหมอื นกนั ดงั นนั้ เพื่อใหเ้ ป็นแบบฉบบั เดียวกัน และถูกต้องตามพุทธประสงค์ พระพุทธองค์จึงทรงวาง วธิ ีการเผยแพรเ่ อาไว้ 6 ข้อ ดงั นี้

104: Mahachulagajasara Journal Vol.12 No.1 (January-June 2021) 1) อนปู วาโท การไมพ่ ูดร้าย หมายถึง การเผยแพรศ่ าสนาด้วยการไม่กล่าวร้ายโจมตีดูถูกความ เชอื่ ผู้อ่นื 2) อนปู ฆาโต การไม่ทารา้ ย หมายถึง การเผยแพร่ศาสนาด้วยการไม่ใช่กาลังบังคับขมขู่ด้วย วธิ กี ารตา่ ง ๆ 3) ปาตโิ มกฺเข จ สวโร การสารวมในปาตโิ มกข์ หมายถึง รกั ษาความประพฤติใหน้ า่ เล่อื มใส่ 4) มตตฺ ญจฺ ภตตฺ สฺสมึ ความเป็นผูร้ ู้ประมาณในการบริโภค หมายถึง เสพปัจจัยสี่อย่างรู้ประมาณ เพียงพอ 5) ปนฺตญฺจ สยนาสน การนอน การน่งั ในทอี่ ันสงัด หมายถงึ สนั โดษ ไม่คลกุ คลีดว้ ยหมคู่ ณะ 6) อธิจิตเฺ ต จ อาโยโค ความหมั่นประกอบในการทาจติ ใหย้ ิ่ง หมายถึง พัฒนาจิตใจเสมอ มิใช่เอา แตส่ อน แตต่ อนเองไมก่ ระทาตามทส่ี อน สาหรบั หลกั การ 3 ถือไดว้ า่ เป็นหวั ใจของพระพุทธศาสนา เป็นการสอนหลักในการดาเนินชีวิตท่ี ถกู ตอ้ งแก่พทุ ธศาสนิกชน ส่วนอดุ มการณ์ 4 และวธิ กี าร 6 นนั้ อาจจะเรียกได้ว่าเป็นหลักครูหรือหลักของ ผู้สอน คอื วธิ ีการทจี่ ะนาไปปรบั ปรุงตวั ให้เปน็ กลั ยาณมิตรทัง้ ต่อตนเองและผู้อื่น ซึ่งผู้ใดปฏิบัติได้นอกจาก จะเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ีแล้ว ยังจะชว่ ยเผยแพรพ่ ระศาสนาใหเ้ ป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพอีกดว้ ย วิเคราะหป์ าติโมกขก์ ับปฐมบรมราชโองการของรชั กาลท่ี 6 ถงึ ราชกาลท่ี 10 1) หลักการ: หลกั การทีเ่ ด่นชดั ระหวา่ งหลกั พุทธธรรมซงึ่ มีปาติโมกข์เป็นแผนแม่บท กับปฐมราชโองการของ พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยทกุ พระองค์น้ัน คือ (1) เน้นที่ห้ามไม่ให้กระทาสิ่งไม่ดี (สพฺพ ปาปสฺส อกรณ) ใน ประเดน็ น้ี มุ่งเนน้ การกระทาทหี่ ้ามปราบ กระทากจิ บา้ นเมืองในทางที่ไม่ดี อันก่อให้เกิดความผิดพลาดใน การบรหิ ารกิจการบ้านเมืองอันผิดหลกั หรือตรงกนั ข้ามกับหลกั ธรรมาภบิ าล ดงั นนั้ พระมหากษัตริย์ไทยทุก พระองค์ ทรงมีหลักธรรมาภิบาลเปน็ ตัวตั้งในการบริหารกิจการบ้านเมือง มุ่งความปกติสุขของประชา ราษฏร์ และมงุ่ กาจัดผูไ้ ม่ดี และสง่ เสริมคนดใี ห้มีโอกาสในการบรหิ ารงาน ยกตัวอย่างพระบรมราโชวาทของ รัชการท่ี 9 เมื่อคร้ังเสดจ็ ในพธิ ีเปดิ งานชมุ นุมลกู เสอื แหง่ ชาติ ณ คา่ ยลกู เสอื วชิราวธุ จังหวัดชลบุรี เมื่อวันท่ี 11 ธนั วาคม 2512 ดังมีใจความดงั น้ี “ในบา้ นเมืองน้นั มีทง้ั คนดแี ละคนไม่ดี ไม่มีใครท่ีจะทาให้คนเป็นคนดี ไดท้ ง้ั หมด การทาใหบ้ า้ นเมอื งมีความปกตสิ ขุ เรียบร้อย จงึ มใิ ช่การทาให้ทุกคนเป็นคนดี หากแต่อยู่ท่ีการ สง่ เสริมความดี ให้คนดปี กครองบ้านเมอื ง และคมุ คนไม่ดี ไมใ่ หม้ ีอานาจไม่ใหก้ ่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้” (2) ประพฤตแิ ต่สิง่ ดี (กุสลสปู สมฺปทา) นน่ั คอื ปฏิบัติตามหนา้ ที่ เพราะหน้าทโ่ี ดยนัยอีกประการหนึ่งในทาง พระพุทธศาสนา กค็ อื ธรรมะ น้นั เอง และประการสดุ ทา้ ย คือ (3) ยึดม่ันในการทาจติ ให้บริสุทธิ์ (สจิตฺตปริ โยทปน) ซ่ึงหลักการดงั กล่าวนี้ตรงกับหลักธรรมฐิติ คือ ผู้ปกครองรัฐจะต้องยึดม่ันในธรรม ยึดเอาความ ถูกต้องชอบธรรม ธรรมเปน็ ใหญ่ในการใช้อานาจปกครองรัฐ ซงึ่ หมายถึง การใช้อานาจบริหารประเทศท่ี ชอบธรรม ตรงกับหลกั ธรรมาภิบาลคอื หลักคณุ ธรรม หลกั ความโปรง่ ใส่ 2) อุดมการณ์: การทจี่ ะกระทาภารกจิ น้อยใหญใ่ หส้ าเร็จโดยประการทงั้ ปวงน้นั ส่งิ ทท่ี าให้คนเรามีความแตกต่าง กัน นน้ั ก็คอื อดุ มการณ์ ซึ่งเปน็ หลกั การท่วี างระเบยี บไวเ้ ป็นแนวปฏิบัติเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ (พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.2554, 2556) ซงึ่ เมื่อนาเอาหลกั อุดมการณท์ ัง้ 4 ข้อในปาติโมกข์ กบั หลกั ของปฐมราชโองการของพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์มาเปรียบเทียบ ก็จะพบได้ว่า แก่น

วารสารมหาจฬุ าคชสาร ปที ี่ 12 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม-มถิ ุนายน พ.ศ.2564) : 105 อดุ มการณ์ในการทีจ่ ะทางานนอ้ ยใหญ่ให้สาเรจ็ ดงั ประสงคน์ ั้น จะต้องประกอบไปด้วย ( 1) ความอดทน คือ อดทนต่อสภาวะความลาบากทงั้ ทางรา่ งกายและจติ ใจ ซ่ึงความอดทนนี้เองจัดเป็นธรรมที่ทาให้คนเรามี ความสงบเสงย่ี ม และสง่างามในท่ามกลางมหาชน โดยเฉพาะอย่างย่งิ ความอดทนต่อโลกธรรมท้ัง 8 ได้แก่ ได้ลาภ-เสอื่ มลาภ ได้ยศ-เส่อื มยศ ได้รับสรรเสรญิ -ได้รับนนิ ทา และไดร้ บั สขุ -ไดร้ บั ทุกข์ เป็นของคู่กัน ความ อดทนนี้เปน็ ปราการด่านแรกทผี่ ู้นาทุกคนตอ้ งนามาใช้ พระพทุ ธองค์จงึ ตรัสวา่ “ขนตฺ ี ปรม ตโป ตีติกฺขา ซึ่ง แปลว่า ความอดทน เป็นตบะอย่างยง่ิ ” (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบบั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย เล่ม 10 ข้อ 90 หนา้ 50-51) (2) ความสงบสนั ติสขุ (นพิ พาน) คือยอดแห่งธรรม น่ันหมายความว่า ความสุข สงบ สันติ ของมหาชนหมูม่ าก หรอื ของปวงอาณาประชาราษฎร์นั้น จัดเป็นสุดยอดแห่งการบาเพ็ญพระราช กรณียกจิ ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยทุกพระองค์ คือ การบาบดั ทุกข์ บารงุ สุขของอาณาประชาราษฎร์ ( 3) การ เป็นผนู้ าทแ่ี ท้จรงิ หรือการเป็นบรรพชติ ทแี่ ทจ้ ริงนน้ั ตอ้ งไม่ก่อการเบียดเบยี น หรอื รุกรานใคร ทั้งทางกาย และทางวาจา (4) การเปน็ ผนู้ าผทู้ รงธรรม หรอื การเปน็ สมณะทแ่ี ทจ้ ริงน้ัน ต้องเป็นผู้สงบ หรือไม่กระทา การอันใด อนั สง่ ผลให้คนอ่นื ปราศจากสันตสิ ขุ ทัง้ ทางกายและทางวาจา 3) วิธกี าร: สาหรับวธิ ีการทเ่ี ป็นเสมอื นวถิ ธี รรม (Dhamma Way) ทป่ี รากฏเด่นชดั ในปฐมบรมราชโองการนั้น หากเรานามาเปรยี บเทยี บแล้ว ย่อมเห็นในเชงิ ประจกั ษไ์ ดว้ า่ วธิ ีการท้ัง 6 ข้อ หรือวิถีธรรมน้ัน จัดได้ว่ามี ความสอดคลอ้ งกันอย่างชดั เจน คือ (1) การเปน็ ผู้นาที่ดตี อ้ งไม่กล่าววาจาอันประทุษร้ายใคร (อนูปวาโท) (2) การเปน็ ผู้นาที่ดีต้องไม่ทารา้ ยใครให้ลาบาก (อนูปฆาโต) (3) การเป็นผนู้ าท่ีดีนั้นต้องยึดมั่นในหลักการ หรอื หลักนติ ธิ รรม อนั จัดเป็นจรรยาบรรณ หรอื เป็นแม่บทของความประพฤติซึ่งทุกอาชีพต้องมีเป็นของ ตนเอง ซ่ึงหลกั การดังกล่าวนี้สามารถเรยี กอีกอย่างวา่ “ธรรมนติ ิ” คอื ผ้ปู กครองจะตอ้ งเข้าสู่อานาจของการ ปกครองรัฐด้วยระบบที่เป็นธรรม ถูกต้องชอบธรรม และสรา้ งระบบและกฎหมายในการปกครองรัฐท่ีชอบ ธรรม ไม่เออื้ ประโยชน์ต่อฝา่ ยใดฝ่ายหนงึ่ ซงึ่ หมายถึง การใช้อานาจนิติบัญญตั ทิ ่ีชอบธรรม ตรงกับหลักธรร มาภิบาลคอื หลักนติ ธิ รรม (4) การเป็นผู้นาท่ีดีนัน้ ตอ้ งยึดหลกั ประหยัดเป็นที่ตั้ง แต่ต้องมีประโยชน์สูง สุด นน่ั คือหลกั แหง่ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ซง่ึ เปน็ การพัฒนาทีย่ ่ังยืน ตามศาสตร์แห่งพระราชา ที่มีปรากฏเด่นชัดใน รัชสมยั ของราชกาลท่ี 9 (5) การเปน็ ผนู้ าทด่ี นี ั้นตอ้ งรู้จกั สถานทคี่ วรไปและไมค่ วรไป คอื การวางตนสมควร แก่ฐานะ และ (6) ประการสดุ ทา้ ยก็คือ การเป็นผูน้ าทดี่ นี ้นั ต้องยึดหลักการฝึกใจของตนเองให้เป็นผู้หนัก แน่นในหลักการทีถ่ กู ต้องชอบธรรม ธรรมเป็นใหญ่ในการใชอ้ านาจปกครองรฐั ซึง่ หมายถึงการใชอ้ านาจการ บรหิ ารประเทศท่ชี อบธรรม ตรงกบั หลกั ธรรมาภบิ าล คอื หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส่ บทสรุป จากที่ไดก้ ล่าวมา เปน็ ท่ีประจักษ์ชดั ว่า พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ ทรงยึดเอาหลักความ ถกู ตอ้ ง คอื “ธรรมาภบิ าล” มาเปน็ แกนกลาง หรือเสาหลกั ในการบริหารราชกาลแผน่ ดนิ ดังปรากฏชัดจาก พระปฐมบรมราชโองการของทกุ รัชกาล ซ่ึงมคี วามสอดรบั กับหลกั ปาตโิ มกข์ ซ่ึงเป็นแผนแม่บทสาหรับการ ปกครองทีย่ งั่ ยืน ตามทศั นะของพระพุทธศาสนา ซง่ึ หลักการดังกล่าวนี้ เปน็ หลกั ชยั ของการบริหารราชการ แผน่ ดิน ที่ส่งผลใหป้ ระเทศชาตมิ คี วามปกตสิ ุข และร่มเย็น ดังน้ัน ถึงแม้การเมืองไทยจะเผชิญกับปัญหา วิกฤตการณม์ าหลายครั้ง แตป่ ระเทศไทยกย็ ังคงมสี ถาบันหลกั ของชาติ คือ สถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นท่ี ยึดเหน่ยี วจิตใจคนไทยท้ังปวง และมหี ลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาเป็นเคร่ืองโฉมจิตใจ เป็นเส้นนาสายตา ในการครองตน ครองคน และครองงานใหส้ าเร็จลลุ ว่ งด้วยดเี สมอมา ดังน้นั หลัก “ธรรมาธปิ ไตย” น้ี จึงเป็น

106: Mahachulagajasara Journal Vol.12 No.1 (January-June 2021) หลักเกณฑ์ในการตัดสนิ ใจของบคุ คลท่ีอยหู่ รือรว่ มอยู่ในระบอบการปกครองน้ัน จึงถือได้วา่ เป็นวาทะธรรมท่ี มีอิทธิพลตอ่ ผู้คนในสังคม โดยเป็นเนอื้ ในหรอื เปน็ คณุ ภาพ และจะพัฒนาประชาธปิ ไตยให้มีคุณภาพ ซ่ึงเป็น สว่ นเสรมิ ให้เกดิ ประชาธิปไตยที่ทาใหใ้ ห้เกิดความยตุ ธิ รรมในสงั คมดงั นน้ั ธรรมาธิปไตย มีความสาคัญในแง่ ของการถอื ปฏิบตั ิ โดยสาคัญในระดบั บคุ คล สงั คมและประเทศชาติ ดังท่ีได้กล่าวแล้วขา้ งต้น ในระดับบุคคล คือ บคุ คลจะตอ้ งประกอบดว้ ยธรรมาธปิ ไตย ยกเอาธรรมและความถูกต้องเป็นใหญ่ในการดารงชีพ เป็น สมณะก็ต้องใหค้ วามสาคญั กบั ธรรมาธิปไตยในการครองเพศสมณะ ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ซ่ึงจะ สามารถประสบความสาเร็จตามที่ผู้บวชมุ่งประสงค์ สาหรับบุคคลธรรมดา ก็ต้องประพฤติธรรมใน ชีวิตประจาวนั ดว้ ยทั้งน้เี พื่อประโยชน์ของการครองชีวิตตามหลักธรรมาภิบาล อันเป็นระบบแนวคิดท่ีเป็น หวั ใจหลกั ของการปกครองทุกระบอบการปกครอง เพราะโดยธรรมชาติของธรรมแล้ว จะรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ ตกไปในทีช่ วั่ ทัง้ ในระดับสังคมและประเทศชาติ ซงึ่ ตา่ งกม็ ุ่งถึงผู้นาหรือผู้ปกครองที่ทรงธรรม ดังน้ัน การ บริหารจดั การดว้ ยธรรม ถอื ธรรม คือความถูกต้องเป็นใหญ่ในการบริหาร คือเม่ือทุกส่วนมีธรรม การ ปกครองนน่ั คอื การปกครองแบบธรรมาธปิ ไตย ซ่ึงสังคมประเทศชาติก็จะเจริญ รุ่งเรือง สงบสันติ เป็น กลายเป็นสังคมในอดุ มคตอิ ยา่ งยงั่ ยนื เอกสารอา้ งอิง มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. กิตติ กันภยั . (2547). นิเทศศาสตร์ในพระไตรปฎิ ก. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เจษฎาภรณ์ รอดภัย. (2557). การศึกษาวิเคราะหห์ ลกั โอวาทปาตโิ มกขใ์ นทศั นะของพระเถระในประเทศ ไทย. (วิทยานพิ นธ์พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต). มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย. ราชบัณฑิต. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑติ ยสถาน. พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2539). ตามทางพทุ ธกจิ . (พิมพค์ รัง้ ที่ 2). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพธ์ รรมสภา. พระบญุ เกดิ อิทธฺ ิมุตโฺ ต. (2559). ภิกขุปาตโิ มกขใ์ นพระพุทธศาสนาเถรวาท. วารสารบัณฑติ ศึกษาปริทรรศน์ , 10(2), 247. พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต). (2549). ธรรมาธิปไตยไม่มา จึงหาประชาธิปไตยไม่เจอ. กรุงเทพฯ: มูลนธิ ิพุทธธรรม. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต). (2558). ลกั ษณะแห่งพระพุทธศาสนา. (พิมพ์คร้ังท่ี 2). กรุงเทพฯ: โรง พมิ พเ์ จรญิ ดมี ่ันคงการพมิ พ์. พระอุดมสิทธินายก. (2561). พุทธธรรมาธิปไตย. วารสาร มจร สงั คมศาสตร์ปริทรรศน,์ 7(2), 240.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook