Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 00รวมไฟล์คล64

00รวมไฟล์คล64

Published by krittima2515, 2021-10-27 02:47:45

Description: 00รวมไฟล์คล64

Search

Read the Text Version

องค์ความรู้ เรอ่ื ง การเบิกจา่ ยเงินสวสั ดกิ ารเกยี่ วกับการรักษาพยาบาล ของ ข้าราชการ ลกู จา้ งประจำ และผรู้ ับบำนาญ จัดทำโดย ฝ่ายตรวจสอบใบสำคัญและวางฎกี า กองคลงั

สารบญั 1 2 บทที่ 1 บทนำ 2 3 1. ความสำคัญและความเป็นมา 4 2. วตั ถุประสงค์ 3. ขอบเขต 4. กฎหมายและระเบยี บทีเ่ กยี่ วข้อง 5. สาระสำคญั ของกฎหมาย บทท่ี 2 การใชส้ ทิ ธิเบิกตามหลกั เกณฑต์ ่างๆ 1. ค่าตรวจสขุ ภาพประจำปี 8 2. การเบิกคา่ รกั ษากรณีมีประกัน 9 3. การเขา้ รับการรกั ษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนเป็นครั้งคราว 13 4. กรณสี ถานพยาบาลส่งผูป้ ่วยไปซอ้ื ยา อปุ กรณ์และอวยั วะเทียม หรือ รบั การตรวจทางหอ้ งทดลอง หรือเอกซเรย์จากสถานที่อ่ืนซ่ึงอยูใ่ นประเทศไทย 13 5. การเบกิ คา่ รกั ษากรณีของการแพทย์แผนไทย 13 6. การเบกิ จ่ายเงินสวัสดกิ ารเกยี่ วกับการรกั ษาพยาบาล 14 - การรับรองสทิ ธิ 15 - ผู้มีอำนาจอนุมัติการเบิกเงินค่ารกั ษาพยาบาลของข้าราชการหรอื ลกู จ้างประจำในสังกัด 15 - การยน่ื ขอเบกิ เงนิ และการขอหนังสือรบั รองฯ 15 - การเบิกเงนิ คา่ รกั ษาพยาบาล (ณ ส่วนราชการเจา้ สงั กดั ) 16 - การเบกิ เงินคา่ รกั ษาพยาบาลดว้ ยระบบจ่ายตรง 17 - การตรวจสอบและการเรยี กคืนเงนิ 17 7. โครงการเบิกจ่ายตรงสวสั ดิการการรกั ษาพยาบาลข้าราชการ 19 8. โครงการเบิกจา่ ยตรงผปู้ ว่ ยลา้ งไต 19 9. โครงการเบิกจ่ายตรงผูป้ ่วยโรคมะเร็ง 20 10.โครงการเบิกจา่ ยตรงค่ารถ REFER 21 11.ระบบการเบิกจา่ ยเงินผู้ปว่ ยในระบบ DRG 21

สารบัญ บทที่ 3 แนวทางการปฏบิ ัติของผูใ้ ชส้ ทิ ธิขอเบกิ จ่ายคา่ รกั ษาพยาบาล 24 1. การเบกิ จ่ายค่ารกั ษาพยาบาล 25 - กรณีท่ี 1 ผู้ป่วยใน 31 • สถานพยาบาลของทางราชการ 33 34 • สถานพยาบาลของเอกชน 35 35 • กรณีผู้ป่วยเจ็บปว่ ยฉุกเฉนิ 36 - กรณีท่ี 2 ผูป้ ว่ ยนอก 36 37 • สถานพยาบาลของทางราชการ 37 2. ตรวจสอบรายการและอัตราท่ีเบิกจา่ ย 37 - คา่ ยา ๓๘ - ประเภทและอปุ กรณ์ในการบำบดั รักษาโรค และอวัยวะเทียม ๓๙ - อัตราค่าบริการสาธารณสขุ เพ่ือการเบิกจ่าย - ค่าห้อง และคา่ อาหาร ๑–๓ 3. ตรวจสอบการเบิกจ่าย ๑–๗ - ตรวจสอบความครบถว้ น - ตรวจสอบความถูกตอ้ ง • สถานพยาบาลของราชการการ (ทง้ั ผปู้ ว่ ยนอกและผปู้ ว่ ยใน) • สถานพยาบาลของเอกชน (กรณีผ้ปู ว่ ยใน) 4. เสนอผมู้ ีอำนาจลงนามเพอ่ื ขออนุมตั ิตามลำดับสายการบังคับบัญชา 5. เมอ่ื ผ้มู ีอำนาจอนุมัตลิ งนามเรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าท่กี ารเงินเบิกเงนิ ให้กับ ผขู้ อรับเงนิ สวสั ดกิ ารฯ 6. การจา่ ยเงินให้กบั ผูข้ อรับเงนิ สวัสดิการฯ ❖ แนวปฏบิ ตั ใิ นกรณที ี่ไม่สามารถปฏิบัตติ ามหลักเกณฑแ์ ละ วิธที ่ีกำหนดได้ ตามข้อ 30 ของหลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าดว้ ยวธิ ีการเบิกจ่ายเงินสวสั ดิการเกย่ี วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 บทสรปุ เอกสารอา้ งอิง ภาคผนวก ภาพ ๑ – ๓ คำถาม – คำตอบ

บทที่ 1 บทนำ 1. ความสำคัญและความเป็นมา ประเทศไทยได้มีการพัฒนาระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลมาอย่างต่อเนื่องตลอดมา สวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลระบบแรกๆ ที่เร่ิมข้ึน ก็คือ ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ โดยมี การประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเก่ียวกับการ รักษาพยาบาล พ.ศ. 2521 ต่อมาได้เปล่ียนเป็น พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการ รักษาพยาบาล พ.ศ. 2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (รวมจำนวน 8 ฉบับ) และใน ปัจจุบันระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการอ้างอิงพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการ รักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 และท่ีแก้ไขเพิม่ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2555 ระบบสวัสดิการลำดับต่อมา ก็คือ ระบบประกันสังคมซึ่งเริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. 2533 โดย อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 มีวัตถุประสงค์ในการคุ้มครองลูกจ้างผู้ประกันตน และกองทนุ สุดท้ายทเี่ ริม่ ก่อต้ังในปี พ.ศ. 2545 เป็นกองทุนทใี่ ห้การดูแลประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ โดยมี หน่วยงานท่ีรับผิดชอบก็คือ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นองค์กรท่ีจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 เพ่ือสานต่อนโยบายรัฐบาลในการสร้างหลักประกันสุขภาพให้ ครอบคลุมประชาชนคนไทยทุกคน เพื่อให้ทุกคนได้รับการบริการท่ีมีคุณภาพตามความจำเป็น อย่างเสมอภาค เท่าเทียมกัน ด้วยระบบบริหารจัดการและการจัดบริการที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงสิทธิของประชาชน ในการเลอื กหนว่ ยบริการของตนเอง รวมถงึ การท่ีผู้ให้บริการมีความสขุ และสมั พนั ธภาพท่ดี กี ับผ้รู บั บริการ จากที่กลา่ วมาขา้ งต้นแสดงให้เห็นได้ว่า ประชาชนคนไทยไมว่ ่าจะมีอาชีพหรอื ไม่ ทุกคนได้รบั การดแู ล ด้านการรักษาพยาบาลจากรัฐไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง หากรับราชการก็มีระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการดูแล หากทำงานในภาคเอกชนก็มีระบบประกันสังคมดูแลหรือหากไม่ทำงานก็มีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ดแู ล จึงอาจกล่าวไดว้ า่ “ไมม่ คี นไทยคนใดไมม่ ีสทิ ธดิ ้านสวสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาลท่ีรัฐจัดให้” ทัง้ น้ี ประชาชนคนไทยท่ีหมายถึงก็คือ คนไทยท่ีมีเลขบัตรประจำตัวประชาชน (13 หลัก) โดย ระบบสวัสดิการในปัจจุบันท้ัง 3 ระบบมีการเชื่อมโยงข้อมูลกันตลอดเวลา โดยใช้เลขบัตรประจำตัวประชาชน เป็นเลขอ้างอิงในการตรวจสอบสิทธิของประชาชนคนไทย เพ่ือแยกแยะผู้มีสิทธิแตล่ ะระบบและป้องกนั ปัญหา สิทธิซ้ำซ้อน ซ่ึงครอบคลุมประชาชนคนไทยเกินร้อยละ 90 ของประชาชนท้ังประเทศ โดยประชาชนส่วนท่ี เหลือก็มีหน่วยงานที่รองรับอยู่ เช่น รัฐวิสาหกิจ องค์กรอิสระ ราชการส่วนท้องถ่ิน เป็นต้น ซึ่งจะมีกฎหมาย เฉพาะของหนว่ ยงานนั้นๆ ทีก่ ำหนดสิทธสิ วสั ดิการใหก้ บั พนักงานหรอื เจ้าหนา้ ทีข่ องตนไว้ จากท่ีกล่าวมาแล้วว่า “คนไทยทุกคนต้องมีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาล 1 สิทธิ” โดยสังเกต ได้ดังนี้ หากบุคคลนั้นทำงานภาคเอกชน (เป็นลูกจ้าง) หรือทำงานในภาคราชการในตำแหน่งลูกจ้างชั่วคราว องค์ความรู้ การเบิกจา่ ยเงนิ สวัสดกิ ารเก่ียวกับการรักษาพยาบาล หนา้ 1

หรือพนักงานราชการ บุคคลกลุ่มนจี้ ะเปน็ “ผู้ประกนั ตนและมีสิทธใิ นระบบประกันสงั คม” หากรบั ราชการหรือ เป็นผู้รับเบ้ียหวัดบำนาญหรือเป็นลูกจ้างประจำจะเป็น “ผู้มีสิทธิในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ซ่ึงรวมทั้งบุคคลในครอบครัวของบุคคลดังกล่าวด้วย” และหากเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานองค์กรอิสระ ขา้ ราชการส่วนท้องถ่ิน ก็จะเปน็ ผู้มีสิทธสิ วสั ดกิ ารรักษาพยาบาลตามระบบนั้นๆ หากคนไทยรายดังกล่าวไม่ใช่บุคคลท่ีกล่าวมาข้างต้นทั้งหมด คนไทยคนน้ันก็จะเป็นผู้มีสิทธิ ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าทันที ทั้งน้ี สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไม่ถือว่าเป็นสิทธิซ้ำซ้อน กับสิทธิอื่นแต่อย่างใด กล่าวคือ หากไม่มีสิทธิด้านสวัสดิการใดๆ แล้ว สามารถขอรับสิทธิหลักประกันสุขภาพ ถว้ นหนา้ ได้ คำถามที่ว่า คนไทย 1 คน มีมากกว่า 1 สิทธิได้หรือไม่ คำตอบคือ ได้ ยกตัวอย่างเช่น นาย ก. เป็นข้าราชการมีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ และไปรับงานรักษาความปลอดภัยในวันหยุด จึงมีสิทธิ ประกันสังคมด้วย ในกรณีนี้ นาย ก. สามารถเลือกได้ว่าจะใช้สิทธิจากระบบสวัสดิการ รักษาพยาบาล ข้าราชการ หรือใช้สิทธิประกันสังคม และหากเลือกใช้สิทธิประกันสังคม นาย ก. จะไม่มีสิทธิสวัสดิการ รักษาพยาบาลข้าราชการตามมาตรา 10 แห่งพระราชกฤษฎีกาเงนิ สวสั ดิการเก่ยี วกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 สำหรับกรณีท่ีบุคคลในครอบครัวมีสิทธิได้รับเงินค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิของตนเองจาก หน่วยงานอ่ืน ผู้มีสิทธิไม่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลสำหรับบุคคลในครอบครัวตาม มาตรา 10 วรรคสอง แห่งพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 เว้นแต่ค่ารักษาพยาบาล ท่ีได้รับนั้นต่ำกว่าเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลที่มีสิทธิจะได้รับตามพระราชกฤษฎีกาน้ี ให้ผู้มีสิทธิ มสี ทิ ธไิ ดร้ ับเงินสวัสดกิ ารเกยี่ วกบั การรกั ษาพยาบาลสำหรบั บุคคลในครอบครวั เฉพาะส่วนท่ีขาดอยู่ได้ หากกรณีที่บุคคลในครอบครัวเป็นผู้อาศัยสิทธิของผู้อ่ืนซึ่งมีสิทธิได้รับเงินค่ารักษาพยาบาล สำหรับบุคคลในครอบครัวจากหน่วยงานอ่ืนในขณะเดียวกัน ก็ให้ผู้มีสิทธิมีสิทธิได้รับเงินสวัสดกิ ารเก่ียวกับการ รักษาพยาบาลสำหรับบุคคลในครอบครัวตามมาตรา 10 วรรคสามแหง่ พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดกิ ารเกย่ี วกับ การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 ได้ ผงั 1 – ผงั 3 2. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ให้ทราบถึงระบบเงนิ สวสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาลของขา้ ราชการ ลกู จา้ งประจำ และผู้รบั บำนาญ 2. เพ่ือให้เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบด้านการปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบสวัสดิการรักษาพยาบาล ข้าราชการ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติงานให้เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เป็นมาตรฐานเดยี วกนั 3. เพ่ือให้การเบิกจ่ายเงินสวัสดิการท่ีรัฐจัดสรรให้เป็นไปด้วยความถูกต้องตามหลักเกณฑแ์ ละ วธิ ปี ฏบิ ตั ิ และใชเ้ ป็นเอกสารอา้ งองิ ในการปฏบิ ัตงิ าน 3. ขอบเขต อ้างอิงตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรกั ษาพยาบาล พ.ศ. 2553 และทีแ่ ก้ไข เพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. 2555 และหลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วยวิธีการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเก่ียวกับ การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 รวมถึงหนงั สือเวียนตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง องค์ความรู้ การเบกิ จา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารเกย่ี วกับการรักษาพยาบาล หน้า 2

4. กฎหมายและระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง 4.1 พระราชบัญญัติการกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจ่ายเงินบางประเภทตามงบประมาณ รายจ่าย พ.ศ. 2518 มาตรา 3 (6) ไดก้ ำหนดให้การจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินสวสั ดิการจากทางราชการ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกาการจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลนั้นเป็นสวัสดิการจากทางราชการอย่างหน่ึง จึงต้อง ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ฉะนั้นพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลจึงเป็นกฎหมาย ซ่งึ ผู้กำหนดขน้ึ โดยอาศยั อำนาจตามพระราชบัญญตั ดิ งั กล่าว 4.2 พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 และท่ีแก้ไข เพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2555 - พระราชกฤษฎีกาฉบบั นี้ ไดม้ ีการยกเลกิ ฉบับเดมิ รวม 8 ฉบับ โดยให้ยกเลกิ 1. พระราชกฤษฎกี าเงินสวัสดกิ ารเกย่ี วกับการักษาพยาบาล พ.ศ. 2523 2. พระราชกฤษฎีกาเงนิ สวสั ดิการเก่ยี วกบั การกั ษาพยาบาล (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2528 3. พระราชกฤษฎกี าเงินสวสั ดิการเกย่ี วกับการักษาพยาบาล (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2532 4. พระราชกฤษฎีกาเงินสวสั ดิการเกย่ี วกบั การกั ษาพยาบาล (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2533 5. พระราชกฤษฎกี าเงินสวัสดกิ ารเกี่ยวกับการักษาพยาบาล (ฉบบั ที่ 5) พ.ศ. 2534 6. พระราชกฤษฎกี าเงนิ สวสั ดกิ ารเกี่ยวกับการักษาพยาบาล (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2540 7. พระราชกฤษฎีกาเงนิ สวัสดิการเกี่ยวกับการักษาพยาบาล (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2541 8. พระราชกฤษฎีกาเงนิ สวัสดิการเกยี่ วกับการกั ษาพยาบาล (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ. 2545 - พระราชพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกีย่ วกับการักษาพยาบาล (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2555 ➢ ส่วนท่ีแก้ไข : การเขา้ รับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชน (มาตรา 8 (3)) เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 คอื เพ่ือให้สอดคล้องกับการให้บริการทางการแพทย์และระบบประกนั สุขภาพอ่นื และเพ่ือพัฒนา ระบบสวัสดิการเก่ียวกับการักษาพยาบาลของรัฐ โดยขยายสิทธิให้ได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการ รักษาพยาบาลในการเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนให้กว้างข้ึนและกำหนดให้ การ เสริมสร้างสุขภาพและการป้องกันโรคเป็นการรักษาพยาบาลด้วย รวมท้ังกำหนดให้ มีการนำระบบการ เบกิ จ่ายตรงมาใช้กับการเบิกจา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารเก่ยี วกับการรกั ษาพยาบาล อันเป็นการลดขัน้ ตอนการดำเนนิ การ เพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมค่าใช้จ่ายของรัฐ และอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการ เกีย่ วกับการรักษาพยาบาลมากยิ่งขนึ้ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาล (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2555 คือ องคค์ วามรู้ การเบกิ จา่ ยเงินสวสั ดกิ ารเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล หนา้ 3

เพ่ือปรับปรุงสิทธิในการรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลสำหรับการเข้ารับกา ร รักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนของผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาล ทั้งประเภทผู้ป่วยนอกและผปู้ ่วยใน เฉพาะกรณีที่ผูม้ ีสทิ ธหิ รอื บคุ คลในครอบครัวเป็นผ้ปู ่วยฉกุ เฉินตามกฎหมาย วา่ ด้วยการแพทยฉ์ กุ เฉนิ 4.3 หลกั เกณฑก์ ระทรวงการคลงั ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินสวสั ดิการเกย่ี วกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 หลักเกณฑ์นี้ กำหนดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติกำหนดวิธีปฏิบัติของผู้มีสิทธิและส่วน ราชการผเู้ บกิ เงนิ ให้ถือปฏิบตั ิ ให้มผี ลใช้บังคบั ตัง้ แตว่ ันที่ 29 กันยายน 2553 โดยให้ยกเลกิ ระเบยี บฯ 2 ฉบบั คอื 1. ระเบยี บกระทรวงการคลัง วา่ ด้วยการเบิกจ่ายเงินสวสั ดิการเกย่ี วกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2545 2. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2553 ปัจจุบันการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ วธิ ีการท่ีกระทรวงการคลังกำหนดตามหลกั เกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยวิธีการเบิกจ่ายเงินสวสั ดิการเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 และหนังสือเวียนหรือหนังสือซ้อมความเข้าใจวิธีปฏิบัติในการเบิกจ่ายเงิน คา่ รกั ษาพยาบาล ที่กระทรวงการคลงั ออกมาให้ถือปฏิบตั ิ 5. สาระสำคญั ของกฎหมาย คำจำกดั ความ “สวัสดิการ” คือ ผลประโยชน์ที่รัฐจัดให้ ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลง เพ่ิม ลด ได้ตามความ เหมาะสม ซง่ึ ขึน้ อยู่กบั สถานะการเงินการคลังของประเทศไทยในขณะน้นั เช่น ค่ารกั ษาพยาบาล เป็นต้น คำว่า “สวสั ดกิ าร” จะต่างกับ “คา่ ตอบแทน” ตรงที่ สวัสดิการทุกคนต้องใช้สทิ ธิเทา่ เทียมกัน ไม่ว่าจะเป็นข้าราชการ ระดับสูงหรือระดับล่าง แต่ค่าตอบแทนไม่จำเป็นต้องเท่าเทียมกันเพราะเดือดร้อนไม่เท่ากัน เช่น ค่าเช่าบ้าน ข้าราชการระดบั สงู จะไดค้ า่ เช่าบ้านมากกวา่ ขา้ ราชการระดับล่าง “ค่ารกั ษาพยาบาล” หมายความว่า ค่าใชจ้ ่ายท่เี กดิ ข้นึ จากการรักษาพยาบาล ดังตอ่ ไปนี้ (1) ค่ายา ค่าเวชภัณฑ์ ค่าอุปกรณ์ทางการแพทย์ ค่าเลือดและส่วนประกอบของเลือด หรือ สารทดแทน คา่ น้ำยา หรืออาหารทางสายเลือด คา่ ออกซิเจน และอ่ืนๆ ทำนองเดยี วกันท่ีใช้ในการบำบัดรักษาโรค (2) ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค รวมท้ังค่าซ่อมแซมอวัยวะเทียมและ อปุ กรณ์ดังกล่าว (3) ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าบริการทางการพยาบาล ค่าวินิจฉัยโรค ค่าวิเคราะห์โรค แต่ ไมร่ วมถึงค่าธรรมเนียมแพทย์พิเศษ คา่ จ้างผ้พู ยาบาลพเิ ศษ และค่าบรกิ ารอ่ืนในทำนองเดียวกันที่มลี ักษณะเป็น เงินตอบแทนพิเศษ (4) คา่ ตรวจครรภ์ ค่าคลอดบุตรและการดูแลหลงั คลอดบตุ ร (5) ค่าหอ้ งและคา่ อาหาร ตลอดระยะเวลาทเี่ ขา้ รับการรักษาพยาบาล (6) คา่ ใช้จ่ายเพ่อื เป็นการเสรมิ สร้างสขุ ภาพและป้องกันโรค องคค์ วามรู้ การเบกิ จ่ายเงนิ สวัสดกิ ารเกยี่ วกับการรกั ษาพยาบาล หน้า 4

(7) คา่ ฟน้ื ฟูสมรรถภาพรา่ งกายและจติ ใจ (8) คา่ ใชจ้ า่ ยอนื่ ท่จี ำเปน็ แกก่ ารักษาพยาบาลตามท่กี ระทรวงการคลงั กำหนด “สถานพยาบาล” หมายความว่า สถานพยาบาลของทางราชการและสถานพยาบาลของเอกชน “สถานพยาบาลของทางราชการ” หมายความถึง สถานพยาบาลซึ่งเป็นส่วนราชการตาม กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และให้ความหมายถึงสถานพยาบาลของมหาวิทยาลัยของรัฐ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา องค์การมหาชนตาม กฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ กรุงเทพมหานคร สภากาชาดไทย และองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก โรงพยาบาลประสานมิตร และสถานพยาบาลอ่ืนตามท่ี กระทรวงการคลังกำหนด “สถานพยาบาลเอกชน” หมายความถึง สถานพยาบาลที่มีลักษณะการให้บริการเป็น โรงพยาบาล ซึ่งไดร้ ับอนุญาตให้ประกอบกิจการและดำเนนิ การตามกฎหมายว่าดว้ ยสถานพยาบาล “ผู้มสี ิทธิ” (ตามพระราชกฤษฎีกาฯ มาตรา 5 ) หมายความถงึ (1) ข้าราชการ และลูกจ้างประจำซึ่งได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างประจำจากเงินงบประมาณ รายจ่ายหมวดเงินเดอื น และค่าจา้ งประจำของกระทรวง ทบวง กรม (ปจั จุบนั คือ งบบุคลากร) (2) ลูกจ้างชาวต่างประเทศซึ่งมีหนังสือสัญญาจ้างที่ได้รับค่าจ้างจากเงินงบประมาณรายจ่าย และสัญญาจ้างนัน้ มิไดร้ ะบุเกยี่ วกับคา่ รกั ษาพยาบาลไว้ (3) ผู้ได้รับบำนาญปกติหรือผู้ได้รับบำนาญพิเศษ เพราะเหตุทุพพลภาพตามกฎหมายว่าด้วย บำเหน็จบำนาญข้าราชการ หรือกฎหมายว่าด้วยกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ และทหารกองหนุนมีเบี้ย หวดั ตามขอ้ บังคับกระทรวงกลาโหมวา่ ดว้ ยเงินเบยี้ หวัด (ผรู้ ับเงินบำเหน็จ ไมม่ สี ิทธ)ิ “บุคคลในครอบครวั ” หมายความถงึ 1. บุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้มีสิทธิซ่ึงยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือบรรลุนิติภาวะแล้วแต่เป็น คนไร้ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถ (ตามคำสั่งศาล) และอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของผู้มีสิทธิ ท้ังนี้ ไมร่ วมถึงบุตรบุญธรรมหรือบตุ รซง่ึ ได้ยกใหเ้ ป็นบุตรบญุ ธรรมของบุคคลอ่ืน 2. คสู่ มรสทีช่ อบด้วยกฎหมายของผมู้ สี ทิ ธิ 3. บิดามารดาที่ชอบดว้ ยกฎหมายของผู้มสี ิทธิ “ผูป้ ่วยใน” หมายความวา่ ผ้เู ข้ารับการรักษาพยาบาลตอ้ งพกั รักษาตัวในโรงพยาบาล “ผู้ป่วยนอก” หมายความว่า ผู้เข้ารับการรักษาพยาบาลไม่ได้พักค้างในสถานพยาบาล (ตรวจและรับยากลับบา้ นในวันเดียว) ผู้มีสิทธิสามารถนำค่ารักษาพยาบาลของบุคคลในครอบครัว (ผู้อาศัยสิทธิ) มาเบิกเงิน สวัสดิการเก่ียวกับการักษาพยาบาลได้ และบุคคลในครอบครัวของผู้มีสิทธิ ท่ีผู้มีสิทธิสามารถนำค่า รักษาพยาบาลมาเบิกจ่ายเป็นค่ารักษาพยาบาลตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 ได้นั้น ประกอบด้วยบิดา มารดา คู่สมรส และบุตร ซ่ึงต้องเป็นบุคคลในครอบครัวท่ีชอบด้วย องคค์ วามรู้ การเบกิ จา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารเกีย่ วกับการรักษาพยาบาล หน้า 5

กฎหมายด้วย สำหรับคำว่า “ชอบด้วยกฎหมาย” นั้น หมายถึงจะต้องเป็นบุคคลในครอบครัวที่ถูกต้องตาม กฎหมายโดยมหี ลกั ฐานทางราชการรับรองความถกู ตอ้ ง “ฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ” หมายความว่า ข้อมูลของข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ผู้รับ เบี้ยหวัดบำนาญ และลูกจ้างชาวต่างประเทศ รวมถึงบุคคลในครอบครัว เพื่อประโยชน์ในการจัดทำฐานข้อมูล เกีย่ วกับการรกั ษาพยาบาล “นายทะเบียนบุคลากรภาครัฐ” หมายความว่า นายทะเบียนระดับกรม และส่วนภูมิภาคท่ี ได้รับแต่งต้ังจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมในส่วนกลาง หรือหัวหน้างานในส่วนภูมิภาค ซึ่งมีรหัสผู้ใช้งาน (Username) และรหัสผ่าน (Password) ท่ีกำหนดโดยกรมบัญชีกลาง มีหน้าท่ีดูแลข้อมูล (ตรวจสอบ เพ่ิมเติม ปรับปรงุ หรือแกไขข้อมูลใหเ้ ป็นปัจจุบนั ) ของขา้ ราชการ ลูกจ้างประจำ และบุคคลในครอบครัว “นายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญ ” หมายความว่า ข้าราชการ ยกเว้นข้าราชการ ที่ช่วยราชการท่ีได้รับแต่งต้ังจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมในส่วนกลาง หรือหัวหน้าหน่วยงานในส่วน ภูมิภาค ซ่ึงมีรหัสผู้ใช้งาน (Username) และรหัสผ่าน (Password) ท่ีกำหนดโดยกรมบัญชีกลาง มีหน้าท่ีดูแล ประวัติของผูร้ บั บำเหน็จ บำนาญ และเงินอนื่ ในลกั ษณะเดียวกนั รวมทั้งบุคคลในครอบครัว การเกดิ สิทธิ และหมดสิทธขิ องบุคคล ผู้มีสิทธิจะมีสิทธิต้ังแต่วันที่ได้รับการบรรจุแต่งตั้ง และหมดสิทธิเมื่อเกษียณอายุราชการ ลาออก ถกู ไลอ่ อก หรือเสียชีวติ และกรณถี ูกระงบั สิทธิเพราะถกู พักราชการ สำหรับบุคคลในครอบครัวของผู้มีสิทธินั้น อิงการใช้สิทธิ และหมดสิทธิของผู้มีสิทธิ กล่าวคือ เมื่อผู้มีสิทธิเกิดสิทธิ ก็จะมีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลของบุคคลในครอบครัวไปด้วยพร้อมกัน และเมื่อผู้มีสิทธิ หมดสิทธิก็จะไม่มีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลของบุคคลในครอบครัวเช่นเดียวกัน นอกจากน้ี ผู้มีสิทธิอาจไม่ สามารถเบกิ ค่ารกั ษาพยาบาลของบคุ คลในครอบครัวได้เนื่องจากเหตุอืน่ ทร่ี ะบุไว้ในกฎหมายด้วย เช่น บุตรของ ผู้มีสิทธบิ รรลนุ ติ ภิ าวะ ผู้มีสทิ ธิจดทะเบยี นหยา่ กับคูส่ มรส เป็นต้น การถูกจำกดั สทิ ธิ (มาตรา 10) และสิทธิซ้ำซ้อน กรณีการถูกจำกัดสิทธิ และสิทธิซ้ำซ้อนน้ัน ได้มีการบัญญัติไว้ในมาตรา 10 แห่งพระราช กฤษฎีกาฯ บัญญัตไิ ว้ ดังนี้ มาตรา 10 วรรคหนึ่ง บัญญัติไวว้ ่า “ในกรณีผู้มีสิทธิไดร้ ับเงินค่ารักษาพยาบาลจากหน่วยงาน อื่น ให้ผูม้ สี ทิ ธิเลอื กว่าจะใช้สทิ ธริ ับเงินสวัสดิการเกีย่ วกบั การรกั ษาพยาบาลตามพระราชกฤษฎีกาน้ี หรอื ใช้สิทธิ รับเงินค่ารักษาพยาบาลจากหน่วยงานอ่ืน และหากเลือกใช้สิทธิจากหน่วยงานอ่ืน ผู้นั้นไม่มีสิทธิตามพระราช กฤษฎีกาน้ี ทั้งน้ี การเลือกและการเปลี่ยนแปลงการใช้สิทธิให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ กระทรวงการคลังกำหนด” มาตรา 10 วรรคสอง บัญญัติไว้ว่า “ในกรณีท่ีบุคคลในครอบครัวมีสิทธิได้รับเงินค่า รักษาพยาบาลตามสิทธิของตนเองจากหน่วยงานอื่น ผู้มีสิทธิไม่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการ รักษาพยาบาลสำหรับบคุ คลในครอบครวั ตามพระราชกฤษฎีกาน้ี เวน้ แต่ค่ารักษาพยาบาลท่ีได้รบั น้ันต่ำกวา่ เงิน องคค์ วามรู้ การเบกิ จ่ายเงนิ สวัสดกิ ารเกยี่ วกบั การรกั ษาพยาบาล หนา้ 6

สวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาลท่ีมีสิทธิจะได้รับตามพระราชกฤษฎีกานี้ ให้ผู้มีสิทธิมีสิทธิได้รับสวัสดิการ เกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาลสำหรบั บุคคลในครอบครัวเฉพาะสว่ นท่ีขาดอยู่” มาตรา 10 วรรคสาม บญั ญัตไิ ว้ว่า “ในกรณีที่บุคคลในครอบครัวเปน็ ผ้อู าศยั สิทธิของผู้อืน่ ซง่ึ มี สิทธิได้รับเงินค่ารักษาพยาบาลสำหรับบุคคลในครอบครัวจากหน่วยงานอื่นในขณะเดียวกัน ให้ผู้มีสิทธิมีสิทธิ ได้รบั เงินสวสั ดิการเกีย่ วกับการรักษาพยาบาลสำหรับบุคคลในครอบครัวตามพระราชกฤษฎกี านี้” คำวา่ “หน่วยงานอื่น” ในท่ีน้ี หมายถึง รฐั วิสาหกจิ หน่วยงานอิสระ ส่วนราชการสว่ นท้องถิ่น อ่ืน บริษัทประกัน ระบบประกันสุขภาพอ่ืนๆ พระราชบัญญัติผู้ประสบภัยจากรถ และรวมถึงพระราชบัญญัติ ประกนั สงั คม แต่ไมร่ วมถงึ พระราชบญั ญตั ิหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ การรายงานขอ้ มลู และการเลือกสทิ ธิ มาตรา 5 วรรคสอง บัญญัติไว้ว่า “เพ่ือประโยชน์ในการจัดทำฐานข้อมูลเกี่ยวกับการ รักษาพยาบาล ให้ผู้มีสิทธิมีหน้าท่ีรายงานข้อมูลเก่ียวกับตนเองและบุคคลในครอบครัวของตนต่อส่วนราชการ เจ้าสังกัดพร้อมท้ังรับรองความถูกต้องของข้อมูล ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกระทรวงการคลังกำหนด” (หนงั สือกรมบญั ชกี ลาง ดว่ นท่สี ุด ที่ กค 0422.2/ว 376 ลงวันท่ี 30 กันยายน 2553) การรายงานขอ้ มูลของผ้มู ีสทิ ธิ และบุคคลในครอบครัว - ผู้มีสิทธิมีหน้าที่รายงาน และรับรองข้อมูลของตนเองและบุคคลในครอบครัวภายใน 1 เดือน นบั แต่วันบรรจเุ ขา้ รับราชการ หรอื วนั ทขี่ อ้ มลู มีการเปลยี่ นแปลง - ผู้มีสิทธิกรอกแบบคำขอเพ่ิม/ปรับปรุงข้อมูลในฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ (แบบ 7127) พรอ้ มแนบเอกสารประกอบ เช่น สำเนาบตั รประชาชน สำเนาทะเบียนสมรส สำเนาสตู บิ ตั ร - ข้อมูลท่ีต้องรายงาน ประกอบด้วย ข้อมูลตัวบุคคลของผู้มีสิทธิและบุคคลในครอบครัว และ ข้อมลู สถานะทางราชการ - ข้อมูลท่ีอยู่ในฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐก่อนวันที่ 29 กันยายน 2553 ถือว่าผู้มีสิทธิรับรอง ความถกู ต้องแลว้ การเลือกสิทธิของผมู้ ีสทิ ธิ - ผูม้ สี ิทธิเลือกวา่ จะใช้สิทธิตามพระราชกฤษฎีกาฯ หรือจากหน่วยงานอ่ืน (มาตรา 10 วรรคหนึ่ง) - บุคคลในครอบครัวไม่สามารถเลือกได้ ต้องใช้สิทธิของตนเอง (กรณีมีสิทธิในฐานะเจ้าของ สิทธจิ ากหนว่ ยงานอนื่ ) - ผู้มีสิทธิมีหน้าที่การเลือกสิทธิ หรือเปล่ียนแปลงสิทธิภายใน 1 เดือน นับจากมีการ เปล่ียนแปลง ซ่ึงสามารถแจ้งเปลี่ยนแปลงสิทธิได้ปีละ 1 ครั้ง (ภายในเดือนตุลาคมของทุกปี) หากไม่แจ้งถือว่า ประสงค์ใชส้ ิทธิราชการ/ไม่ประสงคเ์ ปลยี่ นแปลง (ภาพประกอบ 1 – 3 อยู่ที่ ภาคผนวก) องคค์ วามรู้ การเบิกจา่ ยเงินสวสั ดกิ ารเกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาล หนา้ 7

บทที่ 2 การใชส้ ิทธิเบิกตามหลกั เกณฑ์ตา่ งๆ 1. ค่าตรวจสุขภาพประจำปี การตรวจสุขภาพประจำปี เป็นการส่งเสริมป้องกันโรค มิใช่การรักษาพยาบาล ซ่ึงตาม กฎหมายเดิมได้กำหนดยกเว้นเป็นกรณีพิเศษให้เฉพาะผู้มีสิทธิ (ให้ใช้กฎหมายเดิม ตามพระราชกฤษฎีกาฯ มาตรา 18 ) สทิ ธิประโยชน์ในปัจจบุ ันดา้ นการตรวจสขุ ภาพประจำปี ประกอบด้วย 1. ตรวจได้เฉพาะผู้มีสิทธิ คือ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ ไม่รวมถึง บุคคลในครอบครวั 2. แบ่งตรวจเป็น 2 ช่วงอายุ คือ ผู้ท่ีอายุต่ำกว่า 35 ปีบริบูรณ์ เบิกได้ 7 รายการ และอายุ ตั้งแต่ 35 ปีบริบรู ณข์ นึ้ ไป เบิกได้ 16 รายการ 3. สามารถเบกิ คา่ ตรวจสุขภาพประจำปีไดป้ ลี ะ 1 ครงั้ ตามปงี บประมาณ 4. การเบิก เบกิ ได้ตามรายการ และอัตราที่กรมบัญชกี ลางกำหนด 5. ให้ผูม้ ีสิทธิทดรองจา่ ยไปก่อน และนำใบเสร็จรับเงินมาเบิกจากส่วนราชการต้นสังกัด (ห้าม จ่ายตรง) 6. ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0422.2/ว 362 ลงวันท่ี 5 ตุลาคม 2554 ค่าเอ็กซเรย์ ปอด (chest X-ray) มีการนำระบบดิจทิ ลั มาใช้ จงึ ใหเ้ บิกได้เท่าท่ีจ่ายจริงไมเ่ กนิ 170 บาท โดยไมต่ อ้ งระบุรหัส ต้ังแตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. 2555 เป็นตน้ ไป องค์ความรู้ การเบกิ จ่ายเงินสวัสดกิ ารเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล หนา้ 8

รายการแนบทา้ ย: ค่าตรวจสขุ ภาพประจำปี ตามหนงั สอื กรมบญั ชีกลาง ที่ กค 0417/ว.177 ลงวนั ที่ 24 พฤศจิกายน 2549 และท่ีแก้ไข ลำดบั รายการ ราคา (บาท) 170 1 Film Chest ปจั จุบัน เปน็ Chest X-ray เบิกได้ไมเ่ กิน 50 2 Mass Chest 70 3 Urine Examination/Analysis (31001) 90 100 4 Stool Examination – Routine direct smear (31201) ร่วมกับ 100 580 (บาท) Occult blood (31203) 40 60 5 Complete Blood Count:CBC แบบ Automation (30101) 60 50 6 ตรวจภายใน (55620) 50 50 7 Pap Smear (38302) 50 50 คา่ ตรวจสุขภาพประจำปี (อายตุ ำ่ กวา่ 35 ปี เบิกได้ รวม 6 รายการ 60 1,050 (บาท) 8 Glucose (32203) 9 Cholesterol (32501) 10 Triglyceride (32502) 11 Blood Urea Nitrogen:BUN (32201) 12 Creatinine (32202) 13 SGOT (AST) (32310) 14 SGPT (ALT) (32311) 15 Alkaline Phosphatase (32309) 16 Uric Acid (32205) คา่ ตรวจสขุ ภาพประจำปี (อายตุ ้งั แต่ 35 ปีขึ้นไป เบิกได้ รวม 16 รายการ 2. การเบกิ ค่ารกั ษากรณมี ปี ระกัน ผมู้ ีสทิ ธิและบุคคลในครอบครัวทท่ี ำประกนั สุขภาพไว้ สามารถเบิกค่ารักษาได้ 2 ทาง คอื เบิก จากบริษัทประกนั และเบิกจากกรมบญั ชีกลาง (สมทบ) แต่ไมเ่ กินจำนวนเงนิ คา่ รักษาทจ่ี ่ายไปจรงิ ตามหนงั สอื กรมบัญชีกลาง ด่วนท่สี ุด ท่ี กค 0422.2/ว380 ลงวันท่ี 30 กนั ยายน 2553 และ ฉบับซอ้ มความเข้าใจ ท่ี กค 0422.2/ว 45 ลงวนั ที่ 7 กุมภาพันธ์ 2554 ไดก้ ำหนดหลักเกณฑ์การเบิกจา่ ย มี รายละเอียด ดงั น้ี 1. ใหน้ ำใบเสรจ็ รับเงินคา่ รักษาพยาบาลไปวางเบิกทบ่ี ริษัทประกนั ก่อน องคค์ วามรู้ การเบกิ จ่ายเงินสวสั ดกิ ารเกยี่ วกบั การรักษาพยาบาล หนา้ 9

2. บริษทั ประกันจ่ายค่ารักษาพยาบาลให้ และรับรองว่าเบิกจา่ ยรายการใดบ้าง 3. นำสำเนาใบเสรจ็ (ตามข้อ 2) มาเบิกกับสว่ นราชการตน้ สังกัด โดยสามารถเบกิ ได้ตามสทิ ธิ กรมบญั ชีกลาง แตไ่ ม่เกนิ ค่ารักษาท่จี า่ ยจริง ดังตัวอย่างและในตาราง รายการ โรงพยาบาล บรษิ ัท ส่วนขาด สิทธติ าม เบกิ ไดต้ าม เรยี กเกบ็ ประกันภัยจา่ ย (3)=(1) – (2) พระราชกฤษฎกี า กฎหมาย คา่ รักษาพยาบาล (รวม) (1) (2) 3,700 (4) (5)* 8,700 5,000 7,200 3,700 (5)* จะเบิกไดต้ าม (4) หาก (4) ≤ (3) แต่หาก (4) › (3) ให้เบิกได้ = (3) ในแตล่ ะรายการ 2.1 การเบกิ คา่ รักษา (กรณี พ.ร.บ.ค้มุ ครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535) การเบิกจ่ายต้องตรวจ พ.ร.บ.รถฯ ว่า พ.ร.บ.รถฯ ขาดหรือไม่ โดยแบ่งเปน็ 2 กรณี ดงั น้ี กรณที ี่ 1 มี พ.ร.บ.รถฯ เมอ่ื เกดิ อุบัติเหตุ เจ็บปว่ ย สามารถขอรบั ได้จากบริษทั ประกันภัย ซ่ึงรถโดยสารและรถยนต์ท่ีเกิดเหตุแต่ละคันจะต้องทำประกันภัยไว้ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัย จากรถ พ.ศ. 2535 (พ.ร.บ.รถฯ) สำหรับสว่ นท่ีเกินเบิกจากกรมบัญชีกลาง กรณีที่ 2 พ.ร.บ.รถฯ ขาด แบง่ ตามผลการสอบสวนเปน็ 2 ประเภท คือ 2.1) กรณีผู้ประสบภัย (ข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ) เป็นฝ่ายถูก ให้เรียกค่าเสียหายจากฝ่ัง คู่กรณี ได้เลย หรือ ย่ืนเรื่องเบิกจากกองทุนผู้ประสบภัยจากรถ (คปภ.จังหวัด) ซ่ึงกองทุนดังกล่าวจะจ่าย ค่ารกั ษาพยาบาลไปก่อนเพอื่ บรรเทาเบือ้ งต้น 2.2) กรณีผ้ปู ระสบภัย (ข้าราชการ/ลูกจา้ งประจำ) เป็นฝ่ายผิด ข้อปฏิบัติ คือ 2.2.1 ให้ย่ืนเรื่องเบิกจากกองทุนผู้ประสบภัยจากรถ (คปภ.จังหวัด) ซ่ึงกองทุนดังกล่าว จะจ่ายคา่ รกั ษาพยาบาลไปก่อนเพ่ือบรรเทาเบ้ืองต้น 2.2.2 หากผลสอบสวนปรากฏว่า ผู้ประสบภัย (ข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ) เป็นฝ่ายผิด กองทุนฯ จะมีหนังสือเรียกเงินคืน (จำนวนเงินท่ีย่ืนขอเบิกจากกองทุนฯ) พร้อมเบ้ียปรับ ร้อยละ 20 ของเงิน คา่ รกั ษาพยาบาลท่ีมาย่นื 2.2.3 ผู้ประสบภัย (ข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ) คืนเงินให้กับกองทุนฯ (ข้อ 2.2) และให้ ร้องขอต่อกองทุนฯ เพ่ือขอคืนต้นฉบับหลักฐานการรับเงินค่ารักษาพยาบาลท่ีสถานพยาบาลออกให้กองทุนฯ พร้อมทั้งใบเสรจ็ รบั เงินจากกองทุนฯ ที่แสดงการรบั คนื เงนิ คา่ เสยี หายเบื้องตน้ จากผู้ประสบภยั 2.2.4 ให้ยน่ื ใบเบิกเงินสวัสดิการคา่ รกั ษาพยาบาล (สิทธกิ รมบัญชกี ลาง) พร้อมหลกั ฐาน การรับเงินค่ารักษาพยาบาลท่ีสถานพยาบาลออกให้กองทุนฯ พร้อมทั้งใบเสร็จรับเงินจากกองทุนฯ (ข้อ 2.3) ต่อผู้บังคับบัญชาที่เป็นผู้รับรองการใช้สิทธิภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ได้คืนเงินค่าเสียหายเบ้ืองต้นแก่ กองทุนฯ (ดรู ายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ท่ี กค 0526.5/ว 82 ลงวนั ท่ี 25 สิงหาคม 2543) องค์ความรู้ การเบิกจา่ ยเงินสวสั ดกิ ารเกยี่ วกบั การรักษาพยาบาล หนา้ 10

แผนผังการใชส้ ทิ ธิกรณปี ระสบภัยจากรถ ค่าเสยี หายเบอ้ื งตน้ (ใหม)่ เร่มิ มีผลบังคับใช้ วนั ที่ 26 ธนั วาคม 2557 การพจิ ารณาสทิ ธิกรณผี ู้มสี ทิ ธสิ วัสดิการรกั ษาพยาบาลข้าราชการ ประสบอบุ ัติเหตจุ ากรถ ฉบับแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ พจิ ารณาจากผู้ประสบภยั (เฉพาะค่ารกั ษาพยาบาลในวงเงิน 80,000 บาท) 1.กรณผี ปู้ ระสบภัยอยู่ในรถที่มปี ระกนั ภยั ล้มคว่ำเอง ชนสิ่งของ ชนบคุ คลภายนอก ชนรถคันอนื่ 1.ผู้ขบั ขร่ี ถ ไดร้ บั ความคุม้ ครอง รถคู่กรณีมีประกัน รถคกู่ รณีไม่มปี ระกัน เฉพาะค่าเสียหายเบือ้ งต้นจาก บ.ประกนั ภัยทีร่ ับประกนั ภัยรถ ค่กู รณเี ป็นฝา่ ยผดิ คกู่ รณเี ป็นฝา่ ยถูก คกู่ รณเี ปน็ ฝา่ ยถกู คู่กรณเี ปน็ ฝ่ายผิด คนั ท่ีขบั ขีม่ าในวงเงนิ 30,000 บาท คา่ รักษาส่วนท่ีเกิน 30,000 ผู้ขบั ข่ีรถ และผู้โดยสาร 1.ผู้ขบั ข่รี ถ รับความคุ้มครอง ผ้ขู บั ข่ีรถ และผโู้ ดยสาร บาทใช้สทิ ธิสวสั ดิการรักษา ได้รบั ความคุ้มครองใน เฉพาะคา่ เสียหายเบือ้ งต้นจาก ได้รบั ความค้มุ ครองจาก พยาบาลข้าราชการ วงเงนิ 80,000 บาท บ.ประกนั ภัยที่รับประกนั ภัยรถ บ.ประกันภัยที่รับประกนั ภัย 2. ผู้โดยสาร ที่ได้รบั ความ ค่ารักษาส่วนที่เกิน คนั ท่ีขบั ขี่มาในวงเงิน 30,000 รถคันท่ีขับข่ีมาหรือคันที่ คุ้มครองจาก บ. ประกนั ภัย รถ 80,000 บาทใช้สทิ ธิ บาท คา่ รักษาสว่ นท่เี กิน 30,000 โดยสารมาในวงเงิน คนั ท่ปี ระสบภัยโดยสารมาหรอื สวสั ดกิ ารรักษา บาทใช้สิทธสิ วสั ดิการรักษา 30,000 บาท ค่ารักษาส่วน รถคันที่ก่อให้เกดิ ความเสยี หาย พยาบาลข้าราชการ พยาบาลขา้ ราชการ ท่เี กิน 30,000 บาท ใช้สทิ ธิ แกบ่ ุคคลภายนอกรถ ในวงเงนิ 2. ผโู้ ดยสาร ทีไ่ ดร้ บั ความ สวสั ดกิ ารรักษาพยาบาล 80,000 บาท คา่ รักษาพยาบาล ค้มุ ครองจาก บ. ประกันภัย รถ ข้าราชการ เกนิ กวา่ 80,000 บาท ใช้สิทธิ คันทโ่ี ดยสารมา ในวงเงิน สวสั ดิการรักษาพยาบาล 80,000 บาท คา่ รักษาพยาบาล ขา้ ราชการ เกินกว่า 80,000 บาท ใช้สิทธิ สวสั ดกิ ารรักษาพยาบาล ข้าราชการ องคค์ วามรู้ การเบิกจา่ ยเงินสวัสดกิ ารเกี่ยวกบั การรักษาพยาบาล หนา้ 11

2. กรณผี ้ปู ระสบภยั อยู่ในรถไม่มีประกนั ภยั ล้มควำ่ เอง ชนสง่ิ ของ ชนบุคคลภายนอก ชนรถคนั อ่นื 1.ผู้ขบั ข่ีรถและผูโ้ ดยสาร/ รถคกู่ รณีมปี ระกัน รถคูก่ รณีไมม่ ปี ระกัน บุคคลภายนอก ไดร้ บั ความ คุม้ ครองจากกองทนุ ทดแทน คู่กรณีเปน็ ฝา่ ยผดิ คกู่ รณีเปน็ ฝา่ ยถูก คกู่ รณีเป็นฝ่ายถกู - ผดิ ผู้ประสบภัยในวงเงินเบ้อื งตน้ 30,000 บาท คา่ รักษาส่วนทเี่ กิน ผู้ขบั ขร่ี ถ และผู้โดยสาร ผู้ขบั ขี่รถและผู้โดยสารได้รบั 30,000 บาทใช้สทิ ธิสวัสดิการ ได้รบั ความคุม้ ครองจาก ความคมุ้ ครองจากกองทุน รักษาพยาบาลข้าราชการ บริษทั ประกนั ภัยรถคนั ทดแทนผูป้ ระสบภัยในวงเงิน (ท้ังนี้ ผปู้ ระสบภัยตอ้ งไมไ่ ด้รบั คกู่ รณใี นวงเงนิ 80,000 30,000 บาท ค่ารักษาส่วนท่เี กิน การชดใช้เบอื้ งต้นจากเจา้ ของรถ บาท ค่ารักษาส่วนทเ่ี กิน 30,000 บาทใช้สทิ ธสิ วัสดกิ าร หรือได้รับการชดเชยไม่ครบ 80,000 บาทใช้สทิ ธิ รกั ษาพยาบาลข้าราชการ จำนวน) สวัสดกิ ารรักษา (ท้งั นี้ ผู้ประสบภัยตอ้ งไม่ได้รบั พยาบาลข้าราชการ การชดใช้คา่ เสยี หายเบอ้ื งตน้ จาก เจา้ ของรถหรอื ได้รบั การชดเชย ไม่ครบจำนวน) องคค์ วามรู้ การเบิกจา่ ยเงินสวสั ดกิ ารเก่ยี วกับการรกั ษาพยาบาล หน้า 12

3. การเข้ารบั การรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนเปน็ ครั้งคราว พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 มาตรา 8 (4) กำหนดให้ ผู้ที่เข้ารับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของเอกชนประเภทผู้ป่วยนอกในกรณีท่ีเป็นการ เขา้ รบั การรักษาพยาบาลเป็นคร้ังคราวเพราะเหตุที่สถานพยาบาลของทางราชการมคี วามจำเป็นต้องส่งตัวให้แก่ สถานพยาบาลของเอกชนน้ัน ให้เบิกค่ารักษาพยาบาลได้ตามท่ีหลักเกณฑ์ประเภท และอัตราท่ี กระทรวงการคลังกำหนด กระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามหลักการข้างต้น กำหนดหลักเกณฑ์และอัตรา การเบิกจ่ายค่ารกั ษาพยาบาลในกรณีที่สถานพยาบาลของทางราชการส่งตวั ผู้ป่วยไปฟอกเลือด ด้วยวิธีไตเทียม ท่ีสถานพยาบาลของเอกชน (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสดุ ท่ี กค 0417/ว 160 ลงวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2549) แต่ไม่รวมถึงการส่งต่อผู้ป่วยไปทำการรักษาพยาบาลเกี่ยวกับโรคอื่นๆ ซ่ึงกระทรวงการคลังยังไม่ได้ กำหนดให้เบกิ จา่ ยค่ารักษาพยาบาลจากทางราชการ เชน่ การสง่ ตัวผูป้ ่วย ไปผา่ ตัดสลายนวิ่ ฉายรังสีรักษา เปน็ ตน้ 4. กรณีสถานพยาบาลส่งผู้ป่วยไปซื้อยา อุปกรณ์และอวัยวะเทียม หรือรับการตรวจทาง ห้องทดลอง หรอื เอกซเรย์จากสถานที่อืน่ ซง่ึ อย่ใู นประเทศไทย (พระราชกฤษฎีกาฯ มาตรา 13) ในกรณีท่ีสถานพยาบาลไม่มี (1) ยา เลือดและส่วนประกอบของเลือดหรือสารทดแทน น้ำยา หรืออาหารทางเส้นเลือด ออกซิเจน (2) อวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรคจำหน่าย หรือ (3) ไม่อาจให้การตรวจทางห้องทดลองหรือโดยวิธีการเอกซเรย์ได้ เม่ือแพทย์ผู้ตรวจรักษาหรือหัวหน้า สถานพยาบาลลงลายมือช่ือรับรองตามแบบท่ีกระทรวงการคลังกำหนด ก็ให้ผู้เข้ารับการรักษาพยาบาล ซ้ือ หรือรับการตรวจทางห้องทดลองหรือโดยวิธีการเอกซเรย์จากสถานที่อ่ืนซ่ึงอยู่ในประเทศไทยแล้ว นำมาเบิกได้ ตามหลักเกณฑ์ในหัวข้อการเบิกจ่ายในสถานพยาบาลของทางราชการและการเบิกจ่ายใน สถานพยาบาลของ เอกชน แลว้ แต่กรณี ทั้งนี้ สำหรับกรณดี งั กล่าวไม่สามารถใชส้ ิทธิในระบบเบกิ จ่ายตรงได้ 5. การเบิกคา่ รักษากรณขี องการแพทย์แผนไทย การรกั ษาดว้ ยวธิ ีแพทยท์ างเลอื ก หรือแพทย์แผนไทยโดยวธิ ธี รรมชาติบำบดั ไม่ใช้ยาปฏชิ ีวนะ หรือยาแผนปัจจุบัน แต่ใชย้ าจากพืช สมุนไพรแทน โดยในปี พ.ศ. 2547 กรมบัญชีกลางได้มีแนวปฏิบัติ ในการ เบิกค่ารักษาพยาบาลด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนไทยขึ้น (หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ท่ี กค 0417/ว 14 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2547) โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี 5.1 การบำบัดรักษาโรคโดยวิธีการทางการแพทย์แผนไทยท่ีจะเบิกจ่ายได้ ต้องเป็นกรณีเพ่ือ การรักษาพยาบาลหรือฟื้นฟูสมรรถภาพเท่าน้ัน การบำบัดเพ่ือการส่งเสริมสุขภาพหรือป้องกันโรค ไม่สามารถ เบกิ จา่ ยได้ 5.2 จะต้องมีแพทย์แผนปัจจุบัน (มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม) ออกหนังสือ รับรองให้ว่าผู้ป่วยจำเป็นต้องรักษาหรือฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนไทย เพ่ือนำไป ประกอบการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลดังกล่าว และต่อมาได้มีการเพ่ิมผู้มีอำนาจออกหนังสือรับรองขึ้น อีก 2 กลมุ่ บุคคล (หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนทสี่ ุด ท่ี กค 0417/ว 7 ลงวันที่ 11 มกราคม 2548) คอื องคค์ วามรู้ การเบกิ จา่ ยเงนิ สวัสดกิ ารเกยี่ วกับการรักษาพยาบาล หนา้ 13

(1) แพทยแ์ ผนไทย (มีใบประกอบโรคศลิ ปะ สาขาการแพทย์แผนไทยประเภทเวชกรรม หรือ สาขาแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์) (2) ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม (ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข) ทั้งนี้ จะต้องแนบสำเนา หลกั ฐานวา่ บคุ คลดงั กลา่ วสามารถประกอบโรคศลิ ปะดว้ ยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยดว้ ย 6. การเบิกจา่ ยเงนิ สวัสดิการเกี่ยวกบั การรักษาพยาบาล แบง่ ออกไดด้ งั นี้ 6.1 การใช้สิทธิเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลกรณีผู้มีสิทธิมีสิทธิได้รับเงินค่ารักษาพยาบาลจาก หน่วยงานอื่น ให้ผู้มีสิทธิเลือกว่าจะใช้สิทธิตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 หรือใช้สิทธิจากหน่วยงานอื่น โดยกรอกข้อมูลตามแบบแจ้งการเลือกสิทธิและเปล่ียนแปลงการใช้ สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาล (แบบ ๗๑๓๑) พร้อมลงลายมือช่ือรับรองความถูกต้อง เสนอต่อหัวหน้าส่วน ราชการระดับกรม หรือหัวหน้าหน่วยงานในส่วนภูมิภาค แล้วแตก่ รณี ทั้งน้ี การเลือกหรือการเปลี่ยนแปลงการ ใช้สิทธิให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยการเลือกหรือเปล่ียนแปลงการใช้สิทธิสวัสดิการ รักษาพยาบาล (หนังสอื กรมบัญชกี ลาง ด่วนท่ีสุด ที่ กค 0422.2/ว 377 ลงวันที่ 30 กันยายน 2553) 6.2 การใช้สิทธิเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลกรณีผู้มีสิทธิมีบุคคลในครอบครัวเป็นผู้มีสิทธิ เช่นเดยี วกนั ให้ต่างฝ่ายตา่ งใชส้ ิทธิเบกิ เงินคา่ รักษาพยาบาลของตนเอง 6.3 การใชส้ ิทธเิ บกิ เงนิ ค่ารักษาพยาบาลสำหรบั บุตร (หลักเกณฑฯ์ ขอ้ 5) กำหนดไวด้ งั น้ี 6.3.1 กรณีผู้มีสิทธิมีคู่สมรสเป็นผู้มีสิทธิเช่นเดียวกัน ให้คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็น ผู้ใชส้ ทิ ธิ เบกิ เงนิ คา่ รกั ษาพยาบาลสำหรับบตุ รทุกคนแต่เพียงฝ่ายเดยี ว โดยให้ปฏิบตั ดิ งั น้ี - ถ้าอยู่ส่วนราชการผู้เบิกแห่งเดียวกัน ผู้ใช้สิทธิจะต้องรับรองตนเองในใบเบิกเงิน ค่ารักษาพยาบาลวา่ ตนเปน็ ผใู้ ชส้ ทิ ธเิ บิกเงนิ ค่ารกั ษาพยาบาลสำหรบั บุตรแตเ่ พยี งฝ่ายเดียว - ถ้าอยู่ต่างส่วนราชการผู้เบิก หรือต่างส่วนราชการเจ้าสังกัด หรือมีการเปล่ียน สว่ นราชการภายหลังจากท่ีมีการใช้สิทธิเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลไปแล้ว ผู้ใช้สิทธจิ ะต้องขอให้ส่วนราชการของตน แจ้งการใช้สิทธิตามแบบ 7132 ให้ส่วนราชการของคู่สมรสอีกฝ่ายหนึ่งทราบ แล้วแต่กรณี และให้ส่วนราชการ ที่ได้รับแจ้งดำเนินการตอบรับตามแบบ 7133 (หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ท่ีกค 0422.2/ว 379 ลงวันที่ 30 กนั ยายน 2553) 6.3.2 กรณีผู้มีสิทธิมีคู่สมรสเป็นผู้มีสิทธิเช่นเดียวกันสำหรับกรณีการหย่า ไม่ว่าการหย่า จะเกิดขึน้ กอ่ นหรอื หลงั จากทีม่ กี ารใช้สิทธเิ บกิ เงินคา่ รกั ษาพยาบาลไปแล้ว กใ็ ห้ปฏิบตั เิ ช่นเดียวกบั ข้อ 6.3.1 6.4 การใช้สิทธิเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลสำหรับบุคคลในครอบครัวกรณีผู้มีสิทธิมีหลายราย ให้ผู้มีสิทธิคนหนึ่งคนใดเป็นผู้ขอใช้สิทธิเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลให้กับบุคคลดังกล่าวแต่เพียงฝ่ายเดียวก็ได้ โดยใหป้ ฏบิ ตั เิ ชน่ เดียวกบั ขอ้ 6.3.1. 6.5 การใช้สิทธิเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลให้กับบุคคลในครอบครัวซ่ึงมีสิทธิได้รับเงิน ค่ารักษาพยาบาลตามสิทธขิ องตนเองจากหนว่ ยงานอื่น ใหผ้ มู้ สี ิทธิใช้สทิ ธิเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลไดเ้ ฉพาะสว่ น ท่ตี ำ่ กว่าสทิ ธทิ ี่พึงไดร้ ับตามพระราชกฤษฎีกานีเ้ ทา่ นัน้ (หลักเกณฑฯ์ ขอ้ 7 วรรคหนึ่ง) องคค์ วามรู้ การเบกิ จ่ายเงินสวัสดกิ ารเกย่ี วกับการรกั ษาพยาบาล หน้า 14

6.6 การใช้สิทธิเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลให้กับบุคคลในครอบครัวซึ่งเป็นผู้อาศัยสิทธิของผู้อ่ืน ซึ่งมีสิทธิได้รับเงินค่ารักษาพยาบาลสำหรับบุคคลในครอบครัวจากหน่วยงานอื่นเช่นเดียวกัน ให้ผู้มีสิทธิ มีสิทธิ เบิกเงนิ คา่ รกั ษาพยาบาลสำหรบั บคุ คลในครอบครัวตามหลักเกณฑ์นี้ได้ (หลกั เกณฑ์ฯ ข้อ 7 วรรคสอง) การรับรองสทิ ธิ ให้ผู้มีสิทธิเป็นผู้รับรองการมีสิทธิของตนเองและของบุคคลในครอบครัวซ่ึงอาศัยสิทธิของตน ตามแบบ 7130 (หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0422.2/ว 379 ลงวันที่ 30 กันยายน 2553) ท้ังนี้ สถานะความเป็นผู้มสี ทิ ธแิ ละผอู้ าศยั สิทธิให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์กระทรวงการคลังวา่ ด้วย การจดั ทำฐานข้อมูล บคุ ลากรภาครฐั (หนงั สือกรมบญั ชกี ลาง ด่วนท่ีสดุ ท่ี กค 0422.2/ว 376 ลงวันที่ 30 กนั ยายน 2553) ผูม้ อี ำนาจอนมุ ัตกิ ารเบิกเงนิ ค่ารักษาพยาบาลของข้าราชการหรือลูกจ้างประจำในสังกดั 1. ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนกลาง ผู้มีอำนาจอนุมัติ ได้แก่ (1) หัวหน้าส่วนราชการ ระดับกรม หรือ (2) ผู้ที่หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมมอบหมาย ซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าประเภทท่ัวไป ระดับชำนาญงาน หรือตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่า ระดบั 6 หรอื เทยี บเทา่ หรอื ผทู้ ีม่ ียศต้ังแตพ่ นั โท นาวาโท หรอื พันตำรวจโทข้ึนไป การเบิกเงินค่ารกั ษาพยาบาลของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม ให้ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป หนึ่งชั้นตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดิน หรอื ผู้ท่ีผู้บังคับบัญชามอบหมาย ซ่ึงปฏิบัติงานอยู่ ส่วนราชการระดับกรมแห่งนั้นเป็นผู้อนุมัติค่ารักษาพยาบาลของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม ท้ังนี้ การมอบหมายต้องมิใชห่ วั หน้าสว่ นราชการระดับกรม ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนกลางท่ีมีสำนักงานอยู่ในภูมิภาค หรือแยกต่างหากจาก กระทรวง กรม หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมจะมอบหมายให้หัวหน้าสำนักงานเป็นผู้อนุมัติสาหรับหน่วยงานน้ัน ก็ได้ เว้นแต่ การเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลของหัวหน้าสานักงาน ให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม หรือผู้ที่ หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมมอบหมาย ซ่ึงปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงานแห่งน้ันเป็นผู้อนุมัติค่ารักษาพยาบาล ของหัวหน้าสำนักงาน ท้งั นี้ การมอบหมายตอ้ งมิใช่หัวหน้าสำนักงาน 2. ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนภูมิภาค ผู้มีอำนาจอนุมัติ ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการ ผเู้ บิก เวน้ แต่ การเบิกเงนิ ค่ารกั ษาพยาบาลของหัวหน้าส่วนราชการ ให้ผู้วา่ ราชการจังหวัด หรือผู้ท่ีผู้ว่าราชการ จังหวัดมอบหมาย เป็นผู้อนุมัติค่ารักษาพยาบาลของหัวหน้าส่วนราชการ ท้ังนี้ การมอบหมายต้องมิใช่หัวหน้า สว่ นราชการ 3. ผู้มีอำนาจอนุมัติการเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลของผู้ได้รับบำนาญหรือเบี้ยหวัด ได้แก่ หวั หนา้ ส่วนราชการผูเ้ บกิ บำนาญหรือเบย้ี หวดั หรือผูท้ ห่ี ัวหน้าส่วนราชการผเู้ บกิ มอบหมาย 4. กรณีผู้มีสิทธิได้รับคำส่ังให้ไปช่วยปฏิบัติราชการหรือไปปฏิบัติราชการ ซ่ึงอยู่ต่างส่วน ราชการผเู้ บกิ ให้บคุ คลตามข้อ 1 หรือข้อ 2 ณ สถานที่ทไ่ี ปช่วยปฏบิ ัติราชการเปน็ ผมู้ ีอำนาจอนุมัติ การยนื่ ขอเบกิ เงินและการขอหนังสอื รับรองฯ 1. การใช้สิทธเิ บิกเงนิ ค่ารักษาพยาบาลใหย้ ่นื ใบเบกิ เงนิ คา่ รักษาพยาบาล (แบบ 7131) ต่อผู้มี อำนาจอนุมตั ติ ามข้อ 1 ขอ้ 2 หรือขอ้ 3 ณ สว่ นราชการเจา้ สงั กัด หรอื ส่วนราชการผู้เบิก แล้วแตก่ รณี เว้นแต่ กรณีดังต่อไปน้ี องคค์ วามรู้ การเบกิ จา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารเกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาล หน้า 15

(1) กรณีผู้มีสิทธิได้รับคาสั่งให้ไปช่วยปฏิบัติราชการหรือไปปฏิบัติราชการซึ่งอยู่ต่างส่วน ราชการผู้เบกิ ใหย้ ืน่ ใบเบิกเงินค่ารกั ษาพยาบาล ณ สว่ นราชการทไี่ ปช่วยปฏบิ ตั ริ าชการหรือไปปฏิบตั ริ าชการ (2) กรณีผูม้ สี ทิ ธพิ น้ สภาพความเป็นผู้มีสิทธิกอ่ นท่ีจะใช้สทิ ธิ ใหย้ ่ืนใบเบิกเงินค่ารกั ษาพยาบาล ณ สำนักงานที่รับราชการครัง้ สุดทา้ ย 2. ก่อนการใช้สิทธเิ บิกเงนิ ค่ารักษาพยาบาล ผู้มสี ิทธทิ ไ่ี ด้รับคาสัง่ ใหไ้ ปช่วยปฏบิ ัตริ าชการหรือ ไปปฏิบัติราชการซ่ึงอยู่ต่างส่วนราชการผู้เบิก ต้องมีหนังสือแสดงเจตนาขอเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล (แบบ 7134) แจ้งต่อส่วนราชการท่ีไปช่วยปฏิบัติราชการหรือไปปฏิบัติราชการ และเม่ือส่วนราชการท่ีไปช่วยปฏิบัติราชการ ได้รับหนังสือดังกล่าวแล้ว ให้ส่งคู่ฉบับหรือภาพถ่ายหนังสือซ่ึงมีการรับรองความถูกต้องให้ส่วนราชการผู้เบิก ของผูม้ สี ิทธิทราบดว้ ย 3. การขอหนังสือรับรองการมีสิทธิรับเงินค่ารักษาพยาบาลเพื่อเข้ารับการรักษาพยาบาลเป็น ผู้ป่วยในสถานพยาบาล ให้ยื่นคำขอตามแบบ 7129 ต่อผู้มีอำนาจอนุมัติตามข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 หรือ ข้อ 4 แลว้ แต่กรณี และให้ส่วนราชการผ้อู อกหนังสือจัดทำหนงั สือรับรอง 2 ฉบับ ตามแบบ 7130 โดยมอบตน้ ฉบับให้ ผู้ย่นื คำขอเพือ่ นำไปมอบใหแ้ กส่ ถานพยาบาล และให้ส่วนราชการผู้ออกหนังสอื เก็บสำเนาค่ฉู บบั ไว้ 1 ฉบับ 4. กรณผี ้มู ีสทิ ธิไมส่ ามารถลงลายมือชือ่ ในใบเบิกเงนิ คา่ รักษาพยาบาลหรือไม่สามารถยื่นคำขอ หนงั สอื รบั รองการมีสิทธริ บั เงินค่ารักษาพยาบาลด้วยตนเอง ให้ดำเนนิ การดังน้ี (1) กรณีผู้มีสิทธิถึงแก่กรรม ให้ทายาทตามกฎหมายหรือผู้จัดการมรดก เป็นผู้ยื่นใบเบิก เงนิ ค่ารักษาพยาบาลหรอื คำขอหนังสือรับรอง (2) กรณผี มู้ สี ิทธมิ สี ติสมั ปชญั ญะ แต่ไม่สามารถลงลายมือชือ่ ได้ ให้พิมพล์ ายนว้ิ มอื แทนการ ลงลายมือชื่อพร้อมทั้งให้มีพยานสองคนลงลายมือช่ือรับรอง และให้บุคคลในครอบครัวเป็นผู้ยื่นใบเบิกเงิน คา่ รักษาพยาบาลหรอื ยน่ื คำขอหนงั สอื รับรองฯ (3) กรณีผู้มีสทิ ธิไมร่ ู้สึกตัวหรอื ไม่มสี ติสมั ปชัญญะ แต่ยังไมม่ คี ำสัง่ ศาลใหเ้ ป็นผู้ไรค้ วามสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถ ให้บุคคลในครอบครัวเป็นผู้ยื่นใบเบิกเงินสวัสดิการพร้อมกับหนังสือรับรองของ แพทย์ผู้ทำการรักษาว่าผู้มีสิทธิไม่รู้สึกตัวหรือไม่มีสติสัมปชัญญะเพียงพอท่ีจะดำเนินการได้ หากไม่มีบุคคล ดังกล่าว ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของผบู้ งั คับบญั ชาท่จี ะพจิ ารณาเห็นสมควรให้ผ้ใู ดดำเนนิ การแทน การเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล (ณ ส่วนราชการเจา้ สังกดั ) 1. กรณีเข้ารบั การรักษาพยาบาลประเภทผปู้ ่วยนอกสถานพยาบาลของทางราชการ หรือกรณี เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนประเภทผู้ป่วยในกรณีประสบอุบัติเหตุ อุบัติภัย เหตุจำเป็น เร่งด่วน ซึ่งหากมิได้รับการรักษาพยาบาลทันทีทันใดอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต หรือกรณีใช้สิทธิเบิกเพิ่มเฉพาะ ส่วนที่ยังขาดอยู่ ให้ยื่นใบเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลพร้อมด้วยหลักฐานการรับเงินของสถานพยาบาลต่อผู้มี อำนาจอนุมัติตามข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 หรือข้อ 4 แล้วแต่กรณี ภายในระยะเวลา1 ปีนับถัดจากวันท่ีปรากฏใน หลักฐานการรับเงิน หากพ้นกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าผู้มีสิทธิไม่ประสงค์เบิกเงินค่ารักษาพยาบาลใน คร้ังน้ัน และให้ส่วนราชการเจ้าสังกัดหรือส่วนราชการผู้เบิกของผู้มีสิทธิเป็นผู้เบิกเงินกับกรมบัญชีกลาง หรือ สำนักงานคลังจังหวัด แล้วแต่กรณี และเม่ือส่วนราชการได้อนุมัติจ่ายเงินให้แก่ผู้มีสิทธิดังกล่าวแล้ว ให้ เจ้าหน้าท่ีการเงินประทับตราข้อความว่า “จ่ายเงนิ แล้ว”โดยลงลายมือชื่อรับรองการจ่ายและระบุชื่อผู้จ่ายเงิน องค์ความรู้ การเบิกจ่ายเงนิ สวัสดกิ ารเกย่ี วกับการรกั ษาพยาบาล หนา้ 16

ด้วยตัวบรรจง พร้อมวันเดือนปีท่ีจ่ายกำกับไว้ในหลักฐานการรับเงินทุกฉบับเพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ หลกั ฐานการรบั เงนิ ของสถานพยาบาลของเอกชนอย่างน้อยตอ้ งมีสาระสำคัญตามแบบ 7138 2. กรณีผู้มีสิทธิถูกสั่งพักราชการหรือให้ออกจากราชการไว้ก่อน และปรากฏในภายหลังว่า ได้รบั เงินเดอื นในระหว่างถูกส่งั พักหรือในระหว่างถกู ส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อน ให้ผู้มสี ิทธิดังกล่าวย่ืนใบเบิก เงินคา่ รกั ษาพยาบาลภายใน 1 ปี นบั แต่วนั ทก่ี รณีถึงที่สุด 3. กรณีผูม้ สี ิทธอิ อกจากราชการ และอยู่ในระหว่างการพิจารณาสั่งจ่ายเงนิ บำนาญหรือเบ้ยี หวัด ให้ผมู้ ีสิทธิดังกลา่ วย่นื ใบเบิกเงินคา่ รักษาพยาบาลภายใน 1 ปี นบั แต่วันท่มี ีคำสัง่ จา่ ยเงนิ บำนาญหรือเบย้ี หวัด 4. กรณีผู้มีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเข้ารับการรักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยนอกและ สถานพยาบาลของทางราชการได้ออกหนงั สอื รับรองตามแบบ 7135 ให้ซื้อยา เลือดและส่วนประกอบของเลอื ด หรือสารทดแทน น้ำยาหรืออาหารทางเส้นเลือด ออกซิเจน อวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค หรือเข้ารับการตรวจทางห้องทดลองหรือเอกซเรย์จากสถานที่อื่นซึ่งอยู่ในประเทศไทย ให้ผู้มีสิทธินำหนังสือ รบั รองดงั กล่าวพร้อมกับหลักฐานการเงนิ ย่ืนขอเบิกเงินคา่ รักษาพยาบาลตามข้อ 1 การเบกิ เงนิ คา่ รกั ษาพยาบาลด้วยระบบเบิกจา่ ยตรง 1. กรณีเข้ารับการรักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยในสถานพยาบาลของทางราชการ หรือกรณี เข้ารับการรักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยในสถานพยาบาลของเอกชนตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด หรือกรณีเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนเป็นคร้ังคราวเพราะเหตุสถานพยาบาลของ ทางราชการมีความจำเป็นต้องส่งตัวให้แก่สถานพยาบาลของเอกชน ให้สถานพยาบาลเป็นผู้เบิกเงิน ค่ารักษาพยาบาลโดยตรงกับกรมบัญชีกลาง เว้นแต่กรณีผู้มีสิทธิถูกส่ังพักราชการหรือให้ออกจากราชการ ไว้ก่อน และปรากฏในภายหลังว่าได้รับเงินเดือนในระหว่างถูกสั่งพักหรือในระหว่างถูกส่ังให้ออกจากราชการ ไว้ก่อน หรือกรณีผู้มีสิทธิออกจากราชการ และอยู่ในระหว่างการพิจารณาส่ังจ่ายเงินบำนาญหรือเบี้ยหวัด ให้ผู้มีสิทธิทดรองจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาล และนำหลักฐานการรับเงินดังกล่าวมายื่นขอเบิก แล้วแต่กรณี การขอเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยนอกสถานพยาบาลของทางราชการ ผู้มีสิทธิหรือบุคคลใน ครอบครวั ซง่ึ เขา้ สูร่ ะบบเบกิ จ่ายตรงแล้ว อาจขอให้สถานพยาบาลเป็นผู้เบกิ แทนกไ็ ด้ 2. กรณีเข้ารับการรกั ษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยในสถานพยาบาลของทางราชการ ให้ผู้มีสิทธิ ยืน่ คำขอหนงั สือรับรองการมสี ทิ ธิรับเงนิ ค่ารกั ษาพยาบาล (แบบ 7129) หรอื ให้สถานพยาบาลขอเลขอนุมัตผิ า่ น ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตกับหน่วยงานท่ีกรมบัญชีกลางมอบหมาย เพื่อใช้เป็นหลักฐานประกอบการเบิกเงิน ค่ารกั ษาพยาบาลกไ็ ด้ การตรวจสอบและการเรยี กคืนเงนิ 1. ให้ส่วนราชการ สถานพยาบาลของทางราชการเก็บรักษาหลักฐานการรับเงินหรือเอกสาร แบบพิมพ์ที่ใช้ในการเบิกจ่ายเงินไว้ให้สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน กรมบัญชีกลางหรือหน่วยงานที่กรมบัญชีกลาง มอบหมายตรวจสอบ และให้กรมบัญชีกลางหรือหน่วยงานที่กรมบัญชีกลางมอบหมายสามารถเรียกเอกสารต่าง ๆ ที่เก่ียวกับการรักษาพยาบาลผู้มีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวในสถานพยาบาลข องทางราชการเพื่อประโยชน์ ในการตรวจสอบควบคุมดแู ลการเบกิ จา่ ยเงนิ คา่ รักษาพยาบาลได้ องค์ความรู้ การเบิกจา่ ยเงินสวัสดกิ ารเก่ยี วกับการรักษาพยาบาล หนา้ 17

2. กรณีผู้มีสิทธิหรือสถานพยาบาลเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลไม่เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกา เงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 หรือเกินสิทธิท่ีจะได้รับตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว ให้ดำเนินการส่งเงินคืนกระทรวงการคลังตามหลักเกณฑก์ ระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการสง่ เงนิ คนื คลัง ❖ ปัจจุบัน กรณีการเบิกค่ารักษาพยาบาลเกินสิทธิและการเรียกคืนเงิน มีหลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลเกินสิทธิและการเรียกคืนเงิน ฉบับใหม่ ตามหนังสือ กรมบญั ชีกลาง ดว่ นที่สุด ท่ี กค 0416.3/ว199 ลงวนั ที่ 7 เมษายน 2564 แผนภาพท่ี 4 กระบวนงานวิธกี ารเบกิ จา่ ยคา่ รักษาพยาบาล (ตามหลกั เกณฑ์กระทรวงการคลังว่าดว้ ยวธิ กี ารเบิกจา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553) ค่ารักษาพยาบาล ผมู้ สี ทิ ธิ และบคุ คลในครอบครัว การใช้สิทธิ การรบั รองสิทธิ การยื่นขอเบกิ เงิน การเบิกเงนิ การตรวจสอบและ และการอนุมัติ และการขอ ค่ารักษาพยาบาล การเรียกคืนเงิน หนังสอื รับรองฯ การเบิกเงนิ การเบิกเงนิ ค่า คา่ รักษาพยาบาล ณ รกั ษาพยาบาลด้วย สว่ นราชการเจ้าสังกดั ระบบเบกิ จ่ายตรง แบบ 7129 -7140 ระบบเบิกจ่ายตรง ระบบเบิกจ่ายตรง ท่ใี ชใ้ นการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ผูป้ ่วยนอก ผ้ปู ่วยใน หลักฐานประกอบการเบิกจา่ ยเงนิ ขอเบกิ เงินคา่ รักษาพยาบาล องค์ความรู้ การเบิกจา่ ยเงินสวสั ดกิ ารเกี่ยวกบั การรักษาพยาบาล หนา้ 18

7. โครงการเบกิ จ่ายตรงสวัสดิการรักษาพยาบาลขา้ ราชการ โครงการเบิกจ่ายตรงสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการเป็นโครงการแบบสมัครใจ ผู้มีสิทธิ หรือบุคคลในครอบครัวไม่ต้องการทดรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน หรือยุ่งยากท่ีจะต้องเดินทางมาขอ หนังสือรับรองฯ จากต้นสังกัด สามารถสมัครเข้าโครงการเบิกจ่ายตรงฯ ซ่ึงมีเจตนารมณ์เพื่อลดภาระของ ผู้มีสิทธิ และบุคคลในครอบครัว โดยเฉพาะบุคคลท่ีป่วยด้วยโรคที่มีค่าใช้จ่ายสูง รวมท้ังระบบยังช่วยลดภาระ งานของกองคลังของส่วนราชการท่ีจะต้องตรวจเอกสาร หลักฐาน และเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลให้กับบุคคล ในสังกัด โครงการเบิกจ่ายตรงฯ น้ัน กรมบัญชีกลางเป็นผู้ดำเนินการจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลของผู้มี สทิ ธิและบคุ คลในครอบครัวใหก้ ับสถานพยาบาลแทนส่วนราชการต่าง ๆ โดยการสง่ ขอ้ มูลผมู้ ีสทิ ธิและบุคคลใน ครอบครัว ข้อมูลการรักษาพยาบาล ข้อมูลการจ่ายเงิน เป็นการดาเนินการด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ท้ังส้ิน ซ่ึงสามารถแบ่งเป็น 2 ระบบด้วยกัน คือ ระบบเบิกจ่ายตรงผู้ป่วยนอก และระบบเบิกจ่ายตรงผู้ป่วยใน ทั้งนี้ ผมู้ ีสทิ ธิ หรือบุคคลในครอบครัวท่มี ีสิทธิซ้ำซ้อน (เช่น มีสิทธิประกันสงั คมสิทธิองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สทิ ธิ รัฐวิสาหกจิ สิทธอิ งคก์ รอิสระ เป็นต้น) จะไมส่ ามารถเข้ารว่ มโครงการเบิกจา่ ยตรงฯ ได้ ท้ังนี้ หนงั สอื เวยี นหลกั ๆ ของกรมบัญชกี ลางท่ีเวยี นแจง้ สว่ นราชการเกีย่ วกับโครงการเบิกจ่าย ตรงสวัสดกิ ารรักษาพยาบาลข้าราชการ ได้แก่ - หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสุด ท่ี กค 0417/ว 34 ลงวันท่ี 4 กันยายน 2549 เรื่อง การ บริหารจดั การฐานข้อมูลบคุ ลากรภาครฐั - หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ท่ี กค 0417/ว 196 ลงวันท่ี 12 ธันวาคม 2549 เรื่อง ขยายระยะเวลาการปฏบิ ตั ิหน้าทข่ี องนายทะเบยี นส่วนภมู ภิ าค เพอ่ื ดาเนนิ การจดั ทาฐานขอ้ มลู บุคลากรภาครฐั 8. โครงการเบกิ จา่ ยตรงผปู้ ่วยล้างไต โครงการเบิกจ่ายตรงผู้ป่วยล้างไต ได้เริ่มดำเนินการต้ังแต่วันท่ี 15 กันยายน 2548 ตาม หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0417/ว 122 ลงวันท่ี 31 สิงหาคม 2548 โดยมีวัตถุประสงคเ์ พื่อลด ภาระให้กับผู้ป่วย เน่ืองจากการรักษาพยาบาลมีค่าใช้จ่ายสูงและจำเป็นต้องทำการรักษาอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ระบบจ่ายตรงผู้ป่วยล้างไตเป็นระบบเดียวท่ีผู้ป่วยสามารถไปรักษาในสถานพยาบาลเอกชนได้ (ล้างไต) โดยไม่ ต้อง ทดรองจา่ ยเงนิ ค่ารกั ษาพยาบาลไปก่อน ผู้มีสิทธิ และบุคคลในครอบครัวที่มีสิทธิและได้สมัครเข้าร่วมโครงการจ่ายตรงผู้ป่วยล้างไต สามารถเข้ารบั การล้างไตในสถานพยาบาลท่สี มัครได้ โดยเบกิ ได้ในอัตราครงั้ ละ 2,000 บาท หากสถานพยาบาลของทางราชการที่สมัครเข้ารับการล้างไต ไม่มีเครื่องล้างไตหรือมี แต่ไม่เพียงพอ สถานพยาบาลจะทาการส่งผู้มีสิทธิ หรือบุคคลในครอบครัวไปล้างไตในสถานพยาบาลเอกชนได้ จะต้องเป็นสถานพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการเบิกจ่ายตรงผู้ป่วยล้างไตด้วย ซ่ึงผู้มีสิทธิหรือบุคคลใน ครอบครัวสามารถไปล้างไตในสถานพยาบาลเอกชนได้ และเบิกได้ในอัตราครั้งละ 2,000 บาทเช่นเดียวกับ สถานพยาบาลของทางราชการ องค์ความรู้ การเบกิ จ่ายเงนิ สวสั ดกิ ารเกยี่ วกบั การรกั ษาพยาบาล หนา้ 19

❖ ปัจจุบนั การเบิกค่าเกยี่ วกบั โรคไตวายเร้ือรงั มีหนงั สอื เวียนท่เี ก่ียวขอ้ ง ดงั น้ี 1. หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสุด ที่ กค 0416.4/ว146 ลงวันที่ 14 เมษายน 2563 เรื่อง หลกั เกณฑ์และอัตราค่ารกั ษาพยาบาลผปู้ ่วยไตวายเรื้อรังดว้ ยวิธฟี อกเลอื ดด้วยเคร่ืองไตเทียม 2. หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ท่ี กค 0416.4/ว450 ลงวันท่ี 22 กันยายน 2563 เรื่อง การ เบิกจ่ายค่ายาหรือสารอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังด้วยวิธีการฟอกเลือดด้วยเครื่องไ ต เทยี ม 3. หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0416.4/ว130 ลงวันท่ี 10 มีนาคม 2564 เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยไตวายเรื้อรังด้วยวิธีฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (ฉบับที่ 2) 9. โครงการเบิกจ่ายตรงผปู้ ่วยโรคมะเร็ง โครงการเบิกจ่ายตรงผู้ป่วยโรคมะเร็ง ได้เริ่มดำเนินการตั้งแต่วันท่ี 1 กันยายน 2549 ตาม หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนท่ีสุด ท่ี กค 0417/ว 68 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2549 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลด ภาระค่าใช้จ่าย และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ป่วย ทั้งน้ี ได้กำหนดการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเก่ียวกับการ รักษาพยาบาลตามโครงการเบิกจ่ายตรงผู้ป่วยโรคมะเร็งซ่ึงจำต้องใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติท่ีมีค่าใช้จ่าย สงู 6 ชนิด ไดแ้ ก่ (1) Imatinib ใชใ้ นการรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรัง และมะเร็งลาไส้ ชนดิ gastrointestinal stromal tumor (GIST) (2) Rituximab ใชใ้ นการรกั ษามะเรง็ ต่อมนา้ เหลือง (3) Trastuzumab ใช้ในการรักษามะเร็งเตา้ นมระยะแพร่กระจาย (4) Bivacizumab ใชใ้ นการรักษามะเร็งลาไส้ใหญร่ ะยะแพรก่ ระจาย (5) Erlotinib ใชใ้ นการรักษามะเรง็ ปอดระยะแพรก่ ระจายท่ีไม่ตอบสนองต่อยา กลุม่ Platinum และ Docetaxel แลว้ (6) Gefitinib ใชใ้ นการรกั ษามะเร็งปอดระยะแพรก่ ระจายทไ่ี มต่ อบสนองตอ่ ยา กลุม่ Platinum และ Docetaxel แล้ว ผ้มู สี ทิ ธิ และบคุ คลในครอบครวั ที่มสี ิทธิและได้สมคั รเข้าร่วมโครงการจ่ายตรงผู้ป่วยโรคมะเรง็ สามารถเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลท่ีสมัครได้ โดยแพทย์ผู้ทาการรักษาจะต้องส่งข้อมูลทางการแพทย์ เพ่ือประกอบการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลทางอิเล็กทรอนิกส์เข้าสู่ระบบจ่ายตรงกับกรมบัญชีกลาง ซ่ึงผู้มีสิทธิ จะไม่สามารถนาใบเสร็จรับเงินค่ายานอกบัญชียาหลักแห่งชาติที่มีค่าใช้จ่ายสูง 6 ชนิดดังกล่าวมาเบิกกับส่วน ราชการต้นสังกัดได้ แต่ให้สถานพยาบาลของทางราชการเป็นผู้เบิกจ่ายโดยตรงกับกรมบัญชีกลาง (หนังสือ กระทรวงการคลงั ดว่ นท่ีสดุ ที่ กค 0417/ว 37 ลงวันท่ี 3 กรกฎาคม 2550) องค์ความรู้ การเบกิ จ่ายเงนิ สวัสดกิ ารเกย่ี วกบั การรักษาพยาบาล หน้า 20

❖ ในเรอื่ งการเบกิ จ่ายค่ารักษาพยาบาลสำหรับผูป้ ่วยโรคมะเรง็ และโลหติ วิทยา มีหนงั สอื เวียนที่ เกย่ี วข้อง ในปจั จบุ ัน ดงั นี้ 1. หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสุด ที่ กค 0416.2/ว33 ลงวันที่ 19 มกราคม 2561 เร่ือง หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งและโลหิตวิทยาซึ่งจำเป็นต้องใช้ ยาท่ีมีคา่ ใช้จา่ ยสงู 2. หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสุด ท่ี กค 0416.2/ว84 ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2562 เรื่อง หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งและโลหิตวิทยาซ่ึงจำเป็นต้องใช้ ยาท่ีมีคา่ ใช้จ่ายสูง (เพมิ่ เตมิ ) 3. หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0416.2/ว339 ลงวันท่ี 12 กรกฎาคม 2562 เร่ือง หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งและโลหิตวิทยาซ่ึงจำเป็นต้องใช้ ยาทม่ี ีค่าใช้จ่ายสงู (เพ่มิ เตมิ ) 4. หนงั สือกรมบัญชกี ลาง ด่วนท่ีสดุ ที่ กค 0416.2/ว279 ลงวันที่ 19 มิถุนายน 2563 เร่ือง ปรับปรุง หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งและโลหิตวิทยาซึ่งจำเป็นต้อง ใชย้ าทม่ี คี า่ ใชจ้ า่ ยสงู 5. หนงั สอื กรมบัญชีกลาง ดว่ นที่สุด ท่ี กค 0416.2/ว441 ลงวันท่ี 17 กนั ยายน 2563 เรื่อง ปรับปรุง หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งและโลหิตวิทยาซึ่งจำเป็นต้องใช้ ยาทม่ี ีค่าใช้จ่ายสูง 6. หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสุด ที่ กค 0416.2/ว588 ลงวันท่ี 9 ธันวาคม 2563 เร่ือง ปรับปรุง หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งและโลหิตวิทยาซ่ึงจำเป็นต้องใช้ ยาที่มีค่าใชจ้ ่ายสูง 10. โครงการเบกิ จ่ายตรงคา่ รถ REFER ค่ารถ REFER เบิกจ่ายในระบบเบิกจ่ายตรงเท่านั้น การจ่ายแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ เบิกใน อัตราเหมาจ่าย (ค่ารักษาค่าบริการในรถฉุกเฉิน) อัตรา 500 บาท/ครั้ง และจ่ายตามระยะทาง (คิดตาม ระยะทาง ไป - กลับ) ในอัตรา 4 บาท/กิโลเมตร เบิกได้เฉพาะกรณีการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลเท่าน้ัน ไมร่ วมการส่งต่อจากจุดเกิดเหตุไปโรงพยาบาล 11. ระบบการเบิกจา่ ยเงนิ ผ้ปู ว่ ยในโดยระบบ DRG ระบบ Diagnosis Related Groups : DRGs หรือระบบการเบกิ จ่ายค่ารักษาผู้ปว่ ยในโดย เกณฑ์กลมุ่ วนิ จิ ฉยั โรครว่ ม โดยการนำระบบ DRGs มาใชใ้ นระบบสวัสดกิ ารรกั ษาพยาบาลข้าราชการประเภท ผปู้ ว่ ยในในสถานพยาบาลของทางราชการ เป็นการเปลย่ี นวธิ ีการจ่ายเงนิ ระหวา่ งกรมบญั ชีกลางกบั สถานพยาบาลของทางราชการ จากเดิมที่จ่ายตามรายการที่สถานพยาบาลเรยี กเกบ็ (Fee for Services) เป็น การตกลงการจ่ายล่วงหนา้ ตามกลุ่มโรค (Case Base) ซง่ึ กรมบญั ชีกลางได้เรมิ่ ดำเนินการจา่ ยดว้ ยระบบ DRGs ต้งั แต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2550 เป็นตน้ มา ตามหนังสือกรมบัญชกี ลาง ด่วนทีส่ ุด ที่ กค 0417/ว 204 ลงวนั ที่ 13 มิถุนายน 2550 องคค์ วามรู้ การเบกิ จ่ายเงนิ สวัสดกิ ารเก่ียวกับการรกั ษาพยาบาล หนา้ 21

ระบบ DRGs ท่ีกรมบัญชีกลางใช้ในการจ่ายค่ารักษาพยาบาลให้กับสถานพยาบาลน้ัน เป็น เพยี งค่ารกั ษาเพยี งส่วนหน่ึงของยอดเงนิ ทั้งหมดที่จ่าย และสำหรบั อัตราทจี่ ่ายให้กับสถานพยาบาลนน้ั เป็นอตั รา ท่ีคำนวณการจ่ายจากค่ารักษาพยาบาลอื่น ๆ เช่น ค่าตรวจ ค่ายา ค่าผ่าตัด ค่าการพยาบาล เป็นต้น ตาม ประกาศกระทรวงการคลงั เรื่อง หลักเกณฑ์และอตั ราค่ารักษาพยาบาลประเภทผู้ปว่ ยในสถานพยาบาลของทาง ราชการตามกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRGs) ท้ังนี้ สำหรับรายการท่ีกรมบัญชีกลางมีการประกาศอัตราหลักเกณฑ์ ไว้แล้ว ให้เบิกจ่ายตามอัตราน้ัน ท้ังในส่วนของค่าห้องค่าอาหาร และค่าอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค และ อวัยวะเทียม (ประกาศกระทรวงการคลัง เร่ือง อัตราค่าบริการสาธารณสุขเพ่ือใช้สาหรับการเบิกจ่ายค่า รักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการ) หลักเกณฑ์การเบิกจา่ ยในระบบ DRG มี 2 ระบบ 1. ระบบ DRGs สถานพยาบาลของทางราชการ การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วย ในโดยระบบ DRGs เป็นลักษณะของการจ่ายแบบตกลงราคาล่วงหน้า ทำให้สถานพยาบาลทราบว่าการรักษา โรคชนิดหนึง่ ๆ ตามมาตรฐานการรกั ษาของสถานพยาบาลจะได้รบั คา่ รกั ษาในอัตราเท่าไร ทำให้สถานพยาบาล พัฒนาการรักษาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งนี้หากสถานพยาบาลรักษาผู้ป่วยด้วยต้นทุนต่ำกว่าอัตราท่ี กรมบัญชีกลางตกลงที่จะจ่าย จำนวนเงินท่ีเหลือ สถานพยาบาลนำไปเป็นรายได้ของสถานพยาบาลได้เลย แตห่ ากมีต้นทุนสงู สถานพยาบาลต้องรบั ผดิ ชอบส่วนเกนิ สิทธนิ นั้ เอง ห้ามเรยี กเก็บจากผ้ปู ว่ ย ระบบ DRGs ไม่ครอบคลุมรายการค่าห้องค่าอาหาร รายการอุปกรณ์ในการบาบัดรักษาโรค และอวัยวะเทียม ดังน้ัน หากผู้ป่วยเข้ารับการรักษาและนอนห้องพิเศษ โดยมีส่วนเกินสิทธิ ผู้ป่วยต้องรับภาระ ค่าใช้จา่ ยเอง เป็นต้น ฉะนั้น หากมีกรณีส่วนเกินสิทธิ ที่สถานพยาบาลเรียกเก็บ ให้สอบถามสถานพยาบาลว่าเป็น ค่าใช้จ่ายอะไร หากเป็นค่าห้องและค่าอาหาร ให้จ่ายได้ แต่หากเป็นค่ารักษาพยาบาล ไม่ต้องจ่ายเพราะเป็น ขอ้ ตกลงท่ีทางโรงพยาบาลทำกบั กรมบัญชีกลางแลว้ ๒. ระบบ DRGs สถานพยาบาลเอกชน เริ่มดำเนินการในเดือนเมษายน 2554 โดยเริ่มกับ สถานพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการกับกรมบัญชีกลาง โดยมขี อ้ ปฏิบตั ิ ดงั น้ี (1) ตอ้ งเปน็ โรคท่ีกรมบัญชีกลางประกาศ ซ่ึงจะต้องเป็นโรคที่ตอ้ งมีการนดั ผ่าตดั ลว่ งหน้า (Elective Surgery) เชน่ การคลอดบุตร (2) การเบิกจ่ายจะต้องเป็นการเบิกจ่ายตรงเท่านั้น โดยค่ารักษาพยาบาลในส่วนท่ีเบิกได้ กรมบญั ชกี ลางจะจา่ ยเงินเข้าบัญชีของสถานพยาบาลเอกชนโดยตรง ส่วนคา่ รกั ษาพยาบาลส่วนเกนิ สทิ ธิ ผู้ป่วย ตอ้ งรบั ภาระเอง และไม่สามารถนาใบเสร็จรับเงินมาเบกิ จากทางราชการได้ องคค์ วามรู้ การเบกิ จา่ ยเงนิ สวัสดกิ ารเกี่ยวกบั การรักษาพยาบาล หน้า 22

ขั้นตอนการใช้สิทธิ ผู้มีสิทธิและบุคคลในครอบครัวที่เป็นผู้ป่วยต้องการใช้สิทธิในระบบการเบิกจ่ายเงิน ผปู้ ่วยในโดยระบบ DRG ดงั น้ี (1) ตรวจสอบสถานพยาบาล โรคที่จะรกั ษา และประมาณการส่วนรว่ มจา่ ยจาก website กรมบัญชีกลาง (http://www.cgd.go.th) (2) ติดต่อสถานพยาบาลท่ีประสงค์จะเข้าร่วมโครงการ โดยสถานพยาบาลจะสรุปแจ้ง รายการส่วนเกินที่ตอ้ งชำระ (สว่ นท่ีเบิกกบั กรมบญั ชกี ลางไม่ได้) หากผปู้ ่วยตกลงเข้ารับการรักษาจะต้องลงนาม ในหนังสอื เพ่อื ยนื ยนั ทัง้ น้ี หากไม่ประสงค์เขา้ รับการรักษา ผู้ป่วยสามารถปฏเิ สธได้ (3) เม่ือออกจากสถานพยาบาล สถานพยาบาลจะเรียกเก็บส่วนเกินจากผู้ป่วย ส่วนท่ีเบิก ไดส้ ถานพยาบาลจะวางเบกิ จากกรมบญั ชกี ลางโดยตรง ……………………………………………………………………………………….. องค์ความรู้ การเบิกจ่ายเงินสวัสดกิ ารเก่ยี วกบั การรกั ษาพยาบาล หนา้ 23

บทท่ี 3 แนวทางการปฏิบัติของผู้ใช้สิทธขิ อเบิกจ่ายคา่ รักษาพยาบาล บุคคลที่เข้ารับราชการซึ่งได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างประจำจากเงินงบประมาณรายจ่ายหมวด เงินเดือน และค่าจ้างประจำของกระทรวง ทบวง กรม (งบบุคลากร) จะต้องย่ืนรายงานข้อมูลบุคลากร เพ่ือ ประโยชน์ในการจัดทาฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ (มาตรา ๕ วรรคสอง) (หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสุด ที่ กค ๐๔๒๒.๒/ว ๓๗๖ ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๓ เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำฐานข้อมูลเก่ียวกับการ รักษาพยาบาล) และเมื่อมีรายการค่าใช้จ่ายเกิดข้ึน ผู้รับสวัสดิการฯ กรอกแบบฟอร์มใบเบิกค่าสวัสดิการ เก่ยี วกบั การรักษาพยาบาล (แบบ ๗๑๓๑) ส่งฝ่ายการเงิน 1. การเบิกจา่ ยคา่ รักษาพยาบาล มี ๒ กรณี ดังน้ี กรณที ี่ ๑ ผปู้ ว่ ยใน : สถานพยาบาลของทางราชการ ผใู้ ชส้ ทิ ธแิ จ้งความประสงค์ได้ ๒ กรณี คอื (๑) กรณีฐานข้อมลู ในระบบสมบูรณ์ ให้ขอเลขอนมุ ัติ (๒) กรณีฐานขอ้ มูลในระบบไม่สมบรู ณ์ ให้ใช้หนังสือรับรองการมีสิทธิรับเงินค่ารกั ษาพยาบาล โดยใหย้ ื่นกับสถานพยาบาลก่อนสน้ิ สุดการรักษาพยาบาลในครั้งนั้น - เจตนารมณ์ของกฎหมาย : ให้ยกเลิกการเรียกเก็บเงินในลักษณะเงินมัดจำ ๙๐ วัน สำหรบั กรณีท่ีไมอ่ าจย่ืนหนังสอื รบั รองฯ ได้ - ให้ผู้ใช้สิทธิทำคำขอหนังสือรับรองการมีสิทธิฯ (แบบ ๗๑๒๙) จำนวน ๒ ฉบับ เพ่ือขอหนังสือ รับรองการมีสิทธิฯ (แบบ ๗๑๓๐) จำนวน ๒ ฉบับ ยื่นตอ่ สถานพยาบาลก่อนที่ทางสถานพยาบาลจะส้ินสุดการ รักษาในคร้ังน้นั สถานพยาบาลของเอกชน การเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนท้ังผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในจะต้องเป็น ผู้ป่วยฉุกเฉินตามกฎหมายว่าด้วยการแพทย์ฉุกเฉิน (พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑) และไม่สามารถนำ ใบเสร็จรับเงินในการเข้ารักษาพยาบาลมาเบิกจ่ายจากส่วนราชการต้นสังกัดได้ ทั้งนี้ สถานพยาบาลจะต้องไป ดำเนินการเรยี กเกบ็ ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจากสำนักงานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ (ส.ป.ส.ช.) กรณีผู้ป่วยเจ็บป่วยฉุกเฉินเข้ารับบริการในโรงพยาบาลท้ังผ่านระบบสายด่วน 1669 และ Walk in โรงพยาบาลให้บรกิ ารทันทีโดยไม่ต้องสอบถามสิทธิ และผปู้ ่วยไมต่ ้องจ่ายเงนิ ซง่ึ โรงพยาบาลจะลงทะเบียนแจ้ง การให้บริการเจ็บป่วยฉุกเฉนิ ผ่านระบบ Clearing house และหลังจากการใหบ้ ริการแล้ว จะบันทึกข้อมูลการ ให้บริการผ่านระบบ Clearing house เพื่อเบิกจ่ายค่าบรกิ าร (ผู้ป่วยนอก : เบิกตามอัตรากรมบัญชีกลาง และ สาหรับผู้ป่วยใน : อัตรา 10,500 บาทต่อ RW) โดยหน่วย Clearing house จะประมวลผลข้อมูล จดั ทำรายงานและจา่ ยเงินชดเชยใหโ้ รงพยาบาล จากนัน้ สง่ ใบแจ้งหนี้ไปยังกองทนุ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง เพ่ือเรียกเก็บเงิน ตามที่มีการจา่ ยจรงิ ใหก้ บั โรงพยาบาลต่อไป ซ่ึงกองทุนจะจ่ายเงินคนื ให้ Clearing house องค์ความรู้ การเบกิ จ่ายเงินสวสั ดกิ ารเกย่ี วกับการรักษาพยาบาล หนา้ 24

กรณีท่ี ๒ ผู้ป่วยนอก : สถานพยาบาลของทางราชการ (๑) ผ้ใู ชส้ ิทธิกรอกใบเบกิ เงนิ สวสั ดกิ ารเก่ยี วกบั การรักษาพยาบาล (แบบ ๗๑๓๑) ดงั นี้ แบบฟอร์มใบเบิกเงินสวัสดกิ ารเกย่ี วกบั การรักษาพยาบาล องค์ความรู้ การเบิกจา่ ยเงินสวสั ดกิ ารเก่ียวกับการรกั ษาพยาบาล หนา้ 25

องคค์ วามรู้ การเบกิ จา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารเก่ยี วกบั การรักษาพยาบาล หนา้ 26

คำอธบิ ายขน้ั ตอนการกรอกแบบฟอร์มใบเบิกเงนิ สวัสดกิ ารเกีย่ วกบั คา่ รกั ษาพยาบาล (แบบ 7131) 1. ชื่อ – นามสกลุ /ตำแหน่ง/สังกัดของผู้ขออนุมัติเบกิ เงนิ สวสั ดกิ ารคา่ รักษาพยาบาล 2. ใหท้ ำเคร่ืองหมาย √ ในช่องวา่ ง ขอเบิกเงนิ ค่ารกั ษาพยาบาลของผ้มู สี ิทธิ/ผู้อาศัยสิทธิ ตามใบเสรจ็ รับเงนิ 2.1 กรณีเบิกค่ารักษาพยาบาลของบดิ า/มารดา/ค่สู มรส/บุตร ให้ระบุสาระสำคญั - ชอ่ื – นามสกุล เลขประจำตวั - บุตร ให้กรอกข้อมลู ชอ่ื – นามสกลุ /เกิดเม่ือ/เปน็ บุตรลำดับที่ (ของบิดา)/(มารดา) /ยังไม่บรรลนุ ิตภิ าวะ/เปน็ บุตรไรค้ วามสามารถ 2.2 ระบโุ รคที่รักษา 2.3 ระบุชือ่ สถานพยาบาลท่ีรับการรักษา 2.4 ใหท้ ำเคร่ืองหมาย √ ในช่องว่าง หนา้ สถานพยาบาลทางราชการ/หรือเอกชน 2.5 ตั้งแตว่ นั ที่ ถงึ วนั ทส่ี น้ิ สุดท่ีทำการเบกิ สวัสดิการค่ารักษาพยาบาล 2.6 ระบุตวั เลขเงินรวมเป็นเงินท้งั สิน้ (โดยคดิ จากยอดเงินรวมท้ังหมดท่ีทำการรักษา) จำนวนรวมทง้ั ส้นิ กี่ฉบบั ท่ีขอเบิก 2.7 ตามใบเสร็จรับเงินตามจำนวนทแ่ี นบ (ฉบับ) 3. ใหท้ ำเครือ่ งหมาย √ ในชอ่ งสิทธทิ ไี่ ด้รบั ตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดกิ ารเกี่ยวกับการ รักษาพยาบาล 3.1 ให้ทำเครอื่ งหมาย √ ในชอ่ งสทิ ธขิ องผูร้ บั สทิ ธสิ วสั ดกิ ารค่ารักษาพยาบาล 4. เจา้ หน้าทกี่ ารเงนิ เสนอผมู้ ีอำนาจลงนามอนุมัติ 4.1 ผูข้ อรับเงนิ สวสั ดกิ ารลงลายมอื ชื่อและเขยี นช่ือ – นามสกุลตัวบรรจง 4.2 วนั /เดอื น/ปี ท่ขี อรับเงนิ สวัสดกิ ารคา่ รกั ษาพยาบาล 5. ผูม้ ีอำนาจลงนามอนุมัติลงลายมอื ชอ่ื และเขียนชื่อ – นามสกุลตวั บรรจงพร้อมทง้ั ตำแหน่ง หรือ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนำเงนิ สง่ คลัง พ.ศ. 2562 “ขอ้ 38 ...หรอื จะลงลายมือช่อื อนุมตั ิในหน้างบหลักฐานการจ่ายกไ็ ด”้ 6. – 9 ให้ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2562 “ข้อ 29 (2) …ให้ส่วนราชการจ่ายเงินให้แก่ผู้มีสิทธิ รับเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e – Payment) ตามหลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติที่กระทรวงการคลังกำหนด” ปัจจุบันกระทรวงการคลังได้วางหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติไว้ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ท่ี กค.0402.2/ว 140 ลงวนั ที่ 19 สงิ หาคม 2563 (๒) เจา้ หน้าท่ีการเงินดำเนินการตรวจสอบความถกู ต้อง ขั้นตอนการตรวจสอบ : ๑. ตรวจสอบสิทธิ เจา้ หน้าท่กี ารเงนิ จะต้องตรวจสอบสทิ ธขิ องผู้ขอเบิกกับระบบฐานข้อมูลบคุ ลากรภาครฐั โดยมรี ายละเอยี ดและเอกสารแนบ ดังนี้ องค์ความรู้ การเบิกจา่ ยเงินสวัสดกิ ารเกี่ยวกบั การรักษาพยาบาล หน้า 27

➢ บิดา บิดาของผู้มีสิทธิที่ผู้มีสิทธิสามารถนำค่ารักษาพยาบาลมาเบิกจากทางราชการได้นั้น จะต้องเป็นบิดาโดยสายเลือดและเป็นบิดาชอบด้วยกฎหมาย ท้ังน้ีการพิจารณาถึงความชอบด้วยกฎหมายน้ัน จะพิจารณาได้ คือ บิดาจะตอ้ งจดทะเบียนสมรสกับมารดาของผู้มีสิทธิ หากบิดาไม่ได้จดทะเบียนกับมารดา ผู้มี สิทธิอาจใชห้ ลักฐานอนื่ ในการรับรองวา่ เป็นบิดาทช่ี อบด้วยกฎหมายได้ซ่งึ หลักฐานดงั กล่าว คือ ทะเบยี นรับรอง บุตร หรอื คำพิพากษาของศาลวา่ ผู้มสี ทิ ธิเปน็ บตุ รชอบด้วยกฎหมายของบิดา การจดทะเบียนรับรองบุตร บิดาจะต้องย่ืนคำร้องขอจดทะเบียนรับรองบุตรต่อนายทะเบียน ผมู้ อี ำนาจ ณ สำนกั ทะเบยี น ตามที่กำหนดในกฎกระทรวงซงึ่ ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญตั ิ จดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. 2478 เช่น (1) กรณีอยู่ในกรุงเทพมหานคร จะต้องย่ืนคำร้อง ณ สำนักงานเขต (2) กรณีอยู่ในภูมิภาค จะต้องยื่นคำร้อง ณ ที่ว่าการอำเภอ หากมารดาเสียชีวิตแล้วจะไม่สามารถจดทะเบียน รับรองบุตรได้ ต้องย่ืนคำร้องขอต่อศาลเพยี งกรณีเดียว การร้องต่อศาลเพ่ือให้ศาลมีคำพิพากษาว่าผู้มีสิทธิเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของบิดา สามารถติดต่อได้ทีศ่ าลแผนกคดีเยาวชนและครอบครวั เป็นบิดาชอบดว้ ยกฎหมายของผูม้ ีสิทธิโดย เอกสารอ้างองิ 1. จดทะเบยี นสมรสกบั มารดาของผมู้ สี ทิ ธิ 1. ทะเบียนสมรส หรอื ทะเบียนหย่า (กรณีหยา่ กัน 2. จดทะเบยี นรับรองบตุ ร ตามกฎหมาย) 3. คำพพิ ากษาของศาล 2. ทะเบียนรบั รองบุตร (แบบ คร.11) 3.คำสง่ั ศาลหรอื คำพพิ ากษาของศาลว่าผู้มสี ทิ ธิเป็น 4. อยูก่ นิ กับมารดาของผู้มสี ทิ ธิกอ่ นวันท่ี 1 ตุลาคม 2478 บุตรชอบดว้ ยกฎหมายของบิดา 4.หนังสอื รับรองของผู้ควรเชอ่ื ถือไดท้ รี่ ับรองว่าบิดา มารดาของผูม้ สี ิทธิอย่กู ินกันฉันสามภี รรยาก่อน ➢ มารดา มารดาของผู้มีสิทธิ ท่ีผู้มีสิทธิสามารถนาค่ารักษาพยาบาลมาเบิกจากทางราชการ ได้นั้นจะต้องเป็นมารดาโดยสายเลือดและเป็นมารดาชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ “เด็กท่ีเกิดจากหญิง ให้ถือว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของหญิงน้ัน” โดยไม่จาเป็นว่ามารดาต้องจด ทะเบียนสมรสหรือไม่ หลักฐานทางราชการที่ใช้ในการยืนยันว่าเป็นมารดาท่ีชอบด้วยกฎหมายของผู้มีสิทธิ คือ สตู ิบตั รของผมู้ สี ทิ ธิ หรือทะเบยี นบ้านของผมู้ สี ิทธิซึง่ จะมีช่อื ของมารดาปรากฏอยู่ เปน็ มารดาชอบด้วยกฎหมายของผู้มีสทิ ธิโดย เอกสารอ้างอิง 1. สายเลอื ด 1. สูตบิ ตั รของผ้มู สี ทิ ธิ หรอื 2. ทะเบยี นบ้านของผ้มู สี ิทธิ องค์ความรู้ การเบกิ จ่ายเงินสวสั ดกิ ารเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล หนา้ 28

➢ คูส่ มรส คู่สมรสของผู้มีสิทธิ ที่ผู้มีสิทธิสามารถนำค่ารักษาพยาบาลมาเบิกจากทางราชการ ได้น้ัน จะต้องเป็นคู่สมรสท่ีชอบด้วยกฎหมายเท่านั้น คือ ผู้มีสิทธิจะต้องจดทะเบียนสมรสกับคู่สมรส หากไม่ได้ จดทะเบียนกัน ถึงแม้จะอยู่กินกันฉันท์สามีภรรยา ก็ไม่สามารถเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลให้กับคู่สมรสได้ โดยหลักการผู้มีสิทธิจะเบิกค่ารักษาพยาบาลให้กับคู่สมรสได้เพียง 1 คนเท่าน้ัน แต่มีข้อยกเว้นให้สำหรับผู้มี สิทธิ (ชาย) ท่ีนับถือศาสนาอิสลาม และมีภูมิลาเนาอยู่ใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (นราธิวาส ปัตตานี ยะลา และสตูล) และจดทะเบียนสมรสตามหลักศาสนาอิสลาม (จดทะเบียนสมรส ณ สำนักงาน คณะกรรมการกลางอิสลามใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้) หากเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวผู้มีสิทธิสามารถ เบิกคา่ รักษาพยาบาลให้กับค่สู มรสได้ 4 คน เปน็ คสู่ มรสชอบดว้ ยกฎหมายของผู้มสี ทิ ธโิ ดย เอกสารอ้างอิง 1. จดทะเบยี นสมรส ทะเบียนสมรส ➢ บุตร บุตรของผู้มีสิทธิ ที่ผู้มีสิทธิสามารถนำค่ารักษาพยาบาลมาเบิกจากทางราชการได้ หมายถงึ บตุ รชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งยงั ไม่บรรลุนติ ิภาวะหรือบรรลนุ ิตภิ าวะแล้ว แตเ่ ป็นคนไร้ความสามารถหรือ เสมือนไร้ความสามารถซึ่งอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของบิดาหรือมารดา ซึ่งเป็นผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการ เกี่ยวกับการรักษาพยาบาล แต่ทง้ั นี้ ไม่รวมถงึ บตุ รบุญธรรมหรือบตุ รซ่ึงได้ยกใหเ้ ปน็ บุตรบญุ ธรรมบุคคลอืน่ แลว้ การเป็น “บุตรชอบดว้ ยกฎหมาย” ของผู้มีสิทธิ แยกพิจารณาเปน็ 2 กรณี 1. กรณีมารดาเป็นผู้มีสิทธิ เด็กที่เกิดจากหญิงผู้เป็นมารดาผู้ให้กำเนิด ย่อมเป็นบุตรชอบด้วย กฎหมายของหญิงนั้นเสมอไม่ว่ากรณีใดๆ (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546 “เดก็ เกิดจากหญิง ทมี่ ไิ ดม้ กี ารสมรสกับชายใหถ้ ือวา่ เป็นบตุ รชอบด้วยกฎหมายของหญงิ นน้ั ”) เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้มสี ทิ ธิโดย เอกสารอ้างองิ 1. สายเลือด 1. สตู ิบตั รของบุตร หรือ 2. ทะเบียนบ้านของบตุ ร 2. กรณีบดิ าเปน็ ผมู้ สี ิทธิ แยกพิจารณาได้ 2 ประการ (1) เด็กท่ีเกดิ ในระหว่างการสมรสของชายและหญิงผูใ้ ห้กำเนดิ แล้วถือว่าเป็นบุตรชอบดว้ ย กฎหมายของชาย และนอกจากน้กี ฎหมายยังให้ข้อสันนิษฐานไว้ก่อนว่า เด็กซึ่งเกิดแต่หญิงภายใน 310 วัน นับ แต่วันท่ีการสมรสส้ินสุดลง เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้ชายผู้เป็นสามี หรือเคยเป็นสามีหรือนับแต่วันท่ี คำพพิ ากษาถึงทีส่ ดุ ของศาลให้การสมรสเป็นโมฆะ แลว้ แตก่ รณี (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 1536) องคค์ วามรู้ การเบกิ จา่ ยเงินสวัสดกิ ารเก่ยี วกับการรกั ษาพยาบาล หน้า 29

(2) เด็กซ่ึงเกิดนอกสมรส เด็กซึ่งเกิดก่อนการจดทะเบียนสมรสหรือบิดามารดาไม่ได้ จดทะเบียนสมรสกันจะเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายได้เมื่อ (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1547 ประกอบกับมาตรา 1557) - บดิ ามารดาของเด็กได้ทำการจดทะเบยี นสมรสกันในภายหลงั - บิดาได้จดทะเบียนรับรองวา่ เปน็ บตุ รของตน มผี ลนบั แตว่ ันจดทะเบยี นเด็กเป็นบตุ ร - มีคำพิพากษาของศาลว่า เป็นบตุ รของตน มผี ลนบั แต่วนั ท่ีมคี ำพิพากษาถึงที่สดุ ทั้งน้ี ผลของความเปน็ บตุ รชอบดว้ ยกฎหมายจะยอ้ นหลังไปจนถึงวนั ท่ีบุตรเกิด เป็นบตุ รชอบด้วยกฎหมายของผู้มีสิทธิโดย เอกสารอ้างองิ 1. จดทะเบยี นสมรสกับมารดาของบุตร 1. ทะเบียนสมรส หรือ 2. ทะเบยี นบ้านของบุตร 2. จดทะเบยี นรับรองบุตร ทะเบียนรับรองบตุ ร (แบบ คร.11) 3. คำพิพากษาของศาล คำสั่งศาลหรอื คำพิพากษาของศาลว่าผ้มู สี ิทธเิ ป็น บิดาชอบด้วยกฎหมายของบุตร “บรรลุนติ ิภาวะ” ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ แบง่ เป็น 2 กรณี คอื 1. บรรลุนิตภิ าวะเมอ่ื มีอายคุ รบ 20 ปีบรบิ ูรณ์ (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ยม์ าตรา 19) 2. บรรลุนิติภาวะโดยการจดทะเบียนสมรส (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 20) โดยจะกระทำไดเ้ มอ่ื บุตรอายคุ รบ 17 ปบี รบิ รู ณ์ “คนไร้ความสามารถ” คือ คนวิกลจริต และศาลส่ังให้เป็นคนไร้ความสามารถ (ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 28) “คนเสมือนไร้ความสามารถ” คือ บุคคลที่ไม่สามารถจัดทำการงานของตนได้ เพราะกาย พกิ ารหรือจติ ฟ่นั เฟือนไม่สมประกอบ หรือประพฤติสรุ ุ่ยสุร่าย เสเพลเป็นอาจิณหรือเพราะเป็นคนติดสุรายาเมา และศาลไดส้ ่งั เป็นคนเสมอื นไรค้ วามสามารถ (ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์มาตรา 32) บุตรบุญธรรมหรือบุตรท่ีได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อ่ืนแล้ว ไม่อยู่ในข่ายได้รับการ ชว่ ยเหลือค่ารักษาพยาบาลตามพระราชกฤษฎกี าฯ ตัวอย่าง : นาย ก. เป็นข้าราชการ มบี ุตรคือ ค. ซ่งึ ยังไม่บรรลุนิติภาวะ แต่นาย ก. ได้ยกบุตร ของตนให้เป็นบุตรบุญธรรมของนาย ข. ซึ่งเป็นข้าราชการ หาก ค. ป่วยต้องเข้ารับการรักษาพยาบาล ในสถานพยาบาล ทงั้ นาย ก. และนาย ข. กไ็ ม่มสี ทิ ธเิ บกิ เงินคา่ รักษาพยาบาลของ ค. ตามพระราชกฤษฎีกานี้ การนับลำดับบุตร ผู้มีสิทธิสามารถนำค่ารักษาพยาบาลของบุตรมาเบิกจ่ายได้เฉพาะบุตร ลำดับท่ี 1 – 3 โดยนับเรียงลำดับการเกิดก่อนหลัง ทั้งน้ี ไม่ว่าจะเป็นบุตรท่ีเกิดจากการสมรสครั้งใด หรืออยู่ใน อปุ การะเลย้ี งดู หรอื อยใู่ นอำนาจปกครองของตนหรือไม่ (พระราชกฤษฎีกาฯ มาตรา 6วรรคหนงึ่ และวรรคสาม) องค์ความรู้ การเบิกจ่ายเงินสวัสดกิ ารเกยี่ วกับการรกั ษาพยาบาล หนา้ 30

สำหรับผู้มีสิทธิที่มีบุตรเกิน 3 คน และต่อมาบุตรคนใดคนหนึ่งใน 3 คนแรกน้ันตายลงก่อน บรรลุนิติภาวะ ผู้มีสิทธิสามารถนำบุตรในลำดับถัดไป ซ่ึงแต่เดิมไม่สามารถนำค่ารักษาพยาบาลมาเบิกจากทาง ราชการเข้าแทนท่ีบุตรท่ีตายลงก่อนบรรลุนิติภาวะ และสามารถใช้สิทธเิ บิกค่ารักษาพยาบาลได้จนกว่าบุตรคน นัน้ จะบรรลนุ ิตภิ าวะ หากบุตรลำดับที่ 1 ถึง ลำดับท่ี 3 บรรลนุ ิติภาวะแลว้ หรอื เสียชีวติ ภายหลังบรรลุนิติภาวะ ก็ไม่สามารถนำบุตรลำดับถัดไปมาแทนที่ได้ (พระราชกฤษฎีกาฯ มาตรา 6 วรรคสอง) บุตรแฝด หากผู้มสี ทิ ธหิ รอื คสู่ มรสของผู้มีสิทธทิ ยี่ งั ไม่มบี ตุ ร หรอื มีบุตรแล้วแตย่ งั ไม่ครบ 3 คน ถ้าต่อมามีบุตรแฝดและทำใหม้ ีบตุ รเกนิ 3 คน กใ็ ห้เบิกค่ารักษาพยาบาลใหก้ บั บุตรได้ทัง้ หมด (พระราชกฤษฎีกาฯ มาตรา 7 วรรคหนง่ึ ) ตวั อยา่ ง : - นาย ก. มบี ุตร 5 คน เรยี งลำดบั การเกดิ แลว้ คนที่มีสทิ ธิเบิกคา่ รักษาพยาบาล คือ บุตรคนท่ี 1 บุตรคนที่ 2 และบตุ รคนท่ี 3 - นาย ก. สมรสกบั นาง ข. มีบตุ รดว้ ยกนั 5 คน โดยบตุ รท้องแรก จำนวน 2 คน (บตุ รแฝด) และบตุ รท้องที่ 2 จำนวน 3 คน (บตุ รแฝด) ผู้มสี ิทธสิ ามารถเบกิ ค่ารักษาพยาบาลให้กบั บุตรท้งั 5 คนได้ - หากบุตรท้องแรก จำนวน 3 คน (บุตรแฝด) และบุตรท้องที่ 2 จำนวน 2 คน (บุตรแฝด) ผู้มี สิทธิสามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลให้กับบุตรได้เพียง 3 คน (บุตรแฝดท้องแรก) สาหรับบุตรท้องที่ 2 จำนวน 2 คน ไม่สามารถเบกิ คา่ รกั ษาพยาบาลได้ - หากบุตรท้องแรก จำนวน 3 คน (บุตรแฝด) และบุตรท้องที่ 2 จำนวน 1 คน ผู้มีสิทธิสามารถ เบิกค่ารักษาพยาบาลให้กับบุตรได้เฉพาะบุตรแฝดท้องแรกทั้ง 3 คนเท่านั้น บุตรท้องที่ 2 ไม่สามารถนำมาเบิก ได้ เพราะเปน็ บุตรลาดบั ท่ี 4 - หากบุตรท้องแรก จานวน 1 คน และบุตรท้องที่ 2 จานวน 4 คน (บุตรแฝด) ผู้มีสิทธิสามารถ เบกิ ค่ารกั ษาพยาบาลให้กับบุตรทัง้ 5 คนได้ ๒. ตรวจสอบรายการและอตั ราทีเ่ บกิ จา่ ย (โดยใหย้ นื่ เบิกได้ภายใน ๑ ปี นบั ถดั จากวันทปี่ รากฎในหลักฐานการรับเงินของสถานพยาบาล) ดังน้ี ➢ คา่ ยา หลกั เกณฑ์การเบิกคา่ ยา คอื ยาท่ีจะเบิกได้นน้ั ต้อง 1. มคี ุณสมบตั ิในการรักษาโรค 2. ไม่ใชเ่ พ่ือการเสรมิ สวย ไม่ป้องกนั 3. อยใู่ นบัญชียาหลกั แห่งชาติ กรณียานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ ไม่ได้สั่งห้ามแพทย์จ่ายยา หรือห้ามเบิกค่ายานอกบัญชียาหลักแต่อย่างใด ถ้าจาเป็นต้องใช้ด้วยเหตุผลทางการแพทย์ก็ใช้ได้ตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กค 0422.2/ว 111 เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2555 ให้ข้ึนอยู่กับแพทย์ผู้ทาการรักษาเป็นผู้วินิจฉัย และออกใบรับรองในการส่ังใชย้ านอกบัญชยี าหลกั แห่งชาติ ตามเงอื่ นไขตา่ ง ๆไดโ้ ดยง่าย คอื ใส่ตัวอักษร A – F โดยตัวอกั ษรมคี วามหมาย ดังน้ี องคค์ วามรู้ การเบกิ จา่ ยเงินสวสั ดกิ ารเก่ียวกับการรักษาพยาบาล หนา้ 31

A เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาในบญั ชยี าหลักแห่งชาติ หรอื อาการแพย้ า B รกั ษาโดยใชย้ าในบัญชียาหลกั แห่งชาติตามมาตรฐานแลว้ ไมบ่ รรลแุ ละมีหลกั ฐาน เชงิ ประจักษ์เช่ือได้วา่ ใช้ยานอกบญั ชยี าหลกั แห่งชาติแลว้ ช่วยใหเ้ ปา้ หมายการรกั ษาดีกวา่ ยาเดมิ C ไม่มีกลุ่มยาในบัญชยี าหลักแห่งชาตใิ ห้ใช้ แตผ่ ูป้ ่วยมีความจาเป็นต้องใช้ยาตามข้อบง่ ใช้ ของยาที่ข้ึนทะเบียนกับสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) และแพทย์พิจารณาแล้วมีหลักฐาน สนับสนนุ ว่าใช้ยานแ้ี ลว้ วา่ มปี ระสิทธผิ ล ปลอดภัย D ผปู้ ่วยมีภาวะหรอื โรคท่หี า้ มใชย้ าในบญั ชยี าหลักแหง่ ชาติอยา่ งสมบูรณ์ หรือมีขอ้ ห้าม ในการใช้บัญชีนแี้ ล้ววา่ มปี ระสิทธผิ ล ปลอดภัย E ยาในบัญชยี าหลักแหง่ ชาตมิ รี าคาแพงกวา่ (หมายถงึ ค่าใชจ้ ่ายตอ่ คอรส์ ของการรกั ษา) F ยาทผ่ี ้ปู ่วยรอ้ งขอจากแพทยซ์ ึ่งไม่เกยี่ วข้องกบั การรักษาในคร้ังน้นั ลกั ษณะ A – E นน้ั สามารถเบิกค่ารักษาได้ สว่ นกรณีข้อ F ผ้ปู ่วยต้องรบั ภาระค่าใช้จา่ ยเอง ตัวอย่างกลุ่มยา และค่าใชจ้ า่ ยอื่น ๆ ท่เี บกิ ไม่ได้ 1. ยาทาบรรเทาอาการปวด หรอื อักเสบต่าง ๆ 2. แชมพูขจดั รังแค 3. อาหารเสริม 4. นำ้ ตาเทียม 5. ยาป้องกันสวิ ฝ้า 6. ยาปลูกผม 7. ยารกั ษาโรคผมร่วง 8. ยาลดความอ้วน 9. วัคซีนป้องกันโรค ยกเวน้ ปอ้ งกันพิษสุนัขบา้ ปอ้ งกนั บาดทะยัก ป้องกันพิษงู ขอ้ ยกเวน้ : ยามะเรง็ ๖ ชนดิ ยากลุ่มโรครูมาติก และสะเกด็ เงนิ ยาสมนุ ไพร และยาแผนไทย วติ ามนิ และแร่ธาตุ ยาควบคุม ๙ กลมุ่ จะมวี ธิ ีปฏิบตั ิพิเศษเป็นการเฉพาะ ไม่ไดน้ ำวิธีปฏิบัติโดยทว่ั ไปมาใช้ - ยามะเรง็ ๖ ชนิด ยากลมุ่ โรครมู าตกิ และสะเกด็ เงิน ยาควบคมุ ๙ กลุม่ จะบงั คับให้ใช้วิธี จ่ายตรงเทา่ นั้น - ยาสมุนไพร และยาแผนไทย สามารถเบกิ ได้ตามรายการท่ีกำหนดไว้ ๔ ประเภท ดงั น้ี (๑) ตามบญั ชียาหลักแห่งชาติ (ไมร่ วมน้ามันไพล เจลพริก) (๒) ยาสามญั ประจำบา้ นแผนโบราณตามประกาศ สธ. (๓) เภสัชตำรับโรงพยาบาล (โรงพยาบาลผลิตเอง) เช่น ยาของโรงพยาบาลเจ้าพระยา อภยั ภเู บศก์ สามารถเบกิ ได้ทง้ั หมด ไมว่ า่ จะอย่ใู นรูปผงหรือน้ำ หรอื แพก็ เกจใด (๔) ยาทปี่ รุงสำหรบั ผู้ปว่ ยเฉพาะราย เชน่ ยาหม้อ สำหรับการส่ังใช้ยาให้เป็นไปตามการสั่งใช้ของแพทย์แผนปัจจุบัน หรือแพทย์แผนไทย ซ่ึงมี ใบประกอบโรคศิลปะ สาขาแพทย์แผนไทยประเภทเวชกรรมแผนไทย หรือสาขาแพทย์แผนไทยประยุกต์ องค์ความรู้ การเบกิ จา่ ยเงินสวัสดกิ ารเกยี่ วกับการรักษาพยาบาล หนา้ 32

หนงั สือกระทรวงการคลงั ที่ กค ๐๔๒๒.๒/ว ๓๓ ลงวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๕๔ เรอื่ ง หลักเกณฑ์การเบกิ จ่ายค่า รกั ษาพยาบาลดว้ ยวธิ ีการทางการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก) ข้อสงั เกต : - คา่ ยา ไม่ต้องลง “รหัส” ในใบเสร็จรบั เงนิ - ค่าอปุ กรณแ์ ละอวยั วะเทยี ม ใบเสรจ็ รบั เงนิ จะต้องลง “รหัส” - ค่าบริการ และค่าตรวจวิเคราะห์ ใบเสร็จรับเงินจะต้องลง “รหัส” ยกเว้นในหมวด ๑๑ (ค่า หตั ถการในหอ้ งผ่าตดั ) และหมวด ๑๔ (กายภาพ เวชกรรมฟนื้ ฟู) ไมต่ ้องลง “รหัส” ใหเ้ บิกได้ตามท่ีโรงพยาบาล เรียกเกบ็ ➢ประเภทและอัตราอุปกรณใ์ นการบำบดั รกั ษาโรค และอวัยวะเทียม ผมู้ ีสทิ ธิสามารถเบิกค่าอุปกรณ์ในการบาบัดรักษาโรค และอวัยวะเทียม รวมทั้งค่าซ่อมแซม ได้ตามรายการที่กระทรวงการคลังกาหนด (หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสุด ท่ี กค ๐๔๑๗/ว ๗๗ ลงวันที่ ๑๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๘, ด่วนท่สี ุด ท่ี กค ๐๔๑๗/ว ๑๖๕ ลงวนั ท่ี ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐, ดว่ นที่สุด ท่ี กค ๐๔๑๗/ ว ๓๗๐ ลงวันท่ี ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๐ และด่วนท่ีสุด ท่ี กค ๐๔๒๒.๒/ว ๒๓๖ ลงวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๑) ซึ่ง มีท้งั หมด ๓๘๑ รายการ ๑๐ หมวด โดยแบง่ เป็น หมวด ๑ : ระบบประสาท (๑๐ รายการ) หมวด ๒ : ตา หู คอ จมกู (๔๑ รายการ) หมวด ๓ : ระบบทางเดนิ หายใจ (๑๓ รายการ) หมวด ๔ : หวั ใจและหลอดเลอื ด (๑๑๐ รายการ) หมวด ๕ : ทางเดนิ อาหาร (๒๙ รายการ) หมวด ๖ : ทางเดนิ ปสั สาวะ และสบื พันธ์ุ (๑๔ รายการ) หมวด ๗ : กระดูก ขอ้ ต่อ กล้ามเน้ือ เส้นเอน็ (๕๔ รายการ) หมวด ๘ : วสั ดุ/อปุ กรณด์ ้านเวชศาสตร์ฟน้ื ฟู (๗๔ รายการ) หมวด ๙ : อื่น ๆ (14 รายการ) หมวดวัสดสุ ิ้นเปลอื งท่ีเปน็ วสั ดุทางการแพทย์ (๒๒ รายการ) สำหรับการเบิกค่าอุปกรณ์ในการบาบัดรักษาโรค และอวัยวะเทียมน้ัน ผู้มีสิทธิเบิกได้สูงสุด ไม่เกินอัตราท่ีกำหนดในหนังสือเวียนท้ัง ๔ ฉบับ และหากอุปกรณ์หรืออวัยวะเทียมใด ไม่ปรากฏอยู่ใน หนังสือเวยี น ผมู้ ีสทิ ธิไม่สามารถนามาเบิกจา่ ยได้ ข้อสังเกต : วิธีดูใบเสร็จรับเงนิ กรณีมีรายการอปุ กรณ์ หรืออวัยวะเทยี ม - ใบเสร็จรับเงินค่าอุปกรณ์ หรืออวัยวะเทียม สถานพยาบาลต้องใส่รหัส (ตามท่ีระบุใน หนังสือเวียน) ของอุปกรณ์ หรืออวัยวะเทียมรายการนั้นๆ ในใบเสร็จรับเงินด้วย เพื่อให้เจ้าหน้าท่ีการเงินของ ส่วนราชการสามารถเทียบเคียงรายการ เพ่ือเบิกจ่ายตามอัตราที่กำหนดได้ - วัสดุส้ินเปลืองที่เป็นวัสดุทาง การแพทย์ มีสิทธิสามารถเบิกจ่ายได้ตามอัตราท่ีกำหนด โดยไม่ต้องใส่รหัสเหมือนอุปกรณ์หรืออวัยวะเทียม เพราะไม่ได้มีการกำหนดรหัสไว้ เช่น อุปกรณ์ในการเตรียมเลือดชนิดถุงเดียว ราคา ๕๒ บาท (หนังสือ กรมบญั ชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๑๗/ว ๗๗ ลงวนั ท่ี ๑๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๘ องค์ความรู้ การเบิกจ่ายเงินสวัสดกิ ารเก่ยี วกบั การรักษาพยาบาล หน้า 33

- สำหรับวัสดุสิ้นเปลือง/วัสดุทางการแพทย์อื่น ไม่มีการกำหนดไว้ในหนังสือเวียน ว ๗๗ ดังกล่าว สามารถเบิกจ่ายได้เฉพาะกรณีที่ผู้ป่วยใช้ในสถานพยาบาลเท่านั้น ดังน้ัน กรณีซื้อกลับบ้าน ไมส่ ามารถเบิกจา่ ยได้ ซึ่งวัสดุส้นิ เปลอื ง/วสั ดุทางการแพทย์ กค็ ือ สาลี เขม็ ฉดี ยา พลาสเตอร์ เปน็ ตน้ ➢อตั ราคา่ บรกิ ารสาธารณสุขเพอ่ื การเบิกจ่าย ค่าบริการสาธารณสุข หมายถึง ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าตรวจ ค่าวิเคราะห์โรคที่ สถานพยาบาลเรียกเก็บในการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโดยทั่วไปตามปกติ สามารถเบิกได้ เช่น ค่าห้องผ่าตัด ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าบริการทางการพยาบาล ค่า X-ray ค่าตรวจ MRI เป็นต้น แต่ไม่รวมค่าธรรมเนียม พิเศษ ค่าตอบแทนพิเศษ และค่าบริการอ่ืนที่มีลักษณะพิเศษ เช่น ค่าจ้างพยาบาลพิเศษสาหรับดูแลผู้ป่วย คา่ ธรรมเนียมแพทยพ์ ิเศษ การกำหนดอัตราค่าบริการสาธารณสุขเพื่อการเบิกจ่าย (ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าตรวจ คา่ วิเคราะห์โรค และอื่น ๆ ท่ีสถานพยาบาลเรียกเก็บ และเม่ือผู้ป่วยรับบริการจากทางสถานพยาบาล แล้วมีรายการค่าบริการทางการแพทย์ ค่าตรวจ ค่าวิเคราะห์โรค ผู้มีสิทธิจะเบิกได้สูงสุดไม่เกินอัตราที่กำหนด (หนังสือรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสุด ที่ กค ๐๔๑๗/ว ๑๗๗ ลงวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๙, ด่วนท่ีสุด ที่ กค ๐๔๑๗/ว ๓๐๙ ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๐ และด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๑๗/ ว ๔๑๔ ลงวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐) ท้งั น้ี หากรายการใดยังไมไ่ ดก้ ำหนดไว้ ผู้มสี ิทธสิ ามารถเบิกจา่ ยได้ตามจานวนเงินท่ีสถานพยาบาลเรียกเกบ็ หนังสือกรมบัญชกี ลาง ดว่ นที่สุด ท่ี กค ๐๔๑๗/ว ๑๗๗ ลงวันท่ี ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๙ มีทั้งหมด ๑๖ หมวด ดังนี้ หมวด ๑ : คา่ ห้องและคา่ อาหาร หมวด ๒ : คา่ อวัยวะเทียมและอปุ กรณ์ หมวด ๓ : ค่ายาและสารอาหารทางเสน้ เลอื ด หมวด ๔ : คา่ ยากลับบ้าน หมวด ๕ : ค่าเวชภณั ฑท์ ีไ่ มใ่ ช่ยา หมวด ๖ : ค่าบรกิ ารโลหติ และส่วนประกอบ หมวด ๗ : คา่ ตรวจวินจิ ฉัยทางเทคนคิ การแพทย์และพยาธิ หมวด ๘ : ค่าตรวจวนิ จิ ฉยั และรกั ษาทางรงั สีวทิ ยา หมวด ๙ : ค่าตรวจวนิ จิ ฉัยโดยวธิ พี เิ ศษอน่ื ๆ หมวด ๑๐ : คา่ อุปกรณ์ของใชแ้ ละเคร่ืองมือทางการแพทย์ หมวด ๑๑ : คา่ ทำหัตถการ และวสิ ญั ญี หมวด ๑๒ : คา่ บริการทางการพยาบาล หมวด ๑๓ : คา่ บริการทางทนั ตกรรม หมวด ๑๖ : ค่าบริการอ่นื ๆ ที่ไมเ่ กี่ยวกบั การรกั ษาโดยตรง องคค์ วามรู้ การเบิกจ่ายเงนิ สวสั ดกิ ารเกย่ี วกับการรกั ษาพยาบาล หนา้ 34

รายการแนบท้าย : คา่ ตรวจสุขภาพประจาปี เมื่อพิจารณาหมวดค่าบริการสาธารณสุขข้างต้น จะพบว่า ไม่มีหมวด ๑๔ และหมวด ๑๕ เนื่องจากกรมบัญชีกลางอยู่ระหว่างกำหนดอัตราเพื่อประกาศใช้ ซ่ึงหมวด ๑๔ คือ กายภาพบาบัด และเวชกรรม ฟื้นฟู และหมวด ๑๕ คือ ฝังเข็ม และแพทย์แผนไทย ดังน้นั หากสถานพยาบาลเรียกเก็บค่าบริการสาธารณสุข ในหมวด ๑๔ – ๑๕ ผปู้ ่วยสามารถนำใบเสร็จรบั เงินมาเบกิ ได้เตม็ ตามจานวนทสี่ ถานพยาบาลเรียกเก็บ(ยกเว้น คา่ นวด) ข้อสังเกต : วธิ ดี ูใบเสรจ็ รับเงินกรณีมีคา่ บรกิ ารสาธารณสุข - ใบเสร็จรับเงินค่ารักษาท่ีมีการระบุค่าบริการสาธารณสุข เช่น ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าตรวจ MRI เป็นต้น ต้องใส่รหัสค่าบริการสาธารณสุขรายการน้ัน ๆ ในใบเสร็จรับเงินด้วย เพื่อให้เจ้าหน้าท่ี การเงินของส่วนราชการสามารถเทียบเคยี งรายการเพื่อเบกิ จ่ายตามอัตราทก่ี รมบัญชกี ลางกำหนด - ค่าหัตถการในห้องผ่าตัด ค่ากายภาพบาบัด ค่าเวชกรรมฟื้นฟู ค่าฝังเข็ม และค่าบริการแพทย์ แผนไทย ไม่ต้องใส่รหัสในใบเสร็จรับเงิน เน่ืองจากหมวด ๑๔ (กายภาพบาบัด และเวชกรรมฟื้นฟู) และหมวด ๑๕ (ฝังเข็มและแพทย์แผนไทย) ยังไม่มีการกำหนดรหัสและอัตราให้เบิกจ่าย จึงไม่มีรหัสให้ สถานพยาบาลบันทึก ในใบเสรจ็ รับเงนิ สาหรับค่าหัตถการในห้องผ่าตัด (หมวด ๑๑) ไม่มีการกำหนดรหัสให้เบิกจา่ ย ดังนั้น การเบิกจ่าย รายการทีก่ ล่าวมาทั้งหมด สามารถเบิกจ่ายได้ตามทสี่ ถานพยาบาลเรียกเก็บ โดยไมต่ อ้ งใส่รหัสแตอ่ ยา่ งใด ➢ค่าห้อง และคา่ อาหาร ค่าห้อง และคา่ อาหาร ผู้มีสทิ ธิสามารถเบิกไดต้ ามอัตราที่กำหนด ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ดว่ นที่สดุ ที่ กค ๐๔๑๗/ว ๑๗๗ ลงวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ (หมวด ๑) ซง่ึ แบ่งเป็น ๓ กรณี คือ (๑) เตียงสามญั เบิกได้รวมค่าอาหารในราคาไมเ่ กนิ ๓๐๐ บาทตอ่ วนั ไมจ่ ำกดั จำนวนวัน (๒) ห้องพเิ ศษ เบกิ ไดร้ วมค่าอาหารในราคาไม่เกนิ ๖๐๐ บาทต่อวัน ไมเ่ กนิ ๑๓ วนั หากเกิน ๑๓ วัน ต้องมคี ณะกรรมการแพทย์ทผ่ี ู้อานวยการสถานพยาบาลแตง่ ตง้ั วนิ ิจฉัยและออกหนังสือรับรอง โดยผู้มี สิทธิจะสามารถเบิกคา่ ห้องพิเศษได้ในอตั ราไม่เกนิ ๖๐๐ บาทต่อวัน ตามจำนวนวันที่คณะกรรมการแพทย์รับรอง (๓) เตียงสังเกตอาการ (เฉพาะกรณีผู้ป่วยนอก) ผู้ป่วยสามารถเบิกได้ในอัตรา ๑๐๐ บาท ตอ่ ครง้ั ต่อวนั 3. ตรวจสอบการเบกิ จา่ ย ➢ ตรวจสอบความครบถ้วน ซ่งึ ประกอบด้วย (1) ใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล (แบบ 7131) ตรวจสอบว่ามีลายมือชื่อ ผู้ขอเบิก ผ้อู นุมัติการเบิกจา่ ย เจ้าหน้าทีต่ รวจสอบหลักฐานขอเบิก และกรอกขอ้ มูลรายละเอียดครบถ้วน มีการ ประทับตรา “จา่ ยเงนิ แลว้ ” พรอ้ มลงลายมือช่อื ผจู้ ่ายเงินและวนั ทีท่ จ่ี ่ายเงิน (2) ใบเสร็จรับเงินของสถานพยาบาล ตรวจสอบขอ้ มลู ดังน้ี - มชี ่ือ ที่อยู่ ของสถานพยาบาล - ชอ่ื นามสกุล ในใบเสรจ็ รบั เงินตรงกับท่ีระบใุ นใบเบกิ เงนิ สวสั ดิการฯ - วัน เดอื น ปี ในใบเสร็จรบั เงนิ ไมเ่ กิน 1 ปี นับถึงวนั ทีใ่ ช้สทิ ธิเบิก - จำนวนเงนิ ตรวจสอบว่ามรี ายการใดเบิกไดห้ รือไม่ - ลายมอื ชอ่ื ผรู้ บั เงนิ องคค์ วามรู้ การเบกิ จ่ายเงินสวสั ดกิ ารเก่ียวกับการรกั ษาพยาบาล หนา้ 35

(3) มีหนังสือรับรองจากแพทย์ผู้รักษาของสถานพยาบาลว่า ผู้ป่วยจาเป็นต้องใช้ยานอกบัญชี ยาหลักแห่งชาติ ซ่ึงในการส่ังใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ ต้องมีการระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก แห่งชาติเพื่อใช้ประกอบการเบกิ จา่ ย ตัง้ แตข่ ้อ A - E หากเป็น F ไม่สามารถเบิกได้ (หนงั สอื กระทรวงการคลงั ดว่ นทสี่ ดุ ท่ี กค 0422.2/ว 111 เมอื่ วันที่ 24 กนั ยายน 2555) (4) มีหนังสือรับรองของแพทย์ผู้ตรวจรักษาหรือหัวหน้าสถานพยาบาลตามแบบที่กระทรวงการคลัง กำหนด ในกรณีที่มีการซื้อหรือรับการตรวจทางห้องทดลอง หรือเอ็กซเรย์จากสถานที่อื่น เนื่องจากสถานพยาบาล ของทางราชการทผี่ ูม้ ิสทิ ธเิ ข้ารบั การรกั ษาไม่มีจำหนา่ ยหรือไมม่ บี ริการ (5) กรณีเข้ารับการรักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยในจากสถานพยาบาลเอกชน ต้องมีหนังสือ รับรองจากแพทย์ของสถานพยาบาลว่าผู้ป่วยมีความจาเปน็ รบี ด่วน หากมิไดร้ ับการรักษาพยาบาลในทันทที ันใด อาจเปน็ อันตรายตอ่ ชีวิต ➢ตรวจสอบความถูกต้องของการเบิกจา่ ยเงนิ วา่ เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ดังนีห้ รือไม่ (1) สถานพยาบาลของทางราชการ (ท้งั ผปู้ ว่ ยนอกและผู้ป่วยใน) (1.1) คา่ รกั ษาพยาบาลเบิกได้เต็มจานวนท่ไี ด้จ่ายไปจริง (1.2) ประเภทและอัตราค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค รวมท้ังค่า ซ่อมแซม ค่าห้องและค่าอาหารได้เบิกถกู ต้องตามทีก่ รมบญั ชกี ลางกำหนด (1.3) กรณเี บิกค่าตรวจสขุ ภาพประจาปี - ใหเ้ บิกได้เฉพาะผมู้ สี ิทธิ ไม่รวมบุคคลในครอบครวั - ตอ้ งเปน็ สถานพยาบาลของทางราชการ - เบกิ ได้ในอัตราทกี่ ระทรวงการคลังกำหนด ปงี บประมาณละ 1 ครง้ั (2) สถานพยาบาลของเอกชน กรณีผู้ปว่ ยใน (2.1) ค่าอวัยวะเทยี มและอปุ กรณ์ในการบำบดั รกั ษาโรค รวมทงั้ คา่ ซ่อมแซม ค่าหอ้ งและ คา่ อาหารเบิกไดเ้ ช่นเดียวกับผู้เข้ารับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของทางราชการ (2.2) ค่ารกั ษาพยาบาลประเภทอื่น ๆ เบิกได้คร่งึ หนึง่ ของจานวนทไ่ี ดจ้ ่ายไปจริง ไม่เกิน อัตราท่ีกระทรวงการคลงั กำหนด กรณีเข้ารับการรักษาเป็นคร้ังคราว เนื่องจากสถานพยาบาลของทางราชการ มีความ จำเป็นต้องส่งตัวให้แก่สถานพยาบาลของเอกชน (มีหลักฐานแนบคือ “ใบประเมินคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉิน”) การเบิกจา่ ยเป็นไปตามหลักเกณฑแ์ ละอัตราทีก่ ระทรวงการคลงั กำหนด ดงั น้ี - ตามหนงั สือกรมบญั ชีกลาง ดว่ นที่สุด ที่ กค ๐๔๑๖.๔/ว ๓๓๓ ลงวันท่ี ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๖๐ กำหนดแนวทางปฏบิ ัตใิ นการเบกิ เงนิ ค่ารักษาพยาบาลกรณเี จบ็ ป่วยฉกุ เฉิน - ตามหนงั สือกรมบญั ชีกลาง ท่ี กค ๐๔๑๖.๔/ ว ๗๖ ลงวนั ที่ ๑๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ ซอ้ มความเข้าใจกรณกี ารเบิกเงนิ ค่ารักษาพยาบาลกรณเี จ็บป่วยฉกุ เฉินในสถานพยาบาลของเอกชน องค์ความรู้ การเบิกจา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารเกี่ยวกบั การรกั ษาพยาบาล หนา้ 36

สรปุ ไดด้ งั นี้ กรณใี บประเมินคัดแยกผู้ป่วยฉกุ เฉนิ ท่ีสามารถเบกิ ได้ตามระเบยี บฯ ให้พิจารณา ดังน้ี 1. ผลการประเมินข้อ 2.3 ในใบประเมินคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉิน จะต้องปรากฏข้อความว่า “ไม่เขา้ เกณฑ์” 2. การจำแนกระดับความฉุกเฉินข้อ 2.1 รหัส ESI หากผลการประเมินเป็น “ผู้ป่วยฉุกเฉิน เร่งด่วน” หรือ “ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง” จะปรากฏข้อความว่า “xxเร่งด่วนx” หรือ “xxไม่รุนแรงx” โดยไม่ ต้องแนบใบรบั รองแพทย์กไ็ ด้ หากผลการประเมินเป็น “xxอื่นๆx” หรือ “xxทั่วไปx” กรณีดังกล่าวน้ี ไม่ถือเป็นผู้ป่วย ฉุกเฉินตามประกาศกระทรวงการคลงั ฯ และไม่สามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลจากทางราชการได้ ขอ้ สังเกต : - ใบเสร็จรับเงินที่เกิดจากการรักษาผู้ป่วยในโดยเกณฑ์กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRGs) ไมส่ ามารถนำมาเบิกจากสว่ นราชการต้นสงั กัดได้ เน่อื งจากเป็นระบบเหมาจา่ ยเฉพาะกล่มุ โรค - ในกรณีผู้มีสิทธิถูกสั่งพักราชการหรือให้ออกจากราชการไว้ก่อนและอยู่ในระหว่างการ พิจารณาจ่ายเงินเบ้ียหวัดบำนาญ ค่ารักษาพยาบาลท่ีเกดิ ขึ้นระหว่างนั้น ผู้มีสิทธิสามารถนำค่ารักษาพยาบาล มาเบิกได้ภายใน ๑ ปี นบั จากวนั ทร่ี ับทราบคดหี รือคดีถึงทส่ี ุดหรอื รับทราบการส่ังจ่ายเงินเบ้ยี หวัดบำนาญ กรณี “ไมถ่ ูกตอ้ ง” ให้สง่ เอกสารกลบั คืนให้แกผ่ มู้ สี ิทธเิ พ่ือดำเนนิ การแก้ไขตอ่ ไป ๔. เสนอผมู้ อี ำนาจลงนามเพื่อขออนมุ ตั ิตามลำดับสายการบงั คับบัญชา ผู้มีอำนาจลงนาม : - กรณสี ว่ นราชการในราชการบรหิ ารสว่ นกลาง : ให้เปน็ อำนาจของหวั หน้าส่วน ราชการระดับกรมหรอื ผู้ที่หวั หนา้ สว่ นราชการระดบั กรมมอบหมาย - กรณีสว่ นราชการในราชการบรหิ ารสว่ นกลางที่มีสานักงานอยู่ในภมู ภิ าคหรือ แยกตา่ งหากจากกระทรวง ทบวง กรม : ให้หัวหน้าสานกั งานเป็นผอู้ นุมตั สิ าหรบั หน่วยงานนั้นกไ็ ด้ - กรณีส่วนราชการในราชการบริหารส่วนภูมิภาค : ให้หัวหน้าส่วนราชการผู้เบิก เป็นผู้อนุมัติ เว้นแต่การเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลของหัวหน้าส่วนราชการให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ที่ ผวู้ ่าราชการจังหวัดมอบหมายเป็นผ้อู นมุ ตั ิคา่ รักษาพยาบาลของหัวหนา้ ส่วนราชการ ๕. เม่ือผู้มอี ำนาจอนุมัติลงนามเรยี บร้อยแล้ว เจ้าหนา้ ที่การเงนิ เบกิ เงินให้กับผขู้ อรับเงินสวสั ดิการฯ -ทำการเบิกจากเงินงบประมาณ รายจา่ ยงบกลาง ๖. การจ่ายเงนิ ใหก้ บั ผู้ขอรบั เงินสวัสดิการฯ เมอ่ื สว่ นราชการได้อนุมตั ิจ่ายเงินใหแ้ ก่ผมู้ สี ทิ ธแิ ล้ว ให้เจา้ หน้าทีก่ ารเงินประทบั ตรา ขอ้ ความว่า “จา่ ยเงินแลว้ ” โดยลงลายมอื ชือ่ รบั รองการจ่ายและระบุชอื่ ผจู้ า่ ยเงินดว้ ยตัวบรรจงพร้อมวนั เดอื นปี ท่ีจ่ายกำกับไวใ้ นหลักฐานการรับเงิน (แบบ ๗๑๓๑) (หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินสวัสดิการฯ พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๒๕) และให้ประทับตราข้อความว่า “จ่ายเงินแล้ว” ในใบเสร็จรับเงินของสถานพยาบาล (ตามระเบียบการเบิก จา่ ยเงนิ จากคลงั การเกบ็ รักษาเงนิ และการนาเงินสง่ คลงั พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ้ ๓๗) องค์ความรู้ การเบิกจา่ ยเงนิ สวัสดกิ ารเกีย่ วกับการรักษาพยาบาล หน้า 37

❖ แนวทางปฏิบัตใิ นกรณีท่ีไม่สามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีที่กำหนดได้ หรือมคี วามจำเป็นต้อง ปฏบิ ัตนิ อกเหนือจากทีก่ ำหนด ให้ขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง ตาม ข้อ 30 หลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วย วธิ กี ารเบกิ จา่ ยเงินสวัสดิการเกย่ี วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 เชน่ 1. หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค.0416.4/ว 263 ลงวันท่ี 18 กรกฎาคม 2560 เรื่อง กำหนดแนวปฏิบตั ิเกย่ี วกบั การเบิกจา่ ยค่ารกั ษาพยาบาลกรณเี ขา้ รับการรักษาท่โี รงพยาบาลศิรริ าช ปิยมหาราช การุณย์ คณะแพทย์ศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล 2. หนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค.0416.4/ว 480 ลงวันที่ 19 ธันวาคม 2560 เร่ือง กำหนดแนวปฏิบัติเก่ียวกับการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลกรณีเข้ารับการรักษาพยาบาลที่ศูนย์ศรีพัฒน์ คณะแพทยศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ - โรงพยาบาลข้อ 1 - 2 มิได้จัดทำระบบเพื่อรองรับวิธีการปฏิบัติในด้านการเบิกจ่ายเงิน คา่ รักษาพยาบาลจากทางราชการ และมิไดเ้ ข้าร่วมโครงการเบิกจ่ายตรงกับกรมบัญชีกลาง ทำให้ผู้ที่เข้ารับการ รักษาพยาบาลท้ังผู้ปว่ ยนอกและผปู้ ่วยในจะต้องทดรองจ่ายเงนิ ค่ารักษาพยาบาลไปก่อน และนำหลักฐานมาย่ืน ขอใช้สิทธิเบกิ เงนิ จากสว่ นราชการตน้ สังกัด ❖ กรณีเป็นผู้ป่วยนอก ผู้ใช้สิทธิและบุคคลในครอบครัว แจ้งความประสงค์ต่อ โรงพยาบาลฯ ให้ลงรหัสรายการฯ สำหรับใช้ประกอบการเบิกค่ารักษาพยาบาล โดยส่วนราชการผู้เบิกต้อง พิจารณาอนุมัติให้เบิกค่ารักษาพยาบาลได้ตามสิทธิ และตามอัตราค่าบริการสาธารสุขตามหนังสือ กรมบัญชกี ลาง ดว่ นที่สุด ท่ี กค 0417/ว 199 ลงวันท่ี 24 พฤศจกิ ายน 2549และทีแ่ กไ้ ขเพ่มิ เตมิ ❖ กรณีเป็นผู้ป่วยใน ผู้ใช้สิทธิและบุคคลในครอบครัว แจ้งความประสงค์ต่อโรงพยาบาลฯ ให้จัดทำเอกสารเพื่อประกอบการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลจากทางราชการตามท่ีกำหนด ให้ผู้มีสิทธิย่ืนขอใช้ สิทธิเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลแนบพร้อมแบบ 7131 ส่งให้ต้นสังกัดระดับกรมขอทำความตกลงมายัง กรมบัญชีกลาง โดยส่งเอกสารท้ังชุดพร้อมแบบ 7131 เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาขอทำความตกลง และ กรมบัญชีกลาง และกรมบัญชีกลางจะเป็นผู้พิจารณาเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลตามประกาศกระทรวงการคลัง เร่ือง หลักเกณฑ์และอัตราค่ารักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยในสถานพยาบาลของทางราชการตามกลุ่ม วินิจฉัยโรคร่วม (DRGs) ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ดว่ นที่สุด ท่ี กค 0422.2/ว112 ลงวันท่ี 24 มีนาคม 2554 และแจ้งส่วนราชการทราบตอ่ ไป 3. กรณผี ู้ใชส้ ิทธแิ ละบคุ คลในครอบครวั เข้ารับการรักษาจากสถานพยาบาลเอกชน และไมไ่ ด้ รบั ใบคัดแยกผู้ป่วยฉกุ เฉิน ส่วนราชการจงึ ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ 4. กรณีผู้ใช้สิทธิและบุคคลในครอบครัว เข้ารับการรักษาพยาบาลเป็นผู้ป่วยในของ สถานพยาบาลของทางราชการ และไดจ้ า่ ยสำรองเงนิ ไปก่อน องคค์ วามรู้ การเบกิ จา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารเกีย่ วกบั การรักษาพยาบาล หนา้ 38

- กรณีตัวอย่างตามข้อ 3 – 4 ส่วนราชการจึงไม่สามารถเบิกจ่ายให้ได้ เนื่องจากไม่เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ที่กรมบัญชีกลางกำหนด จำเป็นต้องส่งเรื่องให้ต้นสังกัดระดับกรมขอทำความตกลงมายัง กรมบัญชีกลาง โดยส่งบันทึกช้ีแจงเหตุผลความจำเป็นท่ีไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบฯได้ พร้อมเอกสาร เก่ียวข้องทั้งหมด พร้อมแบบ 7131 เพ่ือขอให้ทำความตกลงกับกรมบัญชีกลาง โดยกรมบัญชีกลางจะเป็น ผพู้ ิจารณา และแจ้งให้สว่ นราชการทราบตอ่ ไป การเบกิ คา่ รักษาพยาบาลของผู้ติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา่ 2019 หรือโรคโควิด 19 หนังสือเวียนกรมบัญชีกลางเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาล กรณีผู้มีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัว เส่ียงหรือติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 ดังน้ี - หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสุด ที่ กค 0416.4/ว 102 ลงวันที่ 20 มีนาคม 2563 เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราค่ารักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในสถานพยาบาลของทางราชการ กรณี ผู้มีสทิ ธิหรอื บคุ คลในครอบครัวเส่ยี งหรือติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 - หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสุด ที่ กค 0416.4/ว 130 ลงวันท่ี 3 เมษายน 2563 เร่ือง หลักเกณฑ์และอัตราค่ารักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในสถานพยาบาลของทางราชการ กรณี ผมู้ ีสทิ ธหิ รอื บุคคลในครอบครัวเสี่ยงหรือตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โรคโควิด 19 (ฉบบั ท่ี 2) - หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสุด ท่ี กค 0416.4/ว 273 ลงวันท่ี 18 มิถุนายน 2563 เร่ือง หลักเกณฑ์และอัตราค่ารักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในสถานพยาบาลของเอกชน กรณีผู้มีสิทธิ หรอื บุคคลในครอบครัวเส่ียงหรอื ตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โรคโควดิ 19 - หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสุด ท่ี กค 0416.4/ว 471 ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2564 เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราค่ารักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในสถานพยาบาลของทางราชการ กรณผี ูม้ สี ิทธิหรือบคุ คลในครอบครวั เสยี่ งหรือติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควดิ 19 (ฉบับท่ี 3) สรุป 1. กรณีผู้มีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเสี่ยงหรือติดโควิด 19 ท้ังประเภทผู้ป่วยนอกและ ผู้ป่วยใน สามารถเบิกจ่ายได้เฉพาะในระบบเบิกจ่ายตรงเท่าน้ัน ไม่สามารถนำใบเสร็จรับเงินมาเบิก ต้นสังกัดได้ ท้ังกรณีเข้ารับการตรวจรักษาจากสถานพยาบาลของทางราชการ หรือเข้ารับการตรวจรักษา จากสถานพยาบาลเอกชน กรณเี ขา้ รับการตรวจรกั ษาจากสถานพยาบาลเอกชน 1.1 กรณีผลการตรวจยืนยันโรคโควิด 19 และเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลเอกชน การเบิกค่ารักษาพยาบาลจะครอบคลุมต้ังแต่สถานพยาบาลเอกชนรับตัวไว้เป็นผู้ป่วยใน จนถึงส้ินสุดการรกั ษา ตามหลักเกณฑ์ท่ีกระทรวงสาธารณสุขกำหนด ให้หมายรวมถึงการส่งตัวตัวต่อเข้ารับการรักษาพยาบาลของ เอกชนแห่งอนื่ ด้วย องค์ความรู้ การเบิกจา่ ยเงนิ สวัสดกิ ารเก่ียวกับการรกั ษาพยาบาล หนา้ 39

1.2 กรณีผลการตรวจยืนยันไม่เป็นโรคโควิด 19 และเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาล เอกชน การเบิกค่ารักษาพยาบาลจะครอบคลุมตั้งแต่สถานพยาบาลเอกชนรับตัวไว้เป็นผู้ป่วยใน จนถึงผู้ป่วย ได้รับแจง้ ผลการตรวจยืนยนั ฯ (เป็นไปตามหลักเกณฑท์ กี่ ระทรวงการคลังกำหนด) 1.3 กรณีผลการตรวจยืนยันไม่เป็นโรคโควิด 19 และเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาล เอกชน แต่ผู้มีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวยังมีความจำเป็นตอ้ งเข้ารับการรักษาพยาบาลต่อเนื่อง เน่ืองจากเป็น ผ้ปู ว่ ยตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการแพทย์ฉุกเฉิน มาใช้บังคบั กับการเบกิ ค่ารักษาพยาบาล ภายหลังจากผลการตรวจ ยนื ยันฯ ระบุว่าไม่เป็นโรคโควิด 19 1.4 ในกรณีสถานพยาบาลของเอกชนจะส่งตัวผู้มีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวที่เป็นโรค โควิด 19 เข้ารับการรกั ษาพยาบาลต่อเน่ือง ณ เครือข่ายของสถานพยาบาลของเอกชนที่ได้จัดเตรียมไว้ หาก ผู้มีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัว ปฏิเสธการย้ายหรือมีความประสงค์จะขอย้ายไปเข้ารับการรักษาพยาบาล ณ สถานพยาบาลเอกชนแห่งอื่น ค่ารักษาพยาบาลภายหลังจากน้ัน ไม่สามารถขอใช้สิทธิเบิกจากทางราชการได้ และให้รวมถึงกรณีไม่สามารถแสดงเจตนาด้วยตนเอง แต่ญาติเปน็ ผู้แสดงเจตนาแทน 1.5 ในกรณีทำประกันภัยที่คุ้มครองค่ารักษาพยาบาลกรณีเส่ียงหรือเป็นโรคโควิด 19 หากสิทธิที่จะได้รบั ตำ่ กว่าค่ารักษาพยาบาลในคราวนั้น ให้เบิกค่ารักษาพยาบาลได้ตามหลกั เกณฑ์ฯ เฉพาะส่วน ทข่ี าดอยู่ โดยสถานพยาบาลของเอกชนน้ันเปน็ ผูเ้ บกิ แทนในระบบเบิกจ่ายตรงเท่านัน้ ………………………………………………………………………………….. องคค์ วามรู้ การเบิกจา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารเกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาล หนา้ 40

บทสรปุ สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ เป็นสิทธิประโยชน์สาหรับข้าราชการ ลูกจ้างประจำและ ผู้รับบำนาญ ซึ่งสามารถเบิกเงินสวัสดิการได้ตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 และมีสิทธิได้รับค่ารักษาพยาบาลจากทางราชการสาหรับตนเอง บิดา มารดาที่ชอบด้วยกฎหมาย คู่สมรสและบุตรท่ีชอบด้วยกฎหมาย กรณีบุตร เบิกได้ไม่เกิน 3 คนเรียงลาดับการเกิดก่อนหลัง ไม่ว่าจะอยู่ใน อำนาจปกครองของตนหรือไม่ และยังไม่บรรลุนิติภาวะหรือบรรลุนิติภาวะแล้วแต่เป็นผู้ไร้ความสามารถหรือ เสมือนไร้ความสามารถท่ีอยู่ในความอุปการะของตนเอง (ไม่รวมบุตรบุญธรรมและบุตรท่ียกให้เป็นบุตร บุญธรรมของผู้อื่น) หากมีบุตรจำนวนบุตรท่ีตายได้โดยนับบุตรที่อยู่ในลำดับถัดไปก่อน และให้เบิกจนบุตรคน ที่มาแทนจะบรรลุนิติภาวะ กรณียังไมม่ ีบุตรถงึ 3 คน แต่ต่อมามีบุตรแฝดทำให้มีบุตรเกิน 3 คน สามารถเบิกได้ ตง้ั แตบ่ ุตรคนแรกจนถงึ บตุ รคนสดุ ทา้ ย แต่ต้องเป็นบุตรท่ีถูกต้องตามกฎหมายของตนเอง คา่ ยา : - ยาท่ีจะเบิกจ่ายได้ จะต้องขึ้นทะเบียนเป็นยาโดยมีคุณสมบัติในการรักษาโรค ไม่ใช่เสริม ความงาม - เปน็ ยาในบญั ชยี าหลกั แห่งชาติ - หากจำเป็นต้องใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ เบิกได้แต่ต้องมีหนังสือรับรองของแพทย์ ผู้ทำการรักษา และระบุเหตุผลตามข้อบ่งช้ี (A – E) ทั้งน้ี หากระบุเหตุผลข้อบ่งช้ี (F) ซึ่งผู้มีสิทธิประสงค์ ใช้ยาเอง จะนำมาเบกิ ไมไ่ ด้ นอกจากหลักเกณฑ์หลักของการเบิกจ่ายยาแล้ว ยังมีหลักเกณฑ์ย่อยเฉพาะ เพ่ือควบคุมการ เบกิ จ่ายยาบางกลุ่ม คือ ➢ยามะเร็ง 6 ชนดิ ➢ยากลมุ่ โรครูมาติก สะเก็ดเงนิ ➢ยาสมุนไพร และยาแผนไทย ➢วิตามิน และแร่ธาตุ ➢ยาควบคุม 1 กลุ่ม อุปกรณ์และอวยั วะเทียม : อปุ กรณ์ในการบำบัดรักษาโรค และอวยั วะเทยี มท่ีจะเบิกจากทางราชการไดจ้ ะต้องมีรายการ กำหนดอยู่ในหนังสือเวียนของกรมบัญชีกลาง ซ่ึงปัจจบุ ันใช้ประกาศกระทรวงการคลัง เร่ือง ประเภทและอัตรา คา่ อวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรกั ษาโรค พ.ศ. 2560 ตามหนังสือเวียน หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0416.4/ว484 ลงวนั ที่ 21 ธันวาคม 2560 ซึง่ รวมรายการท่ีสามารถเบกิ ได้ท้งั สนิ้ 499 รายการ “อุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค และอวัยวะเทียมจะตอ้ งมีรหัสและเบิกได้ตามอัตราที่กำหนด” องคค์ วามรู้ การเบิกจา่ ยเงนิ สวัสดกิ ารเกี่ยวกบั การรกั ษาพยาบาล หนา้ 41

ระบบ Diagnosis Related Groups : DRGs หรอื ระบบการเบิกจ่ายค่ารกั ษาผู้ป่วยในโดย เกณฑก์ ล่มุ วนิ ิจฉยั โรคร่วม : หลักเกณฑ์การเบิกจา่ ยในระบบ DRG มี ๒ ระบบ ๑. ระบบ DRGs สถานพยาบาลของทางราชการ ๒. ระบบ DRGs สถานพยาบาลเอกชน ข้ันตอนการใช้สทิ ธิ ผปู้ ว่ ยตอ้ งดำเนนิ การ ดงั นี้ (1) ตรวจสอบสถานพยาบาล โรคที่จะรักษา และประมาณการส่วนร่วมจ่ายจาก website กรมบัญชีกลาง (http://www.cgd.go.th) (2) ติดต่อสถานพยาบาลทป่ี ระสงค์จะเข้าร่วมโครงการ โดยสถานพยาบาลจะสรุปแจ้งรายการ ส่วนเกินที่ต้องชาระ (ส่วนท่ีเบิกกับกรมบัญชีกลางไม่ได้) หากผู้ป่วยตกลงเข้ารับการรักษา จะต้องลงนามใน หนงั สอื เพอื่ ยนื ยัน ท้งั นี้ หากไม่ประสงค์เขา้ รบั การรกั ษา ผูป้ ว่ ยสามารถปฏิเสธได้ (3) เมื่อออกจากสถานพยาบาล สถานพยาบาลจะเรียกเก็บส่วนเกินจากผ้ปู ่วย ส่วนท่ีเบิกได้ สถานพยาบาลจะวางเบิกจากกรมบัญชีกลางโดยตรง และส่วนเกินท่ีจ่ายไป ไม่สามารถนำมาเบิกจากส่วน ราชการตน้ สังกดั ได้ ข้อสังเกต ใบเสร็จรับเงินที่เกิดจากการรักษาผู้ป่วยในโดยเกณฑ์กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRGs) ไมส่ ามารถนำมาเบกิ จากส่วนราชการต้นสังกัดได้ เน่อื งจากเปน็ ระบบเหมาจ่ายเฉพาะกลมุ่ โรค ระบบการให้บรกิ ารเจบ็ ป่วยฉุกเฉนิ สาหรับประชาชนทุกสิทธิ ตามนโยบายของรฐั ท่ีต้องการพัฒนาระบบประกันสุขภาพและบูรณาการระบบการรักษาพยาบาล ของประชาชนทุกสิทธิให้เปน็ ไปในแนวทางเดียวกนั ของกองทุนสุขภาพ ๓ กองทุน คอื กรมบัญชกี ลาง สำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ส.ป.ส.ช.) และสานักงานประกันสังคม (สปส.) ภายใต้แนวคิด “เจ็บป่วยฉุกเฉิน รกั ษาทกุ ท่ี ท่วั ถงึ ทุกคน” ………………………………………………………………………. องค์ความรู้ การเบิกจ่ายเงนิ สวสั ดกิ ารเกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาล หน้า 42

เอกสารอา้ งองิ พระราชบัญญตั ิการกำหนดหลกั เกณฑเ์ ก่ยี วกับการจ่ายเงนิ บางประเภทตามงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. 2518 พระราชกฤษฎีกาเงนิ สวัสดกิ ารเกย่ี วกับการรักษาพยาบาล พ.ศ.2553 พระราชกฤษฎกี าเงินสวสั ดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 2555 หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยวิธกี ารเบกิ จา่ ยเงินสวัสดิการเกยี่ วกบั การรกั ษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ ค่มู ือสวสั ดกิ ารรักษาพยาบาลขา้ ราชการ โดยกรมบัญชีกลาง หลกั เกณฑก์ ารเบิกค่ารักษาพยาบาลกรณเี จบ็ ปว่ ยฉุกเฉนิ วิกฤตและเจ็บปว่ ยฉุกเฉินเรง่ ด่วน หลกั เกณฑ์การเบิกจา่ ยคา่ รักษาพยาบาลดว้ ยวธิ กี ารทางแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก หลกั เกณฑก์ ระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการเบกิ ค่าพาหนะสง่ ต่อผปู้ ่วย ประเภทและอัตราคา่ อวยั วะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบดั รกั ษาโรค หลกั เกณฑ์การเบิกคา่ รักษาพยาบาลส่วนท่ขี าดจากสญั ญาประกันภัยกรณใี ชห้ ลกั ฐานการรบั เงิน พระราชบัญญตั ิการแพทย์ฉุกเฉนิ หลกั เกณฑ์การจัดทำฐานข้อมูลเก่ียวกบั การรกั ษาพยาบาล หนังสือเวียนและหนงั สือสง่ั การตา่ งๆ ที่ยงั ใชอ้ ยู่ปจั จบุ นั ท่เี กี่ยวขอ้ ง

ภาคผนวก

ผังการใช้สิทธิความสัมพนั ธใ์ นครอบครัว สทิ สิทธหิ ล ข้าราชการ ขา้ ราชการ ขา้ ราชการ ประกันสงั คม ใชส้ ทิ ธิ - สำหรับ คู่สมรสที่อีกฝ่ายมีสิทธิหลักเป็ น สวสั ดิการ ประกันสังคมสามารถเลือกสิทธิได้ โดยแสดง รักษาพยาบาล ความจำนงเลือกสิทธิตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ ข้าราชการของ (ต.ค) จะได้สิทธิสวัสดิการข้าราชการโดย ตนเอง อัตโนมัติ (หากรับบริการใน รพ.คู่สัญญา ของตนเอง ป ระ กั น สั งค ม ตามระเบี ยบของสำนั กงาน ประกันสังคม กใ็ ช้สิทธไิ ด้ ไมไ่ ดร้ อนสทิ ธ)ิ - กรณีเลือกใช้สิทธิประกันสังคม เป็นไปตาม ระ เบี ย บ ส ำนั ก งาน ป ระกั น สั งค ม แ ล ะ ไม่ ส า ม า ร ถ เบิ ก ต า ม สิ ท ธิ ส วั ส ดิ ก า ร รักษาพยาบาลข้าราชการได้ คำจำกัดความ สทิ ธิหลกั หมายถงึ สทิ ธิท่เี กดิ จากตนเอง สิทธิรอง หมายถงึ สิทธิท่ไี ดร้ บั จากผอู้ ื่น หรือ สทิ ธิหลกั – สทิ ธิหลกั หมายถงึ บคุ คล 1 คน มี 2 สิทธิ ซง่ึ เป็นสทิ ธิหลกั ท่เี กิดจากตนเองทงั้

ทธริ ะหวา่ งสามภี รรยา (เปน็ ขา้ ราชการทง้ั คู่ 2 สทิ ธิ) ลกั – สิทธหิ ลัก ข้าราชการ รัฐวิสาหกจิ ข้าราชการ อปท. - สำหรับคู่สมรสอีกท่ีฝ่ายมีสิทธิหลักเป็น ให้ใช้สทิ ธสิ วัสดกิ าร รัฐ วิ ส าห กิ จ ส าม ารถ เลื อ ก สิ ท ธิ รักษาพยาบาล รักษาพยาบาลข้าราชการได้โดยแสดง ขา้ ราชการ ความ จ ำน งเลื อ ก สิ ท ธิตั้ งแต่ ต้ น ปี งบ ป ระ ม า ณ (ต .ค ) จ ะ ได้ สิ ท ธิ สวัสดกิ ารข้าราชการโดยอัตโนมัติ - กรณีเลือกใช้สิทธิ รัฐวิสาหกิจ/องค์กร อิสระ ให้เป็นไปตามระเบียบของแต่ละ องค์กร และไม่สามารถเบิกตามสิทธิ สวสั ดกิ ารรักษาพยาบาลข้าราชการได้ อเรียกวา่ ผอู้ าศยั สิทธิ หรอื เรยี กวา่ ผอู้ าศยั สทิ ธิ 2 สิทธิ

ผังการใช้สทิ ธิความสมั พนั ธใ์ นครอบครวั สิทธหิ ลกั – ขา้ ราชการ – ข้าราชการ ข้าราชการ -ประกนั สงั คม (สแกนสทิ ธเิ บกิ จ่ายตรงไมไ่ ด้ ต้องใชก้ ารอนุมตั ิเป็ นรายกรณี มี 4 กรณี ใชส้ ทิ ธิ ใช้สทิ ธปิ ระกันสงั คม (สทิ ธขิ องตนเอง) และใชส้ ิทธริ ่วม สวสั ดกิ าร เป็นผอู้ าศยั สทิ ธสิ วสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาลขา้ ราชการใน รกั ษาพยาบาล 2 กรณี ดังน้ี ขา้ ราชการของ 1.กรณเี ข้ารับบริการปกตติ รงกับ รพ. ทีเ่ ลือกไว้และมี ตนเอง เพดานวงเงินกำหนดไม่สามารถเบกิ ส่วนเพ่มิ สว่ นเกิน ของตนเอง กบั กรมบญั ชีกลางไดย้ กเว้นเขา้ รพ. รฐั เบิกส่วนตา่ ง ได้ 4 กรณี คือ 1.1 คา่ คลอดบตุ รสิทธิประกันสังคมไม่จำกดั จำนวน ครง้ั เบิกส่วนเกนิ จาก 13,000 บาท 1.2 ค่าฟอกไตสว่ นเกนิ จาก 1,500 บาท 1.3 การเบิกคา่ วางเส้น Vascular ซำ้ ภายใน 2 ปี 1.4 คา่ ทำฟนั ส่วนทเ่ี กินจาก 900 บาท/ปี 2. .กรณเี ขา้ รบั บริการปกติตรงกบั รพ. ที่เลือกไว้และมี เพดานวงเงนิ กำหนดแตค่ นไข้ร้องขอบริการพเิ ศษเอง ตอ้ งจ่ายเงนิ ส่วนเกินเอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook