Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 33-ธนาเทพ แจ่มดอน-ปวช.1-4-บทที่7หน้าที่183-184

33-ธนาเทพ แจ่มดอน-ปวช.1-4-บทที่7หน้าที่183-184

Published by 33 ธนาเทพ แจ่มดอน, 2021-07-06 02:52:40

Description: 33-ธนาเทพ แจ่มดอน-ปวช.1-4-บทที่7หน้าที่183-184

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 7 จริยธรรมกยั ความรับผดิ ชอบและผลกระทบในการใช้คอมพวิ เตอร์และสารสนเทศในงานอาชีพ เนื่องจากสงั คมเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT : Information Technology) และระบบ สารสนเทศ (IS : Information System) ในโลกยคุ ปัจจุบนั เริ่มเขา้ มามีบทบาทเป็นอยา่ งมาก ในการดาเนินชีวติ ของมนุษย์ โดยเฉพาะในเชิงธุรกิจ ไม่วา่ จะเป็นเรื่องการเงิน การลงทุน และ การคา้ ระหวา่ งประเทศ ตลอดจนการศึกษา และการบริการต่างๆ กต็ าม ส่ิงเหลา่ น้ีลว้ นแลว้ แต่ อาศยั เทคโนโลยสี ารสนเทศในการอานวยความสะดวก แทบท้งั สิ้น เพราะสามารถประหยดั เวลา ประหยดั ตน้ ทุน มีความรวดเร็ว และสามารถเชื่อมน่ั ในความถูกตอ้ ง แม่นยาของขอ้ มูลไดเ้ ป็น อยา่ งดี หลายองคก์ รไดย้ อมรับและใชเ้ ป็นมาตรฐานในการช้ีถึงความน่าเชื่อถือ โดยเฉพาะใน กลุ่มประเทศท่ีพฒั นาแลว้ เช่น สหรัฐอเมริกา องั กฤษ กลุม่ ประเทศในแถบยโุ รป อยา่ งไรกด็ ี ความเหลื่อมล้ากนั ทางเทคโนโลยไี ม่วา่ จะดว้ ยปัจจยั ใดกต็ าม ทาใหเ้ กิด ช่องวา่ งระหวา่ ง การรับรู้และการเขา้ ถึงขา่ วสารของผมู้ ีข่าวสารและผไู้ ร้ขา่ วสาร หรือท่ีเรียกกนั วา่ “Digital Devide” ความไม่ เท่าเทียมกนั ของโอกาสในการเขา้ ถึงเทคโนโลยเี หล่าน้ีส่งผลถึง การละเมิดสิทธิต่างๆ มากมาย อาจจะดว้ ย ความต้งั ใจหรือไม่ต้งั ใจที่จะทากต็ าม ส่ิงหน่ึงที่ตอ้ ง ทาควบคู่กนั ไปกบั การแกป้ ัญหา คือการป้องกนั โดยการ เสริมสร้างจริยธรรมในการใชค้ อมพิวเตอร์ ส่งเสริมใหท้ ุกคนไดเ้ รียนรู้และเห็นคุณคา่ ของปัญหาที่จะเกิดข้ึน ท้งั โดยตนเองและส่วนรวม ความหมายของจริยธรรม (Ethics) จริยธรรม จากพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึง ธรรมท่ีเป็น ขอ้ ประพฤติ ปฏิบตั ิ ศีลธรรม และกฎศีลธรรม จากการสมั มนาของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ไดส้ รุปนิยามไวว้ า่ จริยธรรม คือ แนวทางประพฤติปฏิบตั ิตนเพอ่ื การบรรลุถึงสภาพชีวิตอนั ทรงคุณคา่ พึงประสงค์ โดยทว่ั ไป จริยธรรมมกั อิงอยกู่ บั ศาสนา ท้งั น้ี เพราะคาสอนทางศาสนามีส่วนสร้าง ระบบ จริยธรรมใหส้ งั คม แต่ท้งั น้ีไม่ไดห้ มายความวา่ จริยธรรมอิงอยกู่ บั หลกั คาสอนทางศาสนา เพียงอยา่ งเดียว แท้ ที่จริงจริยธรรมหยงั่ รากอยบู่ นวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ โดยนยั น้ี บางท่านเรียกหลกั แห่ง ความประพฤติอนั เนื่องมาจากคาสอนทางศาสนาวา่ ศีลธรรม และ เรียกหลกั แห่งความประพฤติอนั พฒั นามา จากแหลง่ อื่นวา่ จริยธรรม คาว่า Ethics ในภาษาองั กฤษ มี 2 ความหมาย ดงั นี้

-ความหมายแรกคือ จริยธรรม (Ethics) หมายถึง ประมวลกฎหมายท่ีกลุม่ ชน หรือสังคม หน่ึงๆ ยอมรับเป็นแนวควบคุมความประพฤติ เพอื่ แยกแยะใหเ้ ห็นวา่ อะไรควรหรือ ไปกนั ไดก้ บั การบรรลุ วตั ถุประสงคข์ องกลุ่ม Ethics ท่ีใชใ้ นความหมายน้ีเป็นอนั เดียวกบั จริยธรรม เช่น Medical Ethics (จริยธรรม ทางการแพทย)์ ซ่ึงตรงกบั ความหมายของ Medical Ethics ในภาษาองั กฤษวา่ The rules or principles governing the professional conduct of medical practitioners. -ความหมายท่ีสองของ Ethics เป็นความหมายที่ใชใ้ นภาษานกั ปรัชญา และ Ethics ใน ความหมายน้ีแปลเป็นไทยวา่ จริยศาสตร์ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใ้ หค้ วามหมาย ของจริยศาสตร์ไวว้ า่ ปรัชญาสาขาหน่ึงวา่ ดว้ ยการแสวงหาความดีสูงสุดของ ชีวติ มนุษย์ แสวงหาเกณฑใ์ น การตดั สินความประพฤติของมนุษยว์ า่ อะไรถูก อะไรผดิ หรือ อะไรควร อะไรไม่ควร คาวา่ จริยธรรม อาจมีผรู้ ู้ใหค้ าอธิบายแตกต่างกนั ออกไปตามสาขาวชิ า แต่โดย สรุปแลว้ จริยธรรมกค็ ือกฎเกณฑค์ วามประพฤติของมนุษยซ์ ่ึงเกิดข้ึนจากธรรมชาติของมนุษยเ์ อง ไดแ้ ก่ ความเป็นผมู้ ี ปัญญาและเหตุผลหรือปรีชาญาณ ทาใหม้ นุษยม์ ีมโนธรรมและรู้จกั ไตร่ตรอง แยกแยะความดีความชว่ั , ถูก- ผิด, ควร-ไม่ควร เป็นการควบคุมตวั เองและเป็นการควบคุมกนั เอง ในกลุ่ม หรือเป็นศีลธรรมเฉพาะกลุม่ ความหมายของจรรยาบรรณ (Code of Conduct) จรรยาบรรณ จากพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึง ประมวล ความ ประพฤติท่ีผปู้ ระกอบอาชีพการงานแต่ละอยา่ งกาหนดข้ึนเพ่อื รักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ช่ือเสียงและฐานะ ของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรหรือไม่กไ็ ด้ เช่น จรรยาบรรณ แห่งวิชาชีพ (Professional Code of Conduct) ความหมายของศีลธรรม (Moral) ศีลธรรม เป็นศพั ทพ์ ระพุทธศาสนา หมายถึง ความประพฤติท่ีดี ท่ีชอบ หรือธรรม ใน ระดบั ศีล คาวา่ ศีลธรรม ถา้ พิจารณาจากรากศพั ทภ์ าษาละติน Moralis หมายถึง หลกั ความประพฤติท่ีดี สาหรับบุคคลพงึ ปฏิบตั ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook