Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ครูMระบบย่อยอาหาร

ครูMระบบย่อยอาหาร

Published by comna.m2526, 2020-05-22 01:34:55

Description: ครูMระบบย่อยอาหาร

Search

Read the Text Version

ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) 1

ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) 2

การย่อยอาหาร (Digestion) ส่งิ มีชีวติ ทกุ ชนิด มีความต้องการหาอาหารเพื่อให้ตนเองสามารถดารงชีพอย่บู นโลกได้ ดงั นนั้ เราสามารถจะจาแนกส่ิงมีชีวติ ตามการจดั หาอาหารออกเป็น 2 พวกใหญ่ ๆ คือ 1. Autotroph คือสง่ิ มีชีวติ ที่สามารถสร้างอาหารเองได้จากสารอนินทรีย์ ได้แก่ การ สงั เคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) เชน่ พวกพืชสเี ขียวตา่ ง ๆ ได้พลงั งานในการ สงั เคราะห์ด้วยแสงโดยใช้พลงั งานจากแสงอาทิตย์ และการสงั เคราะห์ด้วยปฏกิ ิริยาเคมี (Chemosynthesis) เช่น ในแบคทีเรียบางชนิด อาศยั พลงั งานจากปฏิกิริยาเคมี 2. Heterotroph คือสงิ่ มีชีวติ ทส่ี ร้างอาหารเองไมไ่ ด้ ได้แก่ พวกสตั ว์ได้อาหารจากสง่ิ ที่สร้าง มาแล้ว เราสามารถแบง่ ชนิดของสตั ว์ตามเกณฑ์ตา่ งๆ ได้ดงั นี ้ แบ่งตามชนิดของอาหารท่กี นิ เข้าไป Herbivore สตั ว์กินพืช เช่น กระตา่ ย กอริลลา ววั หอยทาก เป็นต้น Carnivore สตั ว์ที่กินเนือ้ เชน่ เสอื แมว ฉลาม Omnivore สตั ว์ท่ีกินทงั้ พืชและสตั ว์ เชน่ แมลงสาบ อีกา และคน 3

ประเภทของการย่อยอาหาร 1. การย่อยภายในเซลล์ (Intracellular digestion) คือ การที่เซลล์ นาอาหารเข้าไปภายในจนทาให้เกิดถงุ อาหาร (Food vacuole)แล้วใช้นาย่อยยอ่ ยอาหารในเซลล์นนั้ 2.การย่อยภายนอกเซลล์ (Extracellular digestion) คอื การท่ี เซลล์ขบั นา้ ยอ่ ยออกมาย่อยอาหารนอกเซลล์จนกลายเป็นโมเลกลุ เลก็ ๆ แล้วดดู ซมึ ไปใช้ประโยชน์ต่อไป4

ประเภทของทางเดนิ อาหาร 1.ทางเดนิ อาหารแบบสมบูรณ์ (Complete digestive tract) ประกอบด้วยช่องเปิด 2 ชอ่ ง ทาหน้าที่เป็นปากและทวาร หนกั ตามลาดบั 2.ทางเดนิ อาหารแบบไม่สมบรู ณ์ (Incomplete digestive tract) ประกอบด้วยชอ่ งเปิดเพียง 1 ชอ่ ง คือ อาหารเข้าทางปากและ กากอาหารออกทางเดียวกนั 5

ภาพแสดงประเภทของทางเดนิ อาหาร 6

หน้าท่ขี องทางเดนิ อาหาร แบ่งออกเป็ น 4 ประการ คือ 1. การกนิ (Ingestion) เป็นการนาอาหารเข้าร่างกาย 2. การย่อยอาหาร (Digestion) เป็นการทาให้ได้สารอาหารเพ่ือนาไปใช้ได้ 3. การดดู ซมึ (Absorption) เป็นการนาสารอาหารโมเลกลุ เลก็ เหลา่ นนั้ เข้าสู่ เซลล์ เพื่อเข้าสรู่ ะบบไหลเวียนต่อไป 4 .การขับออก (Elimination หรือ Egestion) โดยจะขบั สารที่ยอ่ ยไมไ่ ด้ ออกเป็นกากอาหาร 7

ภาพแสดงหน้าทขี่ องทางเดินอาหาร 8

หน้าที่เหล่านีจ้ ะสาเร็จได้ต้องมี 3 กระบวนการนี้ 1.การเคล่ือนไหว (Motility) เป็นการคลกุ เคล้าอาหารและผลกั อาหารให้เคลื่อนไปตามทางเดินอาหาร 2.การหล่ัง (Secretion) เป็นการหลงั่ นา้ ยอ่ ยจากตอ่ มมีทอ่ ตามทางเดินอาหาร 3.การขนส่ง (Membrane transport) เป็นกลไกการดดู ซมึ สารอาหาร รวมถงึ การขนสง่ ไปยงั เส้นเลอื ดหรือทอ่ นา้ เหลือง 9

ขนั้ ตอนของการย่อยอาหาร 1.การย่อยเชิงกล (Mechanical digestion) เป็นการยอ่ ยอาหารโดยการบดหรือเค้ียวเพอ่ื ใหอ้ าหารมีขนาดเลก็ ลง เช่นใน vertebrate ใชฟ้ ันบดเค้ียว ในไสเ้ ดือนดินใชก้ น๋ึ (Gizzard) บด เป็นตน้ 2. การย่อยเชิงเคมี (Chemical digestion) เป็นการยอ่ ยอาหาร โดยใชน้ ้ายอ่ ย หรือเอนไซม์ (Enzyme) เขา้ ช่วย เพอื่ ใหอ้ าหารมีโมเลกลุ เลก็ ท่ีสุด แลว้ จึงทาการดูดซึมเขา้ สู่เซลลไ์ ด้ 10

การย่อยอาหารของจุลนิ ทรีย์ ดารงชีวติ เป็นผยู้ อ่ ยสลายสารอินทรียใ์ นระบบนิเวศสิ่งมีชีวติ เหล่าน้ีส่วนใหญ่ จะมีการยอ่ ยอาหาร โดยปล่อยเอนไซมอ์ อกมานอกเซลล์ เพือ่ ยอ่ ยสารอินทรีย์ จนเป็นสารอาหารโมเลกลุ เลก็ (Extracellular digestion) แลว้ จึงดูดซึมเขา้ สู่เซลล์ 11

การย่อยอาหารของอะมีบา -มีการนาอาหารเข้ าส่ ูเซลล์ ร่ างกายโดยตรง -ย่อยอาหารภายในเซลล์ (intracellular digestion) -เคล่ือนย้ายสารอาหารท่ยี ่อยได้จาก food vacuole สู่ไซโตพลาสม -ขับกากอาหารออกทาง anal pore 12

การย่อยอาหารของพารามีเซียม -มีการนาอาหารเข้ าส่ ูเซลล์ ร่ างกายโดยตรง -ย่อยอาหารภายในเซลล์ (intracellular digestion) -เคล่ือนย้ายสารอาหารท่ยี ่อยได้จาก food vacuole สู่ไซโตพลาสม -ขับกากอาหารออกทาง anal pore 13

การย่อยอาหารของสัตว์ท่ไี ม่มที างเดนิ อาหาร ฟองนา้ (Spongy) ฟองน้ากินอาหารโดยการจบั อนุภาคอาหารขนาดเลก็ ที่ปะปนอยใู่ นน้าทะเล ซ่ึงถูกพดั พาผา่ นรูเลก็ ๆ ของช่องน้าเขา้ ถูกกรองเขา้ ไปในตวั ฟองน้า โดย เซลลท์ ่ีมีแฟลกเจลลมั ซ่ึงเรียกวา่ โคแอนโนไซต์ (Choanocyte) โบกน้าผา่ น เขา้ มาและใชเ้ มือกจบั อนุภาคอาหารน้นั แลว้ ใชก้ ระบวนการฟาโกไซโทซิส จบั อาหารเขา้ เซลลพ์ ร้อมกบั สร้างฟูดแวคิวโอล (Food vacuole) อาหารจะ ถูกยอ่ ยและส่งไปตามส่วนต่าง ๆ โดยเซลล์อะมีโบไซต์ (Amoeocyte) 14

ภาพแสดงการกนิ อาหารของฟองน้า 15

Intracellular and extracellular digestion - พบในหนอนตวั แบน(พลานาเรีย) และ cnidarians(เชน่ แมงกะพรุน, ไฮดรา) -มี gastrovascular cavity ท่ีเป็ นช่องสาหรับนา้ , อาหาร และอากาศเข้าสู่ร่างกาย -ทางเข้าและออกของอาหารเป็ นทางเดยี วกัน (incomplete digestive tract) -หลังจากอาหารเข้าสู่ gastrovascular cavity จะมีการปล่อยเอนไซม์จากเซลล์ออกมาย่อย เรียกการย่อยนีว้ ่า extracellular digestion -อาหารท่ยี ่อยแล้วยังมีขนาดใหญ่อยู่ จะถกู นาเข้าสู่เซลล์โดยวธิ ี phagocytosis และย่อยต่อไป 16

ขัน้ ตอนการย่อยแบบ extracellular digestion ในไฮดรา 17

18

พลานาเรีย (Planaria) เป็นสัตวพ์ วกหนอนตวั แบนชนิดหน่ึงที่ดารงชีพอิสระ จบั เหย่ือโดยการปล่อย เมือกออกมาและใชล้ าตวั คลุมลงบนตวั เหยอ่ื เหยอ่ื จะถูกเมือกพนั ตวั ทาให้ เคลื่อนไหวไม่ได้ และจะใชง้ วงหรือฟาริงซ์ยนื่ ออกมาดูดของเหลวในตวั เหยอ่ื เป็นอาหาร หรือกลืนเหยอื่ เขา้ ไปช่องแกสโทรวาสควิ ลาร์ที่แตกแขนงทอดยาว ไปตามลาตวั เซลลต์ ่อมท่ีอยตู่ ามผนงั ทางเดินอาหารจะปล่อยเอนไซมอ์ อกมา ยอ่ ยอาหาร และชิ้นส่วนท่ียอ่ ยแลว้ จะมีเซลลท์ ่ีผนงั ทางเดินอาหารโอบลอ้ ม อาหารเขา้ ไปยอ่ ยภายในเซลลต์ ่อ ส่วนกากอาหารท่ียอ่ ยไม่ไดก้ จ็ ะกลบั ออกมา ทางปาก (ภาพที่ 1.9) 19

ภาพแสดงลกั ษณะทางเดนิ อาหารของพลานาเรีย 20

พยาธิใบไม้ (Fluke) เป็นสตั ว์กลมุ่ เดยี วกบั หนอนตวั แบน มีทางเดนิ อหารคล้ายพลานาเรียมีปากไมม่ ี 21 ทวารหนกั ลกั ษณะทางเดนิ อาหารไม่มีก่ิงก้านสาขามากบริเวณส่วนหวั มี อวัยวะดูดเกาะ (Oral sucker) ใช้ดดู เลอื ดจากเหยื่อเข้าปาก ต่อจากปากเป็น คอหอยและลาไส้แยกออกเป็นแขนง กาย่อยอาหารเป็นการย่อยแบบภายในเซลล์

พยาธิตัวตืด (Tape worm) เป็นสตั วก์ ลุ่มเดียวกบั หนอนตวั แบน บริเวณส่วนหวั มีอวยั วะ ดูดเกาะหลายอนั อยรู่ อบ ๆ ส่วนหวั เรียกวา่ สโคเลก็ ซ์ (Scolex) ไม่มที างเดนิ อาหารจึงตอ้ งดูดซึมสารอาหารท่ียอ่ ย แลว้ จากทางเดินอาหารของผถู้ ูกอาศยั (Host) เขา้ สู่ร่างกาย โดยไม่ตอ้ งยอ่ ย(ภาพท่ี 1.11) 22

ภาพแสดงโครงสร้างของพยาธิตัวตืด 23

การย่อยอาหารของสัตว์ทม่ี ีทางเดนิ อาหารสมบูรณ์ หนอนตัวกลม (Nematode) เป็นสัตว์พวกแรกทมี่ ีทางเดนิ อาหารสมบูรณ์ ประกอบดว้ ย ปาก (Mouth) คอหอย(Pharynx) ซ่ึงมีลกั ษณะเป็นท่อยาวที่มีกลา้ มเน้ือบุผนงั หนามาก ช่อง ภายในค่อนขา้ งแคบ การบีบตวั การคลายตวั ของกลา้ มเน้ือบุผนงั ฟาริงซ์ จะทา ใหเ้ กิดแรงดูด ทาใหอ้ าหาร เคลื่อนเขา้ สู่ลาไส้ (Intestine) ซ่ึงเป็นท่อยาวมีลิ้น ปิ ดเปิ ดระหวา่ งลาไสก้ บั คอหอย การยอ่ ยอาหารและดูดซบั อาหารเกิดข้ึนภาย ในลาไส้ การยอ่ ยอาหารเป็นการยอ่ ยแบบภายนอกเซลล์ จากน้นั ขบั กากออก ทางทวารหนัก (Anus) (ภาพที่ 1.12) สาหรับหนอนตวั กลมท่ีเป็นปรสิต มกั จะ กินเน้ือเยอื่ ต่าง ๆ หรือกินอาหารที่ยอ่ ยแลว้ ของผถู้ ูกอาศยั 24

ภาพทแ่ี สดงลกั ษณะทางเดนิ อาหารของหนอนตัวกลม ปาก คอหอย ลาไส้เลก็ ไสต้ รง ทวารหนกั 25

ภาพท่แี สดงลกั ษณะทางเดินอาหารของหนอนมปี ล้อง -มีทางเปิ ดของปาก(mouth)และ ทวารหนัก(anus) แยกกันเรียก complete digestive tract หรือ alimentary canal -crop และกระเพาะอาหารทา หน้าท่ีเกบ็ อาหาร (บางครัง้ อาจมีการย่อย) -gizzard ทาหน้าท่ีบดอาหาร Extracellular digestion in complex animals พบในสัตว์ส่วนใหญ่ ตงั้ แต่หนอนตวั กลมจนถงึ สัตว์มีกระดูกสันหลัง 26

27

แมลง (Insect) ทางเดินอาหารคลา้ ยกบั พวกแอนเนลิด แต่อวยั วะต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไปบา้ เพอื่ เพ่มิ ประสิทธิภาพในการกินอาหาร หรือเพอ่ื ใหเ้ หมาะกบั ชนิดของอาหาร เช่น ปากของแมลง มีหลายชนิด มกั ใช้นา้ ลายในการดูดอาหาร โดยยงุ ใชน้ ้าลายพน่ ใส่เลือดเพอ่ื ไม่ใหเ้ ลือดแขง็ ตวั ยงุ จึงดูดไปใชไ้ ด้ ผเี ส้ือดูน้าหวาน โดยใชง้ วงซ่ึงมว้ นเป็นวงดูดเขา้ ไป ส่วนแมลงวนั ปล่อยน้าลายออกมาละลา อาหารแลว้ จึงดูดอาหารเขา้ ปาก จึงเห็นไดว้ า่ การทาใหอ้ าหารเปล่ียนสภาพมี ขนาดเลก็ ลงน้นั เริ่มตน้ ที่ปาก 28

ภาพท่ี 1.14 แสดงลกั ษณะปากของแมลงชนิดต่าง ๆ 29

หากนาตก๊ั แตนมาผา่ ดูทางเดินอาหาร จะพบวา่ ประกอบดว้ ยปาก (Mouth) ถดั ไปเป็นคอ หอย(Pharynx) หลอดอาหาร (Esophagus) เป็นทางเดินอาหารท่ีคอ่ ย ๆ พองออกจนเป็นถุง ใหญ่เรียกวา่ ถุงพกั อาหาร (Crop) สองขา้ งของหลอดอาหารมีต่อมนา้ ลาย(Salivary gland) สีขาว รูปร่างคลา้ ยก่ิงไม้ ส่วนปลายของถุงพกั อาหารน้ีมีกระเปาะแขง็ ๆ เรียกวา่ โปรเวนตริ คูลสั หรือกน๋ึ (Proventiculus หรือ Gizzard) ภายในมีหนามแหลม ๆ ยน่ื ออกไปรวมกนั ตรงกลางมีไวเ้ พ่อื ใชก้ รองอาหาร ส่วนที่ตอ่ กบั ก๋ึนมีถุงเลก็ ๆ รูปร่างคลา้ ยนิ้วมือ 8 ถุง เรียกวา่ แกสตริกซีกา (Gastric ceca) เช่ือกนั วา่ ทาหนา้ ที่สร้างน้ายอ่ ย ช่วงน้ีจะต่อกบั ทางเดินอาหารส่วนกลาง (Mid gut) ตอนกลางของลาตวั จะมีอวยั วะกาจดั ของเสีย เรียกวา่ หลอดมลั พเิ กยี น (Malpighian tubule) เป็นเสน้ ฝอยบาง ๆ สีเหลืองอยกู่ นั เป็นกระจุก ถดั ไปเป็นโคลอน (Colon) เป็นส่วนหน่ึงของลาไส้ใหญ่ ส่งกากอาหารไปยงั ไส้ตรง (Rectum) แลว้ จึงเปิ ดออกที่ทวารหนัก (Anus) (ภาพ) 30

ภาพแสดงลกั ษณะทางเดนิ อาหารของต๊ักแตน 31

32

ปลา (Fish) • เป็นสตั วท์ ี่มีกระดูกสนั หลงั ปลากินอาหารหลากหลายชนิด สามารถแยก ออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ แพลงก์ตอน พืช สัตว์ ปลาท่ีกินอาหารแต่ละชนิด จะมีความแตกต่างของอวยั วะยอ่ ยอาหารต้งั แต่ลกั ษณะของปาก ฟัน และ ทางเดินอาหาร • ปลาท่ีกนิ แพลงก์ตอนเป็นอาหาร ตวั อยา่ งเช่นปลาทู (Reatrelliger spp.) ปลา อกแล (Sardinella spp.) ปลาแป้น (Leiognathus spp.) ปลาเหล่าน้ีมีฟันขนาด เลก็ มาก หรือไม่มีฟันเลย นอกจากน้นั ขากรรไกรกไ็ ม่แขง็ แรง ปลาแป้นมีปาก ขนาดเลก็ แต่ยดื ออกไม่ได้ ส่วนปลาปากแตร (Fistularidae) ปากคลา้ ยหลอด ดูด สาหรับดูดกินแพลงกต์ อน 33

• ปลาตะเพยี นปลาในมีฟันบดบริเวณคอหอยสาหรับบดพืชน้าหรือสาหร่ายท่ีกินเขา้ ไปให้ ละเอียด • ปลาพวกมีปากแข็งแรง เช่น ปลกนกแกว้ ปลาสลิดหิน มีฟันขดุ มีลกั ษณะคลา้ จะงอยปากนก เพื่อใชข้ ดุ กินสาหร่ายท่ีอยใู่ นหินปะการัง • สาหรับปลาล่าเหยื่อ เช่น ปลาอินทรีย์ ปลาปากคม ส่วนมากมีขากรรไกรท้งั ล่างและบน แขง็ แรงดี มีฟันแหลมคม มองเห็นไดช้ ดั เจน ปลาพวกน้ีจบั เหยอื่ ทีละตวั พวกปลากระเบน มี ฟันแผงแขง็ แรง จนสามารถใชข้ บเปลือกหอยใหแ้ ตกเพ่ือกินเน้ือหอย • สาหรับทพ่ี ืน้ ปากมีลนิ้ ขนาดเลก็ มาที่ไม่ใชง้ าน ทาหนา้ ที่รับสมั ผสั อาหาร เมื่ออาหารเขา้ ปาก แลว้ กจ็ ะเคล่ือนผา่ นคอหอยหลอดอาหาร กระเพาะอาหารลาไส้ ไพโลริกซีกา (Pyloric ceca) พบเฉพาะปลากินเน้ือ และออกมาทางทวารหนกั โดยการยอ่ ยอาหาร จะอาศยั ต่อมสร้าง น้ายอ่ ย ที่ประกอบดว้ ย ตบั (Liver) ซ่ึงมีถุงนา้ ด(ี Gall bladder) เกบ็ น้าดี และตบั อ่อน (Pancreas) สร้างน้ายอ่ ย 34

ภาพแสดงลกั ษณะทางเดนิ อาหารของปลา 35

นก (Bird) • นกกินอาหารท่ีมีพลงั งานสูงและมีการยอ่ ยอาหารอยา่ งรวดเร็ว นกไม่มีฟัน และต่อมนา้ ลายเจริญไม่ดี แต่สามารถสร้างเมือกสาหรับคลุกเคลา้ อาหาร และหล่อล่ืน ลิ้นมีต่อมรับรสนอ้ ยแต่กร็ ับรสไดบ้ า้ ง คอหอยส้นั หลอด อาหารคอ่ นขา้ งยาวมีผนงั กลา้ มเน้ือตอนปลายมีกระเพาะพกั อาหาร (Crop) มีหนา้ ท่ีเกบ็ อาหาร และนาไปยอ่ ยในกระเพาะอาหาร (Stomach หรือ Proventriculus) • สร้างน้ายอ่ ย ถดั ไปเป็นกระเพาะบดหรือกน๋ึ (Gizzard) มีกลา้ มเน้ือหนา ผนงั ดา้ นในเป็นสนั ใชบ้ ดอาหาร นอกจากน้ีนกยงั มีการกลืนกอ้ นกรวด ขนาดเลก็ เขา้ ไปช่วยในการบดอาหาร ถดั ไปเป็นลาไสเ้ ลก็ ลาไสใ้ หญ่ และ โคลเอกา (ภาพที่ 1.17) 36

ภาพท่ี 1.17 แสดงลกั ษณะทางเดนิ อาหารของนก 37

38

การย่อยอาหารในกระเพาะอาหารของสัตว์เคยี้ วเอือ้ ง 1)เร่ิมแรกวัวจะเคยี้ วและ 4)วัวจะกลืนcudจาก(3)กลับเข้าสู่กระเพาะ กลืนหญ้า ในรูปของbolus ส่วน omasum ท่มี กี ารดดู นา้ กลับ เข้าสู่rumen 2)bolusบางส่วนอาจเคล่ือนเข้าสู่ reticulum ทงั้ rumenและreticulum มsี ymbiotic prokaryotesและ protistsทาหน้าท่ยี ่อยเซลลูโลส และหล่ังกรดอะมโิ นออกมา 3)อาหาร(cud)บางส่วนจาก(2)จะ ถกู นากลับออกมาเคยี้ วใหม่ 5)cudท่มี ีปริมาณจุลนิ ทรีย์มากๆ จะเคล่ือนสู่กระเพาะส่วน abomasum กระเพาะส่วนนีม้ ีการ หล่ังเอนไซม์ออกมาย่อยอาหาร ดังนัน้ อาจถอื ได้ว่าส่วนนีเ้ ป็ นกระเพาะอาหารท่ีแท้จริง และ 3 ส่วนแรกถือเป็ นส่วนขยายของหลอดอาหาร 39

กระเพาะอาหารของสัตว์เคยี้ วเอื้อง 1. รูเมน (Rumen) หรือกระเพาะผ้าขรี้ ิ้ว 40

2. เรตคิ วิ ลมั (Reticulum) หรือกระเพาะรังผงึ้ 41

3.โอมาซัม (Omasum)หรือกระเพาะสามสิบกลบี 42

4. แอบโอมาซัม (Abomasum) กระเพราะแท้จริง 43

ภาพแสดงลกั ษณะกระเพาะอาหารของสัตว์เคยี้ วเอือ้ ง 44

กระบวนการกนิ อาหาร (food processing) ประกอบด้วย 1. Ingestion (การกนิ ) การนาอาหารเข้ าส่ ูร่ างกาย 2. Digestion (การย่อย) การทาให้อาหารท่กี นิ เข้า ไปมีขนาดเลก็ ลง 2.1 Mechanical digestion -การเคีย้ ว 2.2 Chemical digestion -การย่อยโดยเอนไซม์ 3. Absorption (การดดู ซึม) 4. Elimination (การขับออก) 45

ระบบทางเดนิ อาหารของคน ประกอบด้วย 1. ช่องปาก (oral cavity) 2. คอหอย (pharynx) 3. หลอดอาหาร (esophagus) 4. กระเพาะอาหาร (stomach) 5. ลาไส้เลก็ (small intestine) 6. ลาไส้ใหญ่ (large intestine or colon) 7. ลาไส้ตรง (rectum) 8. ทวารหนัก (anus) 46

ช่องปาก (oral cavity) -ในช่องปากมีต่อมนา้ ลาย 3 คู่ -ในนา้ ลายมีนา้ ย่อย amylase -นา้ ลายประกอบด้วยสารไกลโคโปรตีน สาหรับย่อยแป้งและไกลโคเจน ท่ีมีลักษณะล่ืน เรียก mucin มีบทบาท ในการทาให้อาหารล่ืน กลืนง่าย -ลนิ้ ในช่องปากทาหน้าท่ีคลุกเคล้า ป้องกนั เย่อื บุช่องปากและฟันไม่ใหุุ้ อาหารให้เป็ นก้อนเรียก bolus 47

The major salivary glands 48

ฟัน • ฟันแต่ละซ่ีมี 2 ส่วน คือ ตวั ฟัน (crown) และรากฟัน (root) • ส่วนนอกสุดของตัวฟัน คือ สารเคลือบฟัน ( enamel) • ถดั มาเป็ นชิ้นเนื้อฟัน ( dentine) และโพรงฟัน ( pulp cavity ) ส่วนประกอบต่างๆ ของฟัน 49

ต่อมนา้ ลาย • มี 3 คุ่ อยขู่ า้ งกกหู ใตล้ ิ้น และใตข้ ากรรไกร • ผลิตน้าลายวนั ละประมาณ 1-1.5 ลิตร • น้าลายมีน้าเป็นองคป์ ระกอบร้อยละ 99.5 มี pH 6.2-7.4 • มีส่วนประกอบท่ีเป็นเมือก ทาหนา้ ท่ีหล่อลื่นอาหาร • มีเอนไซมอ์ ะไมเลสยอ่ ยแป้ง 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook