Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คำถามเกี่ยวข้องกับทักษะสมอง EF ที่พบบ่อย

คำถามเกี่ยวข้องกับทักษะสมอง EF ที่พบบ่อย

Published by ef.memory2021, 2021-05-27 14:44:59

Description: คำถามเกี่ยวข้องกับทักษะสมอง EF ที่พบบ่อย

Search

Read the Text Version

คําถามเกียวขอ้ งกับทักษะ สมอง EF ทีพบบอ่ ย คําถาม ทักษะสมอง EF คือ อะไร? คําตอบ เปนความสามารถระดับ สูงของสมองส่วนหน้าเชือมโยง กับส่วนอืน ๆ ในสมอง ทีทําให้ เกิดการควบคุมความคิด อารมณ์ และการกระทํา นาํ ไปสู่ เปาหมาย พูดได้ว่า ทักษะสมอง EF เปนรากฐานทีสาํ คัญนาํ ไปสู่ การมีพัฒนาการและทักษะที รอบด้านของลูก คําถาม ควรปลกู ฝงทักษะสมอง EF ลกู ตังแต่เมอื ไหร?่ คําถาม ทักษะสมอง EF มอี ะไรบา้ ง? คําตอบ ช่วงเวลาทีดีทีสุดในการ ปลูกฝง EF นีช่วงปฐมวัยอายุ 3-6 ป เปนช่วงเวลาทีดีทีสุดใน การพัฒนาทักษะ EF ด้านต่าง ๆ ให้กับเด็ก เพราะเปนช่วงที สมองส่วนหน้าพัฒนามากทีสุด คําตอบ ทักษะสมอง EF ทีว่านี สาํ หรบั เด็กปฐมวัย (อายุ 2 – 5 ป) มีทังหมด 5 ด้านค่ะ 1.ด้านการจาํ เพือการใช้งานคือ ความสามารถเก็บหรอื จาํ ข้อมูลทีมีความ หมาย ประมวลผล และการดึงข้อมูลนันมาใช้งานในสถานการณ์ต่างๆ 2.ด้านการยังคิดไตรต่ รองคือ การทีเด็กสามารถหยุด คิดไตรต่ รองก่อนทํา หรอื พูด ชังใจ พินิจพิจารณา ชะลอความอยาก หรอื การยังคิดไตรต่ รอง เหมือนการติดเบรค 3.ด้านยืดหยุ่นความคิด คือความสามารถในการปรบั เปลียน “รูจ้ ักเปลียน เกียร”์ ยืดหยุ่นพลิกแพลง ไปกับเหตุการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ไม่ยึด ติดมีทางออกหลากหลาย คิดนอกกรอบ เปลียนวิกฤตเปนโอกาส 4.ด้านการควบคุมอารมณ์คือ สามารถควบคุมยับยังอารมณ์ตนเองและ แสดงออกเปนพฤติกรรมทีเหมาะสมหรอื แสดงออกได้แต่ไม่รบกวนผู้อืน 5.ด้านการวางแผนและการจัดระบบดาํ เนินการคือ สามารถในการทํางาน ตังแต่ตังเปาหมาย การวางแผน ทําให้มองเห็นภาพรวม ในด้านนี พ่อแม่สามารถเรมิ ได้จากการทีให้ลูกช่วยงานบ้านก็ได้นะคะ

พอ่ แมจ่ ะสามารถสนบั สนนุ การเล่น สมมติของลกู เพอื ชว่ ยสง่ เสรมิ ทักษะ สมอง EF ทําอยา่ งไร? คําตอบ การเล่นบทบาทสมมุติ เด็กจะพัฒนา กฎขึนมาเพือเปนแนวทางการเล่นของตัวเอง และปรบั การกระทําให้เปนไปตามกฎดังกล่าว ด้วย มีการยับยังความอยากหรอื การกระทําที ไม่เข้ากับ “บทบาท” ผู้เล่นมักใช้ประสบการณ์ วธิ กี ารสนบั สนนุ การเล่นบทบาทสมมุติ เดิมทีเคยพบมาของตัวเอง เช่นการไปหาหมอ ก็อาจจะแสดงอาการ “ปวย” ให้หมอตรวจ และ - อ่านหนังสือ ไปทัศนศึกษา และใช้วิดีโอ เพือให้เด็กได้รูเ้ รอื ง ถูกฉีดยา “หมอ” ก็จะพูดและทําตัวแบบหมอ ราวเกียวสถานการณ์และบทบาทต่างๆ มากพอจะใช้เล่นบทบาท (เยือกเย็นและน่าไว้ใจ) “เด็กปวย” ก็พูดและ สมมุติ ทําตัวเหมือนเด็กปวย (เศรา้ และกลัว) ส่วน - จัดหาของเล่นและอุปกรณ์ต่างๆ เพือกระตุ้นการเล่นแบบนี เด็กทีอยู่ในบท “ผู้ปกครอง” ก็จะพูดและทําตัว แบบผู้ปกครองทีเปนห่วง (กังวลและดูแล ใส่ใจ) ในขณะทีเด็กทีเล็กกว่านีมักจะเล่นคน เดียวหรอื ต่างคนต่างเล่นเหมือนๆ กัน แต่เด็ก เด็กก่อนวัยเรยี นตอนต้นอาจต้องการอุปกรณ์ทีเหมือนจรงิ กว่า จึง วัยนีจะเรยี นรูก้ ารรว่ มกันเล่น และมักจะวางกฎ จะเรมิ เล่นได้ (เช่น ชุดแพทย์ของเล่น) ในขณะทีเด็กโตกว่าสามารถ ควบคุมการกระทําของกันและกัน ซึงเปนก้าว นาํ สิงอืนๆ มาใช้เปนอุปกรณ์ได้ (เช่นใช้แกนกระดาษทิชชู่เปนเฝอก สาํ คัญในการพัฒนาทักษะการควบคุมตนเอง ดาม “แขนหัก”) การนาํ วัตถุคุ้นเคยมาใช้ในวิธีใหม่ยังช่วยฝกฝน การคิดวิเคราะห์อย่างยืดหยุ่นด้วย - ปล่อยให้เด็กได้ทําอุปกรณ์การเล่นเอง เด็กๆ ต้องตัดสินใจว่า ต้องใช้อะไรบ้าง จดจาํ ข้อมูลนันไว้ และทําตามโดยไม่ไขว้เขว และยัง ได้ฝกการเลือกแบ่งความสนใจ ความจาํ ใช้งาน และการวางแผน ด้วย ถ้าแผนการดังเดิมไม่ได้ผล เด็กๆ ก็ต้องปรบั ความคิดและ ลองใหม่ เปนการท้าทายการคิดวิเคราะห์อย่างยืดหยุ่น คําถาม คําวา่ “อยา่ ” เชน่ อยา่ จมิ เค้กนะ! อยา่ เอาของ เล่นเขา้ ปาก! เปนต้น สง่ ผลต่อเดก็ อยา่ งไร? คําตอบ คําว่า “อย่า”นอกจากจะเปนกระบวนการประมวลผลทีซับ An interview ซ้อนสาํ หรบั เด็กแล้ว ยังเปนการเน้นพฤติกรรมทีไม่เหมาะสม ให้ with Jonathan แจ่มแจ้งชัดเจนขึนในจิตใจของเด็กอีกด้วย หรอื อาจกล่าวได้ว่าเรา Hames, the ได้สอนพฤติกรรมทีไม่เหมาะสมให้กับเด็กไปแล้ว โดยทีเราไม่ตังใจ world's most ซึงตรงกับ ทฤษฎีช้างสีชมพู ทีอธิบายว่า หากบอกว่า “อย่าคิดถึง innovative ช้างสีชมพู” ภาพอะไรจะเกิดขึนในหัวเราทันที? ดังนันจึงไม่น่า person. แปลกใจว่าทําไม พอบอกอย่าทํา ยังไม่ทันขาดคํา เด็กๆก็ทําทันที! จะดีกว่านีถ้า คุณพ่อคุณแม่เปลียนคําว่า อย่า เปนคําว่า อยาก โดยบอกลูกว่า อยากให้ทําอะไร เช่น แม่อยากให้หนูรอแม่จุด เทียน และเปาเค้กพรอ้ มแม่, แม่อยากให้หนูช่วยรอ้ งเพลงแฮปป เบิรด์ เดย์และตบมือดังๆ, พ่ออยากให้หนูเล่นของเล่นบนโต๊ะ, พ่อ อยากให้หนูกอดตุ๊กตา เปนต้น ซึงนอกจากจะประมวลผลง่ายแล้ว ยังช่วยนาํ ความคิดลูกไปสู่พฤติกรรมทีเหมาะสม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook