Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เส้นไหมประยุกต์ คุณยายเสวย อักโข

เส้นไหมประยุกต์ คุณยายเสวย อักโข

Published by artaaa141, 2019-05-10 10:04:55

Description: เส้นไหมประยุกต์ คุณยายเสวย อักโข

Search

Read the Text Version

ภูมิปัญญาศกึ ษา เรอ่ื ง เส้นไหมประยกุ ต์ โดย 1. คุณยายเสวย อักโข (ผถู้ า่ ยทอดภมู ปิ ัญญา) 2. นางสาวกันยา นนทการ (ผู้เรียบเรียงภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ) เอกสารภูมิปัญญาศกึ ษาน้เี ปน็ สว่ นหน่ึงของการศกึ ษา ตามหลกั สตู รโรงเรยี นผสู้ งู อายุเทศบาลเมืองวังน้าเยน็ ประจา้ ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนผสู้ งู อายุเทศบาลเมืองวงั น้าเย็น สงั กัดเทศบาลเมืองวงั น้าเย็น จงั หวดั สระแกว้

คา้ นา้ ภมู ิปัญญาชาวบ้านของคนไทยเราน้ันมีอยู่จานวนมาก ล้วนแต่มีคุณคา่ และมีประโยชน์ เป็นการบอกเล่าถึง วัฒนธรรมไทยได้เป็นอย่างดี แต่ปัจจุบันภูมิปัญญาเหล่านั้น กาลังสูญหายไปพร้อม ๆ กับชีวิตของคน ซึ่งดับสูญไป ตามกาลเวลา เทศบาลเมืองวังน้าเย็นได้เล็งเห็นคุณค่าและความสาคัญในเรื่องดังกล่าว จึงจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ ข้ึนเพื่อให้ผู้สูงอายุในเขตตาบลวังน้าเย็นได้มารวมตัวกัน เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ ซึ่งกันและกัน ก่อนจบการศึกษา นักเรียนผู้สูงอายุทุกคนต้องจัดทาภูมิปัญญาศึกษาคนละ 1 เรื่อง เพื่อเก็บไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษา เป็นการสืบ ทอด มใิ หภ้ ูมปิ ญั ญาสูญไป ภมู ปิ ัญญาฉบบั นี้สาเร็จได้ เพราะรบั ความกรุณาและการสนบั สนุน จากท่านทั้งหลายเหล่าน้ีได้แก่ นางสาว กันยา นนทการ ซึ่งเป็นพ่ีเล้ียงให้คาปรึกษา แนะนาในการจัดทาภูมิปัญญา ได้ให้ความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ในช่วงเวลาที่เรียนอยู่เป็นเวลา 2 ปี คณะกรรมการบริหารโรงเรียนผู้สูงอายุเจ้าหน้าท่ีกองสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองวังน้าเยน็ ทุกทา่ น ท่ีให้การดแู ลและช่วยเหลือตลอดมา และทส่ี าคัญได้แก่ ท่านนายวันชัย นารีรักษ์ นายกเทศมนตรีเมืองวังน้าเย็น และ นายคนองพล เพ็ชรร่ืน ปลัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น ซ่ึงเป็นผู้ก่อต้ัง โรงเรียนผู้สงู อายุ และให้การสนับสนุน ดแู ลนักเรียนผูส้ งู อายุเปน็ อย่างดี ขอขอบคณุ ทกุ ทา่ นไว้ ณ โอกาสนี้ นางเสวย อักโข นางสาวกนั ยา นนทการ ผู้จดั ทา

ทีม่ าและความสาคัญของภูมปิ ัญญาศึกษา จากพระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ท่ีว่า “ประชาชนนั่นแหละ ที่เขามีความรู้เขาทางานมาหลายช่ัวอายุคน เขาทากันอย่างไรเขามีความเฉลียวฉลาด เขารู้ว่าตรงไหนควรทา กสิกรรมเขารู้ว่าตรงไหนควรเก็บรักษาไว้แต่ที่เสียไปเพราะพวกไม่รู้เรื่องไม่ได้ทามานานแล้วทาให้ลืมว่าชีวิตมัน เป็นไปโดยการกระทาท่ีถูกต้องหรือไม่” พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-ภูมิพลอดุลยเดชท่ี สะท้อนถึงพระปรีชาสามารถในการรับรู้และความเข้าใจหย่ังลึกที่ทรงเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาไทยอย่างแท้จริง พระองค์ทรงตระหนักเป็นอย่างยิ่งว่าภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นสิ่งท่ีชาวบ้านมีอยู่แล้วใช้ประโยชน์เพ่ือความอยู่รอดกัน มายาวนาน ความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นซ่ึงความรู้ที่สั่งสมจากการปฏิบัติจริงในห้องทดลองทางสังคมเป็น ความรู้ดั้งเดิมที่ถูกค้นพบ มีการทดลองใช้แก้ไขดัดแปลงจนเป็นองค์ความรู้ที่สามารถแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และถ่ายทอดสืบต่อกันมาภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นขุมทรัพย์ทางปัญญาที่คนไทยทุกคนควรรู้ควรศึกษาปรับปรุงและ พฒั นาให้สามารถนาภูมปิ ัญญาท้องถิ่นเหล่านั้นมาแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับบริบททางสังคมวัฒนธรรมของกลุ่ม ชุมชนนั้น ๆอย่างแท้จริงการพัฒนาภูมิปัญญาศึกษานับเป็นสิ่งสาคัญต่อบทบาทของชุมชนท้องถ่ินที่ได้พยายาม สรา้ งสรรคเ์ ปน็ น้าพกั น้าแรงร่วมกันของผู้สูงอายแุ ละคนในชุมชนจนกลายเป็นเอกลักษณ์และวฒั นธรรมประจาถน่ิ ที่ เหมาะตอ่ การดาเนินชีวติ หรอื ภมู ิปญั ญาของคนในท้องถ่ินนั้นๆแตภ่ ูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ินส่วนใหญ่เป็นความรหู้ รอื เป็นสิ่ง ทไ่ี ด้มาจากประสบการณ์หรือเป็นความเชื่อสืบต่อกันมาแต่ยังขาดองค์ความรู้หรอื ขาดหลักฐานยืนยันหนักแน่นการ สรา้ งการยอมรับที่เกิดจากฐานภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ จึงเป็นไปไดย้ าก ดังนั้น เพื่อให้เกิดการส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาท่ีเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นกระตุ้นเกิดความภาคภูมิใจใน ภูมปิ ญั ญาของบุคคลในท้องถ่นิ ภูมปิ ัญญาไทยและวฒั นธรรมไทยเกิดการถ่ายทอดภมู ปิ ญั ญาสู่คนรุ่นหลงั โรงเรยี น ผู้สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็นได้ดาเนินการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุใน ทอ้ งถิ่นที่เน้นให้ผู้สงู อายุได้พฒั นาตนเองให้มีความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุท่ีมคี ุณภาพในอนาคต รวมท้ังสืบทอดภูมิ ปัญญาในการดารงชีวิตของนักเรียนผู้สูงอายุท่ีได้ส่ังสมมา เกิดจากการสืบทอดภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ โดย นักเรียนผู้สงู อายุจะเป็นผถู้ ่ายทอดองค์ความรู้ และมีครพู ี่เล้ียงซึ่งเปน็ คณะครูของโรงเรยี นในสังกัดเทศบาลเมอื งวัง น้าเย็นเป็นผู้เรียบเรียงองค์ความรู้ไปสู่การจัดทาภูมิปัญญาศึกษาให้ปรากฏออกมาเป็นรูปเล่มภูมิปัญญาศึกษา ใช้ เป็นส่วนหน่ึงในการจบหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียนผู้สูงอายุ ประจาปีการศึกษา 2561 พร้อมทั้งเผยแพร่และ จดั เก็บคลังภมู ิปัญญาไว้ในห้องสมุดของโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธว์ ิทยาเพื่อใหภ้ ูมิปัญญาท้องถ่ินเหล่าน้ีเกิดการ ถา่ ยทอดสคู่ นรุน่ หลังสบื ตอ่ ไป จากความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานและภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการผสมผสานองค์ ความรู้เพื่อยกระดับความรขู้ องภูมิปัญญาน้ันๆเพือ่ นาไปสู่การประยกุ ต์ใช้และผสมผสานเทคโนโลยีใหม่ๆให้สอดรับ กับวิถชี วี ิตของชมุ ชนไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพการนาภมู ิปัญญาไทยกลับส่กู ารศึกษาสามารถสง่ เสริมให้มีการถา่ ยทอด ภูมปิ ัญญาในโรงเรยี นเทศบาลมิตรสมั พันธ์วทิ ยาและโรงเรยี นในสังกดั เทศบาลเมืองวังนา้ เยน็ เกิดการมีส่วนรว่ มใน กระบวนการถ่ายทอด เช่ือมโยงความรู้ให้กับนักเรียนและบุคคลท่ัวไปในท้องถ่ิน โดยการนาบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถในทอ้ งถิ่นเข้ามาเป็นวิทยากรให้ความรู้กบั นกั เรยี นในโอกาสต่างๆหรือการที่โรงเรียนนาองค์ความรูใ้ น ท้องถ่ินเข้ามาสอนสอดแทรกในกระบวนการจัดการเรียนรู้สงิ่ เหล่านี้ทาให้การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน นาไปสู่การ สบื ทอดภมู ิปัญญาศึกษา

เกิดความสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรมนักเรียนผู้สูงอายุเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของตนท่ีได้ถ่ายทอดสู่คนรุ่น หลังให้คงอยู่ในท้องถิ่น เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตประจาท้องถิ่น เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตคู่แผ่นดินไทย ตราบนานเท่านาน นิยามคาศัพท์ในการจัดทาภูมปิ ัญญาศึกษา ภูมิปัญญาศึกษา หมายถึง การนาภูมิปัญญาการดาเนินชีวิตในเรื่องท่ีผู้สูงอายุเช่ียวชาญท่ีสุด ของ ผู้สูงอายุท่ีเข้าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็น มาศึกษาและสืบทอดภูมิปัญญาใน รูปแบบต่าง ๆ มีการสืบทอดภูมิปัญญาโดยการปฏิบัติและการเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษรตามรูปแบบท่ี โรงเรียนผู้สูงอายุกาหนดขึ้นใช้เป็นส่วนหน่ึงในการจบหลักสูตรการศึกษาเพ่ือให้ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุได้รับการ ถ่ายทอดสคู่ นรนุ่ หลงั และคงอยู่ในท้องถนิ่ ต่อไป ซ่งึ แบ่งภมู ิปญั ญาศึกษาออกเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. ภมู ิปัญญาศึกษาที่ผู้สูงอายเุ ป็นผู้คิดค้นภมู ิปญั ญาในการดาเนินชวี ติ ในเรื่องท่เี ช่ยี วชาญทส่ี ดุ ด้วยตนเอง 2. ภูมปิ ัญญาศึกษาท่ีผสู้ ูงอายุเป็นผู้นาภูมิปัญญาทีส่ ืบทอดจากบรรพบุรษุ มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต จนเกดิ ความเช่ียวชาญ 3. ภมู ิปัญญาศึกษาท่ีผู้สูงอายเุ ป็นผู้นาภูมิปัญญาที่สืบทอดจากบรรพบุรุษมาใช้ในการดาเนินชีวิตโดยไม่มี การเปลีย่ นแปลงไปจากเดมิ จนเกดิ ความเช่ยี วชาญ ผูถ้ า่ ยทอดภมู ปิ ัญญา หมายถึง ผู้สูงอายทุ ี่เขา้ ศกึ ษาตามหลกั สูตรของโรงเรียนผูส้ ูงอายุเทศบาลเมอื งวังน้า เย็นเปน็ ผถู้ า่ ยทอดภมู ิปญั ญาการดาเนินชวี ิตในเร่ืองทตี่ นเองเชีย่ วชาญมากทส่ี ุด นามาถ่ายทอดใหแ้ กผ่ เู้ รยี บเรยี งภูมิ ปัญญาท้องถ่ินได้จัดทาขอ้ มูลเปน็ รูปเล่มภมู ิปัญญาศึกษา ผเู้ รียบเรียงภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน หมายถึง ผู้ที่นาภูมิปัญญาในการดาเนินชีวิตในเร่ืองท่ีผู้สูงอายุเชี่ยวชาญ ทส่ี ดุ มาเรยี บเรยี งเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร ศกึ ษาหาขอ้ มูลเพิ่มเติมจากแหลง่ ข้อมูลต่าง ๆ จัดทาเปน็ เอกสารรูปเล่ม ใช้ ชอื่ วา่ “ภูมปิ ัญญาศึกษา”ตามรปู แบบทโ่ี รงเรยี นผู้สูงอายเุ ทศบาลเมืองวงั น้าเย็นกาหนด ครูที่ปรึกษา หมายถึง ผู้ท่ีปฏิบัติหน้าที่เป็นครูพ่ีเลี้ยง เป็นผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถิ่นปฏิบัติหน้าท่ี เป็นผู้ประเมินผล เป็นผูร้ ับรองภูมิปญั ญาศึกษา รวมทั้งเปน็ ผู้นาภูมิปัญญาศึกษาเข้ามาสอนในโรงเรียนโดยบูรณา การการจดั การเรียนร้ตู ามหลกั สตู รทอ้ งถ่ินทีโ่ รงเรียนจัดทาข้นึ

ภมู ปิ ญั ญาศกึ ษาเช่ือมโยงสู่สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชนฯ 1. ลักษณะของภูมปิ ัญญาไทย ลักษณะของภูมิปญั ญาไทย มีดังนี้ 1. ภมู ิปญั ญาไทยมีลักษณะเป็นทัง้ ความรู้ ทักษะ ความเช่ือ และพฤติกรรม 2. ภูมิปัญญาไทยแสดงถึงความสัมพันธร์ ะหวา่ งคนกบั คน คนกบั ธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม และคนกบั สง่ิ เหนือธรรมชาติ 3. ภมู ิปัญญาไทยเป็นองคร์ วมหรอื กจิ กรรมทุกอย่างในวถิ ชี วี ติ ของคน 4. ภมู ปิ ญั ญาไทยเปน็ เร่ืองของการแกป้ ญั หา การจดั การ การปรบั ตวั และการเรียนรู้ เพ่ือความอยู่รอดของบุคคล ชุมชน และสังคม 5. ภูมปิ ญั ญาไทยเป็นพน้ื ฐานสาคัญในการมองชวี ิต เป็นพืน้ ฐานความรู้ในเร่อื งตา่ งๆ 6. ภมู ิปัญญาไทยมีลกั ษณะเฉพาะ หรือมีเอกลกั ษณ์ในตัวเอง 7. ภมู ิปัญญาไทยมีการเปล่ียนแปลงเพ่ือการปรบั สมดลุ ในพัฒนาการทางสงั คม 2. คุณสมบัตขิ องภูมิปัญญาไทย ผูท้ รงภมู ิปัญญาไทยเป็นผมู้ ีคุณสมบัตติ ามท่ีกาหนดไว้ อยา่ งน้อยดงั ต่อไปน้ี 1. เป็นคนดีมีคุณธรรม มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพต่างๆ มีผลงานด้านการพัฒนาท้องถ่ิน ของตน และได้รบั การยอมรับจากบุคคลท่ัวไปอย่างกวา้ งขวาง ทั้งยังเป็นผู้ท่ีใช้หลกั ธรรมคาสอนทางศาสนาของตน เป็นเครอื่ งยึดเหนยี่ วในการดารงวิถชี วี ิตโดยตลอด 2. เป็นผู้คงแก่เรียนและหม่ันศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ ผู้ทรงภูมิปัญญาจะเป็นผู้ที่หม่ันศึกษา แสวงหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอไม่หยุดน่ิง เรียนรู้ท้ังในระบบและนอกระบบ เป็นผู้ลงมือทา โดยทดลองทาตามท่ี เรียนมา อีกทั้งลองผิด ลองถูก หรือสอบถามจากผู้รู้อื่นๆ จนประสบความสาเร็จ เป็นผู้เช่ียวชาญ ซ่ึงโดดเด่นเป็น เอกลักษณ์ในแต่ละด้านอย่างชัดเจน เป็นท่ียอมรับการเปล่ียนแปลงความรู้ใหม่ๆ ท่ีเหมาะสม นามาปรับปรุงรับใช้ ชุมชน และสังคมอยเู่ สมอ 3. เป็นผ้นู าของท้องถิน่ ผู้ทรงภูมิปัญญาส่วนใหญ่จะเป็นผู้ท่ีสังคม ในแตล่ ะท้องถนิ่ ยอมรับให้เป็น ผู้นา ทั้งผู้นาที่ได้รับการแต่งตั้งจากทางราชการ และผู้นาตามธรรมชาติ ซึ่งสามารถเป็นผู้นาของท้องถ่ินและ ช่วยเหลือผูอ้ ื่นได้เป็นอยา่ งดี 4. เป็นผู้ท่สี นใจปัญหาของท้องถนิ่ ผูท้ รงภูมปิ ัญญาลว้ นเป็นผูท้ ี่สนใจปัญหาของทอ้ งถิ่น เอาใจใส่ ศึกษาปัญหา หาทางแก้ไข และช่วยเหลือสมาชิกในชุมชนของตนและชุมชนใกล้เคียงอย่างไม่ย่อท้อ จนประสบ ความสาเรจ็ เป็นทยี่ อมรบั ของสมาชิกและบุคคลท่ัวไป 5. เป็นผู้ขยันหมั่นเพียร ผู้ทรงภูมิปัญญาเป็นผู้ขยันหมั่นเพียร ลงมือทางานและผลิตผลงานอยู่ เสมอ ปรบั ปรงุ และพฒั นาผลงานให้มีคุณภาพมากข้นึ อีกทงั้ ม่งุ ทางานของตนอย่างต่อเน่ือง 6. เป็นนักปกครองและประสานประโยชน์ของท้องถ่ินผู้ทรงภูมิปัญญา นอกจากเป็นผู้ท่ีประพฤติ ตนเปน็ คนดี จนเป็นท่ียอมรบั นบั ถือจากบุคคลทั่วไปแล้ว ผลงานท่ที ่านทายังถอื วา่ มคี ุณคา่ จงึ เป็นผ้ทู ่ีมที งั้ \"ครองตน ครองคน และครองงาน\" เป็นผู้ประสานประโยชน์ให้บุคคลเกิดความรัก ความเข้าใจ ความเห็นใจ และมีความ สามคั คีกนั ซงึ่ จะทาใหท้ อ้ งถิน่ หรือสงั คม มีความเจรญิ มีคุณภาพชีวิตสงู ข้นึ กวา่ เดิม

7. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้เป็นเลิศ เม่ือผู้ทรงภูมิปัญญามีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์เป็นเลิศ มีผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นและบุคคลทั่วไป ทั้งชาวบ้าน นักวิชาการ นักเรียน นสิ ิต/นกั ศึกษา โดยอาจเขา้ ไปศกึ ษาหาความรู้ หรือเชิญทา่ นเหล่านนั้ ไป เปน็ ผู้ถ่ายทอดความร้ไู ด้ 8. เป็นผูม้ ีคู่ครองหรือบรวิ ารดี ผู้ทรงภูมิปัญญา ถ้าเป็นคฤหัสถ์ จะพบวา่ ล้วนมคี ู่ครองท่ีดีที่คอย สนบั สนนุ ช่วยเหลือ ใหก้ าลังใจ ให้ความร่วมมอื ในงานที่ทา่ นทา ชว่ ยให้ผลิตผลงานท่ีมีคณุ ค่า ถา้ เป็นนกั บวช ไมว่ ่า จะเป็นศาสนาใด ต้องมบี ริวารท่ดี ี จงึ จะสามารถผลติ ผลงานทมี่ ีคณุ ค่าทางศาสนาได้ 9. เป็นผู้มีปัญญารอบรู้และเชี่ยวชาญจนได้รับการยกย่องว่าเป็นปราชญ์ ผู้ทรงภูมิปัญญา ต้อง เป็นผู้มีปัญญารอบรู้และเชี่ยวชาญ รวมท้ังสร้างสรรค์ผลงานพิเศษใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและมนุษยชาติ อย่างต่อเนอ่ื งอยู่เสมอ 3. การจดั แบ่งสาขาภมู ปิ ัญญาไทย จากการศึกษาพบว่า มีการกาหนดสาขาภูมิปัญญาไทยไว้อย่างหลากหลาย ข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ และ หลักเกณฑ์ต่างๆ ที่หน่วยงาน องค์กร และนักวิชาการแต่ละท่านนามากาหนด ในภาพรวมภูมิปัญญาไทย สามารถ แบ่งได้เปน็ 10 สาขา ดงั น้ี 1. สาขาเกษตรกรรม หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ และเทคนิค ด้านการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพฒั นาบนพืน้ ฐานคุณค่าด้ังเดิม ซ่ึงคนสามารถพึ่งพาตนเองในภาวการณ์ต่างๆ ได้ เช่น การทา การเกษตรแบบผสมผสาน วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ ไร่นาสวนผสม และสวนผสมผสาน การ แก้ปัญหาการเกษตรด้านการตลาด การแก้ปัญหาด้านการผลิต การแกไ้ ขปัญหาโรคและแมลง และการรู้จักปรับใช้ เทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั การเกษตร เปน็ ตน้ 2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม หมายถึง การรู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการ แปรรูปผลิตผล เพ่ือชะลอการนาเข้าตลาด เพื่อแก้ปัญหาด้านการบริโภคอย่างปลอดภัย ประหยัด และเป็นธรรม อันเป็นกระบวนการท่ที าให้ชมุ ชนทอ้ งถ่ินสามารถพ่ึงพาตนเองทางเศรษฐกจิ ได้ ตลอดทัง้ การผลิต และการจาหนา่ ย ผลติ ผลทางหตั ถกรรม เช่น การรวมกลุ่มของกลุ่มโรงงานยางพารา กลมุ่ โรงสี กลมุ่ หตั ถกรรม เป็นตน้ 3. สาขาการแพทย์แผนไทย หมายถึง ความสามารถในการจัดการป้องกัน และรักษาสุขภาพ ของคนในชุมชน โดยเน้นให้ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเอง ทางด้านสุขภาพ และอนามัยได้ เช่น การนวดแผนโบราณ การดูแลและรักษาสุขภาพแบบพ้นื บา้ น การดแู ลและรกั ษาสุขภาพแผนโบราณไทย เป็นต้น 4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมายถึง ความสามารถเก่ียวกับการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ท้ังการอนุรักษ์ การพัฒนา และการใช้ประโยชน์จากคุณค่าของ ทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม อย่างสมดลุ และย่ังยืน เช่น การทาแนวปะการังเทยี ม การอนุรักษ์ปา่ ชายเลน การจัดการปา่ ต้นน้า และปา่ ชมุ ชน เป็นตน้ 5. สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการสะสม และบริการกองทุน และธุรกิจในชุมชน ทั้งท่ีเป็นเงินตรา และโภคทรัพย์ เพื่อส่งเสริมชีวิตความเป็นอยู่ของสมาชิก ในชมุ ชน เชน่ การจัดการเรอ่ื งกองทุนของชุมชน ในรูปของสหกรณ์ออมทรพั ย์ และธนาคารหม่บู ้าน เปน็ ต้น 6. สาขาสวัสดิการ หมายถึง ความสามารถในการจัดสวัสดิการในการประกันคุณภาพชีวิตของ คน ให้เกิดความมน่ั คงทางเศรษฐกจิ สังคมและวัฒนธรรม เช่น การจดั ต้งั กองทนุ สวสั ดกิ ารรักษาพยาบาลของชุมชน การจัดระบบสวัสดิการบรกิ ารในชมุ ชน การจัดระบบส่งิ แวดลอ้ มในชุมชน เปน็ ต้น

7. สาขาศิลปกรรม หมายถึง ความสามารถในการผลิตผลงานทางด้านศิลปะสาขาต่าง ๆ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม ทศั นศลิ ป์ คีตศลิ ป์ ศลิ ปะมวยไทย เปน็ ตน้ 8. สาขาการจัดการองค์กร หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการดาเนินงานขององค์กร ชุมชนต่างๆ ให้สามารถพัฒนา และบริหารองค์กรของตนเองได้ ตามบทบาท และหน้าที่ขององค์การ เช่น การ จัดการองคก์ รของกลุ่มแม่บ้าน กล่มุ ออมทรพั ย์ กลุม่ ประมงพนื้ บ้าน เป็นตน้ 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถึง ความสามารถผลติ ผลงานเก่ียวกบั ด้านภาษา ท้ังภาษาถิ่น ภาษาโบราณ ภาษาไทย และการใช้ภาษา ตลอดท้ังด้านวรรณกรรมทุกประเภท เช่น การจัดทา สารานกุ รมภาษาถ่นิ การปรวิ รรต หนงั สอื โบราณ การฟน้ื ฟูการเรียนการสอนภาษาถิ่นของท้องถ่นิ ต่าง ๆ เป็นตน้ 10. สาขาศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกต์ และปรับใชห้ ลักธรรมคาสอน ทางศาสนา ความเชื่อ และประเพณีดั้งเดิมที่มีคุณค่าให้เหมาะสมต่อการประพฤติปฏิบัติ ให้บังเกิดผลดีต่อบุคคล และส่ิงแวดล้อม เช่น การถ่ายทอดหลักธรรมทางศาสนา ลักษณะความสัมพันธ์ของภูมิปัญญาไทยภูมิ-ปัญญาไทย สามารถสะท้อนออกมาใน 3 ลกั ษณะทส่ี มั พนั ธ์ใกลช้ ดิ กัน คอื 10.1 ความสมั พันธอ์ ยา่ งใกลช้ ดิ กนั ระหวา่ งคนกบั โลก สงิ่ แวดล้อม สัตว์ พืช และธรรมชาติ 10.2 ความสัมพนั ธ์ของคนกับคนอ่ืนๆ ทีอ่ ยรู่ ่วมกนั ในสังคม หรือในชุมชน 10.3 ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับส่ิงศักดิ์สิทธ์ิส่ิงเหนือธรรมชาติ ตลอดท้ังส่ิงท่ีไม่สามารถ สัมผัสได้ท้ังหลาย ทั้ง 3 ลักษณะนี้ คือ สามมิติของเร่ืองเดียวกัน หมายถึง ชีวิตชุมชน สะท้อนออกมาถึงภูมิปัญญา ในการดาเนินชีวิตอย่างมีเอกภาพ เหมือนสามมุมของรูปสามเหล่ียม ภูมิปัญญา จึงเป็นรากฐานในการดาเนินชีวิต ของคนไทย ซ่ึงสามารถแสดงให้เหน็ ได้อยา่ งชัดเจนโดยแผนภาพ ดงั น้ี ลกั ษณะภูมิปัญญาท่เี กดิ จากความสัมพันธ์ระหว่าง คนกบั ธรรมชาตสิ ง่ิ แวดลอ้ ม จะแสดงออกมาในลักษณะภูมิ ปัญญาในการดาเนินวิถีชีวิตข้ันพ้ืนฐานด้านปัจจัยส่ี ซ่ึง ประกอบด้วย อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยา รักษาโรค ตลอดทั้งการประกอบอาชีพต่างๆ เป็นต้น ภูมิ ปัญญาท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนอ่ืนใน สังคม จะแสดงออกมาในลักษณะ จารีต ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ และนันทนาการ ภาษา และวรรณกรรม ตลอดทั้งการสอื่ สารต่างๆ เปน็ ต้น ภูมิปัญญาที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างคนกับ ส่งิ ศักดสิ์ ทิ ธ์ิ สงิ่ เหนือธรรมชาติ จะแสดงออกมาในลกั ษณะของสิง่ ศักดสิ์ ทิ ธ์ิ ศาสนา ความเชือ่ ตา่ งๆ เป็นต้น

4. คณุ ค่าและความสาคัญของภูมปิ ัญญาไทย คุณค่าของภูมิปัญญาไทย ไดแ้ ก่ ประโยชน์ และความสาคญั ของภูมิปญั ญา ท่ีบรรพบุรษุ ไทย ได้สร้างสรรค์ และสืบทอดมาอย่างต่อเนื่อง จากอดีตสู่ปัจจุบัน ทาให้คนในชาติเกิดความรัก และความภาคภูมิใจ ท่ีจะร่วมแรง ร่วมใจสบื สานต่อไปในอนาคต เชน่ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ สถาปัตยกรรม ประเพณไี ทย การมีน้าใจ ศักยภาพใน การประสานผลประโยชน์ เปน็ ต้น ภมู ิปญั ญาไทยจึงมีคุณค่า และความสาคัญดงั นี้ 1. ภูมิปญั ญาไทยช่วยสรา้ งชาตใิ หเ้ ป็นปึกแผน่ พระมหากษัตริย์ไทยได้ใช้ภูมิปัญญาในการสร้างชาติ สรา้ งความเป็นปึกแผ่นให้แก่ประเทศชาติมา โดยตลอด ตั้งแต่สมยั พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช พระองค์ทรงปกครองประชาชน ด้วยพระเมตตา แบบพอ่ ปกครอง ลกู ผใู้ ดประสบความเดือดร้อน ก็สามารถตีระฆัง แสดงความเดือดร้อน เพ่ือขอรับพระราชทานความช่วยเหลือ ทา ใหป้ ระชาชนมคี วามจงรกั ภักดตี ่อพระองค์ ตอ่ ประเทศชาตริ ว่ มกนั สรา้ งบา้ นเรือนจนเจรญิ รงุ่ เรอื งเปน็ ปึกแผน่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค์ทรงใช้ภูมิปัญญากระทายุทธหัตถี จนชนะข้าศึกศัตรูและ ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทยคืนมาได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน พระองค์ ทรงใช้ภูมิปัญญาสร้างคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติ และเหล่าพสกนิกรมากมายเหลือคณานับ ทรงใช้พระปรีชา สามารถ แก้ไขวิกฤตการณ์ทางการเมือง ภายในประเทศ จนรอดพ้นภัยพิบัติหลายครั้ง พระองค์ทรงมีพระปรีชา สามารถหลายด้าน แม้แต่ด้านการเกษตร พระองค์ได้พระราชทานทฤษฎีใหม่ให้แก่พสกนิกร ท้ังด้านการเกษตร แบบสมดุลและยั่งยืน ฟ้ืนฟูสภาพแวดล้อม นาความสงบร่มเย็นของประชาชนให้กลับคืนมา แนวพระราชดาริ \"ทฤษฎีใหม่\" แบ่งออกเป็น 2 ข้ัน โดยเร่ิมจาก ข้ันตอนแรก ให้เกษตรกรรายย่อย \"มีพออยู่พอกิน\" เป็นขั้นพ้ืนฐาน โดยการพัฒนาแหล่งน้า ในไร่นา ซึ่งเกษตรกรจาเป็นที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยราชการ มูลนิธิ และ หน่วยงานเอกชน ร่วมใจกันพัฒนาสงั คมไทย ในข้ันท่ีสอง เกษตรกรตอ้ งมีความเขา้ ใจ ในการจัดการในไร่นาของตน และมีการรวมกลุ่มในรูปสหกรณ์ เพ่ือสร้างประสิทธิภาพทางการผลิต และการตลาด การลดรายจ่ายด้านความ เป็นอยู่ โดยทรงตระหนกั ถึงบทบาทขององคก์ รเอกชน เมื่อกลุ่มเกษตรววิ ัฒนม์ าขน้ั ที่ 2 แล้ว ก็จะมีศกั ยภาพ ในการ พัฒนาไปสู่ขั้นที่สาม ซ่ึงจะมีอานาจในการต่อรองผลประโยชน์กับสถาบันการเงินคือ ธนาคาร และองค์กรที่เป็น เจา้ ของแหล่งพลังงาน ซ่ึงเปน็ ปัจจัยหน่งึ ในการผลิต โดยมีการแปรรูปผลติ ผล เช่น โรงสี เพอ่ื เพิม่ มูลคา่ ผลติ ผล และ ขณะเดียวกันมีการจัดตั้งร้านค้าสหกรณ์ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน อันเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ บคุ คลในสงั คม จะเห็นได้ว่า มไิ ด้ทรงทอดท้ิงหลักของความสามัคคใี นสังคม และการจัดตงั้ สหกรณ์ ซงึ่ ทรงสนับสนุน ให้กลุ่มเกษตรกรสร้างอานาจต่อรองในระบบเศรษฐกิจ จึงจะมีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงจัดได้ว่า เป็นสังคมเกษตรที่ พัฒนาแล้ว สมดังพระราชประสงค์ท่ีทรงอุทิศพระวรกาย และพระสติปัญญา ในการพัฒนาการเกษตรไทยตลอด ระยะเวลาแหง่ การครองราชย์ 2. สร้างความภาคภมู ใิ จ และศักดศ์ิ รี เกยี รติภูมิแก่คนไทย คนไทยในอดีตท่ีมีความสามารถปรากฏในประวัติศาสตร์มีมาก เป็นท่ียอมรับของนานา อารยประเทศ เช่น นายขนมต้มเป็นนักมวยไทย ที่มีฝีมือเก่งในการใช้อวัยวะทุกส่วน ทุกท่าของแม่ไม้มวยไทย สามารถชกมวยไทย จนชนะพม่าได้ถึงเก้าคนสิบคนในคราวเดียวกัน แม้ในปัจจุบัน มวยไทยก็ยังถือว่า เป็นศิลปะ ช้ันเยี่ยม เป็นท่ี นิยมฝึกและแข่งขันในหมู่คนไทยและชาวต่าง ประเทศ ปัจจุบันมีค่ายมวยไทยท่ัวโลกไม่ต่ากว่า 30,000 แห่ง ชาวต่างประเทศที่ได้ฝึกมวยไทย จะรู้สึกยินดีและภาคภูมิใจ ในการที่จะใช้กติกา ของมวยไทย เช่น การไหว้ครูมวยไทย การออก คาสงั่ ในการชกเปน็ ภาษาไทยทกุ คา เชน่ คาว่า \"ชก\" \"นับหนึ่งถงึ สิบ\" เป็นต้น ถอื เป็น มรดก ภูมิปัญญาไทย นอกจากนี้ ภูมิปัญญาไทยท่ีโดด เด่นยังมีอีกมากมาย เช่น มรดกภูมิปัญญาทาง ภาษาและ วรรณกรรม โดยท่ีมีอักษรไทยเป็นของ ตนเองมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย และวิวัฒนาการมาจนถึงปัจจุบัน

วรรณกรรมไทยถือว่า เป็นวรรณกรรมท่ีมีความไพเราะ ได้อรรถรสครบทุกด้าน วรรณกรรมหลายเร่ืองได้รับการ แปลเป็นภาษาต่างประเทศหลายภาษา ด้านอาหาร อาหารไทยเป็นอาหารท่ีปรุงง่าย พืชที่ใชป้ ระกอบอาหารส่วน ใหญ่เป็นพืชสมุนไพร ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น และราคาถูก มี คุณค่าทางโภชนาการ และยังป้องกันโรคได้หลายโรค เพราะสว่ นประกอบส่วนใหญ่เป็นพืชสมุนไพร เช่น ตะไคร้ ขิง ข่า กระชาย ใบ-มะกรูด ใบโหระพา ใบกะเพรา เป็น ตน้ 3. สามารถปรับประยุกต์หลักธรรมคาสอนทางศาสนาใชก้ ับวิถชี ีวิตได้อย่างเหมาะสม คนไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยนาหลักธรรมคาสอนของศาสนา มาปรับใช้ในวิถีชีวิต ได้ อย่างเหมาะสม ทาให้คนไทยเป็นผู้อ่อนน้อมถ่อมตน เอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ ประนีประนอม รักสงบ ใจเย็น มีความอดทน ใหอ้ ภยั แก่ผสู้ านึกผิด ดารงวิถีชีวิตอย่างเรียบงา่ ย ปกติสขุ ทาใหค้ นในชมุ ชนพึง่ พากนั ได้ แม้จะอดอยากเพราะ แห้ง แล้ง แตไ่ ม่มีใครอดตาย เพราะพึง่ พาอาศัย กัน แบง่ ปันกันแบบ \"พริกบ้านเหนือเกลือบ้านใต\"้ เป็นต้น ท้ังหมดนี้สืบ เน่ืองมาจากหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา เป็นการใช้ภูมิปัญญา ในการนาเอาหลักขอพระพุทธศาสนามา ประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวัน และดาเนินกุศโลบาย ด้านต่างประเทศ จนทาให้ชาวพุทธทั่วโลกยกย่อง ให้ประเทศ ไทยเป็นผู้นาทางพุทธศาสนา และเปน็ ที่ต้ังสานักงานใหญ่องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์ แห่งโลก (พสล.) อยู่เย้ืองๆ กับอุทยานเบญจสิริ กรุงเทพมหานคร โดยมีคนไทย (ฯพณฯ สัญญา ธรรมศักดิ์ องคมนตรี) ดารงตาแหน่งประธาน พสล. ตอ่ จาก ม.จ.หญิงพูนพิศมยั ดิศกุล 4. สรา้ งความสมดลุ ระหว่างคนในสงั คม และธรรมชาติไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ภมู ิปัญญาไทยมีความเด่นชัดในเร่ืองของการยอมรับนบั ถือ และให้ความสาคัญแก่คน สังคม และ ธรรมชาติอย่างย่ิง มีเคร่ืองชี้ท่ีแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนมากมาย เช่น ประเพณีไทย 12 เดือน ตลอดทั้งปี ล้วน เคารพคุณค่าของธรรมชาติ ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง เป็นต้น ประเพณีสงกรานต์เป็น ประเพณีท่ีทาใน ฤดูร้อนซ่ึงมีอากาศร้อน ทาให้ต้องการความเย็น จึงมีการรดน้าดาหัว ทาความสะอาดบ้านเรือน และธรรมชาติสิ่งแวดล้อม มีการแห่นางสงกรานต์ การทานายฝนว่าจะตกมากหรือน้อยในแต่ละปี ส่วนประเพณี ลอยกระทง คุณค่าอยู่ท่ีการบูชา ระลึกถึงบุญคุณของน้า ท่ีหล่อเลี้ยงชีวิตของ คน พืช และสัตว์ ให้ได้ใช้ทั้งบริโภค และอุปโภค ในวันลอยกระทง คนจึงทาความสะอาดแม่น้า ลาธาร บูชาแม่น้าจากตัวอย่างข้างต้น ล้วนเป็น ความสัมพันธร์ ะหว่างคนกบั สังคมและธรรมชาติ ทัง้ ส้ิน ในการรักษาป่าไม้ต้นน้าลาธาร ได้ประยุกต์ให้มีประเพณีการบวชป่า ให้คนเคารพสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ ธรรมชาติ และสภาพแวดล้อม ยังความอุดมสมบูรณ์แก่ต้นน้า ลาธาร ให้ฟื้นสภาพกลับคืนมาได้มาก อาชีพ การเกษตรเปน็ อาชพี หลักของคนไทย ท่คี านึงถงึ ความสมดุล ทาแต่น้อยพออยู่พอกิน แบบ \"เฮ็ดอยเู่ ฮ็ดกิน\" ของพ่อ ทองดี นันทะ เม่ือเหลือกิน ก็แจกญาติพ่ีน้อง เพ่ือนบ้าน บ้านใกล้เรือนเคียง นอกจากนี้ ยังนาไปแลกเปล่ียนกับ สิ่งของอย่างอื่น ที่ตนไม่มี เม่ือเหลือใช้จริงๆ จึงจะนาไปขาย อาจกล่าวได้ว่า เป็นการเกษตรแบบ \"กิน-แจก-แลก- ขาย\" ทาให้คนในสังคมได้ช่วยเหลือเกื้อกูล แบ่งปันกัน เคารพรัก นับถือ เป็นญาติกัน ท้ังหมู่บ้าน จึงอยู่ร่วมกัน อย่างสงบสุข มีความสัมพันธ์กันอย่างแนบแน่น ธรรมชาติไม่ถูกทาลายไปมากนัก เน่ืองจากทาพออยู่พอกิน ไม่โลภ มากและไม่ทาลายทกุ อย่างผิด กับในปัจจุบัน ถือเปน็ ภมู ปิ ัญญาทสี่ ร้างความ สมดุลระหวา่ งคน สังคม และธรรมชาติ 5. เปลี่ยนแปลงปรับปรุงไดต้ ามยคุ สมัย แม้ว่ากาลเวลาจะผ่านไป ความรู้สมัยใหม่ จะหลั่งไหลเข้ามามาก แต่ภูมิปัญญาไทย ก็สามารถ ปรับเปล่ียนให้เหมาะสมกับยุคสมัย เช่น การรู้จักนาเคร่ืองยนต์มาติดต้ังกับเรือ ใส่ใบพัด เป็นหางเสือ ทาให้เรือ สามารถแล่นได้เร็วขึ้น เรียกวา่ เรอื หางยาว การรู้จักทาการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟ้ืนคืนธรรมชาติให้ อุดมสมบูรณ์แทนสภาพเดิมที่ถูกทาลายไป การรู้จักออมเงิน สะสมทุนให้สมาชิกกู้ยืม ปลดเปลื้องหน้ีสิน และจัด

สวสั ดิการแก่สมาชกิ จนชมุ ชนมคี วามมัน่ คง เขม้ แข็ง สามารถช่วยตนเองไดห้ ลายร้อยหมู่บา้ นท่ัวประเทศ เชน่ กลุ่ม ออมทรัพย์คีรีวง จงั หวัดนครศรธี รรมราช จดั ในรูปกองทุนหมุนเวียนของชมุ ชน จนสามารถช่วยตนเองได้ เมื่อป่าถูกทาลาย เพราะถูกตัดโค่น เพ่ือปลูกพืชแบบเดี่ยว ตามภูมิปัญญาสมัยใหม่ ท่ีหวังร่ารวย แตใ่ นท่ีสุด กข็ าดทุน และมีหน้สี ิน สภาพแวดล้อมสูญเสยี เกดิ ความแห้งแล้ง คนไทยจึงคดิ ปลูกปา่ ท่ีกินได้ มพี ืชสวน พืชป่าไม้ผล พืชสมุนไพร ซ่ึงสามารถมีกินตลอดชีวิตเรียกว่า \"วนเกษตร\" บางพื้นที่ เม่ือป่าชุมชนถูกทาลาย คนใน ชมุ ชนก็รวมตวั กนั เป็นกลมุ่ รกั ษาป่า รว่ มกันสร้างระเบียบ กฎเกณฑ์กันเอง ให้ทุกคนถือปฏบิ ัติได้ สามารถรักษาป่า ได้อย่างสมบรู ณ์ดังเดิม เม่ือปะการังธรรมชาติถูกทาลาย ปลาไม่มีท่ีอยู่อาศยั ประชาชนสามารถสร้าง \"อูหยมั \" ข้ึน เป็นปะการังเทียม ใหป้ ลาอาศยั วางไข่ และแพรพ่ ันธ์ุให้เจรญิ เติบโต มีจานวนมากดังเดิมได้ ถอื เป็นการใช้ภูมปิ ญั ญา ปรับปรงุ ประยกุ ต์ใช้ได้ตามยุคสมยั สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เลม่ ที่ 19 ให้ความหมายของคาว่า ภมู ิปญั ญาชาวบา้ น หมายถึง ความรู้ของชาวบ้าน ซึ่งได้มาจากประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมท้ังความรู้ท่ีสั่งสมมาแต่ บรรพบรุ ุษ สืบทอดจากคนรนุ่ หนึ่งไปสคู่ นอีกรุน่ หนึง่ ระหว่างการสืบทอดมีการปรบั ประยกุ ต์ และเปลยี่ นแปลง จน อาจเกดิ เป็นความรใู้ หมต่ ามสภาพการณท์ างสังคมวัฒนธรรม และ สิง่ แวดล้อม ภูมิปญั ญาเปน็ ความรู้ท่ปี ระกอบไปด้วยคุณธรรม ซงึ่ สอดคล้องกบั วิถีชีวติ ดง้ั เดิมของชาวบ้านในวิถี ด้ังเดิมนั้น ชีวิตของชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วนๆ หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กัน การทามาหากิน การอยู่ ร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความรู้เป็นคุณธรรม เมื่อผู้คนใช้ความรู้นั้นเพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ความสัมพันธ์ท่ีดีเป็น ความสัมพันธ์ที่มีความสมดุล ที่เคารพกันและกัน ไม่ทาร้ายทาลายกัน ทาให้ทุกฝ่ายทุกส่วนอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ ชุมชนด้ังเดิมจึงมีกฎเกณฑ์ของการอยู่ร่วมกัน มีคนเฒ่าคนแก่เป็นผู้นา คอยให้คาแนะนาตักเตือน ตัดสิน และ ลงโทษหากมีการละเมิด ชาวบ้านเคารพธรรมชาติรอบตัว ดิน น้า ป่า เขา ข้าว แดด ลม ฝน โลก และจักรวาล ชาวบ้านเคารพผู้หลักผู้ใหญ่ พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ทั้งท่ีมีชีวิตอยู่และล่วงลับไปแล้ว ภูมิปัญญาจึงเป็นความรู้ท่ีมี คุณธรรม เป็นความรู้ที่มีเอกภาพของทุกสิ่งทุกอย่าง เป็นความรู้ว่า ทุกส่ิงทุกอย่างสัมพันธ์กันอย่างมีความสมดุล เราจึงยกย่องความรู้ขั้นสูงส่ง อันเป็นความรู้แจ้งในความจริงแห่งชีวิตนี้ว่า \"ภูมิปัญญา\"ความคิดและการแสดงออก เพื่อจะเข้าใจภูมิปัญญาชาวบ้าน จาเป็นต้องเข้าใจความคิดของชาวบ้านเก่ียวกับโลก หรือที่เรียกว่า โลกทัศน์ และ เกี่ยวกับชีวิต หรือที่เรียกว่า ชีวทัศน์ สิ่งเหล่าน้ีเป็นนามธรรม อันเก่ียวข้องสัมพันธ์โดยตรงกับการแสดงออกใน ลักษณะต่างๆ ที่เป็นรูปธรรม แนวคิดเร่ืองความสมดุลของชีวิต เป็นแนวคิดพื้นฐานของภูมิปัญญาชาวบ้าน การแพทย์แผนไทย หรอื ทเี่ คยเรียกกันวา่ การแพทย์แผนโบราณนัน้ มีหลกั การว่า คนมสี ขุ ภาพดี เมือ่ ร่างกายมีความ สมดลุ ระหว่างธาตทุ ง้ั 4 คือ ดิน น้า ลม ไฟ คนเจ็บไข้ได้ป่วยเพราะธาตุขาดความสมดุล จะมกี ารปรบั ธาตุ โดยใช้ยา สมุนไพร หรือวิธีการอื่นๆ คนเป็นไข้ตัวร้อน หมอยาพื้นบ้านจะให้ยาเย็น เพื่อลดไข้ เป็นต้น การดาเนิน ชีวิตประจาวันก็เช่นเดียวกัน ชาวบ้านเช่ือว่า จะต้องรักษาความสมดุลในความสมั พันธ์สามด้าน คือ ความสัมพันธ์ กับคนในครอบครัว ญาติพ่ีน้อง เพื่อนบ้านในชุมชน ความสัมพันธ์ที่ดีมีหลักเกณฑ์ ท่ีบรรพบุรุษได้สั่งสอนมา เช่น ลูกควรปฏิบัติอย่างไรกับพ่อแม่ กับญาติพ่ีน้อง กับผู้สูงอายุ คนเฒ่าคนแก่ กับเพื่อนบ้าน พ่อแม่ควรเล้ียงดูลูก อย่างไร ความเอ้ืออาทรต่อกันและกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน โดยเฉพาะในยามทุกข์ยาก หรือมีปัญหา ใครมี ความสามารถพิเศษก็ใช้ความสามารถนั้นช่วยเหลือผู้อื่น เช่น บางคนเป็นหมอยา ก็ช่วยดูแลรักษาคนเจ็บป่วยไม่ สบาย โดยไม่คิดค่ารักษา มีแต่เพียงการยกครู หรือการราลึกถึงครูบาอาจารย์ท่ีประสาทวิชามาให้เท่านั้น หมอยา ตอ้ งทามาหากิน โดยการทานา ทาไร่ เล้ียงสตั ว์เหมือนกับชาวบ้านอ่ืนๆ บางคนมคี วามสามารถพิเศษดา้ นการทามา หากิน กช็ ่วยสอนลูกหลานใหม้ ีวิชาไปดว้ ย

ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนในครอบครัว ในชุมชน มีกฎเกณฑ์เป็นข้อปฏิบัติ และข้อห้ามอย่างชัดเจน มีการแสดงออกทางประเพณี พิธีกรรม และกิจกรรมต่างๆ เช่น การรดน้าดาหัวผู้ใหญ่ การบายศรีสู่ขวัญ เป็นต้น ความสมั พันธ์กับธรรมชาติ ผู้คนสมยั ก่อนพึง่ พาอาศยั ธรรมชาติแทบทุกด้าน ตัง้ แตอ่ าหารการกนิ เคร่อื งนงุ่ ห่ม ที่อยู่ อาศัย และยารักษาโรค วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยียังไม่พัฒนาก้าวหน้าเหมือนทุกวนั นี้ ยงั ไม่มีระบบการคา้ แบบ สมัยใหม่ ไม่มตี ลาด คนไปจับปลาล่าสัตว์ เพ่ือเป็นอาหารไปวนั ๆ ตัดไม้ เพื่อสรา้ งบ้าน และใช้สอยตามความจาเป็น เท่านั้น ไม่ได้ทาเพ่ือการค้า ชาวบ้านมีหลักเกณฑ์ในการใช้สิ่งของในธรรมชาติ ไม่ตัดไม้อ่อน ทาให้ต้นไม้ในป่าขึ้น แทนต้นท่ีถูกตัดไปได้ตลอดเวลา ชาวบ้านยังไม่รู้จักสารเคมี ไม่ใช้ยาฆ่าแมลง ฆ่าหญ้า ฆ่าสัตว์ ไม่ใช้ปุ๋ยเคมี ใช้ สิ่งของในธรรมชาติใหเ้ ก้ือกูลกัน ใช้มูลสัตว์ ใบไม้ใบ หญา้ ท่ีเน่าเป่ือยเป็นปุ๋ย ทาให้ดินอดุ มสมบูรณ์ น้าสะอาด และ ไมเ่ หือดแหง้ ชาวบา้ นเคารพธรรมชาติ เชื่อวา่ มีเทพมีเจา้ สถิตอยู่ในดนิ น้า ป่า เขา สถานทที่ ุกแห่ง จะทาอะไรต้อง ขออนุญาต และทาด้วยความเคารพ และพอดี พองาม ชาวบ้านรู้คุณธรรมชาติ ท่ีได้ให้ชีวิตแก่ตน พิธีกรรมต่างๆ ลว้ นแสดงออกถงึ แนวคิดดังกล่าว เช่น งานบุญพิธี ทเี่ กี่ยวกบั น้า ข้าว ป่าเขา รวมถึงสัตว์ บ้านเรือน เครื่องใช้ต่างๆ มีพิธีสู่ขวัญข้าว สู่ขวัญควาย สู่ขวัญเกวียน ทางอีสานมีพิธีแฮกนา หรือแรกนา เล้ียงผีตาแฮก มีงานบุญบ้าน เพ่ือ เลยี้ งผี หรอื สงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิป์ ระจาหมูบ่ า้ น เปน็ ตน้ ความสัมพันธ์กบั ส่ิงเหนือธรรมชาติ ชาวบ้านรู้ว่า มนุษย์เปน็ เพยี งสว่ นเลก็ ๆ สว่ นหนึง่ ของจกั รวาล ซึ่งเต็มไปด้วยความเร้นลับ มีพลัง และอานาจ ท่ีเขาไม่อาจจะหาคาอธิบายได้ ความเร้นลับดังกล่าวรวมถึงญาติพ่ี น้อง และผู้คนท่ีล่วงลับไปแล้ว ชาวบ้านยังสัมพันธ์กับพวกเขา ทาบุญ และราลึกถึงอย่างสม่าเสมอทุกวัน หรือใน โอกาสสาคญั ๆ นอกนน้ั เป็นผีดี ผีรา้ ย เทพเจ้าต่างๆ ตามความเชอ่ื ของแต่ละแหง่ ส่งิ เหล่านี้สงิ สถิตอยูใ่ นสงิ่ ต่างๆ ใน โลก ในจักรวาล และอยูบ่ นสรวงสวรรคก์ ารทามาหากิน แม้วิถีชีวิตของชาวบ้านเมื่อก่อนจะดูเรียบง่ายกว่าทุกวันนี้ และยังอาศัยธรรมชาติ และแรงงาน เป็นหลัก ในการทามาหากิน แต่พวกเขาก็ต้องใช้สติปัญญา ที่บรรพบุรุษถ่ายทอดมาให้ เพ่ือจะได้อยู่รอด ท้ังนี้ เพราะปญั หาต่างๆ ในอดีตกย็ งั มไี ม่นอ้ ย โดยเฉพาะเมอ่ื ครอบครวั มีสมาชกิ มากข้ึน จาเป็นต้องขยายทที่ ากิน ต้องหัก ร้างถางพง บุกเบิก พื้นที่ทากินใหม่ การปรับพื้นที่ปั้นคันนา เพ่ือทานา ซึ่งเป็นงานที่หนัก การทาไร่ทานา ปลูกพืช เล้ียงสัตว์ และดูแลรักษาให้เติบโต และได้ผล เป็นงานท่ีต้องอาศัยความรู้ความสามารถ การจับปลาล่าสัตว์ก็มี วธิ ีการ บางคนมคี วามสามารถมากรู้ว่า เวลาไหน ท่ีใด และวิธีใด จะจับปลาได้ดีทสี่ ุด คนทไี่ ม่เก่งก็ต้องใช้เวลานาน และได้ปลาน้อย การล่าสตั ว์ก็เชน่ เดยี วกนั การจัดการแหล่งน้า เพื่อการเกษตร ก็เป็นความรู้ความสามารถ ท่ีมีมาแต่โบราณ คนทาง ภาคเหนือร้จู กั บรหิ ารน้า เพ่ือการเกษตร และเพอ่ื การบริโภคต่างๆ โดยการจัดระบบเหมืองฝาย มีการจดั แบง่ ปนั น้า กันตามระบบประเพณีที่ สืบทอดกันมา มีหัวหน้าท่ีทุกคนยอมรับ มีคณะกรรมการจัดสรรน้าตามสัดส่วน และตาม พน้ื ที่ทากิน นับเป็นความรู้ที่ทาให้ชุมชนต่างๆ ท่ีอาศัยอยู่ใกล้ลาน้า ไม่ว่าต้นน้า หรือปลายน้า ไดร้ ับการแบ่งปันน้า อยา่ งยตุ ิธรรม ทกุ คนไดป้ ระโยชน์ และอยู่ร่วมกนั อย่างสันติ ชาวบ้านรู้จักการแปรรูปผลิตผลในหลายรูปแบบ การถนอมอาหารให้กินได้นาน การดองการหมัก เชน่ ปลาร้า น้าปลา ผกั ดอง ปลาเค็ม เนอ้ื เค็ม ปลาแห้ง เนื้อแห้ง การแปรรูปข้าว ก็ทาไดม้ ากมายนบั รอ้ ยชนดิ เช่น ขนมต่างๆ แต่ละพิธีกรรม และแตล่ ะงานบุญประเพณี มีข้าวและขนมในรูปแบบไม่ซ้ากนั ตั้งแต่ขนมจีน สังขยา ไป ถงึ ขนมในงานสารท กาละแม ขนมครก และอ่ืนๆ ซึ่งยังพอมีให้เห็นอยู่จานวนหน่ึง ในปัจจุบันส่วนใหญ่ปรับเปลี่ยน มาเปน็ การผลิตเพื่อขาย หรือเปน็ อตุ สาหกรรมในครวั เรอื น ความรู้เรื่องการปรุงอาหารก็มีอยู่มากมาย แต่ละท้องถ่ินมีรูปแบบ และรสชาติแตกต่างกันไป มี มากมายนับร้อยนับพันชนิด แม้ในชีวติ ประจาวนั จะมีเพียงไม่ก่ีอย่าง แต่โอกาสงานพิธี งาน เลี้ยง งานฉลองสาคัญ

จะมีการจัดเตรียมอาหารอย่างดี และพิถีพิถัน การทามาหากินในประเพณีเดิมน้ัน เป็นท้ังศาสตร์และศิลป์ การ เตรียมอาหาร การจัดขนม และผลไม้ ไม่ได้เป็นเพียงเพื่อให้รับประทานแล้วอร่อย แต่ให้ได้ความสวยงาม ทาให้ สามารถสัมผัสกับอาหารนั้น ไม่เพียงแต่ทางปาก และรสชาติของล้ิน แต่ทางตา และทางใจ การเตรียมอาหารเป็น งานศิลปะ ที่ปรุงแต่ดว้ ยความตง้ั ใจ ใช้เวลา ฝีมือ และความรู้ความสามารถ ชาวบา้ นสมัยก่อนส่วนใหญ่จะทานา เป็นหลัก เพราะเม่ือมีข้าวแล้ว ก็สบายใจ อย่างอื่นพอหาได้จากธรรมชาติ เสร็จหน้านาก็จะทางานหัตถกรรม กา ร ทอผา้ ทาเสื่อ เล้ียงไหม ทาเครือ่ งมือ สาหรับจับสัตว์ เครือ่ งมอื การเกษตร และ อุปกรณต์ ่างๆ ท่ีจาเป็น หรอื เตรยี ม พืน้ ท่ี เพือ่ การทานาครง้ั ตอ่ ไป หัตถกรรมเป็นทรัพย์สิน และมรดกทางภูมิปัญญาที่ยิ่งใหญ่ท่ีสุดอย่างหน่ึงของบรรพบุรุษ เพราะ เปน็ สื่อท่ีถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความเชื่อ และคุณคา่ ต่างๆ ท่สี ง่ั สมมาแต่นมนาน ลายผา้ ไหม ผา้ ฝา้ ย ฝีมือในการทออย่างประณีต รูปแบบเครื่องมือ ที่สานด้วยไม้ไผ่ และอุปกรณ์ เคร่ืองใช้ไม้สอยต่างๆ เคร่ืองดนตรี เครื่องเล่น ส่ิงเหล่านี้ได้ถูกบรรจงสร้างข้ึนมา เพื่อการใช้สอย การทาบุญ หรือการอุทิศให้ใครคนหนึ่ง ไม่ใช่เพ่ือ การค้าขาย ชาวบ้านทามาหากินเพียงเพ่ือการยังชีพ ไม่ได้ทาเพ่ือขาย มีการนาผลิตผลส่วนหนึ่งไปแลกส่ิงของที่ จาเป็น ที่ตนเองไม่มี เช่น นาข้าวไป แลกเกลือ พริก ปลา ไก่ หรือเสื้อผ้า การขายผลิตผลมีแต่เพียงส่วนน้อย และ เม่ือมีความจาเป็นต้องใช้เงิน เพื่อเสียภาษีให้รัฐ ชาวบ้านนาผลิตผล เช่น ข้าว ไปขายในเมืองให้กับพ่อค้า หรือขาย ให้กบั พ่อค้าทอ้ งถ่ิน เช่น ทางภาคอสี าน เรียกว่า \"นายฮอ้ ย\" คนเหลา่ น้ีจะนาผลติ ผลบางอย่าง เช่น ข้าว ปลาร้า วัว ควาย ไปขายในท่ีไกลๆ ทางภาคเหนอื มพี อ่ คา้ ววั ตา่ งๆ เปน็ ตน้ แม้ว่าความรู้เร่ืองการค้าขายของคนสมัยก่อน ไม่อาจจะนามาใช้ในระบบตลาดเช่นปัจจุบันได้ เพราะสถานการณ์ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก แต่การค้าที่มีจริยธรรมของพ่อค้าในอดีต ท่ีไม่ได้หวังแต่เพียงกาไร แต่คานึงถึงการช่วยเหลือ แบ่งปันกันเป็นหลัก ยังมีคุณค่าสาหรับปัจจุบัน นอกน้ัน ในหลายพื้นที่ในชนบท ระบบ การแลกเปลี่ยนส่ิงของยังมีอยู่ โดยเฉพาะในพ้ืนที่ยากจน ซึ่งชาวบ้านไม่มีเงินสด แต่มีผลิตผลต่างๆ ระบบการ แลกเปลี่ยนไม่ได้ยดึ หลักมาตราชงั่ วัด หรือการตีราคาของสงิ่ ของ แต่แลกเปลย่ี น โดยการคานงึ ถงึ สถานการณ์ของผู้ แลกท้ังสองฝ่าย คนที่เอาปลาหรือไก่มาขอแลกข้าว อาจจะได้ข้าวเป็นถัง เพราะเจ้าของข้าวคานึงถึงความจาเป็น ของครอบครวั เจ้าของไก่ ถ้าหากตีราคาเป็นเงนิ ขา้ วหน่งึ ถงั ยอ่ มมคี า่ สงู กว่าไกห่ น่งึ ตัว การอยรู่ ว่ มกันในสงั คม การอยู่ร่วมกันในชุมชนดั้งเดิมนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นญาติพี่น้องไม่กี่ตระกูล ซึ่งได้อพยพย้ายถ่ินฐานมาอยู่ หรือสืบทอดบรรพบุรุษจนนับญาติกันได้ท้ังชุมชน มีคนเฒ่าคนแก่ที่ชาวบ้านเคารพนับถือเป็นผู้นาหน้าท่ีของผู้นา ไม่ใช่การส่ัง แต่เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา มีความแม่นยาในกฎระเบียบประเพณีการดาเนินชีวิต ตัดสินไกล่เกลี่ย หากเกดิ ความขดั แย้ง ช่วยกันแก้ไขปญั หาต่างๆ ท่ีเกิดขึน้ ปญั หาในชมุ ชนกม็ ีไมน่ ้อย ปัญหาการทามาหากิน ฝนแล้ง นา้ ท่วม โรคระบาด โจรลักวัวควาย เป็นต้น นอกจากน้ัน ยังมีปญั หาความขัดแย้งภายในชุมชน หรอื ระหว่างชุมชน การละเมิดกฎหมาย ประเพณี ส่วนใหญ่จะเป็นการ \" ผิดผี\" คือ ผีของบรรพบุรุษ ผู้ซึ่งได้สร้างกฎเกณฑ์ต่างๆ ไว้ เชน่ กรณีท่ชี ายหน่มุ ถูกเน้ือตอ้ งตัวหญงิ สาวทย่ี ังไมแ่ ตง่ งาน เปน็ ต้น หากเกิดการผดิ ผีขึน้ มา ก็ต้องมพี ธิ ีกรรมขอขมา โดยมีคนเฒ่าคนแก่เป็นตัวแทนของบรรพบุรุษ มีการว่ากล่าวสั่งสอน และชดเชยการทาผิดนั้น ตามกฎเกณฑ์ท่ีวาง ไว้ ชาวบ้านอยู่อย่างพ่ึงพาอาศัยกัน ยามเจ็บไข้ได้ป่วย ยามเกิดอุบัติเหตุเภทภัย ยามที่โจรขโมยวัวควายข้าวของ การช่วยเหลือกันทางานที่เรียกกันว่า การลงแขก ท้ังแรงกายแรงใจที่มีอยู่ก็จะแบ่งปันช่วยเหลือ เอ้ืออาทรกัน การ แลกเปล่ียนสิ่งของ อาหารการกิน และอ่ืนๆ จึงเกี่ยวข้องกับวิถขี องชุมชน ชาวบ้านช่วยกันเก็บเก่ียวข้าว สร้างบ้าน หรืองานอ่นื ท่ตี อ้ งการคนมากๆ เพ่ือจะไดเ้ สร็จโดยเร็ว ไมม่ ีการจา้ ง

กรณีตัวอย่างจากการปลูกข้าวของชาวบ้าน ถ้าปีหน่ึงชาวนาปลูกข้าวได้ผลดี ผลิตผลท่ีได้จะใช้เพื่อการ บริโภคในครอบครัว ทาบุญที่วัด เผอื่ แผ่ให้พี่น้องท่ีขาดแคลน แลกของ และเก็บไว้ เผื่อวา่ ปีหน้าฝนอาจแล้ง น้าอาจ ท่วม ผลิตผล อาจไมด่ ีในชุมชนตา่ งๆ จะมีผมู้ คี วามรู้ความสามารถหลากหลาย บางคนเก่งทางการรักษาโรค บางคน ทางการเพาะปลูกพืช บางคนทางการเลี้ยงสัตว์ บางคนทางด้านดนตรีการละเล่น บางคนเก่งทางดา้ นพิธีกรรม คน เหล่านี้ต่างก็ใช้ความสามารถ เพ่ือประโยชน์ของชุมชน โดยไม่ถือเป็นอาชีพ ที่มีค่าตอบแทน อย่างมากก็มี \"ค่าครู\" แต่เพียงเล็กน้อย ซ่งึ ปกติแล้ว เงินจานวนนั้น ก็ใช้สาหรบั เครอ่ื งมอื ประกอบพิธกี รรม หรือ เพ่ือทาบุญที่วัด มากกว่า ท่ีหมอยา หรือบุคคลผนู้ ั้น จะเกบ็ ไวใ้ ชเ้ อง เพราะแท้ทจ่ี รงิ แล้ว \"วชิ า\" ทีค่ รูถา่ ยทอดมาใหแ้ กล่ ูกศิษย์ จะต้องนาไปใช้ เพ่ือประโยชน์แก่สังคม ไม่ใช่เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว การตอบแทนจึงไม่ใช่เงินหรือสิ่งของเสมอไป แต่เป็นการ ช่วยเหลอื เกือ้ กูลกันโดยวธิ ีการต่าง ๆ ด้วยวิถีชีวิตเช่นน้ี จึงมคี าถาม เพื่อเปน็ การสอนคนรนุ่ หลังว่า ถ้าหากคนหนึ่ง จับปลาช่อนตัวใหญ่ได้หน่ึงตัว ทาอย่างไรจึงจะกินได้ทั้งปี คนสมัยน้ีอาจจะบอกว่า ทาปลาเค็ม ปลาร้า หรือเก็บ รกั ษาดว้ ยวธิ กี ารต่างๆ แตค่ าตอบทถ่ี ูกตอ้ ง คือ แบ่งปนั ให้พี่น้อง เพ่ือนบ้าน เพราะเมื่อเขาไดป้ ลา เขากจ็ ะทากับเรา เช่นเดียวกัน ชีวติ ทางสงั คมของหมู่บ้าน มีศนู ย์กลางอยทู่ ่วี ัด กิจกรรมของสว่ นรวม จะทากันที่วัด งานบุญประเพณี ตา่ งๆ ตลอดจนการละเลน่ มหรสพ พระสงฆ์เป็น ผนู้ าทางจิตใจ เปน็ ครูทีส่ อนลูกหลานผู้ชาย ซง่ึ ไปรับใชพ้ ระสงฆ์ หรือ \"บวชเรียน\" ท้งั นีเ้ พราะก่อนน้ยี ังไมม่ โี รงเรียน วดั จงึ เป็นท้งั โรงเรยี น และหอประชุม เพ่ือกิจกรรมตา่ งๆ ต่อเมื่อโรงเรียนมีขนึ้ และแยกออกจากวดั บทบาทของวดั และของพระสงฆ์ จึงเปล่ียนไป งานบุญประเพณีในชุมชนแต่ก่อนมีอยู่ทุกเดือน ต่อมาก็ลดลงไป หรือสองสามหมู่บ้านร่วมกันจัด หรือ ผลัดเปลย่ี นหมุนเวียนกัน เชน่ งานเทศน์มหาชาติ ซึ่งเป็นงานใหญ่ หมู่บ้านเล็กๆ ไม่อาจจะจัดได้ทุกปี งานเหลา่ น้ีมี ทง้ั ความเชื่อ พธิ กี รรม และความสนุกสนาน ซงึ่ ชุมชนแสดงออกร่วมกัน ระบบคุณคา่ ความเชื่อในกฎเกณฑ์ประเพณี เปน็ ระเบียบทางสังคมของชมุ ชนดง้ั เดิม ความเชื่อน้ีเปน็ รากฐานของระบบ คณุ ค่าต่างๆ ความกตัญญูรู้คุณต่อพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ความเมตตาเอื้ออาทรตอ่ ผู้อ่ืน ความเคารพต่อสิ่งศักด์ิสิทธ์ิใน ธรรมชาตริ อบตัว และในสากลจักรวาล ความเชื่อ \"ผี\" หรือสิง่ ศักด์ิสทิ ธใ์ิ นธรรมชาติ เป็นทม่ี าของการดาเนินชีวิต ทง้ั ของส่วนบุคคล และของชุมชน โดยรวมการเคารพในผีปู่ตา หรือผีปู่ย่า ซึ่งเป็นผีประจาหมู่บ้าน ทาให้ชาวบ้านมีความเป็นหนึ่งเดียวกัน เป็น ลูกหลานของปู่ตาคนเดียวกัน รักษาป่าที่มีบ้านเล็กๆ สาหรับผี ปลูกอยู่ติดหมู่บ้าน ผีป่า ทาให้คนตัดไม้ด้วยความ เคารพ ขออนุญาตเลือกตัดต้นแก่ และปลูกทดแทน ไม่ท้ิงสิ่งสกปรกลงแม่น้า ด้วยความเคารพในแม่คงคา กินข้าว ด้วยความเคารพ ในแมโ่ พสพ คนโบราณกินข้าวเสรจ็ จะไหวข้ า้ ว พธิ ีบายศรีสู่ขวัญ เป็นพิธีรื้อฟื้น กระชับ หรือสรา้ งความสัมพันธ์ระหว่างผู้คน คนจะเดินทางไกล หรือกลับ จากการเดนิ ทาง สมาชกิ ใหม่ ในชมุ ชน คนป่วย หรือกาลังฟ้นื ไข้ คนเหลา่ นจ้ี ะได้รบั พธิ สี ู่ขวญั เพ่ือให้เปน็ สริ ิมงคล มี ความอยู่เย็นเป็นสขุ นอกนน้ั ยังมีพธิ ีสบื ชะตาชีวติ ของบคุ คล หรือของชมุ ชน นอกจากพิธีกรรมกับคนแล้ว ยงั มีพิธีกรรมกบั สัตว์และธรรมชาติ มีพธิ ีส่ขู วญั ข้าว สู่ขวัญควาย สู่ขวัญเกวียน เป็นการแสดงออกถึงการขอบคุณ การขอขมา พิธีดังกล่าวไม่ได้มีความหมายถึงว่า ส่ิงเหล่าน้ีมีจิต มีผีในตัวมันเอง แต่เป็นการแสดงออก ถึงความสัมพันธ์กับจิตและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อันเป็นสากลในธรรมชาติทั้งหมด ทาให้ผู้คนมี ความสัมพันธ์อันดีกับทุกสิ่ง คนขับแท็กซ่ีในกรุงเทพฯ ท่ีมาจากหมู่บ้าน ยังซื้อดอกไม้ แล้วแขวนไว้ที่กระจกในรถ ไมใ่ ชเ่ พ่ือเซ่นไหว้ผใี นรถแท็กซ่ี แต่เป็นการราลึกถงึ ส่ิงศกั ดสิ์ ิทธ์ิ ใน สากลจกั รวาล รวมถงึ ที่สงิ อยู่ในรถคันนั้น ผู้คน

สมัยก่อนมีความสานึกในข้อจากัดของตนเอง รวู้ ่า มนุษย์มีความอ่อนแอ และเปราะบาง หากไมร่ ักษาความสัมพันธ์ อนั ดี และไม่คงความสมดุลกับธรรมชาติรอบตัวไว้ เขาคงไมส่ ามารถมีชีวิตไดอ้ ยา่ งเป็นสขุ และยืนนาน ผคู้ นทัว่ ไปจึง ไม่มีความอวดกล้าในความสามารถของตน ไม่ท้าทายธรรมชาติ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ มีความอ่อนน้อมถ่อมตน และ รกั ษากฎระเบียบประเพณอี ย่างเคร่งครัด ชีวิตของชาวบ้านในรอบหนึ่งปี จึงมีพิธีกรรมทุกเดือน เพ่ือแสดงออกถึงความเชื่อ และความสั มพันธ์ ระหว่างผู้คนในสังคม ระหว่างคนกับธรรมชาติ และระหว่างคนกับส่ิงศักดิ์สิทธ์ิต่างๆ ดังกรณีงานบุญประเพณีของ ชาวอีสานที่เรียกว่า ฮีตสิบสอง คือ เดือนอ้าย (เดือนท่ีหนึ่ง) บุญเข้ากรรม ให้พระภิกษุเข้าปริวาสกรรม เดือนยี่ (เดือนท่ีสอง) บุญคูณลาน ให้นาข้าวมากองกันท่ีลาน ทาพิธีก่อนนวด เดือนสาม บุญข้าวจี่ ให้ถวายข้าวจ่ี (ข้าว เหนียวป้นั ชุบไข่ทาเกลอื นาไปย่างไฟ) เดือนส่ี บุญพระเวส ใหฟ้ ังเทศน์มหาชาติ คือ เทศน์เรอื่ งพระเวสสันดรชาดก เดอื นห้า บุญสรงนา้ หรือบุญสงกรานต์ ให้สรงนา้ พระ ผ้เู ฒา่ ผ้แู ก่ เดือนหก บญุ บั้งไฟ บูชาพญาแถน ตามความเช่ือ เดมิ และบญุ วสิ าขบูชา ตามความเชื่อของชาวพุทธ เดือนเจ็ด บญุ ซาฮะ (บุญชาระ) ใหบ้ นบานพระภมู เิ จ้าที่ เลี้ยงผี ปู่ตา เดือนแปด บญุ เขา้ พรรษา เดอื นเกา้ บญุ ขา้ วประดบั ดนิ ทาบุญอุทิศสว่ นกุศลใหญ้ าติพน่ี อ้ งผู้ลว่ งลับ เดอื นสิบ บุญข้าวสาก ทาบุญเช่นเดือนเก้า รวมให้ผีไม่มีญาติ (ภาคใต้มีพิธีคล้ายกัน คือ งานพิธีเดือนสิบ ทาบุญให้แก่บรรพ บุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว แบ่งข้าวปลาอาหารส่วนหน่ึงให้แก่ผีไม่มีญาติ พวกเด็กๆ ชอบแย่งกันเอาของท่ีแบ่งให้ผีไม่มี ญาตหิ รือเปรต เรียกวา่ \"การชิงเปรต\") เดอื นสบิ เอ็ด บุญออกพรรษา เดือนสิบสอง บุญกฐิน จดั งานกฐนิ และลอยกระทง ภูมิปัญญาชาวบ้านในสังคมปัจจุบัน ภูมิปัญญาชาวบ้านได้ก่อเกิด และสืบทอดกันมาในชุมชนหมู่บ้าน เมื่อหมู่บ้านเปล่ียนแปลงไปพร้อมกับสังคมสมัยใหม่ ภูมิปัญญาชาวบ้านก็มีการปรับตัวเช่นเดียวกัน ความรู้จานวน มากได้สูญหายไป เพราะไมม่ ีการปฏบิ ัติสืบทอด เชน่ การรักษาพ้ืนบา้ นบางอย่าง การใช้ยาสมนุ ไพรบางชนดิ เพราะ หมอยาที่เกง่ ๆ ได้เสียชีวิต โดยไม่ได้ถ่ายทอดให้กบั คนอ่ืน หรือถา่ ยทอด แตค่ นต่อมาไม่ไดป้ ฏบิ ัติ เพราะชาวบ้านไม่ นยิ มเหมือนเม่ือก่อน ใช้ยาสมัยใหม่ และไปหาหมอ ทโ่ี รงพยาบาล หรือคลินิก ง่ายกว่า งานหัตถกรรม ทอผ้า หรือ เครื่องเงิน เคร่ืองเขิน แม้จะยังเหลืออยู่ไม่น้อย แต่ก็ได้ถูกพัฒนาไปเป็นการค้า ไม่สามารถรักษาคุณภาพ และฝีมือ แบบด้ังเดิมไว้ได้ ในการทามาหากนิ มกี ารใช้เทคโนโลยีทนั สมยั ใชร้ ถไถแทนควาย รถอแี ตน๋ แทนเกวยี น การลงแขกทานา และปลูกสร้างบ้านเรือน ก็เกือบจะหมดไป มีการจ้างงานกันมากขึ้น แรงงานก็หายาก กว่าแตก่ ่อน ผู้คนอพยพยา้ ยถ่ิน บา้ งก็เข้าเมือง บ้างก็ไปทางานท่ีอื่น ประเพณงี านบญุ ก็เหลอื ไม่มาก ทาได้กต็ ่อเมื่อ ลูกหลานทจ่ี ากบา้ นไปทางาน กลบั มาเยี่ยมบ้านในเทศกาลสาคญั ๆ เชน่ ปใี หม่ สงกรานต์ เข้าพรรษา เปน็ ตน้ สังคมสมัยใหม่มีระบบการศึกษาในโรงเรียน มีอนามัย และโรงพยาบาล มีโรงหนัง วิทยุ โทรทัศน์ และ เคร่ืองบันเทิงต่างๆ ทาให้ชีวิตทางสังคมของชุมชนหมู่บ้านเปล่ียนไป มีตารวจ มีโรงมีศาล มีเจ้าหน้าท่ีราชการฝ่าย ปกครอง ฝ่ายพัฒนา และอื่นๆ เข้าไปในหมู่บ้าน บทบาทของวัด พระสงฆ์ และคนเฒ่าคนแก่เร่ิมลดน้อยลงการทา มาหากินก็เปลยี่ นจากการทาเพือ่ ยงั ชีพไปเป็นการผลิตเพื่อการขาย ผู้คนต้องการเงนิ เพื่อซ้ือเครื่องบรโิ ภคต่างๆ ทา ให้สิ่งแวดล้อม เปลี่ยนไป ผลิตผลจากป่าก็หมด สถานการณ์เช่นนี้ทาใหผ้ ู้นาการพัฒนาชุมชนหลายคน ที่มีบทบาท สาคัญในระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ เริ่มเห็นความสาคัญของภูมิปัญญาชาวบ้าน หน่วยงานทาง ภาครัฐ และภาคเอกชน ให้การสนับสนุน และส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ประยุกต์ และค้นคิดส่ิงใหม่ ความรู้ ใหม่ เพื่อประโยชน์สขุ ของสงั คม

ความเป็นมาและความสาคัญการทอผ้าไหม ประวัตผิ ้าไหม ท่ีมีหลักฐาน และการค้นพบเก่าแก่ทสี่ ุด คอื มีการพบที่ประเทศจีน ประมาณ 4,700 กว่าปี ท่ีแล้ว โดยมีหลักฐานท่ีสามารถอ้างถึงได้ อาทิ หนังสือจีนโบราณช่ือ ไคเภ็ก ที่กล่าวถึงพระนางง่วนฮุย พระมเหสี ของพระเจ้าอึ้งต่ี ท่ีเปน็ ผรู้ เิ รมิ่ การทอผ้าไหมจากหนอนไหมทพ่ี ระองคส์ ังเกตเห็นโดยบังเอญิ และได้เผยแพร่ไปสู่เขต ตา่ งๆ รวมไปถงึ อาณาจกั รใกล้เคียง (ที่มา : http://www.bongkodsilkshop.com) สาหรับประเทศไทย พบหลักฐานท่ีเก่ียวข้องกับการทอผ้าไหมท่ีเก่าแก่ท่ีสุดประมาณ 3,000 กว่าปีที่แล้ว โดยพบเศษผ้าไหมของวัฒนธรรมบ้านเชียง ณ บ้านนาดี อาเภอหนองหาญ จังหวัดอุดร และบริเวณพื้นที่อื่นๆใน ภาคอีสาน ซึ่งจากการสันนิษฐาน พบว่า มีการเล้ียง และการทอผ้าไหมเป็นเครื่องนุ่งหุ่มกระจายท่ัวไปในแถบภาค อสี าน และสายพันธุ์ไหมที่ใช้เป็นสายพันธุ์พ้นื เมืองท่ีมกี ารฟักตวั ได้ตลอดทั้งปี มีลักษณะรูปร่างเรยี วเลก็ สีเหลือง ใน ส่วนภาคอ่ืนๆ ของประเทศมีหลักฐานตรวจพบถึงการทอผ้าไหมเป็นเครื่องนุ่งห่มปรากฏตามจารึกของพงศาวดาร ต่างๆ จนถึงสมัยอยุธยา กรุงธนบุรี ถึงรัชสมัยปัจจุบัน ในสมัยราชกาลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2411-2453) ถือเป็นยุคแรกของการส่งเสริมปลูกหม่อนเลี้ยงไหม และการทอผ้าไหม ของไทยซึ่งถือได้ว่าเป็นอาชีพรองจากการทานาเลยทีเดียว บริเวณพ้ืนท่ีอีสานถือเป็นพ้ืนที่ที่มีการเล้ียงหม่อนไหม และทอผ้าไหมมากท่ีสุด โดยสมัยน้ันเทคโนโลยีเก่ียวกับผ้าไหมยังไม่เจริญก้าวหน้า ชาวบ้านยังทาได้เป็นเส้นไหม หยาบใช้เป็นเส้นพุงได้อย่างเดียว ส่วนไหมเส้นยืนต้องส่ังซื้อจากต่างประเทศ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงก่อตั้งกรมช่างไหม และโรงเรียนสอนเกี่ยวกับการปลูก และการทอผ้าไหมโดยเฉพาะ รว่ มกบั ผู้เชี่ยวชาญประเทศญ่ีปุ่น จนทาให้เกิดการพัฒนาวทิ ยาการการปลูกหม่อนเล้ียงไหม และเทคโนโลยีการทอ ผ้าไหมมากยิ่งข้ึน อาทิ การใช้เคร่ืองทอผ้าไหมแทนมือ เป็นต้น แต่หลังจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวสิ้นพระชนลง การปลูกหม่อนเล้ียงไหม และการทอผ้าไหมก็ซบเซาลง จนกระทั่ง พ.ศ. 2479 จึงมีการ กลับมาส่งเสริมการปลูกหม่อนเล้ียงไหมอีกครั้ง โดยมกี ารจดั ต้ังหน่วยงานส่งเสริม และพัฒนาตามจังหวัดหลกั ๆท่ีมี ทอผ้าไหมกันมาก ได้แก่ จงั หวัดนครราชสมี า จังหวัดขอนแก่น จังหวัดหนองคาย เป็นต้น พร้อมกันกับ พ.ศ. 2491 มีนักลงทุนชาวอเมริกัน จิม ทอมสัน จัดตั้งบริษัท จิมทอมสันไหมไทย จากัด ทาให้การปลูกหม่อนเล้ียงไหม และ การทอผ้าไหมของไทยพัฒนามาเป็นแบบอุตสาหกรรม และธุรกิจมากข้ึน โดยการส่งจาหน่ายที่ประเทศอเมริกา

และประเทศอ่ืนๆ จนเป็นที่รู้จักกันท่ัวโลกการทอผ้าไหม และการตลาดในปัจจุบันถูกพัฒนาในรูปการผลิตท่ีเป็น อุตสาหกรรมมากข้ึน เพื่อส่งออกต่างประเทศ และจาหน่ายภายในประเทศ แต่ก็ยังมีเพียงไม่กี่บริษัทเท่าน้ัน เช่น บริษัทจุลไหมไทย จากัด บริษัท อุตสาหกรรมไหมไทย จากัด เป็นต้นสาหรับการผลิตผ้าไหมในภาคครัวเรือนพบ มากเกือบทกุ ภาค โดยเฉพาะในภาคอสี าน และภาคเหนือทม่ี ีการผลิตในระดบั ครัวเรือน และการจัดต้ังกลุ่มผู้ทอผ้า ขน้ึ ปจั จบุ นั มมี ากกว่า 200 รายทว่ั ประเทศ เพอ่ื จาหน่ายภายในประเทศ และการส่งออก ผ้าไหมมีถิ่นกาเนิดในประเทศจีนและประเทศอินเดีย การทอผ้าไหมมีขึ้นราว 2,640 ปี ก่อนคริสตกาล พ่อค้าชาวจีนได้เผยแพร่ผ้าไหมสู่พ้ืนท่ีอ่ืนในแถบเอเชีย สาหรับประเทศไทยนักโบราณคดีพบหลักฐานที่แหล่ง โบราณคดีบา้ นเชียงซงึ่ บ่งช้วี า่ มกี ารใช้ผา้ ไหมเม่ือ 3,000 ปีกอ่ น การทอผ้าไหมในประเทศไทยในอดตี มีการทากันใน ครัวเรือนเพ่อื ใชเ้ อง หรือทาขน้ึ เพ่ือใช้ในงานพิธี เชน่ งานบุญ งานแตง่ งาน ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้ส่งเสริมให้ใช้ผ้าไหม ส่วนการปลูกหม่อนเพื่อเล้ียงไหมได้รับการสนับสนุน จากประเทศญี่ปุ่น แต่การดาเนินงานของโครงการก็ทาได้เพียงระยะหนึ่งมีอันต้องหยุดไป เน่ืองจากเกษตรกรไทย ยังคงทาในลักษณะแบบเดิมเพราะความเคยชิน ไม่ตอบรับต่อการเปลี่ยนแปลงไปสู่แบบใหม่ที่ได้รับการพัฒนาขึ้น จากความช่วยเหลือของญ่ีปุ่น หลงั สงครามโลกครง้ั ทส่ี อง ได้เกดิ การเปล่ียนแปลงคร้ังสาคัญของผ้าไหมไทยขึน้ โดย เจมส์ แฮร์ริสัน วิสสัน ทอมป์สัน ชาวสหรัฐอเมริกาหรือท่ีคนไทยรู้จักในนามว่า จิม ทอมป์สัน ซ่ึงเป็นผู้ท่ีให้ความ สนใจผลงานด้านศิลปะ ในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย รวมทงั้ ลาวและเขมร จิม ทอมป์สนั ได้ซื้อผ้าไหม ไทยลวดลายต่างๆ เก็บสะสมไว้ และทาการศึกษาลวดลายผ้าไหมในหมู่บ้านที่เป็นแหล่งการผลิตผ้าไหม พร้อมกับ เสาะแสวงหาช่างทอผ้าไหมฝีมือดี ในที่สุดได้พบช่างมีฝีมือถูกใจที่กรุงเทพมหานคร บริเวณชุมชนบ้านครัว (หลัง โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวีในปัจจุบัน) ชุมชนแห่งนี้เดิมเป็นชาวมุสลิมเชื้อสายเขมร อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ต้ังแต่ ตอนตน้ กรุงรัตนโกสนิ ทร์ มคี วามชานาญในการทอผา้ ไหม ซง่ึ จมิ ทอมป์สัน ไดเ้ ข้ามาสนบั สนนุ ใหช้ าวบ้านในชมุ ชน ทอผ้าไหม สามารถสร้างรายให้ชาวบ้านมากขนึ้ หลังจากน้ันได้มีการปรับปรุงผา้ ไหมไทยโดยใช้หลักการตลาด การ ผลิต เพ่ือขยายตลาด และทาการบุกเบิกผ้าไหมของไทยไปสู่ตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา และแพร่ เข้าสู่วงการภาพยนตร์ของชาติตะวันตก และ ละครบรอดเวย์ ในปี พ.ศ. 2502 นักออกแบบชาวฝร่ังเศสได้ใช้ผ้า ไหมไทยทาการออกแบบและตดั เย็บฉลองพระองคข์ องสมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ิติ์ พระบรมราชินีนาถ ครั้งเสด็จเยอื น ประเทศสหรฐั อเมริกาอยา่ งเปน็ ทางการ ถอื ได้ว่าเป็นการเปิดโอกาสผา้ ไหมของไทยสูต่ ลาดตา่ งประเทศ

1. ประเภทของผ้าไหม ผา้ ไหมไทยนบั เป็นภูมิปญั ญาท่ีสืบทอดต่อเน่ืองกนั มาเป็นระยะเวลายาวนาน มีความหลากหลายทงั้ รปู แบบ ลวดลาย และสีสนั แตกต่างกนั ไปในแต่ละท้องถน่ิ ตามความเช่ือและประเพณวี ัฒนธรรมในพ้ืนถ่ิน โดยกรรมวธิ ีทาให้เกิดลวดลายในผา้ ไหมไทยแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ลวดลายจากกรรมวธิ ีการทอ เช่น จก ยก ขดิ ขัด ลวดลายจากกรรมวธิ กี ารเตรยี มลวดลายเสน้ ดา้ ยก่อนทอ เช่น การมัดหม่ี และลวดลายจากกรรมวิธี การทาลวดลายหลังจากเป็นผืนผา้ เชน่ การยอ้ ม การมัดย้อม อยา่ งไรกต็ ามหากเราจาแนกผา้ ไหมไทยตามกรรมวิธี เทคนิคการทอสามารถจาแนกไดโ้ ดยสงั เขป ดงั นี้ 1. การทอขัด 2. มัดหม่ี 3. จก 4. ขดิ 5. ยก 6. การควบเสน้ 1.1 การทอขดั (ทีม่ า : http://www.bongkodsilkshop.com) การทอขัด เป็นวิธีการเบื้องต้นของการทอผ้าทุกชนิด คือมีเส้นพุ่งและเส้นยืนซ่ึงอาจเป็นเส้นเดียวกันหรือ ต่างสีกัน ซ่ึงจะทาให้เกิดลวดลายในเนื้อผ้าต่างกัน เช่น การทอเส้นยืนสลับสีก็จะเกิดผ้าลายร้ิวทางยาว หรือถ้าทอ

เส้นพุง่ สลับสีก็จะได้ผ้าลายขวาง การทอเส้นยืนและเส้นพุ่งสลับสีก็จะได้ลายตาราง เป็นต้น ผ้าไหมที่ใช้เทคนิคการ ทอขดั เรียงตามความหนาของเน้อื ผา้ เชน่ ผ้าไหมหนึ่งเสน้ หมายถงึ ผ้าไหมท่ีขัดด้วยเส้นยนื และเสน้ พงุ่ เพียงเสน้ เดยี วไมไ่ ดม้ ีการควบเส้นใยเพิ่มเข้าไป ผา้ ไหมสองเสน้ หมายถงึ ผา้ ไหมทที่ อขัดด้วยเส้นยนื เส้นเดียว ส่วนเส้นพงุ่ จะมกี ารควบเสน้ ไหมเพมิ่ เป็นสองเสน้ เน้ือผ้าจะมีความหนามากกว่าผา้ ไหมหนง่ึ เสน้ ผ้าไหมส่เี สน้ หมายถึง ผา้ ไหมทีท่ อขดั ด้วยเสน้ ยนื เสน้ เดียว ส่วนเสน้ พ่งุ จะมีการควบเพิ่มเป็นส่เี สน้ จะได้ผ้าเนอ้ื หนา นอกจากนี้การทอผ้าไหมท่ีหนามากกว่าสี่เส้นข้ึนไป อาจทาได้โดยไม่จาเป็นต้องใช้เส้นยืนเพียงเส้นเดียว หรืออาจใชเ้ สน้ พุ่งมากกวา่ สเ่ี สน้ ก็ได้ ขึ้นกบั วตั ถุประสงค์และประโยชน์ใช้สอย ผ้าทอลายขัดท่เี ป็นเอกลกั ษณใ์ นกลุ่ม วฒั นธรรมต่างๆ ได้แก่ ซ่ินก่าน ซ่ินทวิ ซิ่นลายแตงโม ผ้าขาวม้า ผ้าสะมอ ผา้ ตาสมกุ (ผา้ ลายเกล็ดเต่า) ผ้าลายเมล็ด งา เปน็ ต้น 1.2 มดั หม่ี (ท่ีมา : http://www.bongkodsilkshop.com) (ที่มา : http://www.bongkodsilkshop.com) มัดหมี่ เป็นศิลปะการทอผ้าท่ีเกิดจากการมัดเส้นด้ายหรือเส้นไหม ผูกให้เป็นลวดลายเป็นเปลาะๆ แล้ว นาไปย้อมสี ลวดลายท่ีเกิดข้ึนเกิดจากการซึมของสีไปตามส่วนของเส้นไหมหรือเส้นด้ายท่ีเว้นไว้ไม่ถูกมัดขณะย้อม เม่ือย้อมสีแล้วแกะเชือกออกจะเกิดเป็นลวดลายตามช่องของการมัดส้นเชือก ดังน้ันหากต้องการมัดหมี่หลายสีก็ ต้องทาการมัดยอ้ มสหี รือเรียก โอบหมี่ โดยมดั เสน้ เชือกบรเิ วณสว่ นทย่ี ้อมแลว้ เพ่ือรักษาสีทย่ี ้อมคร้ังแรกในบรเิ วณที่ ไม่ต้องการย้อมทับสีใหม่ แล้วนามาย้อมสีทับหลายครั้งเพื่อให้ได้ลวดลายสีสันตามต้องการ ลักษณะเฉพาะของผ้า มัดหม่ีอยู่ท่ีรอยซึมของสีท่ีว่ิงตามบริเวณของลวดลายท่ีถูกมัด ถึงแม้จะใช้ความแม่นยาในการทอมากเพียงไรก็จะ เกิดลกั ษณะความเล่ือมล้าของสีบนเส้นไหมให้เห็นแตกต่างกันไป ดังนั้นการมัดหมีจ่ ึงนับเป็นศิลปะบนผนื ผ้าซึ่งยาก ท่จี ะลอกเลียนให้เหมือนเดมิ ไดใ้ นแตล่ ะผืนผ้า ลวดลายมัดหม่ีที่สืบทอดกันมาแต่โบราณ เป็นลวดลายท่ีมาจากธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และความเชื่อ เช่น ลายดอกแก้ว ลายต้นสน ลายนาค ลายใบไผ่ ลายโคมห้า ลายขันหมากเป็น (ลาย บายศรี) เป็นต้น การทอผ้าโดยใช้เทคนิคการทอแบบมัดหมีเ่ พ่ือให้เกิดลวดลายบนผืนผ้านั้นมีอยู่เกอื บทุกจังหวัดใน ประเทศไทย โดยเฉพาะทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เทคนิคการทอผา้ แบบมัดหมแี่ บ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ 1. มัดหม่เี ส้นพุ่ง เป็นมดั หมที่ มี่ ดั ยอ้ มลวดลายเฉพาะเสน้ พงุ่ เทา่ น้ัน

2. มดั หม่ีเส้นยนื เปน็ มดั หมที่ ี่มดั ยอ้ มลวดลายเฉพาะเส้นยืนเทา่ น้ัน 3. มัดหมีซ่ ้อนหรอื มดั หมส่ี องทาง เป็นผ้ามดั หมที่ ่ีมัดย้อมลวดลายทั้งเสน้ พงุ่ และเสน้ ยนื ในประเทศไทยมกี ารทอผ้ามัดหม่ีทั้ง 3 ประเภทแตส่ ่วนใหญ่แล้วจะเป็นการทอมัดหม่ีเส้นพุ่งผ้ามัดหม่ี เป็น การทอผ้าอย่างหนึ่งท่ีมีการสร้างลวดลายก่อนที่จะทาการย้อมสี การทาลายผ้ามัดหม่ีเป็นการเอาเชือกมามัดด้าย หรอื มัดเสน้ ไหมตามลวดลายท่ไี ดอ้ อกแบบไว้ การมัดและย้อมลายจะมีการทาทั้งเส้นทางแนวยืน และแนวนอนหรือ ที่เรียกว่าแนวพุ่ง มีการสันนิษฐานว่าการมัดลายในแนวยืนน่าจะมีมาก่อนในแนวพุ่ง และจากการสืบค้นมีข้อ สันนิษฐานว่าน่าจะได้รับแบบอย่างมาจากประเทศอินเดีย โดยในสมัยโบราณที่มีการค้าขายกันและติดมากับสินค้า อื่นการทอผ้ามัดหม่ีโบราณนิยมการย้อมสีด้วยสีธรรมชาติ เช่น สีแดงจากคร่ัง สีน้าเงินจากคราม เป็นต้น ส่วนผ้า ไหมมัดหม่ีจะนิยมทาในกลุ่มไท-ลาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากเส้นทางการรับแบบอย่างของผ้ามัดหม่ี คือ จากอินเดีย ผ่านมาทางอินโดนีเซียและกมั พูชาหรือเขมร ดังท่ีเราจะเห็นได้วา่ ผ้าไหมมัดหมี่ของจังหวัดสุรินทร์ และ บุรีรัมย์ จะเปน็ วฒั นธรรมทเ่ี ปน็ แบบเขมรอยา่ งเหน็ ได้ชัด ปัจจุบันผ้ามัดหมี่มีการทากันอย่างแพร่หลาย สามารถทาได้ดีทั้งผ้าฝ้ายและผ้าไหม โดยเฉพาะผ้าไหมจะมี ความสวยงามมาก นอกจากตวั ผ้าไหมเองแล้ว ลวดลายและสสี ันยงั เป็นปัจจัยทชี่ ่วยสร้างความสวยงามให้มากยิง่ ขึ้น การอนุรักษ์ลวดลายโบราณ และนามาประยุกต์ใช้ จึงเป็นสิ่งที่น่าจะได้รับการส่งเสริมพัฒนาเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น การเก็บรวบรวมองค์ความรู้เก่ียวกับการผลติ ผา้ ไหมมัดหมี่สธี รรมชาติเพื่อการถ่ายทอดสู่คนร่นุ ต่อไปจึงเปน็ เรื่องที่ดี และควรให้การสนับสนุนสาหรับลวดลายต่างๆท่ีมีการสร้างสรรค์มาแต่โบราณ จึงเป็นงานศิลป์ที่ควรแก่คุณค่าให้ เป็นสินทรัพย์ของแผ่นดินไทยตลอดไป 1.3 จก (ทีม่ า : http://www.bongkodsilkshop.com) (ทมี่ า : http://www.bongkodsilkshop.com) จก หมายถึง การควัก ขุด คุ้ย ลักษณะการทอผ้าจกจึงเป็นลักษณะของการทอท่ีผู้ทอต้องใช้วิธีล้วงดึง เส้นดา้ ยพุ่งพิเศษขึ้นลงเพื่อสรา้ งลวดลายจกเป็นเทคนคิ การทาลวดลายบนผืนผา้ คลา้ ยการปักดว้ ยวธิ กี ารเพิม่ ด้ายพุ่ง พิเศษเข้าไปเป็นช่วงๆ ไม่ติดต่อกันตลอดหน้ากว้างของผ้า โดยใช้ไม้หรือขนเม่น หรือนิ้วมือจกเส้นด้ายเส้นยืนยก หรือจกเส้นดายเส้นยืนข้ึน แล้วสอดใส่ด้ายพุ่งพิเศษเข้าไปเป็นช่วงๆ สลับสีตามต้องการคล้ายกับการปักไปในขณะ ทอ ซ่ึงสามารถออกแบบลวดลายและสีสันของผ้าได้ซับซ้อนและหลากสีสัน ซ่ึงแตกต่างจากผ้าขิดท่ีมีการใช้เส้นพุ่ง พเิ ศษสเี ดียวตลอดหน้ากว้างของผนื ผ้า การทาลวดลายในผ้าจกจะแตกต่างกนั ออกไปตามประโยชนใ์ ช้สอย โดยการทอจกในประเทศไทยส่วนใหญ่ นิยมทอเป็นตีนซ่ิน เพื่อนาไปประกอบกับตัวซ่ินจึงเรียกผ้าท่ีทอด้วยเทคนิคจกว่า ผ้าซ่ินตีนจก หรือผ้าจก จะมี

ลวดลายที่นยิ มอย่างหนง่ึ ตา่ งจากลวดลายผ้าจก เพือ่ ใช้ประโยชนอ์ ื่นๆ เช่น หากทอเพอ่ื กิจกรรมทางศาสนา เชน่ ผ้า คลุม่ ศรี ษะนาค ผา้ หอ่ คมั ภีร์ ธงในงานบญุ ตา่ งๆ จะเปน็ ลวดลายเกย่ี วกบั ศาสนาหรือสตั วใ์ นหิมพานต์ (ที่มา : http://www.bongkodsilkshop.com) ผา้ จกในแตล่ ะทอ้ งถิ่นมเี อกลักษณ์ทแี่ ตกตา่ งกันไปทั้งลวดลาย สสี นั และการใช้สอย นอกจากจะทอจก เพือ่ ตกแต่งผ้าซ่นิ แล้ว ยังนิยมทอเปน็ หมอน ผา้ ห่ม และสไบ จกเปน็ วิธีการทาลวดลายบนผืนผ้า โดยเพิ่มเส้นด้ายพุ่งพิเศษเข้าไปเป็นช่วงๆ ไม่ติดต่อกันตลอดหน้ากว้าง ของผืนผ้า โดยใช้ไม้ขนเม่น หรือน้ิวมือยกเส้นด้ายยืนขึ้น แลว้ สอดใส่เส้นด้ายสีต่างๆ กันพงุ่ พิเศษเข้าไปตามจังหวะ ของลวดลาย การทอแบบจกน้ัน สามารถจกลายจากด้านหน้า หรอื ด้านหลังของผ้าก็ได้ลวดลายท่ีมองเห็นด้านหน้า จะเรียบ ส่วนด้านหลังเป็นปมที่เกิดจากรอยต่อเส้นด้าย การทอด้วยวิธีจกนั้นรู้จักกันดีในกลุ่มชนเผ่าไท ลวดลายท่ี นิยม เชน่ ลายดอกเชีย ลายเครือนอ้ ย ฯลฯ ซ่ึงมาจากจินตนาการที่ไดจ้ ากลายพรรณไม้ ลายนก มาจากความเช่ือว่า เป็นบรรพบุรุษของชนเผา่ ไทแต่กอ่ นมา ซึ่งใช้ทอท้ังผ้าฝา้ ย และไหม โดยมีวัตถุประสงค์ต่างๆ กัน ทนี่ ิยมทอจกมาก ที่สุดคือ \"เชิงผ้าซิ่น\" ที่เรียกว่า \"ตีนจก\" ที่สาคัญได้แก่ ซิ่นตีนจกของกลุ่มไทพวน ท่ีอาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิษถ์ นิยมทอด้วยสีเขียว เหลือง น้าตาลและดา ที่ตาบลหาดเสี้ยวจังหวัดสุโขทัย นิยมใช้สิตัดกันหลายสี อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ นยิ มใช้สีเหลอื ง ทอตีนจก มลี วดลายละเอียดจนไมเ่ ห็นพ้ืนสีดา ทีบ่ า้ นคูบัวจังหวัดราชบุรี นยิ มใช้สี แดงเป็นสีหลักแซมดว้ ยสีเหลือง สว่ นกลมุ่ ลาวคร่ัง หรือลาวกาท่จี ังหวัดสุพรรณบรุ ี และอทุ ัยธานี นิยมการทอตีนจก สสี ันสดใส เชน่ สแี ดง เหลือง ส้ม 1.4 ขิด (ท่ีมา : http://www.bongkodsilkshop.com)

(ท่มี า : http://www.bongkodsilkshop.com) การทอผ้าขิด เป็นภูมิปัญญาพ้ืนบ้านท่ีคนไทยได้สืบทอดกันมานาน และแพร่หลายในทุกภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคอีสานซงึ่ ทอผา้ ขิดมากกวา่ ทอ้ งถ่ินอ่นื ๆ คาว่า ผ้าขิด จึงเป็นการเรียกขานชื่อผ้าตามกระบวนการทอ คือ ผู้ทอใช้ไม้เก็บขิดสะกิดช้อนเครือเส้นยืน ขน้ึ เป็นจงั หวะตามลวดลายตลอดหน้าผ้า และพงุ่ กระสวยสอดเสน้ พุง่ พิเศษและเสน้ พ่งุ เข้าไปตลอดแนวเครือเส้นยืน ที่ถูกงัดช้อนข้ึนน้ัน ช่วงจังหวะของความถี่ห่างที่เครือเส้นยืนถูกกาหนดไว้ด้วยไม้เก็บขิดจึงเกิดเป็นลวดลายขิดข้ึน วิธกี ารทอผา้ แบบ ขดิ จงึ เป็นรูปแบบการทอผา้ ท่สี รา้ งลวดลายขณะทอผ้าบนกี่ (หูก) วิธกี ารเกบ็ ขดิ เพ่อื สร้างลวดลายในประเทศไทยมี 3 วธิ ี คือ 1. คัดไมข้ ิดโดยไมม่ กี ารเก็บตะกอวิธกี ารเก็บขดิ แบบนเ้ี หมาะสาหรับการทอลวดลายท่ไี มซ่ ับซอ้ น มากและต้องการเปล่ียนลวดลายบ่อยๆ ไม้ขิดที่เก็บลวดลายจะเรียงกันไปตามลาดับบนเครือเส้นยืนซ่ึงอยู่ด้านหลัง ฟมื 2. เก็บขดิ เป็นตะกอลอย การเกบ็ ขดิ วธิ นี ้ี ต้องผา่ นการคดั ไม้ขดิ แบบแรกเสยี กอ่ น เสร็จแล้วใชไ้ ด้ เก็บลายตามไมข้ ิดท่ีคัดไวท้ กุ เสน้ เรยี กวา่ เกบ็ ตะกอลอย วธิ ีนีส้ ะดวกกว่าวธิ ีแรกคอื ไม่ต้องเก็บขิดทุกครง้ั ในเวลาทอ แต่ใช้วิธียกตะกอลอยไล่ไปแต่ละไม้จนครบ วิธีการนี้ทาให้ทอลวดลายซ้า ๆ กันได้ โดยไม่ต้องเก็บลายใหม่ทุก ๆ ครั้งเหมือนวธิ ีแรก แต่ถา้ มจี านวนตะกอมาก ๆ ก็ไม่เหมาะสมกับวธิ ีการน้เี ชน่ กนั 3. เก็บตะกอแนวตั้งการเก็บตะกอแนวตัง้ พฒั นาจากแบบการเก็บขดิ ดง้ั เดมิ ให้ทอได้สะดวก รวดเร็วขึ้นสามารถทาลวดลายทีซ่ ับซ้อนและมีจานวนตะกอมากๆได้ ผ้าขิดส่วนใหญ่ใช้เส้นใยฝ้ายมากกว่าเส้นใยไหม โดยทอเป็นผ้าขิดสาหรับใช้สอย เป็นหมอนผ้าห่ม ผ้าปูที่ นอน ผ้าคลุมไหล่ ผ้าห่อคัมภีร์ และผ้าม่าน นอกจากน้ียังมีการทอทอผ้าลายขิดด้วยฟืมหน้าแคบ เพื่อใช้เป็นหัวซิ่น และตนี ซนิ่ อกี ดว้ ยโดยลักษณะลวดลายและการใชส้ อยจะแตกตา่ งไปตามเอกลักษณ์ของกลมุ่ วัฒนธรรม ลักษณะเฉพาะของผ้าทอลายขิด สังเกตดูได้จากลายซ้าของเส้นพุ่งท่ีขึ้นเป็นแนวสีเดียวกันตลอด อาจจะ เหมือนกันทั้งผนื หรอื ไม่เหมือนกนั ท้ังผนื ก็ได้ แต่ตอ้ งมลี ายซา้ ที่มีจดุ จบแตล่ ะชว่ งของลายเห็นได้ชดั การขิดเป็นภาษา พน้ื บา้ นของภาคอีสาน หมายถงึ สะกดิ หรอื งดั ชอ้ นขน้ึ ดงั นน้ั การทอ ผ้าขิดจึงหมายถึงกรรมวิธีการทอท่ีผู้ทอใช้ไม้ เรียกว่า “ไม้เก็บขิด” สะกิดหรือช้อนเส้นยืนยกขึ้นเป็นช่วง ระยะตามลวดลายตลอดหน้าผ้า แล้วพุ่งกระสวยสอดเส้นพุ่งพิเศษและเส้นพุ่งเข้าไปตลอดแนว ทาให้เกิดเป็น

ลวดลายยกตัวนูนบนผืนผ้า ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นลวดลายซ้าๆ ตลอดแนวผ้า โดยสีของลวดลายที่เกิดขึ้นเป็นสีของ ดา้ ยพุ่งพิเศษ ผ้าขิดมีการทอในหลายพ้ืนที่ ลวดลาย สีสัน และการใช้งานแตกต่างกันไปตามกลุ่มวัฒนธรรมในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น กลุ่มชาวภูไท ไทลาว และไทกูยหรือส่วยเขมร ในภาคเหนือ เช่น กลุ่มไทยวนและไทลื้อ ใ น ภ า ค ก ล า ง เ ช่ น ก ลุ่ ม ไ ท ค ร่ั ง ห รื อ ล า ว ค ร่ั ง แ ล ะ ใ น ภ า ค ใ ต้ ที่ บ้ า น น า ห ม่ื น ศ รี จั ง ห วั ด ต รั ง ในชาวอีสานโดยทั่วไป นิยมทอผ้าขิดด้วยฝ้ายเพื่อใช้ทาหมอน โดยลวดลายส่วนใหญ่จะเป็นลายจาก ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความเชอ่ื เช่น ลายหอปราสาทหรือธรรมาสน์ ลายพญานาค ลายช้าง ลายม้า ลายดอก แก้ว เปน็ ตน้ ลวดลายขิดจะอยู่บริเวณส่วนกลางของตัวหมอน ส่วนหน้าหมอนนั้น นยิ มเย็บปิดด้วยผา้ ฝ้ายสีแดง ใน จังหวัดสุรินทร์ ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ มีการทอท้ังหมอนขิด ขิดหัวซน่ิ ขิดตีนซ่ิน สไบลายขิด และผ้าขาวม้าไหมเชิงขิด โดยส่วนใหญน่ ิยมใชเ้ สน้ ไหมทอมากกว่าฝ้าย 1.5 ยก (ทีม่ า : http://www.bongkodsilkshop.com) (ท่มี า : http://www.bongkodsilkshop.com) ผา้ ยก คือ ผ้าท่ีทอยกลวดลายให้นูนสงู กวา่ พืน้ ผา้ ถา้ ลวดลายทอดว้ ยไหมสามญั เรยี กว่า “ผา้ ยกไหม” แต่ ถ้าลวดลายทอด้วยไหมทองเรียกวา่ “ผ้ายกทอง” หลกั สาคญั ของการสร้างลวดลายผ้าประเภทนี้ คอื การทอเสรมิ เส้นด้ายพุง่ พิเศษ ทั้งแบบเสริมยาวต่อเนื่อง ตลอดหน้าผ้าและแบบเสริมเป็นช่วงๆ โดยใช้วิธีเก็บตะกอลอยเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยจัดกลุ่มเส้นด้ายยืนให้เปิดอ้า หรือยกและข่มเปน็ จังหวะ เพอ่ื ทอสอดเสริมเส้นด้ายพ่งุ พิเศษตามลวดลายท่ีต้องการ กอ่ เกิดเป็นลวดลายยกสูงกว่า พ้ืนผ้า อีกทั้งยังได้นาวิธีการทอแบบอื่นมาใช้ผสมผสานกัน เพื่อตกแต่งลวดลายในส่วนประกอบปลีกย่อยให้เกิด ความงามท่ีสมบูรณ์ อาทิ การทอเสริมเส้นด้ายยืนพิเศษ การมัดย้อมเส้นด้ายพุ่งและเส้นด้ายยืนก่อนการทอ และ การทอแบบเส้นด้ายพุ่งไม่ตอ่ เนื่อง การนาผ้ายกมาใช้ในสังคมไทย เร่ิมจากกลุ่มชนท่ีอาศัยอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาและ คาบสมุทรภาคใต้ตอนบน มีการใชแ้ พร่หลายทั้งในกลุ่มผู้เก่ียวพันกับราชสานกั และในหมรู่ าษฎร ทง้ั ในลักษณะของ ผ้านุ่ง ผ้าห่ม ผ้าคาดผ้าเช็ดปาก ฯลฯ โดยได้รับการยกย่องเป็นสิ่งทอพิเศษ และเลือกใช้สอยในโอกาสสาคัญ เพ่ือ เสริมสร้างสถานภาพทางสังคมและบุคลิกภาพของผู้ใช้สอย รวมท้ังมีจารีตประเพณีประกอบการใช้สอยหลาย ประการ ต่อมาในราวรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วัฒนธรรมการใช้ผ้ายกตามแบบแผนของ กลุม่ ชนในบริเวณที่ราบลุ่มแม่นา้ เจ้าพระยาและคาบสมุทรภาคใตต้ อนบน จึงค่อยแพร่หลายไปสูส่ ังคมในภูมภิ าคอื่น อาทิ ล้านนา และอีสาน โดยการรับเข้าไปผสมผสานกับภูมิปัญญาการทอผ้าของท้องถ่ิน เกิดเป็นผ้ายกท่ีมี

เอกลักษณ์เฉพาะและเป็นท่ีรู้จักในช่ือของผ้ายกล้านนาและผ้ายกอุบล ในสมัยปัจจุบัน ผ้ายกจึงเป็นที่รู้จักอย่าง กวา้ งขวางทัว่ ทกุ ภมู ิภาคของประเทศไทย (ท่ีมา : http://www.bongkodsilkshop.com) รูปลักษณ์อันวิจิตรบรรจงของผ้ายก มิเพียงแต่ทรงคุณค่าในเชิงสุนทรียะ ซึ่งก่อให้เกิดแรงบันดาลใจ หรือ แรงกระตุ้นให้มีการสร้างสรรค์สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมต่อไป เนื้อหารวมท้ังบริบททางวัฒนธรรมท่ีจับต้องไม่ได้ ของผ้ายก อาทิ หนา้ ท่ีใช้สอย ลักษณะการจัดสรรพืน้ ที่บนผืนผา้ เพื่อบรรจุลวดลาย ลักษณะลวดลาย วัสดทุ เี่ ลอื กใช้ เครือ่ งมือเทคโนโลยใี นการสร้างสรรค์ ความเชื่อมโยงระหว่างผืนผ้ายกกบั สภาพแวดล้อม คือหลักฐานของความทรง จาทางวัฒนธรรมและเป็นประจักษ์พยานท่ีสาคัญ สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการบอกเล่าเร่ืองราว ประวตั ศิ าสตร์ และสะทอ้ นพฒั นาการทางสังคม และโครงสรา้ งทางเศรษฐกิจของประเทศได้เปน็ อย่างดี การทอผ้ายก คือ การเพ่ิมลวดลายในเน้ือผ้าให้พิเศษข้ึน โดยใช้เทคนิควิธีเก็บตะกอลอย เช่นเดียวกับขิด โดยยกตะกอเพอื่ แยกเส้นด้ายยนื คร้ังละก่ีเสน้ ก็ไดต้ ามลวดลายที่วางไวแ้ ลว้ ให้เส้นด้ายพุ่งผ่านไปเฉพาะเส้น เม่ือทอ พุ่งกระสวยไปมาครบคู่ไปกับการยกตะกอจะเกิดเป็นลวดลายนูนข้ึนจากผืนผ้า เนื่องจากการยกเป็นการเพ่ิม ลวดลายเข้าไปพิเศษจึงสามารถเลาะลายออกท้งั หมดโดยไมเ่ สียเนื้อผ้า ถ้าทอยกด้วยไหมจะเรียก ยกไหม ถ้าทอยก ด้วยเส้นทองจะเรียก ยกทอง ถ้าทอยกด้วยเส้นเงินจะเรียก ยกเงินในประเทศไทยมีแหล่งที่ทอผ้ายกหลายภูมิภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ท่ีจังหวัดลาพูน มีช่ือเสียงและรู้จักกันในนามผ้ายกดอกเมืองลาพูน เชียงใหม่ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดร้อยเอ็ด สุรินทร์ ภาคใต้ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ท่ีรู้จักกันในนามผ้ายกพุมเรียง นครศรีธรรมราช ท่ีรู้จักกันในนามผ้ายกเมอื งนครศรีธรรมราช สงขลา ท่รี ู้จกั กันในนามผ้าทอนาหมื่นศรี เปน็ ตน้ 1.6 การควบเสน้

การควบเส้นเปน็ วธิ ีสร้างลวดลายและสีเหลอ่ื มกันของเส้นใยในผืนผ้า โดยใช้เสน้ ไหมหรอื เส้นใยฝ้ายสองสี ท่มี ีน้าหนักสีอ่อนแกแ่ ตกต่างกันมาป่นั ตเี กลียวรวมเป็นเส้นเดียวกัน โดยสี ที่เปน็ เอกลักษณใ์ นการควบ คือ สเี หลือง นามาควบกับสีต่างๆ และนามาใช้เป็นเส้นพุ่งหรือเส้นยืน ในการทอโดยใช้เทคนิคทอขัดแบบธรรมดา โดยผ้าท่ีทอ จะเป็นผ้าพ้ืนสีเหลือบเรียกว่า ผ้าหางกระรอก หรือในภาษาอีสานเรียก ผ้ามับไม หรือ ผ้ากะเนียวในภาษาเขมร มี การทอมาก ในจงั หวัดท่มี กี ลุม่ ชนเช้ือสายเขมร เช่น สรุ นิ ทร์ บุรรี ัมย์ การทอผา้ ควบเส้นใชว้ ธิ ีการทอทาใหเ้ กิดลวดลายได้ 3 แบบ ไดแ้ ก่ 1. ลวดลายหางกระรอกทีพ่ งุ่ ไปดา้ นขวา เป็นการทอดว้ ยเส้นใยทตี่ เี กลียวด้านขวา 2. ลวดลายหางกระรอกท่พี ุ่งไปดา้ นซ้าย เป็นการทอด้วยเส้นใยทต่ี เี กลยี วด้านซ้าย 3. ลวดลายหางกระรอกท่มี สี ายพุ่งเป็นหยกั แหลม เป็นการใช้กระสวย 2 อนั พุ่งทอย้อนสลับ เทคนิคการควบเส้นในแต่ละทอ้ งถิ่นมีการเรยี กชื่อแตกตา่ งกันไปตามภาคของกลุ่มวัฒนธรรม ได้แก่ กลุ่มภูไท และ ไทลาว เรียกเทคนิคนี้ว่า เข็น กลุ่มไทกูยเชื้อสายเขมร และชาวส่วย เรียกเป็นภาษาเขมรว่า กะเนียว กลุ่มไทยวน เรียก ป่ันไก กลุ่มไทพวนเรียกมะลังไมหรือมับไม กลุ่มไทภาคกลาง ภาคใต้ และอีสานทั่วไปเรียกว่า หางกระรอก โดยผ้าท่ีนิยมทอจากเทคนิคการควบเส้น ได้แก่ ผ้าโสร่งตาตาราง ผ้าขาวม้า ผ้าโจงกระเบน ผ้าซ่ินอันลูนเซียม ซิ่น ซิ่ว ซ่ินไก นอกจากน้ียังมีผ้าท่ีทอจากการผสมผสานหลายเทคนิค เช่น ผ้ากาบบัว ซึ่งใช้เทคนิคการมัดหม่ี จก ขิด และควบเส้น ผนวกกับลักษณะการทอให้เส้นยืนเป็นริ้ว ทอเป็นผ้าที่รวมเอาเอกลักษณ์อันโดดเด่นของผ้าพ้ืนเมือง ของจังหวัดอุบลราชธานี และเป็นผ้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด ผ้าแพรวา วิธีการทอจะใช้เทคนิคของการจกผสมขิด ด้วยลวดลายต่างๆ ในผืนเดียวกัน เป็นตน้ 2. ระดับคณุ ภาพของผา้ ไหม ในปัจจุบันมีการนาเข้าวัตถุดิบเส้นไหม และเส้นใยสังเคราะห์จากต่างประเทศ ทั้งมีการนาเข้าถูกกฎหมาย และลักลอบนาเข้าแบบผิดกฎหมาย ทาให้วตั ถุเส้นไหมจงึ มีทัง้ คุณภาพได้มาตรฐานและคุณภาพต่ากว่ามาตรฐานทา ให้ผ้าไหมไทยมีคุณภาพต่าลง กระนั้นผู้ผลิตก็ยังคงใช้ตราสัญลักษณ์ว่า \"ผ้าไหมไทย\" หรือ \"Thai Silk\" เพื่อการค้า ยังผลให้ผู้ซ้ือท้ังของประเทศไทยและตลาดต่างประเทศไม่มั่นใจในคุณภาพของผ้าไหมไทย จากปัญหาดังกล่าว สมเด็จพระนางเจ้าสิริกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ จึงทรงมีกระแสพระราชดารัสให้หน่วยงานทร่ี ับผิดชอบไปดาเนินการ วเิ คราะห์หาสาเหตุและแนวทางการแกไ้ ข ปี พ.ศ. 2545 หน่วยงานซ่ึงมีส่วนเก่ียวข้องกับผ้าไหมไทย เช่น กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ (หน่วยงานเดิมของกรมหม่อนไหม) คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรมทรัพย์สินทาง

ปัญญา กระทรวงพาณิชย์ และมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถร่วมกันจัด สัมมนาหาแนวทางแก้ไขจนได้ข้อสรุปเป็นมาตรการคุ้มครองไหมไทยและออกข้อบังคับในการผลิตผ้าไหมไทยโดย ออกตราสัญลักษณ์รับรองคุณภาพผ้าไหมไทยไว้เป็นระดับต่างๆ และสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัญลักษณ์นกยูงไทย ให้เป็นเครื่องหมายรับรองคุณภาพสาหรับผลิตภัณฑ์ผ้า ไหมไทยไว้ 4 ชนดิ 2.1 นกยูงสีทอง (Royal Thai Silk) เป็นผ้าไหมช่ึงผลิตจากวัตถุดิบ เส้นไหม กระบวนการผลิตแบบภูมิ ปัญญาพ้ืนบ้านดั้งเดิมของไทยอย่างแท้จริงและใช้เส้นไหมพันธ์ุไทยพ้ืนบ้านเป็นท้ังเส้นพุ่งและเส้นยืน เส้นไหม จะต้องสาวเส้นด้วยมือผ่านพวงสาวลงภาชนะ การทอด้วยก่ีทอมือแบบพ้ืนบ้านชนิดพุ่งกระสวยด้วยมือ ย้อมด้วยสี ธรรมชาติ หรือสเี คมีท่ไี มท่ าลายสิ่งแวดล้อม และต้องผลิตในประเทศไทย (ทมี่ า : http://qsds.go.th) 2.2 นกยูงสีเงิน (Classic Thai Silk) เป็นผ้าไหมซึ่งผลิตข้ึนแบบภูมิปัญญาพ้ืนบ้านผสมผสานกับการ ประยุกต์ใช้เครอื่ งมือและกระบวนการผลิตในบางขัน้ ตอน ใช้เส้นไหมพันธ์ไุ ทยพื้นบา้ นหรือที่ได้รับการปรับปรุงจาก พันธุ์ไทยเป็นเส้นพุ่งหรือเส้นยืน เส้นไหมต้องผ่านการสาวด้วยมือ หรืออุปกรณ์ท่ีใช้มอเตอร์ขับเคลื่อนขนาดไม่เกิน 5 แรงม้า การทอต้องทอด้วยก่ที อมอื ชนิดพงุ่ กระสวยด้วยมอื หรอื กก่ี ระตกุ และต้องทาการผลติ ในประเทศไทย (ท่ีมา : http://qsds.go.th)

2.3 นกยูงสีน้าเงิน (Thai Silk) เป็นผ้าไหมซึ่งผลิตด้วยภูมิปัญญาของไทยโดยการประยุกต์เทคโนโลยีการ ผลิตให้เขา้ กับสมัยนิยมและทางธรุ กจิ ธรุ กจิ ใชเ้ ส้นไหมแท้เป็นเสน้ พุ่งและเสน้ ยืน ยอ้ มสีดว้ ยสธี รรมชาติ หรือสีเคมีท่ี ไมท่ าลายสงิ่ แวดล้อม ทอดว้ ยกีแ่ บบใดกไ็ ด้ และต้องผลิตในประเทศไทย (ทม่ี า : http://qsds.go.th) 2.4 นกยูงสีเขียว (Thai Silk Blend) เป็นผ้าไหมซ่ึงผ่านกระบวนการผลิตและเทคโนโลยีสมัยใหม่ท่ี ผสมผสานกับภูมิปัญญาไทย เช่น ลวดลาย สีสัน ใช้เส้นใยไหมแท้กับเส้นใยอื่นที่มาจากวัสดุธรรมชาติ หรือเส้นใย สงั เคราะหต์ ่างๆ ตามวตั ถุประสงค์ของการใช้งาน หรือตามความต้องการของผู้บรโิ ภค เส้นไหมแท้เปน็ องค์ประกอบ หลัก มีเส้นใยอื่นเป็นส่วนประกอบรอง สัดส่วนการใช้เส้นใยชนิดอ่ืนประกอบต้องระบุให้ชัดเจน ทอด้วยก่ีชนิดใดก็ ได้ ยอ้ มสีด้วยสธี รรมชาติ หรือสเี คมที ไี่ มท่ าลายสงิ่ แวดล้อม และตอ้ งผลติ ในประเทศไทย (ท่มี า : http://qsds.go.th) 3. ผา้ ไหมไทยในแตล่ ะภูมิภาค “ผ้าไหมไทย” มรดกทางวฒั นธรรมอันลา้ ค่า และเปน็ เอกลักษณ์ของไทย ที่มีการถ่ายทอดจากบรรพชนสู่ สังคมยุคปัจจุบัน ซ่ึงในอดีตนั้น ผ้าไหมก็เป็นท่ีรู้จักกันในว งแคบๆ ของชุมช นที่ผลิตกันเอง ใช้กันเองเฉพาะในแต่ละกลุ่ม มิได้ขยายออกสู่สังคมอันกว้างไกล สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ทรงมี วสิ ัยทัศนอ์ ันยาวไกล ไดท้ รงนาผ้าไหมไทยออกสู่ตลาดโลก จนกระท่ังทุกวันน้ี ใครๆ ก็รู้จกั ผา้ ไหมไทย พระองคท์ รง

เป็นผู้นาในการแต่งกายชุดไหมไทยพระราชนิยม ในคราวตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราช ดาเนินเยือนประเทศสหรัฐอเมริกา และยุโรป ทาให้ผ้าไหมเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายไปทั่วโลก ถือเป็นการขยาย ตลาดผ้าไหมไทยสู่สากลครั้งยิ่งใหญ่ ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทยเป็นที่รู้จักและเป็นสินค้าที่นาช่ือเสียงมาสู่ประเทศไทย เป็นอย่างมาก การทอผ้าไหมจึงเป็นการสร้างรายได้ให้แก่คนในชนบท อีกทั้งสืบทอดงานศิลปะและหัตถกรรมอัน ทรงคณุ คา่ ไวช้ วั่ รุน่ ลกู รนุ่ หลานผา้ พ้นื เมอื งของไทยไดแ้ บง่ ตามภูมิภาคไว้ ดังน้ี 3.1 ภาคเหนือ ผ้าทที่ อในบริเวณภาคเหนือหรอื ล้านนา ปจั จบุ นั คือบริเวณภาคเหนอื ได้แก่ จังหวัดเชียงราย พะเยา ลาพูน ลาปาง แพร่ น่าน เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน จนถึงดินแดนบางส่วนของประเทศพม่า ประเทศจีน และประเทศ ลาว ดินแดนในบริเวณล้านนาประกอบด้วยเนินเขาและที่ราบ หรือท่ีเรียกว่า บริเวณเชิงเขาหิมาลัย ประกอบด้วย ยูนนานทางตะวันตกของประเทศจีน รัฐฉานของประเทศพม่า หลวงพระบาง เวียงจันทน์ ในประเทศล าว และ บริเวณภาคเหนือตอนบนในปัจจุบัน ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา บริเวณดังกล่าวนี้เป็นถ่ินที่อยู่ของประชากรหลาย ชาติพันธุ์ แต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ต่างก็มีการจัดองค์กรทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง มีความเช่ือทางศาสนา มี วฒั นธรรมและสังคมเป็นของตวั เอง กลุ่มคนไทยวนในอดีตมีวัฒนธรรมการใช้ผ้าเป็นของตนเอง ต้ังแต่การทอ การสร้างลวดลาย จนถึงการนุ่ง ห่ม เช่น ผู้ชายจะนุ่งหยักรั้งจนถึงโคนขาเพ่ืออวดลายสักต้ังแต่เหนือเข่าข้ึนไปจนถึงโคนขา ไม่สวมเส้ือแต่มีผ้าห้อย ไหล่ ชนช้ันสูงจะสวมเส้ือ มีผ้าพันเอง ผู้หญิงนุ่งซิ่นลายขวางลาตัว มีเชิงเป็นลวดลาย ไม่สวมเส้ือแต่มีผ้ารัดอก มัก เกล้าผมมวยไว้กลางศีรษะแล้วปักป่ินหรือเสียบดอกไม้ การแต่งกายเช่นน้ียังปรากฏในภาพจิตรกรรมฝาผนังวิหาร หลายแห่ง เช่น จิตรกรรมฝาผนังวิหารลายคา วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ตาบลพระสิงห์ เขียนเม่ือประมาณ พ.ศ. 2406 จติ รกรรมฝาผนงั วิหารวดั บวกครกหลวง อาเภอเมอื ง จงั หวัดเชยี งใหม่ เขยี นเมื่อตน้ พุทธศตวรรษท่ี 25 ผ้าพ้ืนบ้านภาคเหนือที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นท่ีสุดคือ ผ้าไทยวน ผ้าไทลื้อ ผ้าของกลุ่มชนท้ังสอง ได้แก่ เครือ่ งนุ่งห่ม เครือ่ งนอน และเคร่ืองบูชาตามความเชอื่ ท่ีใช้ในพธิ ีกรรมต่างๆ โดยเฉพาะผ้าซ่ิน ผา้ นุ่งผู้หญิงของกลุ่ม ไทยวนและไทล้ือมีส่วนประกอบคลา้ ยคลงึ กัน แบง่ เปน็ 3 สว่ น ไดแ้ ก่ (ท่มี า : http://www.bongkodsilkshop.com) (ซิน่ ไทยวน อาเภอแมแ่ จ่ม)

- หัวซ่ิน ส่วนท่ีอยตู่ ิดกับเอว มักใชผ้ ้าพ้ืนสีขาว สแี ดง หรือสีดาต่อกบั ตวั ซน่ิ เพ่ือใหซ้ ่ินยาวพอดีกับความสูง ของผู้นุ่ง และช่วยให้ใชไ้ ด้คงทน เพราะเปน็ ชายพกตอ้ งขมวดเหน็บเอวบอ่ ยๆ - ตัวซิ่น ส่วนกลางของซิ่น กว้างตามความกว้างของฟมื ทาให้ลายผ้าขวางลาตัว มักทอเป็นริ้วๆ มีสีต่างๆ กัน เช่น ริ้วเหลืองพ้นื ดา หรือทอยกเปน็ ตาสีเหลี่ยม หรือทอเป็นลายเลก็ ๆ - ตีนซิ่น ส่วนล่างสุด อาจเป็นสีแดง สีดา หรือทอลายจกเรียก ซ่ินตีนจก ชาวไทยวนนิยมทอตีนจกแคบ เช่น ซ่ินตีนจกแม่แจ่ม บริเวณอาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ มักทอลายส่ีเหล่ียมข้าวหลามตัดอยู่ตรงกลาง เชิง ลา่ งสุดเป็นสีแดง ซนิ่ ตีนจกของคหบดหี รอื เจา้ นายมกั สอดดน้ิ เงินหรือดิ้นทองให้สวยงามย่ิงขึน้ 3.2 ภาคอสี าน ภาคอีสานหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพ้ืนที่ 18 จงั หวัด ประกอบด้วยกลุ่มชนชาติพันธุ์ต่างๆ มากกว่า 20 ชาตพิ ันธ์ ส่วนมากเป็นกลุ่มชนชาวไทยเชือ้ สายไท-ลาว หรอื ชนเผ่าไท-ลาว ทีค่ นไทยภาคอนื่ มักเรียกวา่ ลาว เป็น กลุ่มชาติพันธ์ใหญ่สุดของภาคอีสาน ภาคอีสานมีพื้นที่ประมาณหน่ึงในสามของพื้นท่ีประเทศไทยทั้งหมด หรือ ประมาณ 170226 ตารางกิโลเมตร กลมุ่ ไท-ลาวเหล่าน้ีกรระจายอยู่ทว่ั ไปแทบทุกจงั หวัด และสามารถแบ่งออกเป็น กลุ่ม ๆ ได้ดังน้ี กลุ่มชนที่อยูใ่ นเขตจังหวัดเลย นครราชสีมา และชยั ภูมิ มีความใกลช้ ิดกับหลวงพระบาง กลุ่มชนใน เขตจังหวัดหนองคาย อุดรธานี ขอนแก่น มีความใกล้ชิดกับเวียงจันทน์ กลุ่มชนในเขตจังหวัดนครพนม สกลนคร และกาฬสินธุ์ เป็นกลุ่มผู้ไทหรือภูไท กลุ่มชนที่อยู่ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี ยโสธร ร้อยเอ็ด มุกดาหาร และ มหาสารคาม โน้มเอียงไปทางจาปาสัก กลุม่ ชนในบริเวณภาคอีสานมิไดม้ ีเฉพาะคนไท-ลาวเท่านั้น ยังมีกล่มุ ชนเผ่า อื่นๆ อีกเช่น ข่า กระโส้ กะเลิง ส่วย และเขมร โดยเฉพาะเขมรและส่วยซึ่งกระจายกันอยู่ในบริเวณจังหวัดศรีสะ เกษ สุรินทร์ และบุรีรัมย์ การทอผ้าท่ีสาคัญของชาวอีสาน คือ การทอผ้าเพ่ือใช้เป็นเคร่ืองนุ่งห่มและเครื่องใช้ในครัวเรือน ผ้าซิ่น ของกล่มุ ไท-ลาวนิยมใช้ลายขนานกบั ลาตวั ตา่ งกับซนิ่ ล้านนาทนี่ ิยมลายขวางลาตวั และน่งุ ยาวกรอมเท้า ชาวไท-ลาว อีสานนิยมนุ่งสูงระดับเข่าหรือเหนือเข่า การต่อหัวซิ่นและตนี ซิ่น ถ้าเป็นซิ่นไหมจะต่อตีนซิ่นด้วยไหม แต่ถ้าเป็นซ่น ฝา้ ยก็จะต่อด้วยฝ้าย ตีนซ่ินจะมีขนาดแคบ ๆ ไม่นิยมเชิงใหญ่ หัวซ่ินนิยมตอ่ ด้วยผ้าไหมชน้ิ เดียวทอขดิ เป็นลายโบก คว่าและโบกหงาย ใช้สีขาวหรือสีแดงเป็นพื้น ใช้ได้ท้ังกับผ้าซิ่นไหมหรือซิ่นฝ้าย การต่อตะเข็บและลักษณะการนุ่ง จะมีลักษณะจะมีลกั ษณะเฉพาะแตกต่างไปจากภาคอื่นคอื การนุ่งซิ่นจะนุ่งปา้ ยหนา้ เก็บซ่อนตะเข็บ เวลานุ่งตะเข็บ หนึ่งอยู่ข้างหลังสะโพก ต่างกับการนุ่งซิ่นของชาวล้านนาหรือชาวไทยญวนที่นิยมนุ่งผ้าลายขวางที่มีสองตะเข็บ เวลานุ่งจึงมีตะเข็บหนี่งอยู่ข้างหลังสะโพก ไม่เหมือนกับซ่ินของชาวลาวซ่ึงซ่อนตะเข็บไว้ด้านหน้าจนไม่เห็นตะเข็บ สง่ิ เหล่านเ้ี ปน็ คา่ นยิ มท่เี ป็นประเพณีตอ่ กันมาแต่อดีต ผ้าทอพื้นบ้านอีสานที่รู้จักกนั ดีและทากันมาแต่โบราณนั้นมี 2 ชนดิ คือ ผา้ ที่ทอจากเสน้ ใยฝ้ายและไหม แต่ภายหลังมีการนาเส้นใยสังเคราะห์ประเภทด้ายและไหมมาผสม ซ่ึงเป็นการทอลักษณะหัตถกรรมอุตสาหกรรม การทอผ้าพ้ืนบ้านแต่เดิมชาวบ้านจะทาเองทุกขั้นตอน ตั้งแต่ปลูกฝ้ายและปลูกต้นหม่อนเพื่อเอาใบมาเลี้ยงตัวไหม นารงั ไหมมาสาวใหเ้ ป็นเส้น จนกระทัง้ ฟอกและย้อมสี

(ที่มา : http://www.bongkodsilkshop.com) ผ้าปมู (ท่มี า : http://www.bongkodsilkshop.com) (ที่มา : http://www.bongkodsilkshop.com) ผา้ ปูม ผ้าโฮลเปราะส์ (ทีม่ า : http://www.bongkodsilkshop.com) ผา้ แพรวา

3.3 ภาคกลาง วัฒนธรรมการทอผ้าในบริเวณภาคกลางเป็นวัฒนธรรมของกล่มุ ชาติพันธุ์ไทท่ีมีการอพยพโยกย้ายถ่ินฐาน มาอยู่ในบริเวณนี้ต้ังแต่สมัยกรุงธนบุรีถึงสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ดังที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ กล่าวถึงการอพยพและกวาดต้อนชาวไทยวนจากเมืองเชียงแสนในล้านนาหรือบริเวณภาคเหนือตอนบนของไทย ชาวไทพวน (ลาวพวน) ไทครง่ั (ลาวครั่ง) และไทโซ่ง (ลาวโซ่ง)จากบริเวณประเทศลาวเข้ามาสู่ภาคกลางทาให้เกิด หมู่บ้านของกลุ่มชนเหล่าน้ีกระจายอยู่ตามจังหวัดต่างๆ ในภาคกลางเป็นจานวนมากกลุ่มชนเหล่านี้ล้วนมี วัฒนธรรมการทอผ้าที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวมาเป็นเวลาช้านานและได้ส่งอิทธิพลต่อผ้าทอพื้นบ้านในภาคกลางมา จนถงึ ปจั จุบนั ผา้ ซ่ินของกลุ่มไทครั่ง ในจังหวัดสุพรรณบรุ ี ชยั นาท อุทัยธานี เป็นผา้ ซน่ิ ที่มเี อกลักษณ์คล้ายคลงึ กันคือ ตัว ซ่ินเป็นผ้าไหมมัดหม่ี นิยมใช้สีแดงเป็นพื้นหลักมีลวดลายเป็นลายทางต้ังสดใส เช่น เหลือง เขียว และม่วงส่วนตีน ซิ่นทอจกด้วยฝ้ายหรือไหม มีลวดลายเป็นลายเรขาคณิต สีที่ใช้เป็นหลักประกอบด้วยสีเหลือง เขียว แดง ส้ม น้าตาล และผ้า ตอนลา่ งสุดของตีนซิ่นมกั เป็นแถบพื้นสแี พงเป็นสว่ นใหญ่ ผ้าซ่ินของกลุ่มไทยวน ในจังหวัดราชบุรี สระบุรี มีโครงสร้างเหมือนกับผ้าซิ่นของชาวไทยวนในภาคเหนือ กล่าวคือประกอบด้วยหัวซิ่น ตัวซิ่น และตีนซิ่น ตัวซิ่นเป็นลายขวาง ตีนซ่ินท่ีใช้นุ่งในโอกาสพิเศษจะมีลวดลาย จก ลายจกท่ีพบในตาบลคูบัวและตาบลดอนแร่ จังหวัดราชบุรี มักมีวรรณะสีแดงเป็นหลัก มีท้ังลายจกแน่นเต็ม ผืนตีนซิ่น และลายจกโปร่งบนพ้ืนสีแดง ลายที่เป็นเอกลักษณ์คือ“ลายนกกินน้าร่วมต้น” ผ้าซ่ินของไทโซ่งเรียกว่า “ซิ่นลายแตงโม”ทอด้วยเส้นยืนเป็นไหมสีแดงและเส้นพุ่งเป็นฝ้ายสีดามีสีขาวสลับ ผ้าทอของไทโซ่งส่วนใหญ่เป็น ผา้ ฝา้ ยสดี าย้อมมะเกลือหรอื คราม มีการใช้แถบผ้าไหมหลากสีเยบ็ ตกแตง่ ( ท่ีมา :https://thaiunique.wordpress.com) ( ทม่ี า: https://thaiunique.wordpress.com) ผ้าซิ่นตนี จกบา้ นไร่ ผา้ ซิน่ ตนี จกบา้ นคูบวั 3.4 ภาคใต้ การออกแบบลวดลาย และสีสันโดยมีการทอท้ังจาก เส้นไหมและ เส้นใยฝ้ายและยกด้วยเส้นเงินหรือเส้น ทอง ผ้าจวนตานีจะมีแถบร้ิวลวดลายวางเป็นแนวแทรกอยู่ระหว่างผืนผ้าและชายผ้าท้ังสองด้าน มีคาเรยี กในภาษา พื้นถ่นิ วา่ จวู าหรือจวน ซึ่งแปลว่ารอ่ งหรือทาง จงึ มชี ่อื ที่เรียกผ้าชนิดนอี้ ีกช่อื หน่งึ ว่าผ้าล่องจวน สีของผนื ผ้านิยมใช้ สที ่ีตัดกัน โดยบริเวณท้องผ้าจะใช้สีหลักได้แก่ ม่วง เขียว ฟ้า น้าตาล ส่วนชายผ้าทั่วไปจะใช้เฉดสีแดง โดยผ้าและ ชายผา้ ทั้งสองด้านทอเป็นผืนผ้าเดียวกัน นอกจากการใช้สีที่ตัดกันแลว้ พบว่าแตล่ ะแถบของผ้าจวนตานี โดยทั่วไป มีห้าสี ซึ่งคาว่า\"ลิมา\"ซ่ึงเป็นอกี ช่ือของผ้าจวนตานี เป็นคาภาษามาเลยห์ มายถึง\"หา้ \" (ผา้ จวนตานีอาจทอได้มากกว่า

ห้าสี แต่หาได้ยาก) จานวนลวดลายบนผืนผ้าจะมีตัง้ แต่ 5-7 ลาย เช่น ลายโคม ลายประจายามก้านแยง่ ลายตาราง เป็นตน้ ซง่ึ มีการทอลวดลายท้งั วธิ ีการทอแบบมดั หมี่ และทอแบบยกสอดดิ้นเสริมในผืนผ้า จึงนบั เป็นผ้าทีม่ ลี ักษณะ พเิ ศษเปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะทท่ี อยาก มีราคา และใช้เฉพาะในโอกาสพเิ ศษเท่านั้น ลักษณะผา้ ไหมภาคใต้ ผ้าผา้ ยกทองเป็นผา้ ทีม่ ีช่อื เสยี งมากในสมัยโบราณ ผ้าทอพน้ื บ้านท่ีมีชอ่ื เสียงของภาคใต้อกี ประเภทหน่ึงคือ ผ้าทอพุมเรียง ท่ีตาบลพุมเรียง อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี อยู่ห่างจากตัวอาเภอไชยาไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 6 กิโลเมตร ประชาชนในตาบลพุมเรียงน้ันมีทั้งท่ีนับถือพุทธศาสนาและศาสนาอิสลาม เฉพาะกลุ่มท่ีทอ ผ้านั้นส่วนมากเป็นไทยมุสลิม กล่าวกันว่าถูกกวาดต้อนมาจากไทรบุรีคราวเดียวกับพวกช่างทองและช่างทอผ้าท่ี เมืองนครศรธี รรมราช การทอผ้าท่ีพุมเรยี งนั้นแต่เดมิ คงจะเปน็ การทอผ้าขึน้ ใช้ในครัวเรอื นและกลมุ่ ชนของตน ( ทม่ี า: https://thaiunique.wordpress.com) ลวดลายผา้ ไหมภาคใต้ ผา้ ทอพื้นบ้านภาคใต้ทีม่ ีเอกลักษณ์โดดเด่น เช่น ผ้ายกนครศรีธรรมราช ผ้าพุมเรียง ผ้าบ้านนาหมืน่ ศรี ผ้า เกาะยอ ยังมีผ้าพื้นบ้านที่ได้รับการส่งเสริมให้ทอขึ้นใหม่ในหลายจังหวัด เช่น ในจังหวัดพัทลุง กระบี่ ยะลา และ ปตั ตานี ซ่ึงเคยเป็นแหลง่ ทอผ้ายกทีม่ ีชื่อเสียง เช่น ผ้ายกปตั ตานี ผ้าจวนตานี ท่ีมชี ื่อเสียง จนถงึ การทาผา้ ปาเต๊ะใน จงั หวัดนราธิวาส ปัจจุบนั การทอผ้าพ้นื บ้านเหล่าน้ีกาลังไดร้ ับการรอ้ื ฟื้นขนึ้ มาใหม่ เพราะเป็นผ้าที่มีลกั ษณะพิเศษที่ ไมส่ ามารถผลติ ได้ในโรงงานอุตสาหกรรม หากแต่ต้องใช้ช่างทอผ้าพ้นื บา้ นท่ีมฝี มี อื เท่านั้น เชน่ ( ทม่ี า: https://thaiunique.wordpress.com) ผา้ ยกพมุ เรยี ง

5. ข้นั ตอนการทอผ้าไหม 5.1 การเตรยี มเสน้ ไหม จะต้องนาเส้นมาคัดเสน้ ไหมท่ีมีขนาดเส้นสม่าเสมอ และมีการตกแต่งไจไหมที่เรียบร้อย คือเส้นไหม จัดเรียงแบบสานกนั เป็นตาขา่ ยหรอื เรียกชือ่ ทางวิชาการวา่ ไดมอนด์ครอส มีการทาไพประมาณ 4 ตาแหน่ง ขนาดน้าหนักไหมต่อไจโดยประมาณ 80-100 กรัม ทั้งน้ีเพื่อเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานขั้นตอน การลอกกาว ย้อมสี และการกรอเส้นไหม 5.2 การลอกกาวเสน้ ไหมทง้ั เส้นพงุ่ เส้นยืน โดยวิธีการใช้สารธรรมชาติ การเตรียมสารลอกกาวธรรมชาติ นากาบต้นกล้วยมาทาการเผาไฟจนกระท่ังเป็นข้ีเถ้า นาข้ีเถ้าไป แชน่ ้าใชไ้ ม้คนให้ทว่ั ปล่อยทิ้งไว้ให้ข้เี ถา้ ตกตะกอนแบ่งชนั้ นา้ และตะกอน ทาการกรองนา้ ใสทีอ่ ยู่ส่วนบนชน้ั ตะกอน ดว้ ยผา้ บาง สารที่ได้ คอื สารลอกกาวธรรมชาติ นาเส้นไหมที่ได้เตรียมไว้แล้วมาทาการต้มลอกกาวด้วยสารลอกกาว ธรรมชาติดังกล่าวโดยใช้ในสัดส่วนของสารลอกกาวต่อเส้นไหมโดยประมาณ 30:1 ในระหว่างการต้มลอกกาวจะมี การควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ในระดับ 90-95 องศาเซลเซียส เป็นเวลาประมาณ 90 นาที ในระหว่างการต้มลาวกาว ให้ทาการกลับเส้นไหมในหมอ้ ต้มลาวอย่างสมา่ เสมอ เพ่ือให้กระบวนการลอกกาวเส้นไหมสมบูรณ์ นาเส้นไหมที่ทา การลอกกาวเสรจ็ เรียบร้อยออกจากหม้อต้ม นาไปล้างนา้ รอ้ นน้าอุน่ แล้วบีบนา้ ออกจากเสน้ ไหม นาเสน้ ไหมไปตาก ผึง่ แห้งทร่ี าวตาก ทงั้ นใ้ี ห้ทาการกระตุกเส้นไหมเพอ่ื ให้มีการเรยี งเสน้ ไหมในแตล่ ะไจ อยา่ งเรยี บร้อย น่ันคือการลอก กาวเส้นไหม เราก็จะได้เส้นไหมที่พร้อมจะย้อมสี เพอื่ นาไปทอผา้ ต่อไป http://www.qsds.go.th http://www.qsds.go.th

5.3 การเตรียมฟืมทอผ้า ทาการค้นเส้นด้ายลักษณะเดียวกับการค้นเส้นยืน จากน้ันนาเสน้ ด้ายมาร้อยเข้ากับฟืม โดยการร้อย ผา่ นช่องฟันหวีแต่ละช่องทุกช่องๆละ 2 เสน้ แล้วใชท้ ่อนไมไ้ ผเ่ ล็กๆสอดเข้าในห่วงเสน้ ด้ายท่ีร้อยเข้าช่องฟันหวีเพื่อ ทาการขึงเส้นด้ายให้ตรึงและจัดเรียงเส้นด้ายให้เรียบร้อย ส่วนด้านหน้าของฟืมก็จะมีท่อนไม้ไผ่เช่นเดียวกับ ด้านหลังเพ่ือทาการขึงเส้นด้ายให้ตรึงเช่นเดียวกับด้านหลังของฟืมท่ีกล่าวมาแล้ว จากนั้นให้ทาการเก็บตะกอฟืม แบบ 2 ตะกอ เราก็จะได้ชดุ ฟืมทอผ้าท่ีพร้อมสาหรบั การทอผ้า (ท่ีมา : http://www.qsds.go.th) 5.4 การเตรยี มเส้นยืน นาเส้นไหมยืนท่ีทาการย้อมสีดว้ ยสีแดงเข้มของครั่ง มาทาการค้นเครือหูก หรือท่ีเรียกว่าการค้นเส้น ยืน โดยใชห้ ลักเฝือเป็นอปุ กรณ์ในการค้นเส้นยืน การเตรียมค้นเส้นยนื จะเรมิ่ ตน้ โดยการนาเส้นไหมไปสวมเข้าในกง เพ่ือทาการกรอเส้นไหมเข้าอกั จากน้ันก็ทาการค้นเส้นยืน โดยมีหลักการนับ คือ รอบละ 2 เส้น 2 รอบเป็น 4 เส้น เรียกว่า 1 ความ 10 ความ เท่ากับ 1 หลบ การนับจานวนความจะใช้ซ่ีไม้มาคั่นเพอื่ ป้องกนั ความผิดพลาดทีอ่ าจจะ เกิดขึ้นได้ ดังน้ัน 1 หลบจะมีเส้นไหม 40 เส้น หลบ คือ หน้ากว้าง ในสมัยโบราณนิยมทอผ้าสไบหน้ากว้างจะใช้ 8 หลบ ต่อมามกี ารขยายหนา้ กวา้ งเพ่มิ เช่น 22 หลบ 34 หลบ เปน็ ตน้ ท้ังนีข้ ึ้นอยกู่ ับการออกแบบต้ังแตเ่ ร่มิ แรก (ทม่ี า : http://www.qsds.go.th)

5.5 การตอ่ เสน้ ยืน การต่อเส้นยืนคือการนาเส้นไหมเส้นยืนมาผูกต่อกับเส้นด้ายในซ่ีฟันหวีโดยทาการต่อที่ละเส้นจน หมดจานวนเส้นยืน เช่น หากหน้ากว้างของผ้าเท่ากับ 22 หลบ ก็จะต้องทาการต่อเส้นยืนเท่ากับ 1,760 เส้น เป็น ต้น เมื่อต่อเส้นไหมเข้ากับเส้นไหมท่ีอยู่ในซ่ีฟันหวี่เรียบร้อยแล้ว ก็ให้ทาการม้วนเส้นยืนด้วยแผ่นไม้ พร้อมท้ังการ จัดเรียงระเบียบของเส้นไหมตามช่องฟันฟืมให้เป็นระเบียบเรียบร้อย จากนั้น ก็ทาไปติดต้ังเข้ากับหูกทอผ้าหรือกี่ ทอผ้า เพ่ือการเก็บเขาลายหรือตะกอต่อไป ก่อนทาการทอผ้าจะต้องใช้แปรงจุ่มน้าแป้งทาเคลือบเส้นยืนท่ีอยู่ในก่ี ก่อน เพ่ือทาใหเ้ ส้นกลม มีความแขง็ แรง เสน้ ไหมไมแ่ ตกเป็นขนเน่ืองจากกระทบกบั ช่องฟันฟมื เวลาทอผา้ 5.6 การกรอเส้นพงุ่ เขา้ หลอด การกรอเส้นพงุ่ เขา้ หลอด นาเสน้ ไหมทยี่ ้อมสตี า่ งๆแล้วมาเขา้ กง แลว้ ทาการกรอเส้นไหมเข้าหลอด เพอ่ื เตรยี มเปน็ เส้นพุ่งเพื่อใชใ้ นการเกาะลาย และใส่กระสวยในการทอขดั 5.7 เร่ิมการทอ 1. สบื เส้นดา้ ยยืนเขา้ กับแกนม้วนด้ายยืนและรอ้ ยปลายดา้ ยแต่ละเส้นเข้าในตะกอแต่ละชุดและฟนั หวดี งึ ปลายเส้นด้ายยืนทั้งหมดม้วนเข้ากับแกนม้วนผ้าอีกด้านหนึ่งปรับความตึงหย่อนให้พอเหมาะกรอด้ายเข้ากระสวย เพอ่ื ใช้เป็นดา้ มพุง่

2. เร่ิมการทอโดยกดเคร่ืองแยกหมู่ตะกอเส้นด้ายยืนชุดท่ี 1 จะถูกแยกออกและเกิดช่องว่างสอด กระสวย ด้ายพ่งุ ผา่ น สลับตะกอชุดท(่ี 1)ยกตะกอชดุ ท่ี 2 สอดกระสวยด้ายพ่งุ กลบั ทาสลับกนั ไปเร่ือย ๆ 3. การกระทบฟนั หวี ( ฟมื ) เมื่อสอดกระสวยดา้ ยพงุ่ กลับกจ็ ะกระทบ ฟันหวี เพื่อให้ด้ายพุง่ แนบติดกัน ได้เนือ้ ผ้าที่แน่นหนา 4. การเก็บหรือมว้ นผา้ เม่อื ทอผ้าไดพ้ อประมาณแล้วก็จะมว้ นเกบ็ ในแกนม้วนผ้า โดยผ่อนแกนด้ายยนื ให้ คลายออก และปรับความตึงหยอ่ นใหม่ใหพ้ อเหมาะ 6. การนาไปใช้ประโยชน์ ผลการศึกษาพบว่าประเภทของผ้าทอสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ แบ่งตามวัตถุดิบท่ีใช้ในการทอ แบ่ง ตามกรรมวิธีในการทอ ผ้าทอมีความสาคัญเพ่ือสนองความจาเป็นข้ันพื้นฐานของการดารงชีวิต เพราะผ้าทอเป็น หนึ่งในปัจจัยสี่ เพื่อแสดงถึงฐานะของผู้สวมใส่ เป็นการแบ่งหน้าท่ีระหว่างชายและหญิง อีกท้ังยังช้ีให้เห็นถึงความ

เปน็ หญิงอยา่ งเด่นชดั เพราะการทอผ้าตอ้ งใช้ ความขยัน ความอดทน ความพยายาม ความประณตี ละเอยี ดอ่อน ซ่ึง เป็นอุปนิสัยของผู้หญิง การทอผ้าเป็นเครื่องแสดงถึงความพร้อมในวัยที่จะมีครอบครัว ประโยชน์ของผ้าทอเป็น เครอ่ื งน่งุ ห่มเพื่อใช้ในชวี ิตประจาวนั และใช้ในพธิ ีกรรมตั้งแตเ่ กดิ จนตาย เมอื่ สงครามโลกครั้งท่ี 2 ไดย้ ตุ ิลงปรากฏว่า อตุ สาหกรรมการทอผ้าของยุโรปซ่ึงเจรญิ ก้าวหน้า ได้เผยแพร่ขยายเข้ามาสู่สงั คมไทย ผ้าทอดังกล่าว มีเน้ือแน่น สี ไม่ตก มีราคาถูก ซื้อหาได้ง่าย ประหยัดเวลา ไม่ต้องเสียเวลา ในการทอด้วยมือชาวบ้าน จึงนิยมใช้ผ้าทอจาก เครอื่ งจกั รแทนผ้าทอดว้ ยมือ ผ้าขาวมา้

ผ้าไหมนามาตัดเปน็ ผา้ ซ่ิน ผ้าไหมนามาตัดเป็นผา้ ซน่ิ การใชผ้ ้าไหมไทยเป็น Inspirations ในงานออกแบบ แรงบนั ดาลใจจากภูมิปัญญา เสน่ห์ของงานฝีมือดั้งเดิม และวิถีชวี ิตในอดีตทีน่ ามาประยุกต์ใช้จนได้เป็นผลงาน ที่แสดงออกถึงการสร้างอัตลักษณ์ใหม่ ซึ่งเช่ือมโยงกับชีวิตในอดีต และวัฒนธรรมอันงดงามของไทย กับความ ทนั สมยั และความเปน็ สากลมากข้นึ 1. งานผา้ ไหมไทยกับการออกแบบเสื้อผา้ ปัจจุบัน ผ้าไหมไทยได้มกี ารรังสรรค์เป็นผลงานมากมาย ทั้งทางการออกแบบเสื้อผ้า ซ่ึงแพร่หลายท้ังใน ประเทศและต่างประเทศ ซ่ึงมีมากมาย โดยการนาผ้าไหมไทย มาออกแบบให้ดูทันสมัย และปรับเปล่ียนให้เข้ากับ คอลเลก็ ชันต่างๆ ทั้งน้ีผ้าไหมของไทยได้รับการออกแบบจากนกั ออกแบบช่ือดังจนกลายเปน็ ผลงานระดบั โลก ด้วย ความพเิ ศษของลายผา้ สรา้ งคุณคา่ ใหง้ านออกแบบด ถา่ ยทอดความเป็นไทยไดด้ ีเยี่ยม

แตผ่ ลงานที่โดง่ ดังของประเทศไทยเรากค็ งจะเปน็ ผลงานระดับกูตรู จ์ ากการรังสรรค์ร่วมกนั ระหวา่ งกูตูริ เยร์แถวหน้าของเมืองไทย ธีระพันธ์ วรรณรัตน์ กับกลุ่มเกษตรกรผู้ทอผ้าไหมขิดในคอลเล็กชั่นพิเศษท่ีนาเสนอ ความคลาสสกิ -รว่ มสมยั ของผ้าไหมไทย ทาให้ผา้ ไทยโด่งดงั และเพิ่มมลู คา่ มากข้ึน ( ทีม่ า: https://www.bareo-isyss.com ) ( ทมี่ า: https://www.bareo-isyss.com ) 2. ผ้าไหมไทยกบั งานออกแบบเครื่องประดบั การนาลายของผ้าไหมไทยมาเป็นแรงบันดาลใจในการทาเป็นลวดลายเคร่ืองประดบั โดยเคร่ืองประดับ หรือ จิวเวอร์ร่ีต่างๆไม่ได้ทาจากผ้าไหม แต่เป็นการนาความสร้างสรรค์ของลายผ้าที่คิดค้นโดยคนไทยนามาเป็น เครื่องประดับที่สวยงาม และลวดลายแปลกตาตา่ งจากเครอ่ื งประดบั อ่ืนๆ (ทมี่ า:https://www.bareo-isyss.com) 3. ผา้ ไหมไทยกบั งานตกแต่งบา้ น ผ้าไหมไทยนอกจากความสวยงามแล้ว ยังมีความประณีต และดูแลยาก หากดูแลผิดวิธีทาให้ผ้าไหม เส่ือมสภาพได้ง่าย แต่ผ้าไหมยังคงมีการนามาออกแบบ ผสมผสานความสร้างสรรค์ กับวถิ ีความเปน็ ไทย ทาให้เกิด การตกแต่งภายในบ้านท่ีดูแปลกตา และคงความหรูหรา ทาให้บ้านมีเสน่ห์ได้อย่างไม่น่าเชื่อ จึงนามาเป็นตัวอย่าง สาหรับใครทตี่ ้องการอนุรักษ์ผ้าไทย และความเป็นไทย ก็สามารถนาไอเดียเหล่าน้ไี ปร่วมกับการตกแตง่ ภายในบา้ น ได้

(ทม่ี า : https://www.bareo-isyss.com) 4. ผา้ ไหมกบั เฟอร์นเิ จอร์ ผ้าไหมนอกจากการนามาตกแต่งภายในห้องต่างๆ การนาผ้าไหมมาสร้างเป็นเฟอร์นิเจอร์ ก็ได้รับความ นิยมเป็นอย่างมาก โดยผ้าไหมสีพ้ืนสามารถนามาประดิษฐ์ สร้างเป็นผลงานด้านเฟอร์นิเจอร์ได้มากมาย ทั้งสีท่ีดู พาสเทล และเนื้อผ้าท่ีหนา และทนทาน ทาให้ผ้าไหมได้กลายมาเป็นเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งต่างๆเช่น เบาะ รองนัง่ โซฟา หมอนอิง ซ่งึ ของเหลา่ นีไ้ ด้นิยมผลิตจากผ้าไหมไทยมากยง่ิ ข้นึ (ทมี่ า : https://www.bareo-isyss.com) บทสัมภาษณ์ 1. ประวัติ - คุณยายเสวย อกั โข - เกดิ เมื่อวันท่ี 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486 - ปจั จบุ ันอายุ 76 ปี - บา้ นเลขท่ี 18 หมู่ 11 ตาบลวงั นา้ เยน็ อาเภอวงั น้าเย็น จงั หวดั สระแกว้ - สถานภาพ สมรส กับ นายทอง อักโข มีบุตรด้วยกนั จานวน 1 คน - การศกึ ษา ประถมศึกษาปที ่ี ๔ - คณุ ยายมโี รคประจาตวั คือ โรคกระเอาหาร ความดัน และไขมนั ในเสน้ เลอื ด ตอ้ งรับประทาน เป็นประจา

- ปจั จุบันประกอบอาชีพ ทานา 2. ตอนนีท้ าอะไรอยู่ - ตอนน้ที าอาชีพทอผ้า ซ่งึ เป็นการทอผา้ ไหม มีพส่ี าวทามากอ่ นเลยถา่ ยทอดความร้ใู หแ้ ละสอน วิธกี ารทอผ้า ในเวลาวา่ ง นอกจากทอผา้ กจ็ ะปลูกผัก แตก่ อ่ นกจ็ ะทานา ตอนนแ้ี กท่ านาไม่ได้เลยมาทอผา้ แทน 3. ทาไมถงึ ชอบการทอผา้ - ด้วยอายทุ มี่ ากขึ้น เลยเร่มิ ท่ีจะสนใจการทอผ้าไหม เห็นพส่ี าวทาแล้วสวยเลยอยากลองทา การทอ ผ้าเป็นเสน่หอ์ ยา่ งหนึ่ง เพราะมีลวดลายทีส่ วยงาม เคยไปเจอผ้าซน่ิ ผืนหนงึ่ สวยมาก เลยอยากทามาดว้ ยตวั เอง การ ทอผ้ายังสรา้ งรายได้ เป็นการใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ 4. มีแรงบันดาลใจมาจากอะไร - แรงบนั ดาลใจมาจากการที่ยายชอบผ้าไหมสวยๆ เหน็ คนอืน่ นุ่งซิ่นมลี ายสวยๆ มีลวดลายทนี่ า่ สนใจเลย อยากทา และอยากใส่ๆบ้าง ยายชอบงานฝีมือ และที่สาคญั พ่สี าวทาเป็นและได้รบั รางวลั การทอผ้าซิ่นสวยยายเลย หนั มาเรยี นเร่อื งการทอผา้ จนทอผา้ เปน็ 5. ผลงานชิน้ โปรด - ชอบผ้าซิน่ เปน็ ผืนแรกท่ีทอ แล้วเอามาตัดเป็นผ้าซน่ิ มีลวดลายสวยงาม

ภาคผนวก - ประวตั ิผู้จัดท้าภูมิปัญญาศกึ ษา - ภาพประกอบ

ประวัติผู้ถ่ายทอดภูมปิ ัญญา ช่ือ : คุณยายเสวย อกั โข อายุ 76 ปี เกิด : วันที่ 30 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2486 ภมู ลิ าเนาเดิม : บ้านชัยณรงค์ 18 หมู่ 11 ต.วงั นา้ เยน็ อ.วงั นา้ เยน็ จ.สระแกว้ อยปู่ จั จบุ ัน : บา้ นชัยณรงค์ 18 หมู่ 11 ต.วังน้าเยน็ อ.วังน้าเยน็ จ.สระแก้ว จงั หวัดสระแก้ว สถานภาพ : สมรส กบั นายทอง อักโข มบี ุตร ด้วยกัน 1 คน การศึกษา : ประถมศึกษาปีที่ 4 ประกอบอาชีพ : ทานา จากประสบการณ์ การทอผา้ ไหม ไดเ้ รียนรู้ จากกลุ่มเพ่ือน แลกเปลีย่ นเรียนรจู้ าก วฒั นธรรมประเพณี ที่ใชใ้ นงาน พธิ ีกรรมตา่ งๆ การทอผ้าไหม ส่วนใหญ่ วัสดอุ ุปกรณท์ ่ีใช้ เช่น ใบหม่อน และสที ี่ใชย้ ้อมไหมก็ใชส้ ีจากธรรมชาติ เชน่ สีเหลือง ได้มาจากแกน่ เข มะพูดหรอื ประโหด ประวัตผิ ู้เรียบเรียงภมู ปิ ัญญา ชื่อ : นางสาวกนั ยา นนทการ อายุ 27 ปี เกดิ : วนั ศุกร์ ท่ี 23 สิงหาคม พ.ศ. 2534 ภมู ลิ าเนาเดิม : บา้ นโนนเยาะ ตาบล บึงมะลู อาเภอกันทรลักษ์ จงั หวัดศรีสะเกษ อยู่ปัจจบุ นั : บ้านเลขที่ 124 หมู่ 6 ตาบลบึงมะลู อาเภอกันทรลักษ์ จังหวดั ศรสี ะเกษ สถานภาพ : โสด การศึกษา : ปริญญาตรี จากมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏศรสี ะเกษ ประกอบอาชีพ : รับราชการครู

ภาพประกอบการจดั ท้าภูมิปญั ญาศึกษา เรอื่ ง เสน้ ไหมประยุกต์

ประชมุ ชี้แจงการดาเนนิ โครงการจดั ทาภมู ิปัญญาศึกษาสืบสานภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ร่นุ ท่ี 3/2561 ประจาปี การศกึ ษา 2561 ณ ห้องประชมุ พกิ ลุ ทอง

ลงพืน้ ทศ่ี กึ ษาภมู ิปญั ญาศึกษาสบื สานภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ เรื่องการทอผ้าไหม ท่บี ้านชยั ณรงค์ บา้ นเลขท่ี 18 หมู่ 11 ต.วังนา้ เย็น อ.วังน้าเย็น จ.สระแกว้



ตวั อยา่ งผ้าไหมท่คี ุณยายเสวย อักโข ทอเสรจ็

บรรณานุกรม ทยา ทองอยู่. (2540) การออกแบบผ้าทอสาหรับเคร่อื งประกอบการแต่งกาย.วทิ ยานิพนธ(์ ออ.บ) จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ธนพร เวทย์ศิรยิ านนั ท.์ ( 2548) ภมู ปิ ัญญาผา้ ไหมของกลุ่มชาตพิ ันธ์เุ ขมร บา้ นท่าสวา่ ง อาเภอเมือง จังหวัดสรุ ินทร์. วทิ ยานพิ นธ์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ ินทร.์ บรรจง จากนา่ น. (2539) การศกึ ษาลวดลายผ้าซ่นิ ตีนจก อาเภอลอง จังหวดั แพร่. รายงานหลักสตู ร ศิลปบณั ฑติ (ศิลปะไทย) คณะวจิ ิตรศลิ ป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ปารชิ าติ ศรลอ้ ม. ( 2543) การศึกษาความตอ้ งการหลกั สูตรท้องถ่ิน \"การทอผา้ ไหมแพรวา\" ของ ชมุ ชนบ้านโพน อาเภอคามว่ ง จังหวดั กาฬสินธุ์. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพิบลู สงคราม. พรทพิ ย์ จันปุ่ม. ( 2548) การพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา เรอื่ ง การทอผ้าด้วยเส้นใยฝ้ายยอ้ มสี ธรรมชาตขิ องบ้านปง่ เปา้ สาหรับนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นชุมชนโพนทราย จังหวัดมกุ ดาหาร. มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook