Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 38ภูมิปัญญาศึกษา การทำนา นางพัสรี ปาหาร

38ภูมิปัญญาศึกษา การทำนา นางพัสรี ปาหาร

Published by artaaa141, 2019-05-09 08:10:26

Description: 38ภูมิปัญญาศึกษา การทำนา นางพัสรี ปาหาร

Search

Read the Text Version

ภูมิปัญญาศกึ ษา เรื่อง ทานา โดย 1. นางพัชรี ปาหาร (ผถู้ ่ายทอดภูมิปญั ญา) 2. นางสาวกนกลักษณ์ เดชพละ (ผเู้ รยี บเรียงภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ) เอกสารภมู ปิ ญั ญาศกึ ษานี้เป็นสว่ นหนึง่ ของการศึกษา ตามหลกั สูตรโรงเรยี นผสู้ งู อายุเทศบาลเมืองวงั น้าเย็น ประจาปกี ารศึกษา 2561 โรงเรยี นผู้สงู อายุเทศบาลเมืองวังนา้ เย็น สังกัดเทศบาลเมืองวงั น้าเย็น จังหวดั สระแก้ว

ก คานา ภูมิปัญญาชาวบ้านของคนไทยเรานั้นมีอยู่จานวนมาก ล้วนแต่มีคุณค่าและมีประโยชน์ เป็นการบอก เล่าถึงวัฒนธรรมไทยได้เป็นอย่างดี แต่ปัจจุบันภูมิปัญญาเหล่านั้น กาลังสูญหายไปพร้อม ๆ กับชีวิตของคน ซ่ึงดับสูญไปตามกาลเวลา เทศบาลเมืองวังน้าเย็นได้เล็งเห็นคุณค่าและความสาคัญในเร่ืองดังกล่าว จึงจัดต้ัง โรงเรียนผสู้ ูงอายุข้ึนเพอ่ื ให้ผู้สูงอายุในเขตตาบลวังน้าเยน็ ไดม้ ารวมตัวกัน เพือ่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซ่งึ กันและกัน ก่อนจบการศึกษา นักเรียนผู้สูงอายุทุกคนต้องจัดทาภูมิปัญญาศึกษาคนละ 1 เรื่อง เพ่ือเก็บไว้ให้อนุชนรุ่น หลงั ได้ศกึ ษา เปน็ การสบื ทอดมใิ หภ้ ูมิปญั ญาสูญไป ภูมิปัญญาฉบับน้ีสาเร็จได้ เพราะรับความกรุณาและการสนับสนุน จากท่านทั้งหลายเหล่าน้ีได้แก่ นางสาวกนกลักษณ์ เดชพละ ซ่ึงเป็นพ่ีเลี้ยงให้คาปรึกษา แนะนาในการจัดทาภูมิปัญญา ได้ให้ความรู้และ ประสบการณ์ตา่ ง ๆ ในช่วงเวลาทเ่ี รียนอยเู่ ป็นเวลา 2 ปี คณะกรรมการบริหารโรงเรยี นผสู้ งู อายุ เจ้าหน้าท่ี กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองวังน้าเย็นทุกท่าน ท่ีให้การดูแลและช่วยเหลือตลอดมา และท่ี สาคัญได้แก่ นายวันชัย นารีรักษ์ นายกเทศมนตรีเมืองวังน้าเย็น และ นายคนองพล เพ็ชรรื่น ปลัดเทศบาล เมืองวงั น้าเยน็ ซึง่ เป็นผกู้ อ่ ต้ังโรงเรยี นผู้สงู อายุ และใหก้ ารสนับสนุน ดูแลนักเรียนผู้สงู อายุเปน็ อยา่ งดี ขอขอบคุณทกุ ท่านไว้ ณ โอกาสนี้ นางสาวกนกลักษณ์ เดชพละ ผู้จดั ทา

สารบญั ข เรอื่ ง หน้า คานา ก สารบัญ ข ทม่ี าและความสาคัญของภูมิปัญญาศกึ ษา ค ความเป็นมาและความสาคญั ของการทานา 1 ข้ันตอนการทานา 3 การนาภูมปิ ัญญาการทานาไปใชใ้ นการดาเนินชวี ติ 7 การประเมนิ ผล / ผู้ตรวจ / ผอู้ นมุ ตั ิ 8 ผู้รบั รอง / คารับรอง 12 ภาคผนวก 13 - ประวัตผิ ูจ้ ดั ทา 14 - ภาพประกอบ บรรณานกุ รม

ค ทีม่ าและความสาคญั ของภมู ิปญั ญาศกึ ษา จากพระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ท่ีว่า “ประชาชนนน่ั แหละ ที่เขามีความรู้เขาทางานมาหลายช่ัวอายุคนเขาทากันอย่างไรเขามีความเฉลียวฉลาดเขารู้ว่าตรงไหนควรทา กสิกรรมเขารู้ว่าตรงไหนควรเก็บรักษาไว้แต่ท่ีเสียไปเพราะพวกไม่รู้เรื่อง ไม่ได้ทามานานแล้ว ทาให้ลืมว่าชีวิต มันเป็นไปโดยการกระทาท่ีถูกต้องหรือไม่”พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-ภูมิพลอดุลย เดช ทส่ี ะท้อนถึงพระปรชี าสามารถในการรับรแู้ ละความเข้าใจหย่ังลึก ทท่ี รงเห็นคุณคา่ ของภูมปิ ัญญาไทยอยา่ ง แท้จริง พระองค์ทรงตระหนักเป็นอย่างย่ิงว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นสิ่งท่ีชาวบ้านมีอยู่แล้วใช้ประโยชน์เพ่ือ ความอยู่รอดกันมายาวนานความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น ซ่ึงความรู้ที่ส่ังสมจากการปฏิบัติจริงใน ห้องทดลองทางสังคมเป็นความรู้ดั้งเดิมท่ีถูกค้นพบมีการทดลองใช้ แก้ไข ดัดแปลงจนเป็นองค์ความรู้ที่ สามารถแก้ปัญหาในการดาเนินชีวติ และถ่ายทอดสืบต่อกันมาภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นขุมทรัพย์ทางปัญญาท่ีคน ไทยทุกคนควรรู้ ควรศึกษา ปรับปรุง และพัฒนาให้สามารถนาภูมิปัญญาท้องถ่ินเหล่าน้ันมาแก้ไขปัญหาให้ สอดคล้องกับบรบิ ททางสงั คม วัฒนธรรมของกลุ่มชมุ ชนน้นั ๆ อยา่ งแท้จริง การพัฒนาภูมิปัญญาศึกษานบั เป็น สิ่งสาคัญต่อบทบาทของชมุ ชนทอ้ งถิ่นท่ีได้พยายามสร้างสรรค์ เป็นน้าพักนา้ แรงร่วมกันของผู้สูงอายุและคนใน ชุมชนจนกลายเป็นเอกลักษณ์และวัฒนธรรมประจาถิ่นที่เหมาะต่อการดาเนินชีวิต หรือภูมิปัญญาของคนใน ท้องถน่ิ น้ัน ๆ แต่ภมู ิปัญญาท้องถ่ินส่วนใหญ่เป็นความรู้หรือเปน็ สิง่ ทไี่ ด้มาจากประสบการณ์ หรือเปน็ ความเชื่อ สืบต่อกันมา แต่ยังขาดองค์ความรู้หรือขาดหลักฐานยืนยันหนักแน่น การสร้างการยอมรับท่ีเกิดจากฐานภูมิ ปญั ญาท้องถน่ิ จงึ เปน็ ไปไดย้ าก ดังนั้น เพ่ือให้เกิดการส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาท่ีเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นกระตุ้นเกิดความ ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของบุคคลในท้องถิ่นภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทยเกิดการถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่คน รุ่นหลังโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็นได้ดาเนินการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนา ศักยภาพผู้สูงอายุในท้องถ่ินท่ีเน้นให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาตนเองให้มีความพร้อมสู่สัง คมผู้สูงอายุที่มีคุณภาพใน อนาคตรวมทั้งสืบทอดภูมิปัญญาในการดารงชีวิตของนักเรียนผู้สูงอายุที่ได้ส่ังสมมาเกิดจากการสืบทอดภูมิ ปัญญาของบรรพบุรุษโดยนักเรียนผู้สูงอายุจะเป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้และมีครูพ่ีเลี้ยงซึ่งเป็นคณะครูของ โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็นเป็นผู้เรียบเรียงองค์ความรู้ไปสู่การจัดทาภูมิปัญญาศึกษาให้ปรากฏ ออกมาเป็นรูปเล่มภูมิปัญญาศกึ ษา ใช้เป็นส่วนหนึง่ ในการจบหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียนผู้สงู อายุประจาปี การศึกษา 2560 พร้อมทั้งเผยแพร่และจัดเก็บคลังภูมิปัญญาไว้ในห้องสมุดของโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์ วทิ ยา เพือ่ ให้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินเหลา่ น้ีเกิดการถา่ ยทอดสู่คนรุ่นหลังสืบต่อไป จากความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานและภาคีเครือข่ายที่มีส่ วนร่วมในการผสมผสาน องค์ความรู้เพื่อยกระดับความร้ขู องภูมิปัญญาน้ัน ๆเพ่ือนาไปสูก่ ารประยุกต์ใช้ และผสมผสานเทคโนโลยีใหม่ ๆ ให้สอดรบั กับวถิ ีชวี ิตของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพการนาภมู ิปญั ญาไทยกลับสู่การศึกษาสามารถส่งเสริมให้ มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาในโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยาและโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น เกิดการมีส่วนรว่ มในกระบวนการถ่ายทอดเช่อื มโยงความรู้ใหก้ บั นักเรียนและบุคคลท่ัวไปในท้องถิ่น โดยการนา บคุ ลากรที่มีความรคู้ วามสามารถในท้องถ่ินเข้ามาเป็นวิทยากรให้ความรู้กับนักเรียนในโอกาสต่าง ๆ หรอื การท่ี

โรงเรียนนาองค์ความรู้ในท้องถิ่น เข้ามาสอนสอดแทรกในกระบวนการจดั การเรียนรู้สิ่งเหลา่ น้ีทาให้การพฒั นา ภูมิปัญญาท้องถ่ิน นาไปสู่การสืบทอดภูมิปัญญาศึกษาเกิดความสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรมนักเรียนผู้สูงอายุเกิด ความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของตนท่ีได้ถ่ายทอดสู่คนรุ่นหลังให้คงอยู่ในท้องถิ่นเป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิต ประจาทอ้ งถิ่นเปน็ วัฒนธรรมการดาเนินชวี ิตคู่แผ่นดนิ ไทยตราบนานเท่านาน นิยามคาศพั ทใ์ นการจัดทาภมู ปิ ัญญาศึกษา ภูมิปัญญาศึกษา หมายถึง การนาภูมิปัญญาการดาเนินชีวิตในเร่ืองท่ีผู้สูงอายุเช่ียวชาญท่ีสุดของ ผ้สู งู อายุท่ีเข้าศึกษาตามหลกั สูตรของโรงเรียนผ้สู งู อายุเทศบาลเมืองวงั น้าเยน็ มาศกึ ษาและสืบทอดภูมปิ ัญญาใน รูปแบบต่างๆมีการสืบทอดภูมิปัญญาโดยการปฏิบัติและการเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษรตามรูปแบบที่ โรงเรียนผู้สูงอายุกาหนดข้ึนใช้เป็นส่วนหน่ึงในการจบหลักสูตรการศึกษาเพื่อให้ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุได้รับ การถา่ ยทอดสู่คนร่นุ หลังและคงอยใู่ นทอ้ งถิ่นต่อไป ซง่ึ แบง่ ภมู ิปัญญาศกึ ษาออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ภมู ปิ ญั ญาศกึ ษาท่ีผู้สูงอายุเปน็ ผ้คู ดิ ค้นภูมิปัญญาในการดาเนินชีวติ ในเรื่องทเี่ ชย่ี วชาญทีส่ ดุ ด้วยตนเอง 2. ภูมิปัญญาศึกษาที่ผู้สูงอายุเป็นผู้นาภูมิปัญญาที่สืบทอดจากบรรพบุรุษมาประยุกต์ใช้ในการดาเนิน ชวี ติ จนเกิดความเชยี่ วชาญ 3. ภูมิปัญญาศึกษาท่ีผู้สูงอายุเป็นผู้นาภูมิปัญญาท่ีสืบทอดจากบรรพบุรุษมาใช้ในการดาเนินชีวิตโดย ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดมิ จนเกิดความเชีย่ วชาญ ผถู้ ่ายทอดภูมิปัญญา หมายถึง ผู้สูงอายุที่เข้าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมือง วังน้าเย็น เป็นผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาการดาเนินชีวิตในเร่ืองท่ีตนเองเช่ียวชาญมากที่สุด นามาถ่ายทอดให้แก่ผู้ เรยี บเรียงภูมปิ ัญญาท้องถ่ินได้จดั ทาข้อมูลเปน็ รปู เลม่ ภมู ิปญั ญาศึกษา ผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ผู้ท่ีนาภูมิปัญญาในการดาเนินชีวิตในเรื่องที่ผู้สูงอายุ เชี่ยวชาญที่สุดมาเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษรศึกษาหาข้อมูลเพ่ิมเติมจากแหล่งข้อมูลต่างๆจัดทาเป็น เอกสารรูปเล่ม ใชช้ อื่ วา่ “ภมู ิปญั ญาศึกษา”ตามรูปแบบทีโ่ รงเรยี นผู้สงู อายุเทศบาลเมืองวังนา้ เยน็ กาหนด ครูที่ปรึกษา หมายถึง ผู้ท่ีปฏิบัติหน้าที่เป็นครูพ่ีเลี้ยงเป็นผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถ่ินปฏิบัติหน้าที่ เปน็ ผปู้ ระเมินผลเปน็ ผรู้ ับรองภมู ิปญั ญาศกึ ษารวมทั้งเปน็ ผ้นู าภูมิปัญญาศึกษาเข้ามาสอนในโรงเรียนโดยบูรณา การการจดั การเรียนร้ตู ามหลักสตู รท้องถิ่นทโ่ี รงเรยี นจดั ทาข้นึ

ความเปน็ มาและความสาคัญของการทานา การทานากบั คนไทย วัฒนธรรมทเี่ ก่ียวข้องกบั การดารงชวี ิตของคนไทยในทกุ ภาคมีพ้นื จากการเป็นสงั คมเกษตรกรรมเป็น สงั คมท่ีผสมผสานคติความเชื่อพืน้ เมืองเช่นการนบั ถือส่งิ ศักดิ์สทิ ธ์ินบั ถอื ธรรมชาติเขา้ กับคตคิ วามเชือ่ ทาศาสนา การเป็นสงั คมเกษตรของไทยในอดตี คือการเกษตรแบบยงั ชีพการทานาเปน็ อาชีพหลักในอดีตเปน็ การทานาที่ ใช้แรงงานคนในครอบครัวและแรงงานสตั ว์เป็นหลักพ่งึ พาน้าฝนและนา้ ในแมน่ า้ ลาคลองในกาเพาะปลูก และ ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ลักษณะการดารงชีวิตท่ีต้องพึงพาธรรมชาติและพงึ่ พาตนเองทาให้ชาวบ้านเรยี นรู้ที่จะอยู่ รว่ มกันและพงึ่ พากนั เพ่อื ให้สามารถดารงชวี ติ อยู่ได้อยา่ งม่ันคงเป็นสขุ วฒั นธรรมแบบสังคมเกษตรของคนไทย มลี ักษณะเดน่ คอื เป็นสังคมท่ีมีน้าใจเอ้ือเฟื้อเผอ่ื แผ่ชว่ ยเหลือกนั มกี ารนบั ญาติกนั อย่างสนิทสนมเชน่ ใชค้ าว่า ปู่ ย่าลงุ ปา้ นา้ พี่ เรียกผูส้ งู อายุทีไ่ ม่รู้จักกนั หรือไม่ใช่ญาติมีการยกยอ่ งธรรมชาตแิ ละส่ิงท่ีมีบุญคุณเช่น การทา ขวญั พระแม่โพสพการลอยกระทงเพอื่ ขอบคณุ และขอขมาพระแม่คงคาการนบั ถือพระแม่ธรณีการทาขวญั โค- กระบือมกี ารรว่ มมอื กนั ในสงั คมเช่นการขอแรงเพื่อนบ้านมาชว่ ยกันทางานเมื่อแรงงานภายในครอบครัวไม่ เพยี งพอเช่น การลงแขก การขอแรง การเอาแรง เอามือ เอาปากกินหวานเพือ่ ชว่ ยกนั ทางานในนาปลูกสร้าง บ้านโดยเปน็ การแลกเปล่ยี นหมุนเวียนแรงงานในชมุ ชนโดยทไี่ ม่ต้องใช้การวา่ จ้างเจา้ ของงานมีหนา้ ท่เี พยี งดูแล เร่ืองอาหารการกินให้เพยี ง พอแกผ่ ูม้ าช่วยงาน http://std.kku.ac.th/5050200456/data/d02.htm

http://std.kku.ac.th/5050200456/data/d02.htm การทางานในไร่นาที่เหนด็ เหน่อื ย ทาให้มกี ารสร้างสรรค์การละ เล่น การร้องราทาเพลงเพ่อื ผ่อน คลาย และสร้างความสัมพนั ธ์ต่อกัน ภายชมุ ชน จนเป็นการละเลน่ และเพลงพ้ืนบา้ น ทถ่ี ือเปน็ มรดกทาง วัฒนธรรมในท้องถิ่นและประเทศ เชน่ “ซอ” และ “จ๊อย” ของภาค เหนือ “เพลงเรอื ” “เพลงฉ่อย” “เพลง เหย่ย” ของภาคกลาง “ลา” ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และ “เพลงบอก” ของภาคใต้ http://std.kku.ac.th/5050200456/data/d02.htm สาหรับการทานาในประเทศไทยมีปัจจยั หลัก 2 ประการเป็นพื้นฐานของการทานาและเป็นตัวกาหนดวิธี การปลูกขา้ วและพันธ์ขุ ้าวทจี่ ะใช้ในการทานาดว้ ยหลกั 2 ประการ คือ 1. สภาพพน้ื ท่ี ( ลกั ษณะเป็นพื้นทสี่ ูงหรอื ต่า ) และภูมิอากาศ 2. สภาพน้าสาหรับการทานา ฤดทู านาปีในประเทศไทยปกติจะเริ่มราวเดือนพฤษภาคมถงึ กรกฏาคมของทุกปี ขนึ้ อยู่กับปรมิ าณน้าฝน เมอ่ื 3เดือนผ่านไปขา้ วที่ปักดาหรอื หวา่ นเอาไว้จะสุกงอมเต็มท่พี ร้อมเกบ็ เก่ียวสว่ นนาปรงั สามารถทาไดต้ ลอดปี

เพราะพนั ธข์ุ า้ วทใี่ ช้ปลูกเป็นพันธท์ุ ไี่ มไ่ วต่อช่วงแสง เมือ่ ขา้ วเจริญเตบิ โตครบกาหนดอายุก็จะสามารถเก็บเกยี่ ว ได้ ความสาคัญของข้าวในวิถีชวี ิตของคนไทย ความสาคัญของขา้ วในวิถีชวี ิตของคนไทยนั้นผกู พนั ธ์กนั มานานนบั แตโ่ บราณจนถึงปจั จุบนั เพยี งแต่ใน ปัจจบุ นั มีเคร่ืองไม้เครื่องมือช่วยในการทานาซ่ึงมีความแตกต่างจากสมยั โบราณที่ใช้วัวหรอื ควายท่ีใชใ้ นการไถ นา และใชแ้ รงงานคนเปน็ สว่ นใหญ่ บทบาทสาคัญของข้าว ในวิถีแหง่ ชีวติ คนไทยและคนในเอเชยี น้นั มุ่งปลูก ข้าวใชเ้ พือ่ การปริโภค ใช้เพ่ือการแลกเปลยี่ นกับปจั จัยอ่นื ๆท่จ่ี าเปน็ ต่อการดารงชีวติ เช่น เสอื้ ผ้า ยารักษาโรค หรอื อาหารประเภทอ่นื ๆ ในปัจจุบันการทานาขา้ วเปลี่ยนวัตถปุ ระสงคไ์ ปจากเดิม จากการแลกเปล่ยี น เปน็ การค้าขายมากข้ึน ใช้ เทคโนโลยีส่ มยั ใหม่มากขนึ้ เพ่ือใหไ้ ด้ผลผลิตท่ีเรว็ ที่สุดและมากท่ีสดุ โดยไม่ได้คานงึ ถงึ ระบบนิเวศคนไทย ปริโภคข้าวอยา่ งมีระเบยี บวิธี และมีลักษณะเฉพาะ เชน่ กระบวนการแปลรปู ข้าวเพื่อการปริโภค โดยการให้ ขา้ วสกุ ดว้ ยวธิ กี ารต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นการหุงต้ม การน่งึ การหลาม เป็นเหตใุ ห้การใชภ้ าชนะทแ่ี ตกตา่ งกัน รวมถงึ การประกอบอาหารท่ใี ชร้ ับประทานคู่กบั ข้าว ก็ได้รับการเอาใจใส่ คิดค้น จงึ เกิดเป็นวัฒนธรรมทค่ี วบคู่ กันข้าวถูกนาไปใชใ้ นวฒั นธรรมดา้ นภาษาโดยเปน็ สานวนเปรยี บเทยี บ คาพังเพย หรือสภุ าษติ ต่างๆ เช่น ขา้ ว ใหม่ปลามนั ขา้ วแดงแกงร้อน ทานาบนหลงั คน ขา้ วนอกนา และอีกมากมายข้าวมคี วามสาคญั ในการกาหนด ศักดินา เช่น ในสมยั สโุ ขทยั มีการกาหนดทนี่ าและไพรใ่ หเ้ สนาบดีขนุ นาง ตามความสามารถในการบุกเบิกที่ดนิ ทามาหากิน มีการจดั ตั้งกรมนาขนึ้ เพื่อรับผดิ ชอบด้านการเกษตรโดยตรง ตอ่ มากลายเปน็ กระทรวงพานิชการ ในสมัยรัชกาลท่ี 5 และเป็นกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในปัจจุบันข้าวในวิถีชวี ติ ของคนไทยนน้ั ผูกพันธก์ ันมา ชา้ นาก่อใหเ้ กิดวัฒนธรรม ขึ้นอยา่ งมากมาย ไม่วา่ จะเป็นในเร่อื งของภาชนะ อาหาร พธิ กี รรมตา่ งๆ ซึง่ นับว่า ข้าวมีจิตวิญญาณในการดารงชีวติ ตามวิถไี ทย เครื่องไม้ เคร่ืองมือต่างๆ ตามภมู ปิ ัญญาด้ังเดมิ มีความเช่ือใน ด้านพธิ ีกรรม ในการทานาครั้งแรกในบางพน้ื ท่ยี ังมีพธิ ีกรรม ตามความเชือ่ ดั้งเดิม “ขา้ ว” เปน็ อาหารหลกั ของคนไทยมาช้านานแล้ว เชือ่ กนั ว่าเริม่ ปลูกทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ (ภาค อสี าน) โดยประเทศไทยเปน็ แหง่ แรกในเอเชยี ตะวันออก และไม่ไดร้ บั อิทธิพลมาจากทใ่ี ด เหน็ ได้จากหลกั ฐาน ทางโบราณคดีทีต่ าบลบ้านเชียง จงั หวัดอดุ รธานี ซงึ่ พบซากของเมล็ดข้าวโรยอยรู่ อบๆ โครงกระดกู ท่ีมอี ายุราว 5,600 ปี นอกจากนยี้ งั พบเมล็ดข้าวที่ถ้าปงุ ฮุง จังหวดั แม่ฮ่องสอน ที่แสดงให้เหน็ วา่ มีการปลกู ข้าวบริเวณนมี้ า นานกวา่ 5,400 ปมี าแลว้ ในระยะแรกเร่ิมของการปลูกข้าว สนั นษิ ฐานวา่ นา่ จะเปน็ การปลูก “แบบเลอ่ื นลอย” คอื ในแต่ละปหี รือสองปี จะมีการปลูกขา้ โดยอาศยั น้าจากธรรมชาติและความอุดมสมบรู ณข์ องดินทีเ่ หมาะสม โดยใช้เมล็ดขา้ วหว่านลงไปในดนิ เมอ่ื ปลูกไดป้ ี หรือสองปกี ็ย้ายทีป่ ลูกใหม่ไปเรื่อยๆ เนอ่ื งจากดินจะขาดความ อุดมสมบูรณ์ เป็นเช่นนี้วนเวยี นไปรอบๆ ทอี่ ยู่อาศยั หลงั จากน้ันประมาณ 3,600 – 2,500 ปีมาแลว้ ได้มีการ พฒั นาดา้ นเคร่ืองมอื เครอ่ื งใช้ และรจู้ กั ใช้แรงงานสัตว์ในการไถพรวน โดยเปลี่ยนมาสู่ “ระบบทดน้า” ท่ีให้ผล ผลิตสงู กว่าระยะแรก ซึง่ พบหลกั ฐานประเภทเครื่องเกี่ยว คลา้ ยเคยี ว หรือขอเก่ียวในการเก็บขา้ วต่อมา ประมาณ 3,000 – 2,300 ปีมาแล้ว มีหลกั ฐานท่แี สดงให้เห็นว่าชาวบ้านเชยี งรู้จักการ “ดานา” ปลูกข้าวแลว้ เพราะพบหลักฐานรูปปัน้ ควายและโครงกระดูกสตั ว์ท่ีใชเ้ ปน็ แรงงาน นอกจากน้ียงั มภี าพเขียนสีบนผนงั หนิ บริเวณผาหมอนน้อย ตาบลห้วยไผ่ จังหวดั อุบลราชธานี แสดงการเพาะปลูกธัญพชื ชนิดหน่ึง ดเู หมือนข้าวแบบ

นาเมอื ง ลกั ษณะของตน้ ขา้ วเขยี นงา่ ยๆ ดว้ ยสีแดงขีดเรียงเป็นกอๆ อย่างเป็นระเบียบซงึ่ รปู ลกั ษณ์ และความ นยิ มของขา้ วในแต่ละพุทธศตวรรษ กม็ ีลักษณะเปล่ยี นไป เช่น ในพุทธศตวรรษที่ 16 มขี า้ วเมลด็ ป้อมมาก รองลงมาเปน็ ข้าวเมล็ดใหญ่ในพุทธศตวรรษท่ี 16 - 20 ยงั มขี ้าวเมล็ดป้อมอยู่แต่ขา้ วเมล็ดเรียวกลบั มีการปลูก มากขึ้นทวั่ ประเทศ ส่วนข้าวเมล็ดใหญ่ก็มีจานวนลดลง ในพุทธศตวรรษที่ 20 - 24 เปน็ ต้นมา ขา้ วเมลด็ เรียว เป็นท่นี ิยมปลูกในภาคกลาง ส่วนขา้ วเมลด็ ป้อมและเมล็ดใหญ่กลบั ปลกู กนั เฉพาะในภาคเหนอื และตะวนั ออก เฉียงเหนืในสมยั โบราณน้นั คาว่า “ข้าว” เรียกว่า “เขา้ ” บางสาเนยี งทอ้ งถิน่ ชาวอสี านก็ออกเสียงว่า “เคา้ ” หรอื “เข่า” ซึ่งตามหลักฐานทางวฒั นธรรมนั้น ข้าวเหนยี วหรือข้าวนง่ึ เป็นพนั ธุ์ขา้ วพ้ืนเมอื งเก่าแก่ของคนไทย แต่ขา้ วเจ้าเปน็ พันธ์ขุ ้าวจากต่างประเทศ ที่ชนช้นั สูงรับเขา้ มาเพื่อปลกู บรโิ ภคในภายหลัง จนเป็นท่นี ยิ มมากกว่า ข้าวเหนยี วในปจั จุบันข้าวผกู พันกับคนไทยอยา่ งลึกซึ้งและยาวนาน จนมวี ัฒนธรรม ประเพณี และความเชอื่ หลายอยา่ งตกทอดมาถึงทกุ วันนี้ อาทิ ความเชื่อเร่ือง “พระแมโ่ พสพ” ที่ชาวนาเชือ่ กนั วา่ เป็นเทพธิดาท่ีปก ปักษร์ ักษาขา้ ว การเคารพบชู าจะทาให้ผลิตผลอุดมสมบูรณ์ มกี ารทาพธิ ี “แห่นางแมว” หรือ “บญุ บ้ังไฟ” เพื่อ ขอให้ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล มปี ระเพณี“ลงแขกเกยี่ วข้าว” ทีแ่ สดงถงึ ความสามคั คี ความมนี ้าใจ รว่ มแรง ช่วยเหลือกันทั้งหมู่บา้ น เพอ่ื ผลดั กนั เก็บเก่ียวขา้ วใหท้ นั ฤดูกาล ทาใหม้ ีการละเลน่ รอ้ งราต่างๆ เกดิ ขน้ึ เช่น เพลงเก่ยี วข้าว เพลงเตน้ การาเคยี ว เพลงสงฟาง เพลงชักกระดาน หรอื การเล่นโยนครกโยนสาก และการเล่น ลูกช่วง เปน็ ตน้ นอกจากน้ี ยงั มภี ูมิปัญญาของคนไทยทีเ่ กีย่ วข้องกบั ขา้ วจานวนมาก อาทิ พันธุ์ขา้ ว ซงึ่ มคี วามหลากหลาย ทางพันธกุ รรมสูง เชน่ พันธขุ์ ้าวเบา ข้าวกลาง ข้าวหนกั ขา้ วไร่ ขา้ วขึน้ น้า ข้าวเหนยี วดา ขา้ วแดง เปน็ ต้น เหล่านลี้ ว้ นถกู คดั เลือกเองจากชาวนาทง้ั สน้ิ ฉางขา้ ว ในภาคตา่ งๆ กจ็ ะมีความแตกต่างกันไปตามชนิดของวสั ดุ ในทอ้ งถนิ่ เชน่ ฉางข้ีควายผสมโคลนและฟาง ฉางไม้ไผข่ ัดแตะ ฉางไม้ ฉางไม้สัก ฉางสังกะสี ไถ ทาดว้ ยไม้ เกอื บทั้งคนั ปจั จบุ นั ถูกแทนท่ีด้วยเหลก็ และรถไถ ระหดั วิดนา้ และกงั หันน้า ของด้ังเดมิ ทาดว้ ยไม้และวสั ดุ ท้องถ่ินทั้งสนิ้ แต่ถกู แทนท่ีดว้ ยเครอื่ งสบู นา้ เกอื บหมดแลว้ โม่ และครกตาข้าว ใชส้ าหรบั สขี ้าว ฝาย หรอื ทานบ ทาด้วยไม้ ดิน หิน และวัสดุท้องถน่ิ และแรงงานจากการลงแขกของคนในหมบู่ ้าน ขัน้ ตอนการทานา การทานามหี ลักสาคัญ คอื 1. การเตรียมดนิ ก่อนการทานาจะมีการเตรียมดนิ อยู่ 3 ข้นั ตอน - การไถดะ เปน็ การไถคร้งั แรกตามแนวยาวของพน้ื ท่กี ระทงนา (กรณีทแี่ ปลงนาเปน็ กระทงย่อยๆหลายกระทง ในหน่งึ แปลงนา) เมื่อไถดะจะชว่ ยพลกิ ดินเพื่อให้ดินชน้ั ลา่ งไดข้ ึ้นมาสัมผสั อากาศออกซเิ จนและเปน็ การตากดนิ เพ่ือทาลายวชั พชื โรคพชื บางชนดิ การไถดะจะเร่ิมทาเม่ือฝนตกคร้ังแรกในปีฤดูกาลใหม่หลงั จากไถดะจะตากดนิ เอาไวป้ ระมาณ 1 - 2 สปั ดาห์ - การไถแปร หลงั จากท่ีตากดินเอาไว้พอสมควรแลว้ การไถแปรจะช่วยพลกิ ดนิ ท่กี ลบเอาขนึ้ การอกี คร้ัง เพื่อ ทาลายวัชพชื ทขี่ ้นึ ใหม่และเป็นการยอ่ ยดินให้มีขนาดเลก็ ลงจานวนครัง้ ของการไถแปรจึงขึน้ อยู่กับชนดิ และ ปริมาณของวัชพชื ลกั ษณะดินและระดบั น้าในพื้นที่ขึน้ อยกู่ ับปริมาณนา้ ฝนดว้ ยแต่โดยท่ัวไปแล้วจะไถแปรเพียง ครั้งเดียว

- การคราด เพื่อเอาเศษวชั พืชออกจากกระทงนาและย่อยดินให้มขี นาดเล็กลงอีกจนเหมาะแก่การเจรญิ ของข้าว ทั้งยงั เปน็ การปรับระดับพ้นื ท่ีให้มีความสม่าเสมอเพ่ือสะดวกในการควบคุมดูแลการให้นา้ 2. การปลูก การปลกู ข้าวสามารถแบ่งได้เปน็ 2 วธิ ี คือ การปลูกด้วยเมล็ดโดยตรง ไดแ้ ก่ - การทานาหยอดและนาหว่านและการเพาะเมล็ดในทห่ี นึง่ กอ่ นแลว้ นาต้นอ่อนไปปลูกในที่อ่นื ๆ ได้แก่ การทา นาดา การทานาหยอด ใชก้ บั การปลูกข้าวไร่ตามเชิงเขาหรือในท่ีสงู วธิ กี ารปลกู หลงั การเตรยี มดินให้ขดุ หลุม หรือทาร่อง แล้วจึงหยอดเมล็ดลงในหลมุ หรอื ร่องจากนน้ั กลบหลุมหรือรอ่ งเม่ือตน้ ข้าวงอกแล้วตอ้ งดูแลกาจดั วัชพืชและศัตรูพืช http://std.kku.ac.th/5050200456/data/d02.htm การทานาหวา่ น ทาในพื้นท่ีควบคุมน้าไดล้ าบาก วิธีหวา่ น ทาได้ 2 วิธี คอื - การหวา่ นข้าวแห้ง -การหวา่ นข้าวงอก การหว่านข้าวแหง้ แบ่งตามช่วงระยะเวลาของการหวา่ นได้ 3 วธิ ี คอื - การหวา่ นหลงั ข้ไี ถ ใชใ้ นกรณีท่ีฝนมาล่าช้าและตกชกุ มเี วลาเตรียมดนิ นอ้ ยจึงมกี ารไถดะเพยี งครัง้ เดียวและไถแปรอีกครั้งหน่ึงแลว้ หว่านเมลด็ ข้าวลงหลงั ขไ้ี ถเมล็ดพันธุอ์ าจเสียหายเพราะหนูและอาจมีวชั พชื ใน แปลงนามากการหว่านคราดกลบเป็นวิธที นี่ ยิ มมากทีส่ ดุ จะทาหลงั จากทไ่ี ถแปรคร้งั สุดท้ายแลว้ คราดกลบจะได้ ต้นขา้ วท่งี อกสม่าเสมอการหวา่ นไถกลบมักทาเม่ือถงึ ระยะเวลาที่ต้องหวา่ นแตฝ่ นยังไม่ตกและดินมีความชพ้ื อ ควรหว่านเมลด็ ข้าวหลงั ข้ไี ถแลว้ ไถแปรอีกครั้ง เมลด็ ขา้ วที่หว่านจะอยลู่ ึกและเรม่ิ งอกโดยอาศยั ความชน้ื ในดิน - การหวา่ นขา้ วงอก (หวา่ นน้าตม) เป็นการหว่านเมลด็ ขา้ วท่ีถกู เพาะใหร้ ากงอกก่อนท่ีจะนาไปหว่านใน ทท่ี ่มี ีนา้ ท่วมขัง เพราะหากไมเ่ พาะเมล็ดเสียก่อน เมอื่ หว่านแล้วเมล็ดข้าวอาจเน่าเสยี ได้ การเพาะข้าวทอดกล้า ทาโดยการเอาเมลด็ ขา้ วใส่กระบุงไปแชน่ ้าเพื่อให้เมล็ดท่มี ีน้าหนกั เบาหรือลีบลอยขนึ้ มาแล้วคัดทิง้ แลว้ นาเมลด็ ถา่ ยลงในกระบงุ ที่มหี ญ้าแหง้ กรไุ วห้ มนั่ รดน้าเรื่อยไปอย่าใหข้ า้ วแตกหน่อแล้วนาไปหว่านในท่ีนาท่ีเตรยี มดินไวแ้ -การทานาดา เป็นการปลูกขา้ วโดยเพาะเมล็ดใหง้ อกและเจริญเตบิ โตในระยะหนึ่งแล้วย้ายไปปลกู ในที่ หนึง่ สามารถควบคุมระดบั น้า วัชพืชได้ การทานาดาแบ่งได้เปน็ 2 ข้นั ตอน คือ

- การตกกล้า เพาะเมลด็ ข้าวเปลอื กให้มรี ากงอกยาว3 - 5มลิ ลิเมตรนาไปหว่านในแปลงกล้าชว่ งระยะ7 วนั แรกตอ้ งควบคุมน้าไม่ให้ท่วมแปลงกล้าและจะสามารถถอนกลา้ ไปปกั ดาได้เมอื่ มีอายุประมาณ 20-30 วนั - การปักดา ชาวนาจะนากล้าที่ถอนแลว้ ไปปักดาในแปลงปักดา ระยะห่างระหวา่ งกล้าแต่ละหลมุ จะมี ความแตกตา่ งกันข้ึนกับลักษณะของดิน คือ ถ้าเปน็ นาลมุ่ ปักดาระยะหา่ ง เพราะข้าวจะแตกกอใหญ่ แต่ถา้ เป็น นาดอนปักดาค่อนข้างถ่ี เพราะข้าวจะไม่คอ่ ยแตกกอ 3. การเก็บเก่ียว หลงั จากทขี่ า้ วออกดอกหรือออกรวงประมาณ 20 วนั ชาวนาจะเร่งระบายน้าออก เพ่ือ เปน็ การเรง่ ใหข้ ้าวสกุ พร้อมๆ กนั และทาให้เมล็ดมีความชนื้ ไม่สงู เกินไปจะสามารถเกบ็ เกี่ยวได้หลงั จากระบาย นา้ ออกประมาณ10 วนั ระยะเวลาท่ีเหมาะสมสาหรบั การเก็บเก่ยี วเรียกวา่ ระยะพลับพลงึ คือสงั เกตทีป่ ลายรวง จะมสี เี หลืองกลางรวงเป็นสตี องอ่อนการเก็บเกี่ยวในระยะน้จี ะได้เมล็ดข้าวทม่ี ีความแขง็ แกร่ง http://std.kku.ac.th/5050200456/data/d02.htm 4. การนวดขา้ ว หลังจากตากขา้ วชาวนาจะขนเข้ามาในลานนวดจากนน้ั ก็นวดเอาเมลด็ ข้าวออกจาก รวงบางแห่งใชแ้ รงงานคนบางแห่งใชค้ วายหรือวัวย่าแตป่ ัจจุบันมีการใช้เคร่ืองนวดขา้ วมาชว่ ยในการนวด http://std.kku.ac.th/5050200456/data/d02.htm

5. การเกบ็ รกั ษา เมลด็ ข้าวท่ีนวดฝัดทาความสะอาดแล้วควรตากให้มีความชื้นประมาณ 14% จงึ นาเข้าเกบ็ ในยุ้งฉางยุ้งฉางท่ดี ีควรมลี ักษณะดงั ตอ่ ไปน้อี อยู่ในสภาพที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวกการใช้ลวดตา ข่ายก้นั ให้มีรอ่ งระบายอากาศกลางยุ้งฉางจะชว่ ยให้การถ่ายเทอากาศดีย่ิงขนึ้ คุณภาพเมล็ดข้าวจะคงสภาพดีอยู่ นานอย่ใู กลบ้ รเิ วณบา้ นและติดถนนสามารถขนส่งไดส้ ะดวกเมลด็ ข้าวที่จะเก็บไวท้ าพันธุ์ต้องแยกจากเมล็ดข้าว บริโภค โดยอาจบรรจุกระสอบ มีป้ายบอกวันบรรจุและช่อื พันธุ์แยกไวส้ ว่ นใดส่วนหนึง่ ในย้งุ ฉางเพ่ือสะดวกใน การขนย้ายไปปลกู กอ่ นนาขา้ วเขา้ เก็บรกั ษาควรตรวจสภาพยุ้งฉางทุกคร้ังทัง้ เร่ืองความะอาดและสภาพของยงุ้ ฉางซ่งึ อาจมรี ่องรอยของหนกู ัดแทะจนทาให้นกสามารถรอดเข้าไปจิกกินขา้ วได้รูหรือร่องต่างๆทีป่ ิดไมส่ นิท เหลา่ น้ตี ้องไดร้ ับการซ่อมแซมให้เรียบร้อยก่อน พธิ ีกรรมศลิ ปวฒั นธรรมทเี่ ก่ยี วข้องกบั การทานา เป็นการรวมพระราชพิธี 2 พธิ ีเข้าดว้ ยกันคอื “พระราชพธิ พี ชื มงคล” เปน็ พธิ สี งฆ์ จัดขึ้นเป็นการทา ขวญั เมล็ดพืชพันธ์ุต่างๆ เช่น ข้าวเปลอื ก ข้าวเหนยี ว ข้าวฟ่าง ข้าวโพด ถ่วั งา เผอื ก มันและพืชอ่นื ๆ เพื่อให้ พชื ผลเหล่าน้เี จริญงอกงามปราศจากโรคและแมลงศตั รูพชื รบกวนกับอีกพธิ หี นง่ึ คือ“พระราชพธิ จี รดพระนงั คัล แรกนาขวญั ”หรอื “พิธีแรกนา” หรอื “แรกนาขวญั ” ซ่งึ เป็นพิธีพราหมณ์ที่มีมาหลายพันปีแล้วและมใี นหลาย ชาติ เชน่ จีน อินเดีย เปน็ ต้น จดั ข้นึ เพ่ือเปน็ พิธแี รกไถก่อนทช่ี าวนาจะทาพธิ ีแรกนาในนาข้าวของตนเองเสมอื น หนง่ึ เปน็ สญั ญาณเตือนเพื่อบอกว่าเวลาแห่งการทานาไดม้ าถงึ แลว้ ให้ชาวนาเตรยี มตัวให้พรอ้ มในการทานาสืบ เน่อื งจากคนไทยบรโิ ภคข้าวเป็นอาหารหลักท้ังยงั ปลกู ข้าวเป็นอาชีพจึงมีความสาคัญยงิ่ ในการดารงชวี ิต http://std.kku.ac.th/5050200456/data/d02.htm “พระราชพธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวญั ” เปน็ พระราชพิธีทมี่ ีความสาคัญในการสรา้ งขวัญและ กาลังใจแกเ่ กษตรกรและเตือนใหเ้ รมิ่ การทานาเปน็ พระราชพธิ ีท่ีถือปฏิบตั ิมาแต่โบราณโดยปรากฏหลกั ฐาน ชดั เจนในสมัยสุโขทยั ตามหลักฐานในหนังสือเร่ืองนางนพมาศและไดถ้ ือปฏบิ ตั อิ ย่างต่อเน่ืองแม้แต่ประมุขของ ชาติคอื พระมหากษัตรยิ ท์ รงเหน็ ความสาคญั ของพธิ นี ี้เม่ือถึงเวลาเริ่มทาการเพาะปลูกพชื ผลจึงต้องประกอบ พระราชกรณยี กจิ เปน็ ผนู้ าโดยลงมอื ไถหวา่ นพชื พนั ธุ์ธัญญาหารเพอื่ เป็นกาลงั ใจใหช้ าวนาไทยสืบมา . “พระราชพิธจี รดพระนังคลั แรกนาขวญั ”ในประเทศไทยท่มี ีมาตงั้ แต่สมัยสโุ ขทัยจนถึงสมัยรัตนโกสนิ ทร์

ก่อนรัชกาลที่ 4 นน้ั จะเป็นเพียงการประกอบพธิ ีพราหมณ์ไม่มีพธิ สี งฆ์คร้นั ถงึ สมัยรชั กาลที่ 4 ทรงพระกรุณา “โปรดเกลา้ ฯใหจ้ ัดพิธสี งฆเ์ พิ่มขึ้นยกเป็นพิธีหนึง่ ตา่ งหากเรียกว่า “พชื มงคล” แล้วเรียกชอ่ื รวมวา่ “พระราชพิธี พชื มงคลจรดพระนงั คัลแรกนาขวญั ” เปน็ ราชประเพณสี ืบมาโดยในสมยั รชั กาลท่ี 4 ท้ัง 2 พธิ จี ะทาแยกกนั คือ พระราชพิธีพชื มงคลทาทที่ ุ่งพระเมรุ(สนามหลวง ในปัจจบุ นั )สว่ นพระราชพิธจี รดพระนังคัลแรกนาขวัญทาทท่ี งุ่ ส้มป่อย นอกพระนคร (บริเวณสนามมา้ ราชตฤณมัย หรือสนามมา้ นางเลิ้ง ในปัจจบุ ัน) โดยใช้ฤกษ์เดียวกันและ วนั เดยี วกัน โดยพระยาแรกนาขวัญกับเทพที ัง้ 4 จะเข้าฟังพระสงฆ์สวดในปะราพิธพี ืชมงคลกอ่ นแล้วจึงไป กราบทลู พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ใหท้ รงเรม่ิ พธิ ีแรกนาในสมัยปจั จุบนั การจัดงานพระราชพิธพี ชื มงคลจรด พระนังคัลแรกนาขวัญจะจดั ให้มขี น้ึ 2 วันตดิ ต่อกันวนั แรกเปน็ พระราชพธิ พี ืชมงคลในวนั รุ่งขึ้นเปน็ พระราชพิธี จรดพระนงั คัลแรกนาขวัญพธิ ีสูข่ วัญขา้ วหรอื เอาขวัญขา้ วเป็นการบอกกลา่ วก่อนที่จะทาการตีหรือนวดข้าวบาง แหง่ ก็ทาหลังจากเก็บเก่ียวข้าวเสรจ็ เรยี บร้อยก่อนจะเอาขนึ้ หลอง(ยงุ้ ฉาง)ถือเป็นการอนั เชญิ ขวัญข้าวมาสู่ยุ้ฉาง บางแห่งจะทาหลังการเกบ็ เกี่ยวเสร็จเรียบร้อยถอื เปน็ การเรียกขวัญข้าวที่ตกหล่นในขณะนวดข้าวพธิ ีสู่ขวัญข้าว จะทาในลานนวดข้าวหรือบางแหง่ กจ็ ะทาในสถานท่เี ดยี วกนั กับท่ีทาพธิ ีแรกนาในการทาพิธีจะจัดเตรียมพาน บายศรี 1 ชดุ ไกต่ ้ม 1 คู่ เหล้า 2 ไห ขา้ วตอกดอกไม้ 2 ชุด ขา้ วเหนียว 1 กระตบิ หมาก พลู เมย่ี ง บุหรี่ 1 ชุด โดยเจ้าของนาอาจเปน็ ผูก้ ลา่ วคาสงั เวยดว้ ยตนเองหรือใหผ้ ู้เช่ียวชาญทางพธิ ีกรรม(ปูจ่ ารย์)ของหมู่บา้ นมาทาพิธี การประกอบอาชพี แบบเศรษฐกจิ พอเพียง การดาเนินชวี ติ ในลกั ษณะเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการประกอบอาชีพตามทรัพยากรทม่ี ีอยโู่ ดยอาศัย ความรู้ ความสามารถ เพื่อใหเ้ กดิ ความพอเพยี งในลักษณะพออยู่พอกนิ ก่อให้เกิดความสุขสบายภายใน ครอบครวั หากเหลอื จากการดารงชีพสามารถนาไปขายเพ่ือเป็นรายได้และเกบ็ ออมเปน็ เงินทุนต่อไปการ ประกอบอาชีพแบบเศรษฐกจิ พอเพียงสามารถทาไดด้ งั น้ี 1. ทาไรท่ านาสวนผสมผสานเพ่อื เป็นจดุ เร่ิมตน้ เศรษฐกจิ พอเพียง 2. ปลกู ผกั สวนครัวเพื่อลดรายจา่ ยด้านอาหารในครอบครัว 3. ใชป้ ยุ๋ คอกและทาปุ๋ยหมกั ใชร้ ่วมกับปุย๋ เคมีเพอื่ ลดรายจ่ายและชว่ ยปรบั ปรุงบารงุ ดิน 4. เพาะปลกู เห็ดฟางจากฟางขา้ และเศษวัสดเุ หลือใชใ้ นไร่นา 5. ปลูกผลไมใ้ นสวนหลงั บา้ นและปลกู ต้นไม้ใชส้ อย 6. ปลูกพืชสมนุ ไพรช่วยสง่ เสรมิ สุขภาพอนามยั 7. เลี้ยงปลาในร่องสวนในนาข้าวและสระน้าเพ่ือเป็นอาหารและรายได้เสริม 8. เลี้ยงไกพ่ นื้ เมืองและไก่ไข่เพ่ือเปน็ อาหารโปรตีนและรายไดเ้ สริมโดยใชข้ ้าวเปลือกราปลายขา้ วจากการทานา 9. ทาก๊าชชวี ภาพจากมลู สุกรหรอื วัวเพือ่ ใช้เป็นพลังงานในครวั เรอื น 10. ทาสารสกัดชวี ภาพจากเศษพืชผักผลไม้และพชื สมนุ ไพรทีใ่ ชใ้ นไร่นา

ประโยชน์ของข้าวไทย จดั เปน็ อาหารหลักท่ีมคี วามสาคัญต่อประชากรโลกมผี ู้คนวา่ ครึง่ โลกท่ีบริโภคขา้ วเปน็ อาหารหลกั ประเทศไทยเรานั้น มีการบริโภคขา้ วเป็นอาหารหลกั นานมาแล้วจนถงึ ปัจจุบันนกี้ ็ยงั มีการบริโภคขา้ วเปน็ อาหารหลกั อยู่และที่สาคัญน้ัน เปน็ แหล่งของอาหารที่ใหพ้ ลงั งานแก่ชีวติ ในแตล่ ะวนั ของคนไทยเรากอง โภชนาการ ไดก้ าหนดข้อปฎบิ ัตกิ ารกนิ อาหารเพื่อสุขภาพท่ีดีของคนไทยข้นึ 9 ขอ้ หรอื ทีเ่ รียกง่ายๆ วา่ “9 ข้อ เพื่อการกนิ ดี มสี ุข” 1 ใน 9 ข้อ นน้ั มอี ยู่ 1ขอ้ ท่ีกาหนดไว้ว่า กินข้าวเปน็ อาหารหลักและสลบั กับอาหาร ประเภทแปง้ เปน็ บางม้ือ การกาหนดเชน่ น้ี กเ็ พราะต้องการใหค้ นไทยเราเห็นความสาคัญของข้าว เพราะ ปจั จบุ นั คนไทยเร่ิมหันไปกนิ อาหารอนื่ แทนข้าวกันมากขึน้ จงึ ต้องรณรงค์ให้คนไทยกนิ ข้าวตอ่ ไปขา้ วจดั เป็น อาหารหลกั ของคนทกุ ชาติทุกภาษา เพียงแต่ข้าวท่ีกนิ นนั้ จะตา่ งชนิดกนั ออกไปอาจเป็นชนิดทแ่ี ปรรปู มาจาก ขา้ วชนิดตา่ งๆ เชน่ ข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวโพด ขา้ วสาลี ข้าวไรย์ ขา้ วบาร์เลย์ ซ่ึงลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ ธัญญพชื พวกขา้ วในประเทศไทยเราจัดข้าวอย่ใู นอาหารหลักหมู่ที่ 2ใหส้ ารอาหารคาร์โบไฮเดรตนอกจากน้ียงั มพี วก วิตามินและแรธ่ าตุเปน็ แหลง่ ทีใ่ ห้กาลังงานและความอบอุ่นจะเห็นได้ว่าคนไทยเราส่วนใหญย่ งั คงบริโภคขา้ วทุก วนั บ้างกก็ ินข้าวเจา้ บ้างก็กินขา้ วเหนียวในภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือจะนิยมกนิ ขา้ วเหนียมาก กวา่ ขา้ วเจา้ ซ่งึ ก็แลว้ แต่ความคนุ้ เคย https://nungrice.wordpress.com

คณุ ประโยชนข์ องข้าวแตล่ ะชนดิ https://nungrice.wordpress.com ข้าว หอมมะลิขาว มีคุณคา่ จากโปรตนี เส้นใยอาหารป้องกันท้องผูกไนอะซีนรักษาผิวหนงั และระบบ ประสาทธาตเุ หล็กและทองแดงช่วงสร้างเมด็ โลหติ ปอ้ งกันโลหติ จางเสรมิ สร้างสว่ นที่สกึ หรอ https://nungrice.wordpress.com ข้าวแดงหอมมะลิมีวิตามินบี 1 ป้องกันเหนบ็ ชา วติ ามินบี 2 ป้องกันปากนกกระจอกวิตามนิ บี 6 ป้องกันโรคเกย่ี วกับโรคผวิ หนงั ไอโอดีนป้องกันคอหอยพอก ใยอาหารช่วยการขับถ่าย ขา้ วเบญจรงค์ (ทานข้าวคาเดยี วไดค้ ุณประโยชนจ์ ากข้าวถงึ 5 ชนิด) ทานง่ายสาหรับผู้เรม่ิ หดั ทานขา้ ว กลอ้ ง คุณประโยชนค์ รบมีใยอาหารสงู มีประโยชน์ตอ่ ระบบขบั ถา่ ย วติ ามินอสี งู ชว่ ยในการตา้ นอนมุ ลู อสิ ระ มี ธาตเุ หล็ก โปรตนี และฟอสฟอรัสสูงช่วยบารงุ รา่ งกายใหแ้ ข็งแรงต้านโรค ขา้ วหอมนลิ ในสารอาหารของข้าวมโี ปรแกรม ธาตเุ หลก็ และสารตา้ นอนุมลู อิสระ ซึง่ มมี ากกวา่ ข้าว โดยท่ัวไปถงึ 7 เท่า ลดความเสี่ยงของโรคมะเรง็ ใยอาหารในขา้ วหอมนิลยงั ชว่ ยลดระดบั นา้ ตาลในเลือดได้อีก ดว้ ย

https://nungrice.wordpress.com ขา้ วดอย มวี ติ ามินบี 1 มากกวา่ ข้าวขัดขาวถงึ 371 เท่า มแี หล่งอาหารที่มปี ระโยชนต์ ่อรา่ งกายไมต่ ่า กวา่ 15 ชนิด เชน่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมนั ใบอาหาร เกลือแร่ ชว่ ยบารุงรา่ งกาย ฟนื้ ฟูกาลังไดด้ ี เหมาะ สาหรบั ผู้ป่วยพักฟน้ื https://nungrice.wordpress.com ข้าวกล้องงอก มีสารตา้ นอนุมลู อสิ ระกลุ่มฟิโนลิค ชว่ ยยับยั้งการเกดิ ฝ้า ชะลอความแก่ สารออรซิ า นอลชว่ ยลดอาการผิดปกติของวยั ทอง สารกาบา GABA ช่วยป้องกันโรคอลั ไซเมอร์ ป้องกันความจาเสือ่ ม ชว่ ย ใหผ้ อ่ นคลายหลบั สบาย ลดความดันโลหิต ใยอาหารควบคุมระดบั น้าตาลในเลือด ลดอาการท้องผกู วติ ามินอี ชะลอการเห่ยี วยน่ ของผวิ ข้าวหอมมะลิกล้อง มีจมูกขา้ วและใยอาหารเปน็ ประโยชนต์ อ่ การส่ร้างภูมิค้มุ กันโรคใหก้ ับรา่ งกาย และ ระบบขับถา่ ย ป้องกนั โรคเลือดออกตามไรฟัน อ่อนเพลีย ร่างกายไมม่ แี รง ใยอาหารชว่ ยดดู ซบั ของเสีย และ สารพษิ ตา่ งๆ ออกจากร่างกาย ปอ้ งกันการเกดิ มะเร็งลาไส้

https://nungrice.wordpress.com ขา้ วหอมมะลซิ ้อมมือ มีวติ ามินบี 1 บี 2 ป้องกันโรคปากนกกระจอก และอาการเบอ่ื อาหารวติ ามนิ บี รวม ป้องกนั ระบบประสาทอักเสบ บารงุ สมอง แคลเซย่ี ม หอสหอรัส เสรมิ สรา้ งกระดูก ป้องกันการเป็น ตระคริว แมงกานิสช่วยกระตุ้นเอนไซม์ และการเจริญเตบิ โต ขา้ วผัวไม่ลมื (ข้าวก่าเหนียวดา) มฤี ทธ์ิต่อตา้ นอนุมูลอสระเชน่ เดียวกบั วิตามนิ อี แตค่ ุณสมบัตดิ กี วา่ เนอื่ งจากโครงสร้างของสารสาคัญมขี าจับมากกว่าในวติ ามินอี ทาให้การยึดเกาะพน้ิ ผิวมปี ระสิทธิภาพมากขน้ึ ช่วยในเรอื่ งตอ้ กระจก และยงั ใชเ้ ป็นยารักษาโรคตามภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ทงั้ อาการตกเลือดหลงั คลอด โรค ทอ้ งร่วง และโรคผิวหนัง

วัฒนธรรมท่สี ืบทอดกนั มา ข้าวท่ีเรากินจะต้องผ่านกรรมวิธีสีเอาเปลอื กข้าวออก ในเมล็ดขา้ วจะมีวิตามนิ แรธ่ าตุและสารอาหาร ทีส่ าคญั ต่อรา่ งกายรวม 20 กวา่ ชนดิ แต่ข้าวทีอ่ ุดมไปด้วยคุณคา่ ของสารอาหารที่กลา่ วมานี้ จะต้อง ผ่านการสี แตน่ อ้ ย คือ สเี อาเปลือกข้าวหรอื ทีช่ าวบ้านเรยี กวา่ “แกลบ” ออกโดยท่ียังมีจมูกขา้ ว และเย่อื หุ้มเมลด็ ข้าวที่ เราเรียกวา่ “รา” อยู่ ซ่ึงจมกู ข้าวและเย่ือห้มุ เมล็ดข้าวนีม้ ีคุณคา่ อาหารทม่ี ีประโยชน์มาก ขา้ วทีม่ ีคุณคา่ อาหาร กค็ อื ขา้ วกล้อง ข้าวซอ้ มมื้อ ข้าวนง่ึ กอ่ นสี ข้าวเสริมวติ ามิน https://nungrice.wordpress.com การทีจ่ ะกิน ข้าว เพ่ือใหไ้ ด้คณุ ค่าของสารอาหารครบถ้วนสมบรู ณก์ โ็ ดยการกินร่วมกับพวกถัว่ เมลด็ แห้ง ต่างๆจะทาให้คุณภาพของโปรตีนในข้าวดขี ึ้นเชน่ จะใชว้ ิธกี ารง่ายๆโดยการนง่ึ หรือหงุ ขา้ วใส่ถ่ัวเขียวถ่ัวลิสงหรอื ถวั่ ดา ถ่วั แดง ตามความชอบ ถั่วแต่ละ ชนดิ มีคุณค่าแตกต่างกันไปแตก่ ่อนจะนาถ่ัวมานงึ่ หรือหุงรวมกบั ข้าวนั้น ควรลา้ งแลว้ แชน่ า้ ท้งิ ไว้ประมาณ 3-4 ชว่ั โมงในนา้ ธรรมดาถ้าเปน็ น้ารอ้ นก็แชป่ ระมาณ 1 ชัว่ โมงจะช่วยทาให้ เอนไซม์บางตวั ในถวั่ ไมเ่ กดิ ปฎิกริยาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ มแี กซ๊ บางคนคิดวา่ กนิ ถว่ั แลว้ ไม่ค่อยยอ่ ยซง่ึ ก็ ข้นึ อยู่กับกรรมวิธกี ารทาที่ถูกต้องดว้ ย ถา้ กนิ ข้าวกล้องผสมถัว่ ได้ เป็นประจาจะทาใหเ้ ราไดค้ ณุ ค่าสารอาหารท่ี สมบูรณท์ ดแทนเน้ือสัตวไ์ ด้ ชนิดของข้าว การแบ่งชนดิ ของข้าวทาไดห้ ลายแบบ ขึน้ อยู่กบั สิ่งที่ใช้เปน็ มาตรการในการแบง่ เช่น 1.แบ่งตามประเภทของเน้ือแข็งในเมลด็ ข้าวสาร กจ็ ะได้เป็นขา้ วเจา้ และขา้ วเหนยี ว ซึง่ มตี น้ และลักษณะ อย่างอื่นเหมอื นกนั ทุกอย่าง แตต่ ่างกนั ที่ประเภทของเน้ือแข็งในเมลด็ เมลด็ ข้าวเจา้ ประกอบด้วยแปง้ amyloseประมาณรอ้ ยละ 15-30 สว่ นเมล็ดขา้ วเหนยี ว ประกอบด้วยแปง้ amylose เป็นสว่ นเล็กนอ้ ย ประมาณร้อยละ5-7 เทา่ น้นั 2.แบง่ ตามสภาพพื้นท่ีปลูก ก็จะไดเ้ ป็นข้าวไร่ ข้าวนาสวนและข้าวขึ้นนา้ ขา้ วไร่ (upland rice) เป็นข้าวที่ ปลกู ไดท้ ้ังบนทีร่ าบและทล่ี าดชัน ไมต่ อ้ งทาคันนาเกบ็ กักนา้ นยิ มปลูกกันมากในบรเิ วณทรี่ าบสงู ตามไหล่เขาทาง ภาคเหนอื ภาคใต้ภาคตะวนั ออกและภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ของประเทศ คดิ เป็นเนื้อที่เพาะปลูกประมาณ รอ้ ยละ 10 ของเน้ือท่เี พาะปลูกทว่ั ประเทศข้าวนาสวนหรอื นาดา (lowland rice) เป็นข้าวท่ปี ลูกในทลี่ ่มุ ท่ัวๆไปในสภาพที่มนี า้ หล่อเล้ยี งต้นขา้ วตั้งแต่ปลูกเน้ือท่เี พาะปลูกประมาณร้อยละ 80 ของเนอื้ ทเ่ี พาะปลูกท่ัว

ประเทศจนกระทั่งก่อนเก็บเก่ียว โดยทีส่ ามารถ รักษาระดับน้าได้และระดับน้าต้องไม่สูงเกิน 1 เมตร ข้าวนา สวนนิยมปลกู กันมากแทบทุกภาคของประเทศคิดเปน็ เนอ้ื ทเี่ พาะปลกู ประมาณรอ้ ยละ 80 ของเนอื้ ที่เพาะปลกู ทัว่ ประเทศข้าวขน้ึ นา้ หรือข้าวนาเมือง (floating rice) เป็นข้าวท่ปี ลกู ในแหลง่ ทไ่ี ม่สามารถรกั ษาระดับน้าได้ บางคร้ังระดบั น้าในบริเวณทป่ี ลกู อาจสูงกวา่ 1 เมตร ต้องใช้ขา้ วพนั ธ์พุ ิเศษทเ่ี รียกว่า ข้าวลอยหรอื ข้าวฟ่างลอย ปลูก สว่ นมากปลกู แถบจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยาสุพรรณบุรี ลพบรุ ี พิจติ ร อ่างทอง ชัยนาทและสิงห์บุรีคิด เป็นเนือ้ ที่เพาะปลูกประมาณรอ้ ยละ 10 ของเนื้อท่เี พาะปลูกทว่ั ประเทศ 3.แบ่งตามอายุการเก็บเก่ียว ก็จะได้ขา้ วเบา ขา้ วกลาง และขา้ วหนกั ขา้ วเบามีอายุการเกบ็ เกยี่ ว 90-100 วัน ขา้ วกลาง100-120 วัน และขา้ วหนกั ต้งั แต่ 120 วนั ขน้ึ ไป อายุการเก็บเกี่ยวนับแตเ่ พาะกล้าหรือหวา่ นข้าว ในนาจนเก็บเกยี่ ว 4.แบ่งตามลักษณะความไวต่อแสง ก็จะได้ขา้ วทไี่ วและไม่ไวตอ่ แสง ข้าวทีไ่ วต่อแสง จะมีอายุการเก็บเก่ียว ทไี่ มแ่ นน่ อน เพราะจะออกดอกในช่วงเดือนที่มีความยาวของกลางวันสัน้ กวา่ กลางคนื ในประเทศไทยช่วง ดังกล่าวเร่ิมเดือนตุลาคม ฉะนั้น ข้าวพวกนตี้ ้องปลูกในฤดูนาปี (ฤดฝู น) เท่านนั้ สว่ นขา้ วที่ไมไ่ วต่อแสง จะ สามารถปลูกไดท้ ุกฤดูกาล 5.แบ่งตามรูปรา่ งของเมล็ดข้าวสาร กจ็ ะไดข้ ้าวเมลด็ ส้ัน (short grain) ความยาวของเมลด็ ไมเ่ กิน5.50 มิลลิเมตรข้าวเมลด็ ยาวปานกลาง (medium-long grain)ความยาวของเมลด็ ต้ังแต่ 5.51-6.60 มิลลเิ มตรข้าว เมลด็ ยาว (long grain) ความยาวของเมลด็ ต้ังแต่ 6.61-7.50 มิลลิเมตรขา้ วเมล็ดยาวมาก (extra-long grain) ความยาว ของเมล็ดตงั้ แต่ 7.51 มลิ ลเิ มตร ขึ้นไป 6. แบ่งตามฤดปู ลูก กจ็ ะไดข้ ้าวนาปีและข้าวนาปรัง(ข้าวนานา้ ฝน) ข้าวนาปี หรอื ขา้ วนาน้าฝนคอื ข้าวที่ ปลกู ในฤดูการทานาปกติ เริม่ ต้ังแตเ่ ดือนพฤษภาคมถึงตลุ าคมและจะเก็บเกย่ี วเสร็จสนิ้ ลา่ สุดไมเ่ กนิ เดอื น กุมภาพันธ์ ส่วนขา้ วนาปรัง คือข้าวท่ีปลูกนอกฤดูการทานาปกติ เริ่มตง้ั แต่เดือนมกราคมในบางทอ้ งที่และจะ เก็บเกยี่ วอย่างช้าทส่ี ดุ ไมเ่ กินเดือนเมษายน นยิ มปลกู ในทอ้ งท่ที ่ีมีการชลประทานดีขา้ วกล้อง นั้นในสมยั ก่อน เรยี กว่า ข้าวซอ้ มมอ้ื หรือข้าวแดง ในสมยั ก่อนชาวบ้านใชว้ ิธตี าข้าวกนิ กันเอง ซงึ่ มักใช้ครกกระเด่อื งตาจงึ เรยี กวา่ ข้าวซ้อมม้ือ ปัจจุบนั นจี้ ะไม่มีให้เห็นโดยทว่ั ไปแลว้ จะมกี ็ ในหมูบ่ ้านท่หี า่ งไกลตวั เมอื งอย่างบนพน้ื ท่ีสูง เราจะพบชาวเขานามาขายข้างทาง ซง่ึ ถ้าซ้ือมา บรโิ ภคจะมีประโยชน์มาก ในสมยั กอ่ นน้ันเราจะเห็นพวก ชาวเขาและพวกชาวบ้านจะมีสุขภาพ พลานามัยดี หนา้ ตาไม่ซดี เซียว ไม่ขาดสารอาหาร แต่ในปัจจุบนั พบวา่ ในบางพื้นทมี่ กี าร ขาดสารอาหาร ซง่ึ สามารถสังเกตไดว้ ่ามีหน้าตาซดี เซยี ว ไม่แขง็ แรงในบางราย ซ่ึงจากการ สังเกต และสอบถามดูจะรูว้ ่าอาหารการกินของเขาในแตล่ ะวนั น้ันเปล่ียนไปจากเดิม เม่ือก่อนเคยกนิ ขา้ วกล้อง ผัก ผลไม้ อุดมสมบูรณ์ แต่ปัจจุบันกนิ ข้าวขาว กนิ อาหารที่แปรรูปมากข้นึ ทาให้ได้สารอาหารไม่เพียงพอ อาหารทม่ี ีวางจาหน่ายในร้านคา้ ในหมบู่ า้ น ก็พบว่ามีอาหารสาเรจ็ รปู เป็นพวกขนมปัง แครกเกอร์ บะหม่ีกง่ึ สาเร็จรปู รสต่างๆ มากมาย และขนมใสส่ ีอีกมากมายหลากหลายชนดิ เท่าท่สี งั เกตดสู ่วน ประกอบของอาหาร สาเร็จรูปเหลา่ นม้ี คี ุณค่าทางโภชนาการนอ้ ยมาก จะมีกแ็ ตใ่ นรปู ของแปง้ และ นา้ ตาล ซ่งึ ไม่ กอ่ ให้เกิดประโยชน์ ตอ่ ร่างกาย ถ้าเทยี บกับการบรโิ ภคขา้ วและอาหารไทยๆ ในสมยั ก่อนจะมีประโยชนม์ ากกวา่ ขา้ วกลอ้ ง นั้นจะมี โปรตีนประมาณ 7-12 เปอรเ์ ซ็นต์ ซง่ึ ก็แลว้ แต่พันธุข์ า้ ว การขัดสขี า้ วกล้องจนมสี ีขา้ วจะทา ให้โปรตีนสญู หายไปประมาณ 30 เปอรเ์ ซน็ ต์ ถา้ ดูอย่างผิวเผนิ การสญู เสียเพียงแตน่ ี้ไมม่ ากนัก ซ่งึ คนส่วนใหญก่ ินข้าวกนั วัน

ละ 3 ม้ือ และข้าวเปน็ อาหารทเ่ี รากินมากทสี่ ดุ จงึ จาเปน็ ท่ีเราควรจะคานงึ ถึงคุณคา่ ในสงิ่ ท่ีเรากินเข้าไป ขา้ ว ขาวท่ีกินในแตล่ ะวันนัน้ มีคณุ คา่ สารอาหารน้อยกว่าข้าวกล้อง ในข้าวกลอ้ งจะมีคุณคา่ แร่ธาตุมากมายทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ ่อรา่ งกายคือมวี ิตามนิ บรี วมซ่ึงจะช่วยหอ้ งกนั และบรรเทาอาการออ่ นเพลีย แขน ขา ไมม่ ีแรง ปวด กล้ามเนอื้ โรคผิวหนงั บางชนิด บารุงสมอง ทา ให้เจริญอาหารวิตามนิ บี 1 ซ่ึงถา้ จะกินพวกข้าวกล้อง ข้าวซ้อม มือ ขา้ วน่งึ ก่อนสี ขา้ วเสรมิ วติ ามนิ จะช่วยป้องกันโรคเหน็บชาได้วติ ามนิ บี 2 ซงึ่ จะช่วยปอ้ งกนั โรค ปากนกกระจอก คือ จะมอี าการเปน็ แผลทมี่ ุมปาก ทั้งสองข้าง ริมฝีปากบวม ร่างกายอ่อนเพลยี เบ่ืออาหาร ตา สู้แสงไม่ได้แร่ธาตุ ฟอสฟอรสั ซ่งึ จะชว่ ยในการเจริญเติบโตของกระดูกและฟนั แร่ธาตุ แคลเซยี ม จะช่วยลด อาการเป็นตะคริวแรธ่ าตุทองแดง จะชว่ ยในการสร้างเม็ดเลือดแรธ่ าตุเหล็ก ชว่ ยป้องกันโรคโลหิตจางและชว่ ย ในการสร้างเมด็ สารอาหารโปรตนี จะชว่ ยเสริมสรา้ งสว่ นที่สึกหรอของรา่ งกาย แตเ่ น่ืองจากโปรตีนในขา้ วเปน็ โปรตนี ท่ีไมส่ มบูรณ์ นอกจากนแ้ี ลว้ ขา้ วกล้อง จะมสี ารอาหารไขมนั ให้พลงั งานแก่รา่ งกาย โดยเฉพาะนา้ มนั ในข้าวกล้อง เป็นน้ามนั ทีไ่ มม่ โี คเลสเตอรอลหรือไขมันในเลือด เพราะถ้ามมี ากจะก่อให้เกิดโทษต่อร่างกายในขา้ วกลอ้ งมี ไนอะซิน เปน็ วิตามินชนดิ หนง่ึ ทจี่ าเปน็ สาหรับสขุ ภาพของผิวหนงั ล้ิน การทางานของกระเพาะอาหารและ ลาไส้ รวมทัง้ การทางานของระบบประสาท และโรคท่เี กดิ จากการขาดไนอะซนิ ซึง่ มีอาการทอ้ งเสีย ความจา เสื่อม และอาการโรคผวิ หนังหยาบและอักเสบแดง นอกจากนี้ การกนิ ขา้ วกล้องจะได้กากอาหารมาก ซึง่ จะทา ให้ท้อง ไมผ่ ูกและยังช่วยป้องกนั มะเร็งในลาไส้อีกด้วยคุณค่าอาหารท่ีกลา่ วมาข้างตน้ น้ี มีประโยชน์และจาเปน็ ที่ร่างกายต้องไดร้ ับ ดังน้นั ในการบรโิ ภคขา้ ว ควรจะได้คานึงถึงในเร่ืองนี้ เพื่อสุขภาพตอ่ ตัวทา่ นเองและคนใน ครอบครวั ดว้ ย จึงมีข้อกาหนดในขอ้ ท่ี 2 ดงั กล่าวข้างตน้ แลว้ วา่ กนิ ขา้ วเปน็ อาหารหลกั สลับกบั อาหารประเภท แป้งเปน็ บางม้ือ ซงึ่ ในความเป็นจรงิ แล้วเราต้องการใหก้ นิ อาหารท่มี ีประโยชน์มากกวา่ พวกแปง้ ถา้ เปน็ พวก ข้าวกล้อง หัวเผอื ก หัวมนั ข้าวโพด จะดีกวา่ แต่ในปจั จุบนั วิถชี ีวติ ของคนไทยเปลีย่ นไป จึงมกี ารอนโุ ลมใหก้ นิ อาหารประเภทแป้งเป็นบางม้ือ สลบั กับข้าวท่เี ป็นอาหารหลกั ไมใ่ ช่เปน็ พวกแปง้ ทกุ มื้อ จะทาใหร้ า่ งกายขาด สารอาหารได้ การนาภูมปิ ัญญาการทานาไปใช้ในการดาเนนิ ชวี ิต 1. เพื่อสบื สานภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ เร่ืองการทานา สลู่ กู หลานสบื ตอ่ ไป 2. เพอ่ื นาความรู้ท่ีได้มาประกอบอาชีพ 3. ทาให้ผ้สู ูงอายไุ ด้ใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์

ประวัติผถู้ ่ายทอดภูมิปญั ญา ชอ่ื : นางพัสรี ปาหาร เกดิ : เกิด ปี 2504 อายุ 56 ปี ภูมิลาเนา : สระแกว้ ทอ่ี ยู่ปัจจบุ ัน: 305 หมู่ 9 ต.วังน้าเย็น อ.วงั นา้ เยน็ จ.สระแก้ว สถานภาพ : แตง่ งานกบั นายจันทา พอ่ พริ า มี บตุ ร 3 คน ปจั จบุ ัน หยา่ รา้ งกนั 1.นายชาติชาย ปาหาร 2.นางสาวอุทยั ปาหาร 3.นางสาวสขุ ใจ ปาหาร สถานภาพ ปจั จบุ นั โสด ปจั จบุ ัน ประกอบอาชพี : ทานา ประวัตผิ ู้เรยี บเรียงภูมปิ ัญญาศกึ ษา ช่ือ: นางสาวกนกลักษณ์ เดชพละ เกดิ : - อายุ 28 ปี ภูมลิ าเนา : กรงุ เทพมหานคร ท่อี ยู่ปจั จบุ ัน: 248 ม.2 ต.วังนา้ เยน็ อ.วังนา้ เยน็ จ.สระแก้ว สถานภาพ : โสด สถานภาพ ปจั จุบนั โสด การศึกษา ปรญิ ญาตรี มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ ปจั จุบัน ประกอบอาชีพ : ผดู้ ูแลเด็ก

ภาคผนวก - ประวัติผู้จัดทาภูมิปัญญาศกึ ษา - ภาพประกอบ

ภาพประกอบการจัดทาภูมปิ ัญญาศกึ ษา เร่อื ง ทานา

ภาพการทานา ทาความรจู้ ักนักเรียนภมู ิปัญญาและสอบถามประวตั ิ นัง่ ฟงั การทานาปลูกข้าวจากครภู ูมปิ ัญญา

ครูภมู ปิ ัญญาสาธิตการหวา่ นข้าว นักศึกษาลงสาธิตในแปลงนาจรงิ นกั ศึกษาสังเกตและเรียนรดู้ ว้ ยการลงมอื ปฎบิ ตั ิจรงิ

เอกสารอ้างองิ สารานกุ รมฉบบั เยาวชน,/ “การทานา”,[Online]. Available : http://std.kku.ac.th/5050200456/data/d02.htm[Accessed : 20/02/2562]. หลักเศรษฐกิจพอเพยี ง,/ “ประวัตแิ ละความเป็นมาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”,[Online]. Available : http://paitoon0990.wordpress.com [Accessed : 20/02/2562]. สารานกุ รมภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินไทย - ภมู ปิ ัญญาขา้ วไทย,/ “สานกั งานพัฒนาเศรษฐกจิ จากฐานชวี ภาพ (องค์การมหาชน)”,[Online]. Available : https://sites.google.com/a/wanthawee.com/www/khwam-sakhay-khxng-khaw [Accessed : 20/02/2562].


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook