Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการเศรษฐกิจพอเพียงมูลนิธิชัยพัฒนา

โครงการเศรษฐกิจพอเพียงมูลนิธิชัยพัฒนา

Published by Kodchakon, 2018-03-15 03:39:41

Description: โครงการเศรษฐกิจพอเพียงมูลนิธิชัยพัฒนา

Search

Read the Text Version

จดุ เริ่มตน แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง

มลู นธิ ชิ ยั พฒั นาจดุ เร่ิมตนแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพยี งผลจากการใชแนวทางการพัฒนาประเทศไปสูความทันสมัย ไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแกสังคมไทยอยางมากในทุกดาน ไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดลอม อีกท้ังกระบวนการของความเปล่ียนแปลงมีความสลับซับซอนจนยากท่ีจะอธิบายใน เชิงสาเหตุและผลลัพธได เพราะการเปล่ียนแปลงทั้งหมดตางเปนปจจัยเชื่อมโยงซ่ึงกันและกัน สําหรับผลของการพัฒนาในดานบวกน้ัน ไดแกการเพ่ิมขน้ึ ของอัตราการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ความเจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคตางๆ ระบบสื่อสารที่ทันสมัย หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอยางท่ัวถึงมากข้ึน แตผลดานบวกเหลานี้สวนใหญกระจายไปถึงคนในชนบท หรือผูดอยโอกาสในสังคมนอย แตวา กระบวนการเปล่ียนแปลงของสังคมไดเกิดผลลบติดตามมาดวย เชน การขยายตัวของรัฐเขาไปในชนบท ไดสงผลใหชนบทเกิดความออนแอในหลายดานท้ังการตองพึ่งพิงตลาดและพอคาคนกลางในการส่ังสินคาทุน ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติระบบความสัมพันธแบบเครือญาติและการรวมกลุมกันตามประเพณีเพ่ือการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยูแตเดิมแตก สลายลง ภมู คิ วามรทู ่ีเคยใชแกป ญ หาและส่ังสมปรบั เปล่ียนกันมาถูกลืมเลือนและเริ่ม สูญหายไปสิ่งสําคญั กค็ ือ ความพอเพยี งในการดํารงชวี ติ ซ่ึงเปนเง่ือนไขพื้นฐานที่ทําใหคนไทยสามารถพ่ึงตนเอง และดําเนินชีวิตไปไดอยางมีศักดิ์ศรีภายใตอํานาจและความมีอิสระในการกําหนด ชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการควบคมุ และจัดการเพอ่ื ใหต นเองไดรับการสนองตอบตอความตอง การตางๆ รวมท้ังความสามารถในการจัดการปญหาตางๆ ไดดวยตนเอง ซึ่งท้ังหมดน้ีถือวาเปนศักยภาพพ้ืนฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยูแตเดิม ตอ งถูกกระทบกระเทือน ซ่ึงวิกฤตเศรษฐกิจจากปญหาฟองสบูและปญหาความออนแอของชนบท รวมทั้งปญ หาอ่ืนๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ลวนแตเปนขอพิสูจนแ ละยืนยันปรากฎการณนี้ไดเ ปนอยา งดพี ระราชดําริวาดวยเศรษฐกิจพอเพียง “...การพัฒนาประเทศจําเปนตองทําตามลําดับข้ัน ตองสรางพ้ืนฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใชของประชาชนสวนใหญเบื้องตนกอน โดยใชวิธีการและอุปกรณท่ีประหยัดแตถูกตองตามหลักวิชาการ เมื่อไดพ้ืนฐานความม่ันคงพรอมพอสมควร และปฏิบัติไดแลว จึงคอยสรางคอยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกจิ ขนั้ ทีส่ งู ขึน้ โดยลําดบั ตอ ไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนแนวพระราชดําริในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่พระราชทานมานานกวา ๓๐ ป เปนแนวคิดท่ีต้ังอยูบนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เปนแนวทางการพัฒนาท่ตี ง้ั บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไมป ระมาท คํานึงถึงความพอประมาณความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันในตัวเอง ตลอดจนใชความรูและคุณธรรม เปนพื้นฐานในการดํารงชีวิต ท่ีสําคัญจะตองมี “สติ ปญญา และความเพียร” ซ่ึงจะนําไปสู “ความสุข” ในการดําเนินชีวิตอยางแทจริง“...คนอ่ืนจะวาอยางไรก็ชางเขา จะวาเมืองไทยลาสมัย วาเมืองไทยเชย วาเมืองไทยไมมีสิ่งที่สมัยใหม แตเราอยูพอมีพอกิน และขอใหทุกคนมีความปรารถนาที่จะใหเมืองไทย พออยูพอกิน มีความสงบ และทํางานตั้งจิตอธิษฐานตง้ั ปณิธาน ในทางนที้ จี่ ะใหเ มืองไทยอยูแบบพออยพู อกนิ ไมใชวาจะรุงเรืองอยางยอด แตวามีความพออยูพอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถาเรารักษาความพออยูพอกินน้ีได เราก็จะยอดยิ่งยวดได...” (๔ ธันวาคม ๒๕๑๗)พระบรมราโชวาทนี้ ทรงเห็นวาแนวทางการพัฒนาที่เนนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเปนหลักแต เพียงอยางเดียวอาจจะเกิดปญหาได จึงทรงเนนการมีพอกินพอใชของประชาชนสวนใหญใ นเบอื้ งตนกอ น เมื่อมพี ้นื ฐานความม่ันคงพรอมพอสมควรแลว จึงสรางความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจ

ใหสูงข้ึน ซึ่งหมายถึง แทนท่ีจะเนนการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมนําการพัฒนาประเทศ ควรที่จะสรางความม่ันคงทางเศรษฐกิจพื้นฐานกอน นั่นคือ ทําใหประชาชนในชนบทสวนใหญพอมีพอกินกอนเปนแนวทางการพัฒนาท่ีเนนการกระจายรายได เพ่ือสรางพ้ืนฐานและความมั่นงคงทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศกอนเนน การพฒั นาในระดบั สูงข้ึนไป ทรงเตือนเรื่องพออยูพอกิน ตั้งแตป ๒๕๑๗ คือ เม่ือ ๓๐ กวาปทีแลว แตทิศทางการพัฒนามิไดเปลี่ยนแปลง “...เม่ือป ๒๕๑๗ วันนั้นไดพูดถึงวา เราควรปฏิบัติใหพอมีพอกินพอมพี อกินนก้ี ็แปลวา เศรษฐกจิ พอเพยี งน่ันเอง ถาแตละคนมีพอมีพอกิน ก็ใชได ย่ิงถาท้ังประเทศพอมีพอกินก็ย่ิงดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะเปนไมพอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไมมีเลย...” (๔ ธันวาคม๒๕๔๑)เศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานพระราชดําริชี้แนะแนวทาง การดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา ๒๕ ป ตั้งแตกอนเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกจิ และเมื่อภายหลงั ไดท รงเนนยา้ํ แนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคงและยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและความ เปล่ียนแปลงตางๆปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดบั ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณความมีเหตุผล รวมถงึ ความจําเปน ท่จี ะตอ งมีระบบภูมคิ มุ กันในตวั ทด่ี ีพอสมควร ตอการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ังภายในภายนอก ท้ังน้ี จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางย่ิงในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการ ทุกข้ันตอน และขณะเดียวกัน จะตองเสริมสรางพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสาํ นึกในคณุ ธรรม ความซอื่ สตั ยสุจริต และใหมีความรอบรูท่ีเหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียรมีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพ่ือใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วและกวา งขวาง ทงั้ ดานวัตถุ สงั คม สง่ิ แวดลอม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเปน อยา งดี ความหมายของ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่นเ ช น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ โ ภ ค ที่ อ ยู ใ น ร ะ ดั บ พ อ ป ร ะ ม า ณ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับความพอเพียงนั้น จะตองเปนไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจยั ทีเ่ กี่ยวขอ ง ตลอดจนคาํ นงึ ถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้นๆ อยางรอบคอบ๓. ภูมิคุมกัน หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดานตางๆ ท่ีจะเกิดขึ้น โดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตางๆ ทค่ี าดวา จะเกิดข้ึนในอนาคตโดยมี เงื่อนไข ของการตัดสินใจและดาํ เนนิ กิจกรรมตา งๆ ใหอยใู นระดับพอเพียง ๒ ประการ ดงั น้ี๑. เง่อื นไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเก่ียวกบั วชิ าการตา งๆ ทีเ่ กย่ี วของรอบดา น ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลาน้ันมาพจิ ารณาใหเช่อื มโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมดั ระวังในการปฏบิ ัติ๒. เง่อื นไขคุณธรรม ทีจ่ ะตองเสรมิ สราง ประกอบดว ย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซอ่ื สัตยสุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใชสตปิ ญ ญาในการดาํ เนนิ ชวี ติ

พระราชดาํ รสั ทเ่ี กย่ี วกบั เศรษฐกิจพอเพยี ง“...เศรษฐศาสตรเปนวิชาของเศรษฐกิจ การท่ตี อ งใชร ถไถตองไปซ้ือ เราตองใชตองหาเงินมาสําหรบั ซอ้ื นํ้ามันสาํ หรับรถไถ เวลารถไถเกาเราตอ งย่ิงซอมแซม แตเวลาใชนน้ั เราก็ตองปอนนาํ้ มันใหเ ปนอาหาร เสรจ็ แลว มนัคายควัน ควันเราสดู เขาไปแลวก็ปวดหวั สวนควายเวลาเราใชเ ราก็ตอ งปอนอาหาร ตองใหห ญาใหอาหารมันกินแตวามันคายออกมาท่ีมันคายออกมาก็เปนปยุ แลวกใ็ ชไดสําหรับใหทดี่ นิ ของเราไมเสยี ...”พระราชดํารสั เน่ืองในพระราชพิธีพชื มงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ที่ ๙ พฤษภาคม๒๕๒๙“...เราไมเปน ประเทศรํ่ารวย เรามพี อสมควร พออยไู ด แตไมเปน ประเทศทก่ี า วหนาอยา งมาก เราไมอยากจะเปน ประเทศกา วหนาอยา งมาก เพราะถา เราเปนประเทศกาวหนาอยา งมากก็จะมีแตถ อยกลบั ประเทศเหลานน้ั ที่เปน ประเทศอุตสาหกรรมกาวหนา จะมีแตถอยหลังและถอยหลังอยา งนา กลัว แตถาเรามีการบรหิ ารแบบเรียกวาแบบคนจน แบบทีไ่ มติดกบั ตาํ รามากเกนิ ไป ทาํ อยา งมสี ามัคคนี ี่แหละคือเมตตากัน จะอยูไดตลอดไป...”พระราชดาํ รสั เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษาณ ศาลาดุสดิ าลยั วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔“...ตามปกติคนเราชอบดูสถานการณในทางดี ทีเ่ ขาเรยี กวา เลง็ ผลเลิศ กเ็ ห็นวา ประเทศไทย เราน่กี าวหนาดี การเงนิ การอุตสาหกรรมการคาดี มกี าํ ไร อีกทางหน่ึงกต็ องบอกวาเรากําลังเสื่อมลงไปสวนใหญ ทฤษฎวี า ถา มเี งินเทาน้นั ๆ มีการกเู ทานนั้ ๆ หมายความวาเศรษฐกิจกา วหนา แลวก็ประเทศกเ็ จรญิ มีหวงั วา จะเปน มหาอาํ นาจ ขอโทษเลยตองเตือนเขาวา จริงตวั เลขดี แตวาถาเราไมระมดั ระวงัในความตองการพื้นฐานของประชาชนนัน้ ไมมีทาง...”พระราชดาํ รสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๖“...เดย๋ี วนีป้ ระเทศไทยกย็ ังอยูดีพอสมควร ใชค าํ วา พอสมควร เพราะเด๋ยี วมคี นเห็นวา มคี นจน คนเดอื ดรอนจาํ นวนมากพอสมควร แตใชคําวา พอสมควรน้ี หมายความวาตามอัตตภาพ...”พระราชดาํ รสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙“...ที่เปนหว งนัน้ เพราะแมใ นเวลา ๒ ป ท่ีเปน ปกาญจนาภิเษกก็ไดเ ห็นสิ่งท่ีทําใหเหน็ ไดว า ประชาชนยงั มีความเดอื ดรอ นมาก และมสี ง่ิ ท่ีควรจะแกไขและดําเนนิ การตอไปทกุ ดา น มภี ยั จากธรรมชาติกระหนาํ่ ภัยธรรมชาตินี้เราคงสามารถทจี่ ะบรรเทาไดหรือแกไขได เพียงแตว า ตอ งใชเวลาพอใช มภี ยั ทม่ี าจากจติ ใจของคน ซ่งึ ก็แกไขไดเหมือนกนั แตวา ยากกวา ภัยธรรมชาติ ธรรมชาตนิ ัน้ เปนส่งิ นอกกายเรา แตน สิ ยั ใจคอของคนเปนส่งิ ท่ีอยูขา งในอันนก้ี เ็ ปนขอหน่งึ ท่ีอยากใหจัดการใหมีความเรียบรอ ย แตกไ็ มห มดหวัง...”พระราชดาํ รสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙“การจะเปนเสอื น้ันไมส าํ คัญ สําคัญอยูที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้น หมายความวา อุมชูตัวเองได ใหมีพอเพียงกับตนเอง ความพอเพียงนี้ไมไดหมายความวาทุกครอบครัวจะตองผลิตอาหารของตัวเอง จะตองทอผา ใสเ อง อยา งนัน้ มันเกินไป แตวาในหมูบานหรือในอําเภอ จะตองมีความพอเพียงพอสมควรบางส่ิงบางอยา งผลิตไดม ากกวาความตองการก็ขายได แตขายในที่ไมหางไกลเทาไร ไมตองเสียคาขนสงมานัก”

พระราชดาํ รสั เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙.“...เมื่อป ๒๕๑๗ วันน้ันไดพูดถึงวา เราควรปฏิบัติใหพอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ก็แปลวา เศรษฐกิจพอเพียงน่ันเอง ถาแตละคนมีพอมีพอกิน ก็ใชได ยิ่งถาทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เร่ิมจะเปนไมพอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไมมีเลย...”พระราชดํารัส เน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑“...พอเพียง มีความหมายกวางขวางยิ่งกวานี้อีก คือคําวาพอ ก็พอเพียงน้ีก็พอแคน้ันเอง คนเราถาพอในความตองการก็มีความโลภนอย เม่ือมีความโลภนอยก็เบียดเบียนคนอืน่ นอ ย ถาประเทศใดมีความคิดอนั นี้ มคี วามคิดวาทําอะไรตองพอเพียง หมายความวาพอประมาณ ซ่ือตรง ไมโลภอยา งมาก คนเราก็อยูเปนสุข พอเพียงน้ีอาจจะมี มีมากอาจจะมีของหรูหราก็ได แตวาตองไมไปเบียดเบียนคนอื่น...” พระราชดํารสั เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑“...ไฟดับถา มีความจาํ เปน หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไมเต็มที่ เรามีเครื่องปนไฟก็ใชปนไฟ หรือถาขั้นโบราณกวา มืดก็จุดเทียน คือมีทางท่ีจะแกปญหาเสมอ ฉะน้ันเศรษฐกิจพอเพียงก็มีเปนขั้นๆ แตจะบอกวาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ใหพอเพียงเฉพาะตัวเองรอยเปอรเซ็นตนี่เปนส่ิงทําไมได จะตองมีการแลกเปล่ียน ตองมีการชวยกันถามีการชวยกัน แลกเปลี่ยนกัน ก็ไมใชพอเพียงแลว แตวาพอเพียงในทฤษฎีในหลวงน้ี คือใหสามารถที่จะดําเนินงานได...”พระราชดํารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๒๓ ธันวาคม๒๕๔๒“...โครงการตางๆ หรือเศรษฐกิจที่ใหญ ตองมีความสอดคลองกันดีที่ไมใชเหมือนทฤษฎีใหม ท่ีใชท่ีดินเพียง ๑๕ ไร และสามารถที่จะปลูกขาวพอกิน กิจการนี้ใหญกวา แตก็เปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน คนไมเขาใจวากิจการใหญๆ เหมือนสรางเข่ือนปาสักก็เปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน เขานึกวาเปนเศรษฐกิจสมัยใหม เปนเศรษฐกิจที่หางไกลจากเศรษฐกิจพอเพียง แตที่จริงแลว เปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน...”พระราชดาํ รสั เนื่องในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ท่ี ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒“...ฉนั พดู เศรษฐกิจพอเพยี งความหมายคือ ทาํ อะไรใหเ หมาะสมกบั ฐานะของตวั เอง คือทําจากรายได ๒๐๐-๓๐๐ บาท ขน้ึ ไปเปน สองหมื่น สามหม่นื บาท คนชอบเอาคําพูดของฉนั เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะเศรษฐกจิ พอเพยี ง คือทาํ เปน Self-Sufficiency มันไมใ ชความหมายไมใ ชแบบที่ฉนั คดิ ที่ฉันคดิ คือเปน Self-Sufficiency of Economy เชน ถา เขาตองการดูทวี ี ก็ควรใหเ ขามีดู ไมใชไปจํากัดเขาไมใหซ ้อื ทวี ดี ู เขาตองการดูเพอ่ื ความสนุกสนาน ในหมูบานไกลๆ ทีฉ่ ันไป เขามีทีวีดแู ตใ ชแ บตเตอรี่ เขาไมมีไฟฟา แตถ า Sufficiency น้ันมที ีวีเขาฟุมเฟอ ย เปรยี บเสมือนคนไมม สี ตางคไ ปตัดสูทใส และยงั ใสเ นคไทเวอรซาเช อันน้กี ็เกนิ ไป...” พระตาํ หนักเปย มสุข วังไกลกังวล ๑๗ มกราคม ๒๕๔๔ประเทศไทยกบั เศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพยี ง มุง เนนใหผ ผู ลิต หรอื ผบู ริโภค พยายามเร่ิมตน ผลิต หรอื บริโภคภายใตข อบเขต ขอ จํากดั ของรายได หรอื ทรพั ยากรทมี่ ีอยูไปกอน ซ่งึ ก็คือ หลักในการลดการพ่งึ พา เพ่ิมขดี ความสามารถในการควบคุมการผลติ ไดด วยตนเอง และลดภาวะการเสี่ยงจากการไมสามารถควบคมุ ระบบตลาดไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ เศรษฐกิจพอเพยี งมิใชห มายความถึง การกระเบียดกระเสียนจนเกินสมควร หากแตอาจฟุมเฟอยไดเ ปนครง้ั คราวตามอัตภาพ แตค นสวนใหญของประเทศ มักใชจา ยเกินตวั เกินฐานะที่หามาไดเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาํ ไปสูเปาหมายของการสรา งความมน่ั คงในทางเศรษฐกจิ ได เชน โดยพื้นฐานแลว ประเทศไทยเปน ประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจงึควรเนน ทเี่ ศรษฐกิจการเกษตร เนนความม่นั คงทางอาหาร เปนการสรางความม่ันคงใหเปนระบบเศรษฐกจิ ในระดับหน่ึง จงึ เปนระบบเศรษฐกิจท่ชี วยลดความเส่ียง หรอื ความไมม ่ันคงทางเศรษฐกจิ ในระยะยาว

ได เศรษฐกจิ พอเพียง สามารถประยุกตใ ชไ ดในทกุ ระดับ ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกิจ ไมจ ําเปน จะตอ งจํากดัเฉพาะแตภ าคการเกษตร หรือภาคชนบท แมแตภ าคการเงนิ ภาคอสังหารมิ ทรัพย และการคาการลงทุนระหวางประเทศ โดยมหี ลกั การท่คี ลา ยคลึงกนั คือ เนนการเลอื กปฏิบตั อิ ยางพอประมาณ มีเหตุมีผล และสรา งภูมคิ ุมกนั ใหแกต นเองและสงั คมการดาํ เนนิ ชวี ติ ตามแนวพระราชดํารพิ อเพยี งพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรงเขา ใจถึงสภาพสังคมไทย ดงั น้นั เมอ่ื ไดพระราชทานแนวพระราชดาํ ริ หรือพระบรมราโชวาทในดานตา งๆ จะทรงคํานึงถงึ วถิ ีชีวิต สภาพสังคมของประชาชนดว ย เพ่อื ไมใ หเ กดิ ความขดั แยงทางความคดิ ที่อาจนาํ ไปสูความขัดแยง ในทางปฏบิ ตั ิไดแนวพระราชดํารใิ นการดําเนินชีวิตแบบพอเพียง๑.ยดึ ความประหยัดตัดทอนคาใชจา ยในทกุ ดา นลดละความฟมุ เฟอยในการใชช วี ิต๒.ยดึ ถือการประกอบอาชีพดวยความถูกตองซ่ือสตั ยส ุจริต๓.ละเลกิ การแกงแยงผลประโยชนแ ละแขงขันกนั ในทางการคาแบบตอสูกนั อยา งรนุ แรง๔.ไมหยุดนง่ิ ทจ่ี ะหาทางใหช ีวติ หลดุ พน จากความทุกขยาก ดว ยการขวนขวายใฝหาความรใู หม รี ายไดเพิ่มพูนขึ้นจนถงึ ขัน้ พอเพียงเปนเปาหมายสาํ คญั๕. ปฏิบตั ติ นในแนวทางทีด่ ี ลดละส่ิงชวั่ ประพฤติตนตามหลกั ศาสนาตวั อยา งเศรษฐกจิ พอเพยี งทฤษฎใี หมทฤษฎีใหม คอื ตวั อยางทเ่ี ปนรปู ธรรมของ การประยุกตใ ชเ ศรษฐกจิ พอเพียงทีเ่ ดน ชดั ท่สี ุด ซึ่งพระบาทสมเดจ็พระเจา อยหู วั ไดพระราชทานพระราชดาํ รนิ ี้ เพ่อื เปน การชวยเหลอื เกษตรกรที่มกั ประสบปญหาทง้ั ภัยธรรมชาติและปจ จัยภาย นอกทม่ี ผี ลกระทบตอการทําการเกษตร ใหสามารถผานพนชว งเวลาวิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนนํ้าไดโดยไมเดือดรอ นและยากลําบากนกัความเสยี่ งท่ีเกษตรกรมักพบเปน ประจําประกอบดว ย๑. ความเสี่ยงดานราคาสนิ คาเกษตร๒. ความเส่ยี งในราคาและการพ่งึ พาปจ จัยการผลิตสมัยใหมจากตางประเทศ๓. ความเสยี่ งดา นนา้ํ ฝนทิง้ ชว งฝนแลง๔. ภัยธรรมชาตอิ ่นื ๆและโรคระบาด๕. ความเส่ียงดา นแบบแผนการผลิต-ความเส่ยี งดา นโรคและศตั รพู ืช-ความเส่ยี งดานการขาดแคลนแรงงาน-ความเสีย่ งดานหนี้สนิ และการสญู เสยี ทีด่ ินทฤษฎีใหม จึงเปนแนวทางหรือหลกั การในการบรหิ ารการจัดการทด่ี นิ และนํา้ เพ่ือการเกษตรในทีด่ นิ ขนาดเล็กใหเ กดิ ประโยชนสูงสุด

ทฤษฎใี หมความสาํ คญั ของทฤษฎใี หม๑. มีการบริหารและจัดแบง ที่ดินแปลงเล็กออกเปน สดั สว นที่ชัดเจน เพื่อประโยชนส งู สุดของเกษตรกร ซ่งึ ไมเคยมีใครคิดมากอน๒. มีการคาํ นวณโดยใชหลักวชิ าการเกยี่ วกับปริมาณน้าํ ที่จะกักเกบ็ ใหพอเพยี งตอ การเพาะปลกู ไดอ ยางเหมาะสมตลอดป๓. มกี ารวางแผนทสี่ มบรู ณแ บบสาํ หรบั เกษตรกรรายยอ ย โดยมถี ึง ๓ ขนั้ ตอนทฤษฎีใหมขั้นตนใหแบงพื้นท่ีออกเปน ๔ สว น ตามอตั ราสวน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซง่ึ หมายถึงพื้นท่ีสว นที่หน่ึง ประมาณ ๓๐% ใหข ุดสระเกบ็ กกั นํา้ เพ่ือใชเ กบ็ กกั นา้ํ ฝนในฤดฝู น และใชเ สริมการปลูกพืชในฤดแู ลง ตลอดจนการเล้ียงสัตวแ ละพืชนํ้าตางๆพื้นที่สวนทีส่ อง ประมาณ ๓๐% ใหป ลูกขา วในฤดูฝนเพ่ือใชเปนอาหารประจําวันสาํ หรับครอบครัวใหเ พียงพอตลอด ป เพ่ือตดั คาใชจ า ยและสามารถพงึ่ ตนเองไดพ้นื ที่สวนทส่ี าม ประมาณ ๓๐% ใหปลูกไมผ ล ไมยืนตน พชื ผัก พืชไร พชื สมนุ ไพร ฯลฯ เพื่อใชเ ปน อาหารประจาํ วนั หากเหลือบรโิ ภคก็นาํ ไปจําหนา ยพื้นท่สี ว นทีส่ ี่ ประมาณ ๑๐% เปน ที่อยูอ าศัย เล้ียงสตั ว ถนนหนทาง และโรงเรือนอ่ืนๆทฤษฎใี หมขน้ั ทส่ี อง เมอ่ื เกษตรกรเขาใจในหลกั การและไดป ฏิบตั ใิ นทีด่ ินของตนจนไดผลแลว ก็ตองเริ่มขั้นที่สอง คอื ใหเกษตรกรรวมพลงั กนั ในรปู กลมุ หรือ สหกรณ รวมแรงรว มใจกันดาํ เนินการในดา น(๑) การผลิต (พนั ธุพชื เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ)- เกษตรกรจะตองรวมมือในการผลิต โดยเรมิ่ ตัง้ แตข้ันเตรียมดนิ การหาพันธพุ ชื ปยุ การจดั หานา้ํ และอนื่ ๆเพื่อการเพาะปลูก(๒) การตลาด (ลานตากขาว ยงุ เคร่อื งสีขาว การจาํ หนายผลผลิต)- เมอ่ื มีผลผลติ แลว จะตองเตรยี มการตางๆ เพ่ือการขายผลผลิตใหไ ดป ระโยชนสงู สุด เชน การเตรียมลานตากขาวรว มกัน การจัดหายุงรวบรวมขาว เตรียมหาเคร่ืองสขี าว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลติ ใหไ ดราคาดีและลดคาใชจายลงดว ย(๓) การเปน อยู (กะป นํ้าปลา อาหาร เครือ่ งนงุ หม ฯลฯ)- ในขณะเดียวกนั เกษตรกรตองมีความเปนอยูทดี่ ีพอสมควร โดยมีปจจยั พน้ื ฐานในการดํารงชีวติ เชน อาหารการกินตา งๆ กะป นา้ํ ปลา เสอ้ื ผา ทพ่ี อเพยี ง(๔) สวัสดิการ (สาธารณสขุ เงินก)ู- แตละชุมชนควรมีสวสั ดภิ าพและบรกิ ารท่ีจําเปน เชน มีสถานีอนามัยเมือ่ ยามปว ยไข หรือมีกองทุนไวกยู ืมเพ่ือประโยชนในกจิ กรรมตางๆ ของชมุ ชน(๕) การศึกษา (โรงเรยี น ทนุ การศึกษา)- ชมุ ชนควรมีบทบาทในการสงเสริมการศึกษา เชน มกี องทุนเพอ่ื การศึกษาเลาเรียนใหแ กเยาวชนของชมุ ชนเอง

(๖) สังคมและศาสนา- ชมุ ชนควรเปน ทีร่ วมในการพฒั นาสังคมและจติ ใจ โดยมีศาสนาเปนท่ยี ดึ เหนย่ี วโดยกจิ กรรมท้ังหมดดงั กลา วขางตน จะตองไดรับความรวมมอื จากทกุ ฝายท่เี กย่ี วของ ไมวา สว นราชการ องคก รเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชมุ ชนน้นั เปนสําคญัทฤษฎใี หมข น้ั ทสี่ ามเมื่อดาํ เนนิ การผา นพน ข้นั ทส่ี องแลว เกษตรกร หรือกลุมเกษตรกรก็ควรพัฒนากาวหนาไปสูขนั้ ทีส่ ามตอไป คือติดตอ ประสานงาน เพื่อจัดหาทนุ หรือแหลงเงนิ เชน ธนาคาร หรือบรษิ ัท หา งรา นเอกชน มาชวยในการลงทุนและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตทั้งนี้ ท้ังฝา ยเกษตรกรและฝา ยธนาคาร หรือบริษทั เอกชนจะไดร บั ประโยชนร ว มกัน กลาวคอื- เกษตรกรขายขา วไดร าคาสงู (ไมถูกกดราคา)- ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซ้ือขา วบรโิ ภคในราคาตํา่ (ซอ้ื ขาวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง)- เกษตรกรซื้อเครื่องอปุ โภคบรโิ ภคไดใ นราคาต่าํ เพราะรวมกนั ซ้ือเปนจํานวนมาก(เปนรา นสหกรณราคาขายสง)- ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบคุ ลากร เพอ่ื ไปดําเนนิ การในกจิ กรรมตางๆ ใหเ กดิ ผลดยี ง่ิ ขน้ึหลกั การและแนวทางสาํ คัญ๑. เปน ระบบการผลติ แบบเศรษฐกิจพอเพียงท่เี กษตรกรสามารถเล้ียงตวั เองไดในระดับ ท่ีประหยัดกอน ทั้งน้ีชมุ ชนตอ งมคี วามสามคั คี รวมมือรวมใจในการชวยเหลือซง่ึ กนั และกนั ทาํ นองเดียวกบั การ “ลงแขก” แบบดงั้ เดมิ เพือ่ ลดคาใชจายในการจางแรงงานดวย๒. เนอื่ งจากขา วเปนปจ จัยหลักทท่ี ุกครัวเรือนจะตองบริโภค ดงั น้ัน จงึ ประมาณวาครอบครวั หนงึ่ ทํานาประมาณ ๕ ไร จะทาํ ใหมีขา วพอกินตลอดป โดยไมตองซื้อหาในราคาแพง เพือ่ ยดึ หลักพึ่งตนเองไดอยางมีอสิ รภาพ๓. ตอ งมีน้าํ เพ่ือการเพาะปลูกสาํ รองไวใ ชใ นฤดูแลง หรือระยะฝนท้ิงชว งไดอยา งพอเพยี ง ดังนน้ั จงึ จําเปนตองกนั ทีด่ นิ สวนหนง่ึ ไวข ดุ สระนํา้ โดยมีหลักวา ตอ งมีนํ้าเพยี งพอทีจ่ ะเพาะปลูกไดตลอดป ทง้ั น้ี ไดพ ระราชทานพระราชดํารเิ ปนแนวทางวา ตองมีนา้ํ ๑,๐๐๐ ลูกบาศกเ มตร ตอ การเพาะปลูก ๑ ไร โดยประมาณ ฉะนัน้ เม่ือทํานา ๕ ไร ทาํ พชื ไร หรอื ไมผ ลอกี ๕ ไร (รวมเปน ๑๐ ไร) จะตอ งมีนาํ้ ๑๐,๐๐๐ ลกู บาศกเมตรตอปดังนนั้ หากตง้ั สมมตฐิ านวา มพี ืน้ ท่ี ๕ ไร กจ็ ะสามารถกาํ หนดสูตรครา วๆ วา แตล ะแปลง ประกอบดว ย- นาขาว ๕ ไร- พืชไร พชื สวน ๕ ไร- สระนํา้ ๓ ไร ขุดลกึ ๔ เมตร จุนา้ํ ไดประมาณ ๑๙,๐๐๐ ลกู บาศกเ มตร ซึง่ เปน ปริมาณน้ําท่เี พยี งพอทีจ่ ะ สํารองไวใชย ามฤดูแลง- ท่อี ยอู าศัยและอ่ืนๆ ๒ ไร รวมทัง้ หมด ๑๕ ไร แตท ้ังนี้ ขนาดของสระเกบ็ นาํ้ ข้นึ อยูกบั สภาพภมู ิประเทศ และสภาพแวดลอมดังน้ี- ถาเปนพ้ืนที่ทาํ การเกษตรอาศยั นา้ํ ฝน สระน้ําควรมลี ักษณะลึก เพื่อปองกนั ไมใ หนํ้าระเหยไดมากเกนิ ไป ซง่ึ จะทําใหมนี ้ําใชต ลอดทัง้ ป

- ถาเปน พื้นที่ทาํ การเกษตรในเขตชลประทาน สระนํ้าอาจมลี ักษณะลกึ หรือต้นื และแคบ หรอื กวางก็ได โดยพิจารณาตามความเหมาะสม เพราะสามารถมีนํา้ มาเติมอยูเร่ือยๆ การมสี ระเก็บนํ้ากเ็ พื่อใหเกษตรกรมีนา้ํ ใชอยางสมา่ํ เสมอทั้งป (ทรงเรยี กวา Regulator หมายถึงการควบคมุ ใหดี มีระบบนํ้าหมุนเวียนใชเ พื่อการเกษตรไดโดยตลอดเวลาอยางตอ เน่อื ง) โดยเฉพาะอยา งยิ่งในหนา แลงและระยะฝนท้ิงชวง แตม ไิ ดหมายความวาเกษตรกรจะสามารถปลกู ขาวนาปรังได เพราะหากน้าํ ในสระเกบ็ น้ําไมพอ ในกรณมี ีเข่ือนอยบู ริเวณใกลเคียงก็อาจจะตองสบู นา้ํ มาจากเข่ือน ซง่ึ จะทําใหน ํ้าในเขื่อนหมดได แตเ กษตรกรควรทาํ นาในหนาฝน และเมื่อถงึ ฤดูแลง หรือฝนท้ิงชว งใหเ กษตรกรใชนาํ้ ที่เก็บตนุ น้ัน ใหเกิดประโยชนทางการเกษตรอยางสูงสุด โดยพิจารณาปลูกพืชใหเ หมาะสมกับฤดูกาลเพื่อจะไดม ีผลผลติ อื่นๆไวบริโภคและสามารถนําไปขายไดตลอดทัง้ ป๔. การจดั แบงแปลงทด่ี นิ เพื่อใหเ กดิ ประโยชนสงู สดุ นี้ พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั ทรงคํานวณและคํานึงจากอัตราการถือครองทด่ี ินถวั เฉลีย่ ครัวเรือนละ ๑๕ ไร อยางไรกต็ าม หากเกษตรกรมีพื้นทถี่ อื ครองนอยกวา น้ีหรอื มากกวาน้ีกส็ ามารถใชอัตราสว น๓๐:๓๐:๓๐:๑๐เปนเกณฑป รบั ใชไ ดกลาวคือรอ ยละ ๓๐ สวนแรก ขดุ สระนํ้า (สามารถเล้ยี งปลา ปลกู พืชนํ้า เชน ผักบงุ ผกั กะเฉด ฯลฯ ไดด ว ย) บนสระอาจสรางเลา ไกและบนขอบสระนํา้ อาจปลูกไมย นื ตนท่ีไมใ ชนาํ้ มากโดยรอบไดรอ ยละ๓๐สวนที่สองทํานารอ ยละ ๓๐ สวนท่สี าม ปลกู พืชไร พืชสวน (ไมผล ไมยืนตน ไมใชสอย ไมเพ่ือเปนเช้อื ฟน ไมสรางบา น พชื ไรพืชผักสมนุ ไพรเปน ตน )รอยละ ๑๐ สุดทาย เปนทอ่ี ยูอาศัยและอ่นื ๆ (ทางเดิน คันดนิ กองฟาง ลานตาก กองปยุ หมกั โรงเรอื น โรงเพาะเห็ดคอกสัตวไ มด อกไมประดบั พืชสวนครวั หลงั บา นเปนตน )อยางไรก็ตาม อัตราสว นดงั กลา วเปนสตู ร หรือหลักการโดยประมาณเทา นั้น สามารถปรับปรงุ เปลยี่ นแปลงไดตามความเหมาะสม โดยขน้ึ อยูกบั สภาพของพนื้ ที่ดิน ปริมาณน้ําฝน และสภาพแวดลอ ม เชน ในกรณภี าคใตที่มีฝนตกชุก หรือพ้นื ทท่ี ่ีมแี หลง นาํ้ มาเติมสระไดต อเน่ือง ก็อาจลดขนาดของบอ หรอื สระเก็บนํา้ ใหเ ลก็ ลง เพือ่ เกบ็พืน้ ทีไ่ วใ ชป ระโชนอื่นตอไปได๕. การดําเนินการตามทฤษฎีใหม มีปจจัยประกอบหลายประการ ข้ึนอยูกับสภาพภมู ิประเทศ สภาพแวดลอมของแตละทองถ่ิน ดังนั้น เกษตรกรควรขอรับคําแนะนาํ จากเจาหนาทด่ี ว ย และทีส่ าํ คัญ คอื ราคาการลงทุนคอนขางสงู โดยเฉพาะอยางยิง่ การขุดสระนํ้า เกษตรกรจะตองไดร บั ความชว ยเหลือจากสว นราชการ มลู นธิ ิและเอกชน๖. ในระหวางการขุดสระนํา้ จะมีดินที่ถูกขดุ ขึน้ มาจํานวนมาก หนา ดนิ ซึง่ เปน ดินดี ควรนําไปกองไวตา งหากเพื่อนํามาใชประโยชนใ นการปลูกพืชตา งๆ ในภายหลงั โดยนํามาเกล่ยี คลมุ ดนิ ชน้ั ลางทีเ่ ปน ดินไมดี หรอื อาจนํามาถมทาํ ขอบสระนํา้ หรอื ยกรอ งสาํ หรับปลูกไมผลก็จะไดป ระโยชนอีกทางหนึ่งตัวอยางพืชที่ควรปลูกและสัตวที่ควรเล้ียง ไมผลและผักยืนตน : มะมวง มะพราว มะขาม ขนุน ละมุด สมก ล ว ย น อ ย ห น า ม ะ ล ะ ก อ ก ะ ท อ น แ ค บ า น ม ะ รุ ม ส ะ เ ด า ขี้ เ ห ล็ ก ก ร ะ ถิ น ฯ ล ฯผักลมลุกและดอกไม : มันเทศ เผือก ถั่วฝกยาว มะเขือ มะลิ ดาวเรือง บานไมรูโรย กุหลาบ รัก และซอนกล่ินเปนตนเห็ด:เห็ดนางฟาเห็ดฟางเห็ดเปาฮื้อเปนตนสมุนไพรและเครื่องเทศ : หมาก พลู พริกไท บุก บัวบกมะเกลือ ชมุ เห็ด หญา แฝก และพชื ผักบางชนิด เชน กะเพรา หระพา สะระแหน แมงลัก และตะไคร เปนตนไม

ใชสอยและเชื้อเพลิง : ไผ มะพราว ตาล กระถินณรงค มะขามเทศ สะแก ทองหลาง จามจุรี กระถิน สะเดาขี้เหล็ก ประดู ชิงชัน และยางนา เปนตนพืชไร : ขาวโพด ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วพุม ถ่ัวมะแฮะ ออย มันสําปะหลัง ละหุง นุน เปนตน พืชไรหลายชนิดอาจเก็บเกี่ยวเมื่อผลผลิตยังสดอยู และจําหนายเปนพืชประเภทผักได และมีราคาดีกวาเก็บเมื่อแก ไดแก ขาวโพด ถัวเหลือง ถ่ัวลิสง ถั่วพุม ถ่ัวมะแฮะ ออย และมันสําปะหลังพืชบํารุงดินและพืชคลุมดิน : ถั่วมะแฮะ ถ่ัวฮามาตา โสนแอฟริกัน โสนพ้ืนเมือง ปอเทือง ถั่วพรา ขี้เหล็กกระถิน รวมทั้งถั่วเขียวและถ่ัวพุม เปนตน และเมื่อเก็บเก่ียวแลวไถกลบลงไปเพื่อบํารุงดินไดหมายเหตุ : พืชหลายชนิดใชทําประโยชนไดมากกวาหนึ่งชนิด และการเลือกปลูกพืชควรเนนพืชยืนตนดวย เพราะการดูแลรักษาในระยะหลงั จะลดนอยลง มีผลผลิตทยอยออกตลอดป ควรเลือกพืชยืนตนชนิดตางๆ กัน ใหความรมเย็นและชมุ ชืน้ กบั ที่อยูอาศยั และสงิ่ แวดลอ ม และควรเลอื กตนไมใหสอดคลองกับสภาพของพื้นท่ี เชน ไมควรปลูกยูคาลิปตัสบริเวณขอบสระ ควรเปนไมผลแทน เปนตนสัตวเล้ียงอื่นๆ ไดแก สัตวน้ํา : ปลาไน ปลานิล ปลาตะเพียนขาว ปลาดุก เพื่อเปนอาหารเสริมประเภทโปรตีน และยังสามารถนําไปจําหนายเปนรายไดเสริมไดอีกดวย ในบางพ้ืนท่ีสามารถเลี้ยงกบไดสุกร หรือ ไก เลี้ยงบนขอบสระน้ํา ท้ังนี้ มูลสุกรและไกสามารถนํามาเปนอาหารปลา บางแหงอาจเลย้ี งเปด ไดประโยชนข องทฤษฎใี หม๑. ใหประชาชนพออยูพอกินสมควรแกอ ัตภาพในระดบั ท่ีประหยดั ไมอดอยาก และเลีย้ งตนเองไดต ามหลักปรัชญา “เศรษฐกจิ พอเพยี ง”๒. ในหนาแลงมีนา้ํ นอ ย กส็ ามารถเอาน้าํ ท่ีเกบ็ ไวในสระมาปลูกพืชผักตา งๆ ทใ่ี ชน ํ้านอ ยได โดยไมตองเบยี ดเบียนชลประทาน๓. ในปท ีฝ่ นตกตามฤดูกาลโดยมนี าํ้ ดตี ลอดป ทฤษฎใี หมน้สี ามารถสรางรายไดใหแกเ กษตรกรไดโ ดยไมเดอื ดรอนในเรื่องคา ใชจา ยตางๆ๔. ในกรณีทีเ่ กดิ อุทกภยั เกษตรกรสามารถทีจ่ ะฟน ตัวและชวยตวั เองไดในระดับหนึง่ โดยทางราชการไมต องชวยเหลอื มากนกั ซงึ่ เปนการประหยดั งบประมาณดว ยทฤษฎใี หมที่สมบูรณทฤษฎีใหมท่ีดําเนินการโดยอาศัยแหลงน้ํา ธรรมชาติ น้ําฝน จะอยูในลักษณะ “หม่ินเหม” เพราะหากปใดฝนนอย น้ําอาจจะไมเพียงพอ ฉะนั้น การที่จะทําใหทฤษฎีใหมสมบูรณไดนั้น จําเปนตองมีสระเก็บกักนํ้าที่มีประสิทธิภาพและเต็มความสามารถ โดยการมีแหลงน้ําขนาดใหญที่สามารถเพ่ิมเติมน้ําในสระเก็บกักน้ําใหเต็มอยู เสมอ ดังเชน กรณีของการทดลองที่โครงการพัฒนาพ้ืนที่บริเวณวัดมงคลชัยพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ จงั หวัดสระบรุ ี

ระบบทฤษฎใี หมท ส่ี มบรู ณอางใหญ เติมอา งเลก็ อางเลก็ เติมสระนา้ํจากภาพ วงกลมเล็ก คือสระน้ําท่เี กษตรกรขดุ ขึน้ ตามทฤษฎใี หม เม่ือเกิดชวงขาดแคลนนํา้ ในฤดแู ลง เกษตรกรสามารถสบู นาํ้ มาใชประโยชนได และหากนา้ํ ในสระนํ้าไมเพียงพอก็ขอรบั นาํ้ จากอา งหว ยหนิ ขาว (อางเล็ก) ซึ่งไดท าํ ระบบสงนํา้ เชอ่ื มตอทางทอลงมายังสระนาํ้ ที่ไดขดุ ไวในแตล ะแปลง ซึง่ จะชวยใหส ามารถมนี าํ้ ใชตลอด ปกรณที ่เี กษตรกรใชน้ํากันมาก อา งหวยหนิ ขาว (อางเลก็ ) กอ็ าจมีปริมาณนาํ้ ไมเพยี งพอ ก็สามารถใชวธิ ีการผนัน้ําจากเข่ือนปาสักชลสทิ ธิ์ (อางใหญ) ตอลงมายังอา งเกบ็ นํ้าหว ยหินขาว (อา งเลก็ ) กจ็ ะชวยใหมีปรมิ าณน้าํ มาเติมในสระของเกษตรกรพอตลอดทง้ั ปโดยไมต องเสี่ยง ระบบการจดั การทรพั ยากรนา้ํ ตามแนวพระราชดําริพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั สามารถทําใหการใชน้ํามปี ระสิทธิภาพอยางสงู สุด จากระบบสงทอ เปด ผานไปตามแปลงไรน าตา งๆ ถึง ๓-๕ เทา เพราะยามหนา ฝน นอกจากจะมีนํ้าในอางเก็บน้ําแลว ยงั มีนา้ํ ในสระของราษฎรเก็บไวพ รอมกันดวย ทําใหม ปี รมิ าณน้ําเพ่ิมอยา งมหาศาล นํา้ ในอางท่ีตอมาสูส ระจะทําหนาทเ่ี ปนแหลงนํ้าสาํ รองคอยเติมเทานน้ั เองแปลงสาธติ ทฤษฎใี หมข องมลู นธิ ชิ ยั พฒั นาทา นทสี่ นใจสามารถขอคาํ ปรึกษาและเยย่ี มชมแปลงสาธิตทฤษฎใี หมไดดังนี้๑.สํานกั บริหารโครงการ สาํ นักงานมลู นธิ ชิ ัยพัฒนาโทรศัพท ๐ ๒๒๘๒ ๔๔๒๕ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๓๓๔๑๒. โครงการพัฒนาพ้ืนทีบ่ ริเวณวดั มงคลชยั พัฒนาอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ จงั หวัดสระบุรีโทรศพั ท / โทรสาร ๐ ๓๖๔๙ ๙๑๘๑๓. โครงการแปลงสาธติ การเกษตรแบบผสมผสานตามแนวพระราชดําริ (ทฤษฎีใหม) อาํ เภอปากทอจงั หวัดราชบรุ ีโทรศพั ท / โทรสาร ๐ ๓๒๓๓ ๗๔๐๗๔. โครงการสวนสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี อําเภอชะอาํ จังหวัดเพชรบุรีโทรศัพท / โทรสาร ๐ ๓๒๕๙ ๔๐๖๗

๕. โครงการสาธิตทฤษฎีใหม อาํ เภอเขาวง จงั หวัดกาฬสนิ ธุโทรศัพท / โทรสาร ๐ ๔๓๘๕ ๙๐๘๙๖.โครงการสาธติ ทฤษฎีใหม อําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสมี าโทรศพั ท / โทรสาร ๐ ๔๔๓๒ ๕๐๔๘ผลจากการใชแนวทางการพัฒนาประเทศไปสูความทันสมัย ไดกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงแกสังคมไทยอยางมากในทุกดาน ไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดลอม อีกท้ังกระบวนการของความเปลีย่ นแปลงมคี วามสลับซับซอนจนยากท่ีจะอธิบายใน เชิงสาเหตุและผลลัพธได เพราะการเปล่ียนแปลงท้ังหมดตางเปนปจจัยเช่ือมโยงซ่ึงกันและกัน สําหรับผลของการพัฒนาในดานบวกน้ัน ไดแก การเพิ่มขึ้นของอัตราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคตางๆ ระบบส่ือสารที่ทันสมัย หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอยางทั่วถึงมากข้ึน แตผลดานบวกเหลานี้สวนใหญกระจายไปถึงคนในชนบท หรือผูดอยโอกาสในสังคมนอย แตวา กระบวนการเปล่ียนแปลงของสังคมไดเกิดผลลบติดตามมาดวยเชน การขยายตวั ของรฐั เขา ไปในชนบท ไดสงผลใหชนบทเกดิ ความออนแอในหลายดาน ท้ังการตองพึ่งพิงตลาดและพอคาคนกลางในการส่ังสินคาทุน ความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธแบบเครือญาติ และการรวมกลุมกันตามประเพณีเพ่ือการจัดการทรัพยากรท่ีเคยมีอยูแตเดิมแตก สลายลง ภูมิความรูที่เคยใชแกปญหาและส่ังสมปรับเปล่ียนกันมาถูกลืมเลือนและเร่ิม สูญหายไป สิ่งสําคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดํารงชีวิต ซ่ึงเปนเงื่อนไขพื้นฐานที่ทําใหคนไทยสามารถพึ่งตนเอง และดําเนินชีวิตไปไดอยางมีศักดิ์ศรีภายใตอํานาจและความมีอิสระในการกําหนด ชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจัดการเพื่อใหตนเองไดรับการสนองตอบตอความตอง การตางๆ รวมท้ังความสามารถในการจัดการปญหาตางๆ ไดดวยตนเอง ซ่ึงท้ังหมดนี้ถือวาเปนศักยภาพพื้นฐานท่ีคนไทยและสังคมไทยเคยมีอยูแต เดิม ตองถูกกระทบกระเทือน ซึ่งวิกฤตเศรษฐกิจจากปญหาฟองสบูและปญหาความออนแอของชนบท รวมท้ังปญหาอ่ืนๆท่เี กิดขึ้น ลวนแตเ ปน ขอ พิสจู นและยนื ยันปรากฎการณน้ไี ดเปนอยางดี พระราชดาํ ริวา ดว ยเศรษฐกจิ พอเพยี ง“...การพฒั นาประเทศจําเปนตองทําตามลาํ ดบั ขนั้ ตองสรางพน้ื ฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใชข องประชาชนสวนใหญเบื้องตนกอน โดยใชว ิธกี ารและอปุ กรณท่ปี ระหยัดแตถ ูกตองตามหลักวิชาการ เม่ือไดพื้นฐานความมนั่ คงพรอ มพอสมควร และปฏบิ ตั ิไดแลว จงึ คอ ยสรา งคอ ยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกจิ ขัน้ ทีส่ งู ข้นึโดยลาํ ดบั ตอ ไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เปนแนวพระราชดาํ รใิ นพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั ทพ่ี ระราชทานมานานกวา ๓๐ ป เปนแนวคิดที่ตั้งอยูบนรากฐานของวฒั นธรรมไทย เปนแนวทางการพฒั นาทีต่ ัง้ บนพ้นื ฐานของทางสายกลาง และความไมป ระมาท คาํ นงึ ถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมคิ ุมกนั ในตวั เอง ตลอดจนใชความรแู ละคุณธรรม เปนพนื้ ฐานในการดาํ รงชวี ิต ท่ีสําคัญจะตอ งมี “สติปญ ญาและความเพียร” ซง่ึ จะนาํ ไปสู “ความสขุ ” ในการดําเนนิ ชวี ิตอยา งแทจรงิ“...คนอน่ื จะวาอยา งไรกช็ า งเขา จะวาเมืองไทยลาสมยั วา เมืองไทยเชย วา เมืองไทยไมมีส่ิงทสี่ มยั ใหม แตเราอยูพอมีพอ กนิ และขอใหท ุกคนมีความปรารถนาทจ่ี ะใหเมืองไทย พออยูพอกนิ มีความสงบ และทํางานต้ังจติอธิษฐานตัง้ ปณธิ าน ในทางน้ีทจี่ ะใหเมืองไทยอยแู บบพออยพู อกิน ไมใชว าจะรงุ เรืองอยางยอด แตว า มีความพออยพู อกนิ มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถาเรารักษาความพออยูพอกินนี้ได เรากจ็ ะยอดยง่ิ ยวดได

...”(๔ธันวาคม๒๕๑๗)พระบรมราโชวาทนที้ รงเหน็ วาแนวทางการพฒั นาท่ีเนน การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเปน หลกั แต เพยี งอยางเดยี วอาจจะเกดิ ปญ หาได จึงทรงเนน การมพี อกนิ พอใชของ ประชาชนสวนใหญในเบื้องตนกอ น เมอ่ื มีพนื้ ฐานความม่นั คงพรอมพอสมควรแลว จึงสรา งความเจรญิ และฐานะทางเศรษฐกิจใหสงู ขนึ้ ซง่ึ หมายถึง แทนท่ีจะเนนการขยายตวั ของภาคอุตสาหกรรมนาํ การพฒั นาประเทศ ควรที่จะสรางความมนั่ คงทางเศรษฐกจิ พน้ื ฐานกอน นั่นคือ ทาํ ให ประชาชนในชนบทสว นใหญพอมพี อกินกอ น เปนแนวทางการพฒั นาท่ีเนนการกระจายรายได เพอ่ื สรา งพื้นฐานและความม่ันงคงทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ กอ นเนนการพฒั นาในระดบั สูงขน้ึ ไป ทรงเตือนเร่ืองพออยูพอกนิ ตงั้ แตป ๒๕๑๗คอื เมื่อ ๓๐ กวาปทีแ่ ลวแตทิศทางการพัฒนามิไดเปลี่ยนแปลง “...เมือ่ ป๒ ๕๑๗วนั น้นั ไดพ ดู ถึงวา เราควรปฏบิ ัตใิ หพ อมีพอกนิพอมพี อกนิ นี้กแ็ ปลวา เศรษฐกจิ พอเพียงนนั่ เอง ถาแตล ะคนมพี อมีพอกนิ ก็ใชได ยิ่งถาทั้งประเทศพอมีพอกนิ ก็ยงิ่ ดี และประเทศไทยเวลานัน้ กเ็ ร่ิมจะเปนไมพอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไมมีเลย...” (๔ ธันวาคม๒๕๔๑)เศรษฐกจิ พอเพียง “เศรษฐกจิ พอเพยี ง”เปน ปรัชญาทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัวพระราชทานพระราชดํารชิ ้ีแนะแนวทาง การดาํ เนนิ ชวี ติ แกพสกนกิ รชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา ๒๕ ป ต้ังแตก อ นเกดิวกิ ฤตการณท างเศรษฐกิจ และเม่ือภายหลงั ไดทรงเนนยาํ้ แนวทางการแกไขเพ่ือใหร อดพน และสามารถดํารงอยูไดอยา งมนั่ คงและย่ังยืนภายใตกระแสโลกาภิวตั นแ ละความเปลย่ี นแปลงตางๆปรชั ญาของเศรษฐกจิพอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน ปรชั ญาชถ้ี ึงแนวการดาํ รงอยูและปฏบิ ัติตนของประชาชนในทกุ ระดับ ต้งั แตระดบั ครอบครัว ระดบั ชมุ ชน จนถงึ ระดับรัฐ ทง้ั ในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศใหดําเนนิ ไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพือ่ ใหกาวทนั ตอโลกยคุ โลกาภิวัตน ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนทีจ่ ะตองมรี ะบบภมู ิคุม กันในตัวท่ดี ีพอสมควร ตอการกระทบใดๆ อันเกดิ จากการเปลย่ี นแปลงท้ังภายในภายนอก ท้ังนี้ จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยงิ่ ในการนาํ วิชาการตา งๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการ ทุกขน้ั ตอน และขณะเดยี วกนั จะตองเสริมสรางพืน้ ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาทขี่ องรฐั นักทฤษฎี และนักธรุ กิจในทุกระดบั ใหม ีสํานึกในคณุ ธรรม ความซื่อสัตยสจุ ริต และใหมคี วามรอบรูทเี่ หมาะสม ดําเนินชวี ิตดว ยความอดทน ความเพยี รมีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพอ่ื ใหส มดลุ และพรอ มตอการรองรบั การเปลยี่ นแปลงอยางรวดเร็วและกวา งขวาง ท้ังดา นวัตถุ สงั คม สิ่งแวดลอ ม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปน อยางดีความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี งจึงประกอบดว ยคณุ สมบตั ิ ดงั น้ี๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไมน อยเกินไปและไมม ากเกนิ ไป โดยไมเบยี ดเบียนตนเองและผอู ื่นเชนการผลติ และการบรโิ ภคท่ีอยูในระดับพอประมาณ๒. ความมเี หตผุ ล หมายถึง การตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ระดบั ความพอเพียงนัน้ จะตองเปน ไปอยา งมเี หตผุ ล โดยพจิ ารณาจากเหตปุ จจยั ทเี่ กย่ี วขอ ง ตลอดจนคํานึงถงึ ผลที่คาดวาจะเกดิ ขนึ้ จากการกระทําน้ันๆ อยางรอบคอบ๓. ภูมคิ มุ กัน หมายถงึ การเตรียมตัวใหพรอมรบั ผลกระทบและการเปลย่ี นแปลงดานตางๆ ที่จะเกดิ ขนึ้ โดยคํานึงถึงความเปน ไปไดของสถานการณตา งๆ ท่ีคาดวา จะเกิดขึ้นในอนาคตโดยมี เงอ่ื นไข ของการตัดสนิ ใจและดาํ เนนิ กิจกรรมตา งๆ ใหอยูในระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังน้ี๑. เง่อื นไขความรู ประกอบดวย ความรอบรเู กยี่ วกบั วชิ าการตา งๆ ทีเ่ กยี่ วของรอบดาน ความรอบคอบทีจ่ ะนําความรเู หลา นั้นมาพิจารณาใหเชอ่ื มโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวงั ในการปฏบิ ัติ

๒. เงอื่ นไขคุณธรรม ทจี่ ะตอ งเสริมสรา ง ประกอบดว ย มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มีความซือ่ สตั ยส ุจรติ และมีความอดทน มีความเพยี ร ใชสตปิ ญ ญาในการดําเนินชีวติ พระราชดาํ รัสทเี่ กีย่ วกับเศรษฐกิจพอเพยี ง“...เศรษฐศาสตรเปน วิชาของเศรษฐกิจ การท่ีตองใชรถไถตองไปซอ้ื เราตองใชตองหาเงนิ มาสาํ หรับซ้ือน้าํ มันสาํ หรับรถไถ เวลารถไถเกาเราตองยงิ่ ซอมแซม แตเวลาใชนนั้ เราก็ตอ งปอนนํา้ มันใหเปน อาหาร เสร็จแลว มันคายควนั ควนั เราสูดเขา ไปแลวกป็ วดหัว สวนควายเวลาเราใชเ ราก็ตองปอนอาหาร ตอ งใหหญา ใหอ าหารมันกินแตวา มนั คายออกมา ท่ีมนั คายออกมาก็เปน ปยุ แลว ก็ใชไดสาํ หรับใหท่ดี นิ ของเราไมเสีย...”พระราชดาํ รสั เน่ืองในพระราชพิธีพชื มงคลจรดพระนงั คัลแรกนาขวญั ณ ศาลาดุสดิ าลัย วนั ที่ ๙ พฤษภาคม๒๕๒๙“...เราไมเปนประเทศรํ่ารวย เรามีพอสมควร พออยูได แตไมเปนประเทศที่กาวหนาอยางมาก เราไมอยากจะเปน ประเทศกาวหนาอยา งมาก เพราะถาเราเปนประเทศกา วหนา อยางมากก็จะมีแตถอยกลับ ประเทศเหลานั้นท่ีเปนประเทศอุตสาหกรรมกาวหนา จะมีแตถอยหลังและถอยหลังอยางนากลัว แตถาเรามีการบริหารแบบเรียกวาแบบคนจน แบบทไ่ี มตดิ กับตาํ รามากเกินไป ทําอยา งมสี ามคั คนี ่ีแหละคอื เมตตากัน จะอยูไดตลอดไป...”พระราชดํารัส เนื่องในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลัย วันท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๔“...ตามปกติคนเราชอบดูสถานการณในทางดี ที่เขาเรียกวาเล็งผลเลิศ ก็เห็นวาประเทศไทย เรานี่กาวหนาดีการเงนิ การอุตสาหกรรมการคาดี มีกําไร อีกทางหนึ่งก็ตองบอกวาเรากําลังเส่ือมลงไปสวนใหญ ทฤษฎีวา ถามีเงินเทา นั้นๆ มกี ารกูเทา นนั้ ๆ หมายความวา เศรษฐกิจกา วหนา แลวกป็ ระเทศกเ็ จริญมีหวังวาจะเปนมหาอํานาจขอโทษเลยตอ งเตอื นเขาวา จริงตวั เลขดี แตวาถาเราไมระมัดระวังในความตองการพื้นฐานของประชาชนน้ันไมมีทาง...”พระราชดํารสั เนือ่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษาณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๖“...เดีย๋ วนีป้ ระเทศไทยก็ยงั อยูดพี อสมควร ใชค าํ วา พอสมควร เพราะเดีย๋ วมีคนเห็นวา มคี นจน คนเดอื ดรอนจาํ นวนมากพอสมควร แตใชค ําวา พอสมควรนี้ หมายความวาตามอัตตภาพ...”พระราชดาํ รสั เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙“...ท่ีเปนหวงน้นั เพราะแมในเวลา ๒ ป ทเ่ี ปนปก าญจนาภิเษกกไ็ ดเห็นสงิ่ ที่ทําใหเห็นไดวา ประชาชนยังมีความเดอื ดรอ นมาก และมสี ิ่งท่ีควรจะแกไขและดําเนินการตอไปทุกดาน มีภัยจากธรรมชาติกระหน่ํา ภัยธรรมชาตินี้เราคงสามารถที่จะบรรเทาไดห รือแกไขได เพยี งแตวาตองใชเวลาพอใช มีภัยที่มาจากจิตใจของคน ซ่ึงก็แกไขไดเหมือนกัน แตว า ยากกวา ภยั ธรรมชาติ ธรรมชาตินั้นเปนสิ่งนอกกายเรา แตนิสัยใจคอของคนเปนส่ิงที่อยูขางในอันน้ีก็เปนขอหน่ึงที่อยากใหจัดการใหมีความเรียบรอย แตก็ไมหมดหวัง...”พระราชดํารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย วนั ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙“...การจะเปนเสือน้ันไมสําคัญ สําคัญอยทู ี่เรามเี ศรษฐกจิ แบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินน้ัน หมายความวาอุมชตู วั เองได ใหมีพอเพยี งกับตนเอง ความพอเพียงน้ีไมไดหมายความวาทุกครอบครวั จะตองผลิตอาหารของตัวเอง จะตองทอผาใสเอง อยางนั้นมนั เกินไป แตวา ในหมบู านหรอื ในอําเภอ จะตองมคี วามพอเพยี งพอสมควรบางสิ่งบางอยางผลิตไดมากกวา ความตอ งการก็ขายได แตข ายในทีไ่ มห างไกลเทา ไร ไมตองเสยี คาขนสงมากนั..”พระราชดํารัส เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั วนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙.

“...เมื่อป ๒๕๑๗ วันน้นั ไดพ ดู ถงึ วา เราควรปฏิบัตใิ หพอมีพอกนิ พอมีพอกินนี้กแ็ ปลวา เศรษฐกจิ พอเพียงนั่นเอง ถาแตละคนมีพอมีพอกิน ก็ใชไ ด ยง่ิ ถาทงั้ ประเทศพอมีพอกนิ ก็ยิง่ ดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เรมิ่ จะเปนไมพอมพี อกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไมมเี ลย...”พระราชดาํ รสั เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑“...พอเพียง มีความหมายกวางขวางยิ่งกวานี้อีก คือคําวาพอ ก็พอเพียงนี้ก็พอแคน้ันเอง คนเราถาพอในความตอ งการก็มคี วามโลภนอย เมื่อมีความโลภนอ ยกเ็ บยี ดเบยี นคนอน่ื นอ ย ถาประเทศใดมีความคิดอันน้ี มีความคิดวาทําอะไรตองพอเพียง หมายความวาพอประมาณ ซ่ือตรง ไมโลภอยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข พอเพียงนี้อ า จ จ ะ มี มี ม า ก อ า จ จ ะ มี ข อ ง ห รู ห ร า ก็ ไ ด แ ต ว า ต อ ง ไ ม ไ ป เ บี ย ด เ บี ย น ค น อ่ื น . . . ”พระราชดาํ รัส เนอื่ งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑“...ไฟดบั ถามีความจําเปน หากมเี ศรษฐกิจพอเพียงแบบไมเต็มที่ เรามีเคร่ืองปนไฟก็ใชปนไฟ หรือถาข้ันโบราณกวา มืดก็จุดเทียน คือมีทางที่จะแกปญหาเสมอ ฉะนั้นเศรษฐกิจพอเพียงก็มีเปนข้ันๆ แตจะบอกวาเศรษฐกิจพอเพยี งน้ี ใหพอเพียงเฉพาะตัวเองรอยเปอรเซ็นตนี่เปนส่ิงทําไมได จะตองมีการแลกเปล่ียน ตองมีการชวยกันถามีการชวยกัน แลกเปล่ียนกัน ก็ไมใชพอเพียงแลว แตวาพอเพียงในทฤษฎีในหลวงนี้ คือใหสามารถที่จะดาํ เนินงานได...”พระราชดาํ รสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ที่ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๒“...โครงการตา งๆ หรอื เศรษฐกิจท่ีใหญ ตองมคี วามสอดคลองกันดีที่ไมใชเหมือนทฤษฎีใหม ที่ใชท่ีดินเพียง ๑๕ไร และสามารถท่ีจะปลูกขาวพอกิน กิจการนี้ใหญกวา แตก็เปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน คนไมเขาใจวากิจการใหญๆ เหมือนสรางเข่ือนปาสักก็เปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน เขานึกวาเปนเศรษฐกิจสมัยใหม เปนเศรษฐกิจที่หางไกลจากเศรษฐกิจพอเพียง แตที่จริงแลว เปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน...”พระราชดาํ รัส เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลัย วนั ท่ี ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒“...ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพยี งความหมายคือ ทําอะไรใหเ หมาะสมกับฐานะของตัวเอง คือทําจากรายได ๒๐๐-๓๐๐ บาท ขึ้นไปเปนสองหม่ืน สามหมืน่ บาท คนชอบเอาคาํ พดู ของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกนั เลอะเทอะเศรษฐกจิ พอเพียง คือทําเปน Self-Sufficiency มันไมใ ชความหมายไมใชแ บบทฉ่ี ันคิด ที่ฉนั คิดคือเปน Self-Sufficiency of Economy เชน ถาเขาตอ งการดูทีวี กค็ วรใหเขามีดู ไมใ ชไ ปจาํ กัดเขาไมใหซือ้ ทีวดี ู เขาตองการดเู พ่อื ความสนกุ สนาน ในหมูบา นไกลๆ ท่ฉี ันไป เขามีทีวีดูแตใชแบตเตอรี่ เขาไมมไี ฟฟา แตถา Sufficiency นัน้มที วี ีเขาฟมุ เฟอย เปรียบเสมอื นคนไมมีสตางคไปตดั สทู ใส และยังใสเ นคไทเวอรซาเช อนั น้ีก็เกินไป...”พระตาํ หนักเปยมสุข วงั ไกลกังวล ๑๗ มกราคม ๒๕๔๔ประเทศไทยกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพยี งมุงเนนใหผผู ลติ หรือผูบรโิ ภค พยายามเร่มิ ตน ผลติ หรือบริโภคภายใตข อบเขต ขอ จาํ กดั ของรายได หรือทรัพยากรท่ีมีอยไู ปกอน ซึ่งก็คอื หลักในการลดการพง่ึ พา เพิม่ ขดี ความสามารถในการควบคุมการผลติ ไดด วยตนเองและลดภาวะการเสยี่ งจากการไมสามารถควบคุมระบบตลาดไดอยา งมีประสิทธิภาพเศรษฐกจิ พอเพียงมิใชหมายความถงึ การกระเบียดกระเสียดจนเกนิ สมควร หากแตอาจฟุมเฟอยไดเปน คร้งัคราวตามอตั ภาพ แตค นสวนใหญข องประเทศ มักใชจายเกินตัว เกินฐานะทหี่ ามาไดเศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถนาํ ไปสเู ปา หมายของการสรา งความมนั่ คงในทางเศรษฐกิจได เชน โดยพ้นื ฐานแลว ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจงึ ควรเนนท่เี ศรษฐกิจการเกษตร เนน ความมั่นคงทางอาหาร เปนการสรา ง

ความม่ันคงใหเปน ระบบเศรษฐกจิ ในระดบั หนงึ่ จงึ เปน ระบบเศรษฐกจิ ที่ชว ยลดความเสี่ยง หรือความไมม่นั คงทางเศรษฐกจิ ในระยะยาวได เศรษฐกจิ พอเพียง สามารถประยุกตใชไดใ นทุกระดับ ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกจิ ไมจ าํ เปน จะตองจาํ กัดเฉพาะแตภ าคการเกษตร หรอื ภาคชนบท แมแตภาคการเงิน ภาคอสงั หารมิ ทรัพย และการคา การลงทนุ ระหวา งประเทศ โดยมหี ลกั การท่ีคลา ยคลึงกันคือ เนน การเลอื กปฏิบตั ิอยา งพอประมาณ มเี หตุมผี ล และสรางภมู คิ ุมกนั ใหแ กตนเองและสังคมการดําเนนิ ชีวติ ตามแนวพระราชดําริพอเพยี ง พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัว ทรงเขาใจถึงสภาพสงั คมไทย ดังนั้น เมือ่ ไดพระราชทานแนวพระราชดาํ ริ หรือพระบรมราโชวาทในดา นตางๆ จะทรงคํานงึ ถึงวถิ ชี วี ติ สภาพสังคมของประชาชนดวย เพอ่ืไมใ หเ กดิ ความขัดแยง ทางความคิดที่อาจนาํ ไปสูค วามขัดแยงในทางปฏิบตั ิไดแนวพระราชดาํ รใิ นการดําเนนิ ชวี ติ แบบพอเพยี ง๑.ยดึ ความประหยัดตัดทอนคาใชจ ายในทุกดา นลดละความฟมุ เฟอยในการใชช วี ติ๒.ยึดถือการประกอบอาชพี ดวยความถกู ตองซ่ือสตั ยสจุ รติ๓.ละเลกิ การแกงแยง ผลประโยชนแ ละแขงขันกันในทางการคา แบบตอสูกนั อยา งรนุ แรง๔.ไมหยดุ นิ่งท่ีจะหาทางใหช ีวิตหลดุ พน จากความทุกขยาก ดวยการขวนขวายใฝห าความรใู หม ีรายไดเพิม่ พนู ข้ึนจนถงึ ขัน้ พอเพียงเปน เปาหมายสาํ คัญ๕. ปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดี ลดละสงิ่ ช่ัว ประพฤติตนตามหลักศาสนา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook