Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

Published by Prabhas Phumphuang, 2022-06-14 02:31:47

Description: วิจัยในชั้นเรียน

Search

Read the Text Version

รายงานวิจยั ในช้ันเรียน เรื่อง การพฒั นาวธิ กี ารสอนแบบร่วมมือในรายวิชา หุ่นยนต์เบื้องต้น สาหรับนักเรียน ปวช.3 กล่มุ 4 แผนกวชิ าช่างไฟฟ้ากาลงั ปี การศึกษา 2564 ผู้วิจยั นายประภาส พุ่มพวง แผนกวชิ าช่างไฟฟ้ากาลัง วทิ ยาลยั เทคนคิ ลพบุรี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร



คำนำ รายงานการวิจยั เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสนใจในวิธีสอนวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ ช้นั ปวช.3 กลุ่ม 4 วิทยาลยั เทคนิคลพบุรี ท่ีได้รับการสอนโดยวิธีการเรียนแบบ ร่วมมือ ( เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2564 เล่มน้ีเป็ นเอกสารที่จดั ทา ข้ึนในลกั ษณะวิจยั เชิงทดลองเพื่อ ศึกษาผลสัมฤทธ์ิและความสนใจของนักเรียนท่ีไดร้ ับการสอน โดยการเรียนแบบร่วมมือ ( เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) โดยมีวิธีดาเนินการจดั เตรียมเอกสารต่าง ๆ เพ่อื ประกอบการจดั ทารายงานซ่ึงไดข้ อ้ มูลครบถว้ นประกอบดว้ ยเน้ือหาจานวน 6 บท ผูร้ ายงานหวงั เป็ นอย่างย่ิงว่ารายงานการวิจยั เล่มน้ีคงจะเกิดประโยชน์ผูท้ ี่สนใจวิธีสอน วิชาการควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า และเป็ นแนวทางให้กบั ผทู้ ี่สนใจในระเบียบวิธีวิจยั อาจนาไปเป็ น ตวั อยา่ งในการทาวิจยั เรื่องอื่น ๆ ตอ่ ไป ประภาส พมุ่ พวง

ก กติ ตกิ รรมประกาศ รายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนาวิธีการสอนแบบร่วมมือในรายวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองต้น สาหรับเรียน ปวช.3 กลุ่ม 4 แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากาลัง ท่ีได้รับการสอนโดยวิธีการเรียนแบบ ร่วมมือ ( เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 ที่ไดส้ าเร็จลุล่วงมาจนถึง บดั น้ีน้ัน ไดร้ ับคาแนะนาและการให้คาปรึกษาเป็ นอย่างดี จากครูอาจารยท์ ุกท่านในวิทยาลยั การ อาชีพโคกสาโรง ขอขอบคณุ เป็นอยา่ งยงิ่ คุณค่าของผลงานการวิจยั ในช้ันเรียนน้ี ขอมอบแด่ผูม้ ีพระคุณทุกท่าน และหวงั ให้เกิด ประโยชน์อย่างยง่ิ ต่อการพฒั นาผเู้ รียนซ่ึงเป็นเยาวชนอนั สาคญั ของชาติ และยงั ผลต่อผสู้ นใจที่จะ สร้างผลงานการวิจยั ในช้นั เรียนใหแ้ พร่หลายยง่ิ ข้ึน ตอ่ ไป นายประภาส พ่มุ พวง

ชื่องานวจิ ัย การพฒั นาวิธีการสอนแบบร่วมมอื ในรายวิชา หุ่นยนตเ์ บ้อื งตน้ สาหรับ นกั เรียน ปวช.3 กลุ่ม 4 แผนกวชิ าช่างไฟฟ้ากาลงั ชื่อผ้วู ิจัย นายประภาส พุ่มพวง ปี พ.ศ. 2564 บทคัดย่อ การวิจยั เรื่อง การพฒั นาวิธีการสอนแบบร่วมมือในรายวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ สาหรับนักเรียน ปวช.3 กลุ่ม 4 แผนกวชิ าช่างไฟฟ้ากาลงั ท่ไี ดร้ บั การสอนโดยวิธีการเรียนแบบร่วมมอื ( เทคนิคการสอน แบบ Jigsaw ) ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 ความมุ่งหมายในการวิจยั เพอ่ื ศกึ ษาเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิ และความสนใจในวิธีการสอน ก่อนเรียนและหลงั เรียนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ โดยใช้กิจกรรมการเรียน แบบร่วมมอื (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ คือนักเรียนแผนกวิชาไฟฟ้ากาลัง ช้ัน ปวช.3 จานวน 20 คน ระยะเวลา 12 ชั่วโมง เป็ นเวลา 4 สัปดาห์ เน้ือหาท่ีใช้ เรื่อง การเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนต์ เบ้ืองตน้ ในหนงั สือ เอกสารประกอบการเรียน หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2562 ของ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เครื่องมือทใ่ี ช้ คือแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง การเขียนโปรแกรมควบคุมการ ทางานของหุ่นยนตเ์ บ้อื งตน้ เป็นแบบปรนยั เลือกตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 15 ขอ้ ทผ่ี ่านการตรวจสอบจาก ผูเ้ ช่ียวชาญและหาคุณภาพเครื่องมือตามข้นั ตอนแลว้ ใช้สถิติพ้ืนฐานในการวิเคราะห์ค่าเฉล่ียและค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการทดสอบ สมมุติฐานสาหรับกลุ่มตวั อยา่ งที่ไม่เป็ นอิสระต่อกนั ใชค้ ่า t-test for Dependent Sample ผลการวจิ ัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในเรื่องการเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนต์เบ้ืองตน้ โดยการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) ก่อนการทดลองและ หลงั การทดลองแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั 0.01 2. ความสนใจของนกั เรียนทไี่ ดร้ ับการสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบมสี ่วนร่วม(เทคนิคการ สอนแบบ Jigsaw) มีมากข้ึน คาสาคัญ การสอนแบบร่วมมือ ผลสัมฤทธ์ิ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์

Research title Developing a cooperative teaching method in the course An introductory robot for vocational students 3, group 4, electrical engineering Candidate department Vocational Certificate 2, Group 6, Department of B.E. Electrician Power Mr.Prabhas Phumphuang 2021 Abstract Research on the development of collaborative teaching methods in the course introductory robot For students of Vocational Vocational 3, Group 4, Department of Electrical Power that have been taught by a cooperative learning method (Jigsaw teaching technique) for the second semester of the academic year 2021. Research objectives were to compare achievement and interest in teaching methods. before and after class introductory robot by using cooperative learning activities (Jigsaw teaching techniques) The sample used This is 20 students in the Department of Electrical Power, Vocational Certificate 3, 12 hours duration, 4 weeks. Vocational Certificate Program of the Year 2019 of the Office of Vocational Education Commission Used tools It is an achievement test on the subject of programming to control the operation of basic robots. It is a multiple choice, four-choice, 15-item question that has been checked by experts and find the quality of the tools according to the steps Basic statistics were used to analyze mean and standard deviation, while hypothesis testing for independent samples was used for t-test for Dependent Sample. The research results were found that 1. Achievement in computer programming with a high level language. By teaching using cooperative learning activities (Teaching techniques of Jigsaw) before and after experiment differed significantly at a level of 0.01 2. The interest of students being taught using participatory learning activities (teaching techniques Jigsaw) has increased. Keywords Collaborative teaching , achievement , computer program

สารบัญ หน้า ก กิตติกรรมประกาศ ข บทคดั ยอ่ 1 บทท่ี 1 บทนา 1 2 ท่ีมาและความสาคญั ของปัญหา 2 ความมุ่งหมายของการวิจยั 2 ความสาคญั ของการวิจยั 3 ขอบเขตของการวิจยั 4 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 5 สมมติฐานของการวจิ ยั 6 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง 6 เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ พ.ศ.2562 6 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 7 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ 11 เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ งกบั ความสนใจ 11 บทท่ี 3 วิธีดาเนินการวจิ ยั 11 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 14 เคร่ืองมือและการสร้างเครื่องมือ 15 การดาเนินการวิจยั 15 การวิเคราะหข์ อ้ มูล 17 สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 18 การแปลผลขอ้ มลู 18 บทที่ 4 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล 18 สญั ลกั ษณ์ที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู 23 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู 23 บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 25 ความมุ่งหมายของการวิจยั 25 สรุปผลการวจิ ยั อภิปรายผลการวิจยั

สารบญั (ต่อ) ขอ้ เสนอแนะ หน้า บรรณานุกรม ภาคผนวก 26 27

สารบญั ตาราง ตารางท่ี 3.1 การวเิ คราะห์ดชั นีความสอดคลอ้ ง 13 ตารางที่ 3.2 ตารางแบบแผนการวิจยั เชิงทดลอง 14 ตารางท่ี 4.1 ตารางแสดงคะแนนการประเมินผลก่อนเรียนและหลงั เรียน 19 ตารางที่ 4.2 ตารางการเปรียบเทียบความแตกต่างของการประเมินผลการเรียนและหลงั เรียน 20 ตารางที่ 4.4 การวเิ คราะห์แบบสอบถามวดั ความสนใจโดยการใชก้ ารสอนโดยใชก้ ิจกรรม 21 การเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw)

1 บทที่ 1 บทนำ ท่ีมำและควำมสำคัญของปัญหำ หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ ไดก้ าหนดใหน้ กั เรียนช้นั ปวช.3 แผนกวิชาไฟฟ้ากาลงั เรียน รายวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ เพื่อให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกบั ปฏิบตั ิงานการเขียนโปรแกรมในการควบคุม หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ จากสภาพปัจจุบนั พบวา่ วิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เป็นวิชาท่ีนกั เรียนไม่ให้ความสาคญั ส่งผลให้ มี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า มีจานวนนกั เรียนที่สอบผา่ นแต่มีผลการเรียนอยู่ในระดบั พอใชถ้ ึงปานกลาง นักเรียนไม่ให้ความสนใจในการเรียนวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ เน่ืองจากเห็นว่าเป็ นวิชาท่ียากทาให้ไม่ พยายามท่ีจะทาความเขา้ ใจ ไม่ซกั ถามขอ้ สงสัย ในฐานะท่ีผวู้ จิ ยั เป็นผูส้ อนรายวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ จึง ได้คิดคน้ รูปแบบนวตั กรรม ได้แก่วิธีการสอนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) เพื่อเป็ น ทางเลือกในการแกป้ ัญหาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและพฤติกรรมขาดความสนใจ เพื่อช่วยเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ และสร้างความสนใจของนกั เรียน โดยกาหนดใหม้ ีการจดั กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) ที่เหมาะสมสอด- คลอ้ งกบั จุดประสงคแ์ ละเน้ือหาสาระ และกาหนดสื่อใหส้ อดคลอ้ งกบั กิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ ละแผนการสอน ผูว้ ิจัยหวงั ว่า เม่ือนักเรียนได้เรียนรู้ตามแผนการสอนที่มีจุดประสงค์ เน้ือหาสาระ โดยใช้ กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) แลว้ นักเรียนจะมีผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนและความสนใจในการเรียนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ก่อนเรียนและหลงั เรียนแตกต่างกนั การวิจยั ใน คร้ังน้ีจึงเป็นการวิจยั ที่ดาเนินตามแผนการสอนและแสดงการวเิ คราะห์ผลการใชแ้ ผนการสอน ดงั กลา่ ว

2 ควำมม่งุ หมำยของกำรวิจัย 1. เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิ ก่อนเรียนและหลังเรียนวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองต้นโดยใช้ กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) 2. เพื่อศึกษาความสนใจในวิธีการสอนหลงั เรียนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงาน ควบคุมไฟฟ้าโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) ควำมสำคญั ของกำรวิจัย ผลการศึกษาวิจยั จะเป็นแนวทางในการพฒั นากระบวนการเรียนการสอนวชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยนากิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) มาใช้ กบั นักเรียนแผนกวิชาไฟฟ้ากาลงั ในระดบั ช้นั ปวส.2 กลุ่ม 6 ทาให้นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แตกต่างกนั มีความสนใจในการเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคุมไฟฟ้ามากข้ึน และเป็นวิธีการสอนท่ีสร้างความสนใจทาใหน้ กั เรียนรู้สึกว่าเน้ือหาวิชาท่ีจะเรียนไมไ่ ดย้ ากอีกต่อไป ขอบเขตของกำรวจิ ยั ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เป็ นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช.3) วิทยาลยั เทคนิคลพบุรี ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2564 จานวน 1 ห้องเรียน 20 คน เวลาที่ใช้ในการ ทดลองจานวน 12 ชว่ั โมง สัปดาห์ละ 4 ชว่ั โมง เป็นเวลา 3 สปั ดาห์ เน้ือหา ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั คอื เน้ือหาใน รายวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ รหัส 20104-2118 ระดับช้นั ปวช. 3 จากหนังสือเรียนเอกสารประกอบการ เรียน หุ่นยนต์เบ้ืองต้น ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ของสานักงาน คณะกรรมการอาชีวศึกษา ซ่ึงนากิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) ทาให้ ไดก้ ิจกรรมท่ีใชใ้ นการเรียนการสอนวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ โดยแบ่งเน้ือหาที่จะเรียนออกเป็นหวั ขอ้ ย่อย ๆ ให้เท่ากบั จานวนสมาชิกในกลุ่ม นกั เรียนฝึ กปฏิบตั ิเป็นกลุ่มและทุกคนไดน้ าเสนอความรู้และผลงาน ที่ไดร้ ับจากการศึกษาของตนเอง

3 ตัวแปรที่ศึกษำ 1. ตวั แปรตน้ คือ การสอนโดยกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) 2. ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ 2.1 ผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนและหลงั เรียนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 2.2 ความสนใจในวิธีสอนการเขียนโปรแกรมควบคมุ การทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ นิยำมศัพท์เฉพำะ 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คะแนนของนกั เรียนที่ไดจ้ ากการประเมินผลก่อนเรียนและ หลงั เรียน ซ่ึงเครื่องมือเป็นขอ้ สอบที่ครูสร้างข้ึนเองและไดต้ รวจสอบคุณภาพแลว้ 2. ความสนใจ หมายถึง การท่ีนักเรียนแสดงออกถึงความรู้สึกชอบ และพอใจในวิธีสอนการ บญั ชีห้างหุ้นส่วน ที่ใช้การสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ(เทคนิคการสอนแบบJigsaw) และเอาใจใส่ต่อวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองต้นด้วยการแสวงหาความรู้เพ่ิมเติมจากการศึกษาค้นควา้ จาก แหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ การทาแบบฝึ กหัด ดว้ ยความพอใจ มีความกระตือรือร้นและจดจ่อต่อการเรียนวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ และสนใจซักถามปัญหา ในเรื่องท่ีครูสอนเมื่อมีข้อสงสัย สนทนาโต้แยง้ อภิปราย ปัญหาในเรื่องที่เรียน ติดตามเอกสาร หนงั สือพิมพ์ หรือตาราเรียนที่เกี่ยวขอ้ งมีส่วนร่วมในกิจกรรมการ เรียนด้วยความสมคั รใจ ซ่ึงจะวดั ได้จากการตอบแบบสอบถามวดั ความสนใจในวิธีสอนการเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคุมไฟฟ้าที่ผูว้ ิจยั ไดป้ รับปรุงขอ้ คาถามเพื่อให้สอดคลอ้ งกบั วิธีการ สอนการสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) จากแบบสอบถาม วดั ความสนใจในวธิ ีสอนของ เรวตั ร กีฏวทิ ยา และ ปริยฉตั ร พรหมศรี ที่สร้างข้นึ ตามหลกั การสร้าง แบบสอบถามมาตราส่วนประเมินค่า 3 ระดบั ของ ลิเคร์ท (Renniss Likert ) 3. วชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ หมายถึง วชิ าที่วา่ ดว้ ยปฏิบตั ิงานการเขียนโปรแกรมในการควบคุม หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 4. กิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือ หมายถึง การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนที่เนน้ การ จดั สภาพแวดลอ้ มทางการเรียนใหแ้ ก่ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้ร่วมกนั เป็นกลุ่มเล็ก ๆ แต่ละกลุ่มจะประกอบดว้ ย สมาชิกที่มีความรู้ความสามารถแตกต่างกนั โดยที่แต่ละคนมีส่วนร่วมอยา่ งแทจ้ ริงในการเรียนรู้และใน ความสาเร็จของกลุ่ม ท้งั โดยการแลกเปล่ียนความคิดเห็น การแบ่งปันทรัพยากรการเรียนรู้ รวมท้งั การ เป็นกาลงั ใจแก่กนั และกนั คนที่เรียนเก่งจะช่วยเหลือคนท่ีอ่อนกวา่ สมาชิกในกลุ่มไม่เพียงแต่รับผิดชอบ ต่อการเรียนของตนเองเทา่ น้นั หากแต่จะตอ้ งร่วมรับผดิ ชอบต่อการเรียนรู้ของเพ่ือสมาชิกทุกคนในกลุ่ม ความสาเร็จของแต่ละบคุ คล คือ ความสาเร็จของกลุ่ม

4 5. เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw หมายถึง วิธีการสอนแบบร่วมมือและการถ่ายทอดความรู้ ระหวา่ งเพอ่ื นในกลุ่ม ข้นั ตอนกิจกรรมประกอบดว้ ย ข้นั ท่ี 1 ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน ครูแนะนาทกั ษะในการเรียนรู้ร่วมกนั และจดั นกั เรียนออกเป็นกลุ่ม ย่อย ๆ ประมาณ 2-3 คน ครูแนะนาเก่ียวกับระเบียบของกลุ่ม บทบาทหน้าท่ีของสมาชิกกลุ่มแจ้ง วตั ถุประสงคข์ องบทเรียนและการทากิจกรรมร่วมกนั และการฝึกฝนทกั ษะพ้นื ฐานที่จาเป็นสาหรับการ ทากิจกรรมกล่มุ ข้นั ท่ี 2 ข้นั ดาเนินการสอน 2.1 แบ่งเน้ือหาเร่ือง การเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนต์เบ้ืองตน้ ออกเป็ น หัวขอ้ ยอ่ ย ๆ จานวน 4 หัวขอ้ ให้เท่ากบั จานวนสมาชิกกลุ่มแลว้ จดั กลุ่มผูเ้ รียนโดยให้มีความสามารถ คละกนั เรียกวา่ “กลมุ่ บา้ น” 2.2 ครูมอบหมายงานให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มบา้ นศึกษาเน้ือหาในหัวขอ้ ท่ีต่างกนั พร้อม กบั แนะนาเน้ือหา แนะนาแหล่งขอ้ มูลที่สามารถศึกษาเพิม่ เติม 2.3 ผเู้ รียนที่ไดร้ ับหัวขอ้ เดียวกนั จากกลุ่มบา้ นแต่ละกลุ่มมานงั่ ดว้ ยกนั เพ่ือทางานและศึกษา ร่วมกนั ในหวั ขอ้ น้นั เรียกกลมุ่ น้ีวา่ “กลุ่มผเู้ ชี่ยวชาญ” 2.4 สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มเช่ียวชาญเม่ือไดศ้ ึกษาร่วมกนั ไดท้ าความเขา้ ในเน้ือหาและสรุป เป็ นความรู้เรียบร้อยแลว้ แต่ละคนออกจากกลุ่มผูเ้ ช่ียวชาญกลบั ไปยงั กลุ่มบ้านของตนแลว้ ผลดั กัน อธิบายเพือ่ ถ่ายทอดความรู้ท่ีตนไดศ้ ึกษาใหส้ มาชิกในกลุ่มฟังจนครบทกุ หวั ขอ้ ข้นั ที่ 3 ข้นั สรุป ครูตรวจสอบวา่ ผเู้ รียนไดป้ ฏิบตั ิหนา้ ท่ีครบถว้ นแลว้ หรือยงั ผลการปฏิบตั ิเป็ น อยา่ งไร เนน้ การตรวจสอบผลงานกลมุ่ และรายบุคคล ในกรณีที่ทีนกั เรียนท่ียงั ไมเ่ ขา้ ใจครูตอ้ งซ่อมเสริม ส่วนท่ียงั ขาดตกบกพร่อง ผูเ้ รียนและครูช่วยกนั สรุปบทเรียน ถา้ มีส่ิงท่ีผูเ้ รียนยงั ไม่เขา้ ใจครูอธิบาย เพ่ิมเติม ข้นั ท่ี 4 ข้นั ประเมินผล ผูเ้ รียนและครูช่วยกนั ประเมินผลการทางานกลุ่มและพิจารณาว่าอะไร คือจุดเด่นของงานและอะไรคือสิ่งท่ีควรปรับปรุง จากน้ันครูทดสอบความรู้แลว้ ให้คะแนนกลุ่มและ รายบคุ คล

5 สมมติฐำนของกำรวิจยั 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีไดร้ ับการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) ก่อนเรียนและหลงั เรียนแตกตา่ งกนั 2. ความสนใจในวิธีสอนวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ ของนักเรียนท่ีไดร้ ับการสอนโดยใช้กิจกรรม การเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) มีมากข้นึ

6 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วข้อง ในการวิจยั คร้ังน้ี ผวู้ ิจยั ไดศ้ ึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ งและไดน้ าเสนอตามหวั ขอ้ ต่อไปน้ี 1. เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ พ.ศ. 2562 2. เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 3. เอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ( เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) 4. เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั ความสนใจ 1. เอกสารท่ีเกย่ี วข้องกบั หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ พ.ศ.2545 ปรับปรุง พ.ศ.2546 คาอธิบายรายวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ รหัส 20104-2118 ตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ พ.ศ. 2564 ของสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กล่าวถึงการเรียนวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองต้น คือ การเขียน โปรแกรมควบคมุ หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ จุดมงุ่ หมายของหลกั สูตร เพอื่ ใหม้ ีทกั ษะในการเขียนโปรแกรมเพื่อควบคมุ หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 2. เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วข้องกบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ความหมายของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คุณลกั ษณะและความรู้ความสามารถของบุคคลอนั เป็ นผลจาก การเรียนการสอน หรือประมวลประสบการท่ีบุคคลได้รับจากการเรียนหารสอนทาให้บุคคลเกิดการ เปล่ียนแปลงพฤติกรรมของสมรรถภาพสมอง ซ่ึงสามารถวดั ออกมาได้เป็ นคะแนน โดยใช้แบบทดสอบ วดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน (ปริญญานิพนธ์ของเกีรยติศกั ด์ิ ส่องแสง) 3. เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วข้องกบั กจิ กรรมการเรียนแบบร่วมมือ ( เทคนคิ การสอน Jigsaw ) 3.1 การเรียนแบบร่วมมือ ( Cooperative Learning ) การเรียนแบบร่วมมือ หมายถึง การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนให้แก่ผูเ้ รียนได้เรียนรู้ร่วมกันเป็ นกลุ่มเล็ก ๆ แต่ละกลุ่มจะประกอบดว้ ยสมาชิกท่ีมีความรู้ ความสามารถแตกต่างกนั โดยท่ีแต่ละคนมีส่วนร่วมอยา่ งแทจ้ ริงในการเรียนรู้และในความสาเร็จของกลุ่ม ท้งั โดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแบ่งปันทรัพยากรการเรียนรู้รวมท้งั การเป็ นกาลงั ใจแก่กนั และกนั คนที่เรียนเก่งจะช่วยเหลือคนท่ีอ่อนกว่า สมาชิกในกลมุ่ ไม่เพียงแตร่ ับผิดชอบตอ่ การเรียนของตนเองเท่าน้นั

7 หากแต่จะตอ้ งร่วมรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของเพื่อสมาชิกทุกคนในกลุ่มความสาเร็จของแต่ละบุคคล คือ ความสาเร็จของกลุ่ม 3.2 เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw หมายถึง วธิ ีการสอนแบบร่วมมือและการถา่ ยทอดความรู้ ระหวา่ งเพื่อนในกลมุ่ ข้นั ตอนกิจกรรมประกอบดว้ ย 3.2.1 ครูแบง่ เน้ือหาท่ีจะเรียนออกเป็นหวั ขอ้ ยอ่ ย ๆ ใหเ้ ท่ากบั จานวนสมาชิกกลุ่ม 3.2.2 จดั กลุ่มผเู้ รียนโดยใหม้ ีความสามารถคละกนั เรียกวา่ “กลุ่มบา้ น” (Home Groups ) แลว้ มอบหมายงานใหส้ มาชิกแตล่ ะคนในกลุ่มบา้ นศึกษาเน้ือหาในหวั ขอ้ ท่ีต่างกนั 3.2.3 ผูเ้ รียนที่ได้รับหัวขอ้ เดียวกนั จากกลุ่มบา้ นแต่ละกลุ่มมานั่งดว้ ยกนั เพื่อทางานและ ศึกษาร่วมกนั ในหวั ขอ้ น้นั เรียกกลุม่ น้ีวา่ “กลุ่มผเู้ ชี่ยวชาญ” (Expert Groups) 3.2.4 สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มเชี่ยวชาญเมื่อไดศ้ ึกษาร่วมกนั ไดท้ าความเขา้ ในเน้ือหาและ สรุปเป็ นความรู้เรียบร้อยแลว้ แต่ละคนออกจากกลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญกลบั ไปยงั กลุ่มบา้ นของตน แลว้ ผลดั กนั อธิบายเพ่อื ถ่ายทอดความรู้ท่ีตนไดศ้ ึกษาใหส้ มาชิกในกล่มุ ฟังจนครบทกุ หวั ขอ้ 3.2.5 ครูทดสอบเน้ือหาที่ศึกษาแลว้ ใหค้ ะแนนรายบคุ คล (ฝ่ายวชิ าการโรงเรียนหนอง ชุมแสงวิทยา. 2542 : 19-21 ) 4. เอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้องกบั ความสนใจ ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวขอ้ งกบั ความสนใจ 4.1 ความหมายของความสนใจ ความสนใจ เป็นสิ่งที่เกิดจากแรงจูงใจทาใหเ้ รามีจิตใจที่จดจ่อต่อบุคคล สิ่งของหรือกิจกรรมต่าง ๆ หรือเป็นความรู้สึกอยา่ รู้อยากเห็น ที่เกิดจากการเรียนรู้ผลกั ดนั ให้บุคคลแสดงพฤติกรรมตามความสนใจน้นั ๆ ความสนใจจึงเป็นส่ิงที่สาคญั ท่ีจะตอ้ งทาใหเ้ กิดเป็นอนั ดบั แรกของกระบวนการเรียนรู้ มีนกั จิตวิทยาและ นกั การศึกษาไดใ้ หค้ วามหมายของความสนใจไวต้ า่ ง ๆ ดงั น้ี วชั รี ทรัพยม์ ี ( 2520 : 58 ) ไดอ้ ธิบายว่า ความสนใจ คือ ความรู้สึกท่ีจดจ่ออยากรู้อยากเห็น อยาก กระทาในส่ิงที่ตนสนใจน้นั ความสนใจเป็นองคป์ ระกอบสาคญั ที่จะทาให้เกิดแรงจูงใจในการเรียนหรือการ ทางาน วนิช บรรจง และคนอ่ืน ๆ (2515 : 32 ) ให้ความหมายว่า ความสนใจ หมายถึง ความรู้สึกหรือเจต คติต่อสิ่งใดสิ่งหน่ึงอนั มีผลให้เอาใจใส่และกระทากิจน้นั ๆ อยู่เสมอ ความสนใจเป็นส่ิงสาคญั ที่ตอ้ งทาให้ เกิดเป็นอนั ดบั แรกของกระบวนการเรียนรู้

8 วิไลพร ดาสะอาด (2542 : 25 ) ใหค้ วามหมายว่า ความสนใจ หมายถึง ความรู้สึกชอบและเอาใจใส่ ในเรื่องต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งหรือไดพ้ บเห็นในการทางาน ความอยากรู้อยากเห็นต่อส่ิงใดส่ิงหน่ึงซ่ึงแสดงออก โดยการขวนขวายที่จะเขา้ ร่วมหรือติดตามกิจกรรมต่าง ๆ เป็ นความรู้สึกที่โนม้ เอียงในการท่ีจะเลือกทาส่ิง หน่ึงส่ิงใดเก่ียวขอ้ พร้อมที่จะเสาะหาส่ิงสนใจดว้ ยความต้งั ในและยอมรับในคุณคา่ ของสิ่งน้นั ๆ ดิวอ้ี ( Dewey. 1965 : 66 ) กล่าวว่า ความสนใจ คือความรู้สึกชอบหรือความพอใจที่มีต่อส่ิงหน่ึง แนวคิดใดแนวคิดหน่ึงหรือกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึง โพเวลล (Powell. 1963 : 330 ) กล่าววา่ ความสนใจ หมายถึง แรงผลกั ดนั ที่กระตุน้ ใหบ้ ุคคลกระทา สิ่งใดใหส้ าเร็จลลุ ่วงไปดว้ ยดี จากความหมายท่ีกล่าวมา สรุปไดว้ ่า ความสนใจ หมายถึง ความรู้สึกอยากรู้อยากเห็นต่อสิ่งใดสิ่ง หน่ึงท้ังท่ีเป็ นบุคคล ส่ิงของ กิจกรรม ซ่ึงแสดงออกโดยการศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมการติดตามความ เปลี่ยนแปลงของส่ิงท่ีสนใจน้นั 4.2 ลกั ษณะของความสนใจ วนิช บรรจง และคนอ่ืนๆ (2516 : 32-33) อา้ งถึงคุณลกั ษณะของความสนใจ มีดงั น้ี 1. ความสนใจเป็ นความรู้สึกหรือเจตคติที่เขม้ ขน้ อยู่ในวงแคบ คือ คนเราจะตอ้ งมีความ สนใจต่อส่ิงใดสิ่งหน่ึงเป็นอยา่ ง ๆ ไป 2. ความสนใจเป็นเร่ืองของแตล่ ะบคุ คล คนหน่ึงอาจจะมีความสนใจ ตอ่ ส่ิงหน่ึงแตค่ นหน่ึง อาจจะไมส่ นใจต่อส่ิงน้นั เลยก็ได้ 3. เมื่อมีความสนใจบุคคลย่อมมีความมุ่งหมายต่อส่ิงน้ันและเอาใจใส่จดจ่อต่อส่ิงท่ีตน สนใจ 4. เม่ือเกิดความสนในต่อสิ่งใดแลว้ บุคคลยอ่ มมีความมุ่งหมายอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงต่อสิ่งน้นั เช่น ตอ้ งการอยากรู้อยากเห็นใหม้ ากข้นึ ตอ้ งการท่ีจะทาเป็น เป็นตน้ 5. บุคคลยอ่ มมีความมุ่งมน่ั ท่ีจะทาให้สาเร็จตามความมุ่งหมาย ถา้ มีความสนใจ ต่อสิ่งน้ัน ๆ อยา่ งแทจ้ ริง 4.3 ความสนใจกบั ความสามารถทางการเรียน จากความหมายและลกั ษณะของความสนใจที่กล่าวมา สรุปไดว้ ่า ความสนใจมีความสัมพนั ธ์กบั ความสามารถทางการเรียน เพราะความสนใจเป็นสิ่งที่ทาใหเ้ กิดความอยากรู้อยากเห็น เกิดการศึกษาคน้ ควา้ เพ่มิ เติม ทาใหผ้ เู้ รียนต้งั ใจเรียน สนใจตอ่ ครูผสู้ อน สนใจตอ่ กิจกรรมการเรียนการสอนสนใจวชิ าที่เรียนและ แสวงหาความรู้ในเรื่องน้ัน ๆ อยู่ตลอดเวลา ก็จะทาให้นกั เรียนมีความสามารถทางการเรียนและจะทาให้ นกั เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน

9 4.4 การสร้างความสนใจในบทเรียน ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ครูผสู้ อนควรคานึงถึงความสนใจและความแตกต่างระหวา่ ง บุคคลดว้ ย การเรียนจึงจะประสบผลสาเร็จ ครูอาจต้งั คาถามกบั ตนเองว่า ไดส้ อนวิชาต่าง ๆ สอดคลอ้ งกบั ความสนใจของนักเรียนหรือไม่ ให้งานให้กิจกรรมตามความสามารถความสนใจของนักเรียนหรือไม่ คาถามเหล่าน้ีจะเป็นเครื่องช่วยใหค้ รูทราบวา่ ควรจะจดั การเรียนการสอนอยา่ งไร สุโท เจริญสุข ( 2522 : 72 ) ใหแ้ นวการจดั การเรียนตามความสนใจของผเู้ รียนไวด้ งั น้ี 1. คานึงถึงสัญชาติญาณความอยากรู้อยากเห็นของผเู้ รียนโดยนาเอาเร่ืองราวหรือส่ิงแปลกใหม่มา เล่าหรือแสดงใหน้ กั เรียนดู 2. ทาบทเรียนใหส้ นุกโดยใชอ้ ปุ กรณ์การสอนหรือเทคนิควธิ ีการสอนหลาย ๆ รูปแบบ 3. ทาใหบ้ ทเรียนกระจ่าง โดยใชถ้ อ้ ยคาที่งา่ ย ๆ หรือ เนน้ รูปธรรมมากกวา่ นามธรรม 4. ใหน้ กั เรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็น หรือกระตนุ้ ให้ผเู้ รียนร่วมกิจกรรมการเรียนอยเู่ สมอ ดว้ ย การใชค้ าถาม ใชก้ ิจกรรม หรืออุปกรณ์ตา่ ง ๆ เขา้ มาช่วยสอน 5. จดั ส่ิงแวดลอ้ มรอบ ๆ ตวั ให้ผูเ้ รียนน่าสนใจ เช่น จดั นิทรรศการ การอภิปรายจดั ชุมนุม จดั การ แสดงหนงั สือ ฯลฯ วนิช บรรจง และคนอื่น ๆ (2516 : 33-34) เสนอแนะวิธีการสร้างความสนใจไวด้ งั น้ี 1. ก่อนจะสอนเร่ืองใดก็จาม ตอ้ งสร้างความรู้พ้นื ฐานในเร่ืองน้นั ๆ ใหแ้ ก่นกั เรียนก่อน 2. จดั บทเรียนใหเ้ หมาะกบั ความสามารถในการเรียนของนกั เรียน 3. จดั กิจกรรมใหน้ กั เรียนไดท้ างานไดส้ าเร็จเป็นชิ้นเป็นอนั 4. ช้ีแจงใหน้ กั เรียนเห็นความกา้ วหนา้ ของตนเอง ซ่ึงเป็นแรงจูงใจท่ีจะทาใหน้ กั เรียนอยากเรียนและ มีความสนใจในงานน้นั มากข้ึน 5. ในการสอนครูควรช้ีใหน้ กั เรียนไดเ้ ห็นความน่าสนใจของเร่ืองท่ีเรียน 6. จดั สภาพในการเรียนใหเ้ ป็นท่ีน่ารื่นรมย์ 7. ในการสอนแตล่ ะคร้ัง ครูควรจดั หาอปุ กรณ์การสอนท่ีเหมาะสมมาใช้ 8. ในการสอนแตล่ ะคร้ัง ครูตอ้ งมุ่งสร้างเจตคติท่ีดีต่อวชิ าน้นั ควบคไู่ ปดว้ ย 9. ควรจดั ใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมใหม้ ากท่ีสุด 10. จดั บทเรียนใหม้ ีความหมายตอ่ ชีวิตของนกั เรียน สรุปไดว้ า่ การสร้างความสนใจในบทเรียน เป็นหนา้ ที่ที่สาคญั ของครูผูส้ อนที่จะตอ้ งทาให้เกิดข้ึน ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ซ่ึงจะตอ้ งใชเ้ ทคนิคและวิธีการสอนที่เร้าความสนใจดึงดูดความสนใจ

10 ของผูเ้ รียน ท้งั น้ีเพื่อให้ผูเ้ รียนมีความรู้สึกอยากจะเรียนรู้ ติดตาม แสวงหาคาตอบเพื่อที่จะทาให้ผูเ้ รียน ประสบความสาเร็จในการเรียนตอ่ ไป 4.5 การวดั ความสนใจ การที่จะวดั ความสนใจ ให้ไดผ้ ลถูกตอ้ งที่สุด น้นั เป็ นเรื่องท่ีทาไดย้ าก ท้งั น้ีเพราะความสนใจของ แต่ละบุคคลย่อมแตกต่างกันออกไป และข้ึนอยู่กังองค์ประกอบหลายประการ เช่น สติปัญญาอายุ เพศ ส่ิงแวดลอ้ ม ประสบการณ์เดิม การพฒั นาการทางร่างกายและจิตใจ สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจรวมถึง การศึกษา การประกอบอาชีพ ฯลฯ โพเวลล์ (ไตรเทพ โห้โก. 2533 : 41 อา้ งอิงจาก Powell. 1963 : 238 ) ไดเ้ สนอวิธีวดั ความสนใจซ่ึง สามารถวดั ไดโ้ ดยวธิ ีดงั ต่อไปน้ี 1. การใชแ้ บบวดั ความสนใจ (Interest Inventories) โดยให้แสดงความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบ ต่อ ความตอ้ งการตา่ งๆ ของแบบวดั ความสนใจ 2. การใช้แบบสอบถามแบบปลายเปิ ด (Open Endend Ouestionnaires) โดยให้อิสระในการ ตอบคาถามต่าง ๆ ของแบบวดั ความสนใจ 3. การสัมภาษณ์ (Interviews) จะทาให้ผู้สัมภาษณ์สามารถสังเกตเห็นพฤติกรรมของผู้ถูก สมั ภาษณ์ได้ การวดั ความสนใจสามารถทาไดห้ ลายวิธีการ การที่จะเลือกใชว้ ิธีการใดวิธีการหน่ึงน้นั จะตอ้ ง เลือกใช้ให้เหมาะสมกับผูเ้ รียน เน้ือหา และเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้เกิดผลดีและวดั ได้ตรงมากท่ีสุด สาหรับการวจิ ยั ในคร้ังน้ีผวู้ ิจยั จะใชแ้ บบสอบถามวดั ความสนใจในวธิ ีการสอนวชิ าการบญั ชีหา้ งหุน้ ส่วน

11 บทที่ 3 วธิ ีดำเนินกำรวจิ ยั ในการวิจยั คร้ังน้ี ผวู้ ิจยั ไดด้ าเนินการตามข้นั ตอน คือ 1. การกาหนดประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 2. การสร้างเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวิจยั 3. การดาเนินการทดลอง 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 5. สถิติที่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู 1. ประชำกรและกล่มุ ตัวอย่ำง ประชากรและกลุ่มตวั อย่างท่ีใช้ในการวิจยั คร้ังน้ี เป็ นนักเรียนช้ันประกาศนียบตั รวิชาชีพ ปี ท่ี 3 แผนกวิชาไฟฟ้ากาลงั วิทยาลยั เทคนิคลพบุรี อาเภอเมืองลพบุรี จงั หวดั ลพบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 จานวน 1 กลุ่ม รวม 20 คน 2. เคร่ืองมือและกำรสร้ำงเคร่ืองมือ 2.1 แผนการสอนวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ โดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ( เทคนิคการสอน แบบ Jigsaw) 2.2 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน เป็นขอ้ สอบแบบปรนยั ชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 15 ขอ้ 2.3 แบบสอบถามวดั ความสนใจในวิธีสอนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เร่ืองการเขียนโปรแกรมควบคุม หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ อน่ึงแผนการสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ( เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) ผวู้ ิจยั ไดน้ าเครื่องมือ คือแผนการสอนเรื่อง การเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ โดย การใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ( เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) ที่ไดผ้ า่ นการปรับปรุงจากผเู้ ช่ียวชาญ มาแลว้ และแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไดผ้ า่ นการหาคณุ ภาพโดยใชก้ ารวิเคราะห์คา่ ดชั นีความ สอดคลอ้ งความสอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ สอบกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ IOC ส่วนแบบทดสอบวดั ความสนใจ จากเอกสารงานวิจยั ของวิไลพร ดาสะอาด (2544 : ) ที่ไดผ้ ่านการตรวจสอบหาคุณภาพของเคร่ืองมือมาแลว้ โดยลาดบั ข้นั ตอนพอสังเขปดงั น้ี

12 1.ศึกษาหลักสูตรและจุดประสงค์การเรียนรู้ เร่ืองการเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของ หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกบั การสร้างแผนการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ( เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) จากเอกสารตาราและงานวิจยั ต่าง ๆ ตลอดจนตวั อย่างกิจกรรมการเรียน แบบร่วมมือ ( เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) จากเอกสารเผยแพร่ความรู้ ผเู้ ชี่ยวชาญ (นางวไิ ลพร ดาสะอาด อาจารย์ 2 ระดบั 7 โรงเรียนหนองชุมแสงวิทยา) 2. ศึกษาหลกั การและทฤษฎีที่เกี่ยวขอ้ งกับกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ(เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) 3. จดั แบ่งเน้ือหา เรื่องการเขียนโปรแกรมควบคมุ การทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ โดยใชเ้ วลา 4 ชวั่ โมง 4. สร้างแผนการสอน จานวน 1 แผน เวลา 4 ชวั่ โมง มีจุดประสงคก์ ารเรียนรู้คอื เร่ือง การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษาระดบั สูง เวลา 3 ชวั่ โมง แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในเรื่องการเขียนโปรแกรมควบคมุ การทางานของหุ่นยนต์ เบ้ืองตน้ สร้างข้ึนตามคาอธิบายรายวิชาและตามผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั มีวิธีการดาเนินการตามข้นั ตอน ดงั น้ี 1. ศึกษาคาอธิบายรายวิชาและหลกั สูตร วิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ รหัส 20104-2118 โดยพิจารณาจาก ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั เป็นแนวทางในการทาแบบทดสอบ 2.ใช้การหาคุณภาพของแบบทดสอบโดยการใช้การวิเคราะห์ค่าวิเคราะห์ดชั นีความสอดคลอ้ ง ระหว่างขอ้ สอบกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ IOCโดยเลือกขอ้ ท่ีมีความเท่ียงตรงมากกว่าหรือ เท่ากบั 0.5 ไว้ เป็นขอ้ สอบปรนยั จานวน 15 ขอ้ ตามตารางท่ีปรากฏดงั น้ี

13 ตำรำงที่ 3.1 การวิเคราะห์ดชั นีความสอดคลอ้ งของแบบทดสอบกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ (IOC) สูตร ของ ลว้ น สายยศและองั คณา สายยศ 2539(197-198) รายวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ รหัส 20104-2118 ระดบั ช้นั ปวช.3 กลุม่ 4 แผนกวชิ าไฟฟ้ากาลงั ข้อที่ ควำมเหน็ ของผ้เู ช่ียวชำญ ผลรวม ค่ำ IOC คนที่ 1 คนท่ี 2 คนที่ 3 111131 211131 311131 411131 511131 6 2 1 1 3 0.67 711131 811131 911131 10 1 1 1 3 1 11 1 1 1 3 1 12 1 1 1 3 1 13 1 1 1 3 1 14 1 1 1 3 1 15 1 1 1 3 1 3. แบ บ ท ดส อบ วัดความส น ใจใน วิธี การส อน วิชา หุ่ น ยน ต์เบ้ื องต้น เร่ื อง การเขียน โปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนต์เบ้ืองตน้ มีลกั ษณะเป็ นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ผวู้ จิ ยั ไดใ้ ชแ้ บบของ วไิ ลพร ดาสะอาด ท่ีผา่ นการทดสอบหาคณุ ภาพมาแลว้

14 3. กำรดำเนนิ กำรวจิ ยั ในการวิจยั คร้ังน้ีเป็นการวิจยั เชิงทดลองโดยรูปแบบของการวิจยั ซ่ึงใชก้ ลุ่มเดียวมีลกั ษณะของการ ทดสอบก่อนเรียน (Pre-test ) และทดสอบหลงั เรียน (Post-test) 3.1 แบบแผนงานวจิ ยั ตำรำงท่ี 3.2 ตารางแบบแผนการวิจยั เชิงทดลองกลุ่มตวั อย่าง ทดสอบก่อนเรียน ทดลอง ทดสอบหลงั เรียน กล่มุ ตัวอย่ำงเรียน ทดสอบก่อนเรียน ทดลอง ทดสอบหลงั เรียน กลมุ่ ตวั อยา่ ง T1 X T2 สญั ลกั ษณ์ที่ใชใ้ นงานวิจยั T1แทน คะแนนทดสอบก่อนเรียน X แทน การจดั กระทา คือการใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ( เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) T2แทน คะแนนทดสอบหลงั เรียน 3.2วิธีดาเนินการวิจยั 3.2.1 อธิบายถึงการเรียนโดยการใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ( เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) แจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีประเมินผลการเรียนรู้ 3.2.2 ทดสอบก่อนเรียน (Pre - test) กบั นกั เรียนกลุ่มตวั อยา่ งดว้ ยแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ และแบบทดสอบวดั ความสนใจในเร่ืองงบการเงินซ่ึงผา่ นการตรวจสอบหาคุณภาพแลว้ 3.2.3 ด าเนิ น ก ารวิจัยโด ยท าก ารส อ น นั ก เรี ยน ก ลุ่ ม ตัวอย่างใน เร่ื อง ก ารเขี ย น โปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนต์เบ้ืองตน้ ในรายวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ รหัส 20104-2118 จานวน 4 ชวั่ โมง โดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) 3.2.4 เม่ือสอนครบ 4 ชั่วโมงแล้ว ทาการทดสอบหลังการทดลอง (Post - test) ด้วย แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและแบบทดสอบวดั ความสนใจซ่ึงเป็นฉบบั เดียวกนั กบั ฉบบั ที่ใช้ ก่อนการทดลอง 3.2.5 ตรวจแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและแบบทดสอบวดั ความสนใจในเรื่อง การเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ โดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ( เทคนิค การสอนแบบ Jigsaw) แลว้ นาผลการวเิ คราะห์โดยใชว้ ธิ ีทางสถิติเพอื่ ทดสอบสมมตุ ิฐาน

15 4. กำรวิเครำะห์ข้อมูล 1 . เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิภายในกลุ่มทดลองระหวา่ งก่อนการทดลองและหลงั การทดลองโดยใช้ t-test for Dependent Sample ตามสมมตุ ิฐานขอ้ ท่ี 1 2. วิเคราะห์ความสนใจ ภายในกลุ่มทดลองหลงั การทดลองโดยใช้ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน 5. สถติ ทิ ่ีใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล 5.1 สถิติพ้ืนฐานที่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู สถิติพ้ืนฐานท่ีใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู โดยคานวณจากสูตร ดงั น้ี 5.1.1ค่าคะแนนเฉลี่ย ( ลว้ น สายยศ และ องั คณา สายยศ. 2536 : 59 ) X = ΣX N เม่ือ X แทน ผลคะแนนเฉลี่ย ΣX แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมด N แทน จานวนนกั เรียนในกล่มุ 5.1.2 คา่ ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( ลว้ น สายยศ และ องั คณา สายยศ . 2536:63 ) S.D. = NX 2 − (X )2 N(N −1) เมื่อ S.D. แทน ความเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนน ΣX แทน ผลรวมของคะแนน X 2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตวั ยกกาลงั สอง N แทน จานวนนกั เรียนในกล่มุ 5.2 สถิติในการตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ 5.2.1 หาค่าดรรชนีความสอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ สอบกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบ และแบบสอบถามวดั ความสนใจ ในวิธีสอนวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ เร่ือง การเขียนโปรแกรมควบคุมการ ทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ โดยคานวณจากสูตรของ โรวิเนลลีและแฮมเบลตนั (ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ. 2539: 249) ดงั ต่อไปน้ี IOC = R N

16 เมื่อ IOC แทน ค่าดรรชนีความสอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ สอบกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ΣR แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผเู้ ชี่ยวชาญ N แทน จานวนผเู้ ชี่ยวชาญ 5.2.2 หาค่าความยากง่าย (P) และค่าอานาจจาแนก ( R ) ของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของขอ้ สอบปรนยั จานวน 15 ขอ้ โดยใชโ้ ปรแกรมวเิ คราะห์ขอ้ สอบและตรวจขอ้ สอบของคุณ หาญ สัตยารักษ์ คุณประยรู วิตา และคุณเสรี อินทร์คง และขอ้ สอบอตั นยั 1ขอ้ โดยใชเ้ ทคนิค 27%ของกลุ่ม สูงและกล่มุ ต่าจากตารางสาเร็จของ จุง เตห์ ฟาน ( Chung TheFan. 1952 : 1-32 ) 5.2.3 หาค่าความเช่ือมนั่ ของแบบสอบถามวดั ความสนใจในวิธีการสอนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เร่ืองการเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ โดยวิธีการหาค่าสัมประสิทธ์ิ แอลฟา( α - Coefficient ) คานวณจากสูตร ครอนบคั ( ลว้ น สายยศ และ องั คณา สายยศ. 2539 : 171-172) α = n n 1 − ΣS2i  −1 S2  t เม่ือ α แทน คา่ สมั ประสิทธ์ิของความเชื่อมน่ั n แทน จานวนของเครื่องมือวดั Si แทน คะแนนความแปรปรวนเป็นรายขอ้ St แทน คะแนนความแปรปรวนของเครื่องมือท้งั ฉบบั 5.2.4 หาค่าอานาจจาแนกของแบบสอบถามวดั ความสนใจในวิธีสอนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เร่ืองการเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนต์เบ้ืองตน้ โดยใช้เทคนิค 25% ของกลุ่มสูงกลุ่มต่า โดยวิธีของการแจกแจงที ( t – distribution ) คานวณจากสูตร T ของเอ็ดวาร์ด (ลว้ น สายยศและ องั คณา สายยศ. 2538 : 215-217) t = xH − xL s s2 2 +H L nH nL t แทน ค่าอานาจจาแนกของเครื่องมือ X H แทน คะแนนเฉลี่ยของกลมุ่ สูง X L แทน คะแนนเฉลี่ยของกลมุ่ ต่า SH แทน ความแปรปรวนของคะแนนกลุ่มสูง

17 SL แทน ความแปรปรวนของคะแนนกลุ่มต่า n H แทน จานวนของกลมุ่ ตวั อย่างในกลมุ่ สูง n L แทน จานวนของกลมุ่ ตวั อยา่ งในกลมุ่ ต่า 5.3 สถิติท่ีใชต้ รวจสอบสมมุติฐาน เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ เรื่องการเขียนโปรแกรมควบคุมการ ทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ท่ีไดจ้ ากการสอบก่อนเรียนและสอบหลงั เรียน ภายในกลุ่มเดียวกนั คานวณจาก สูตร t-test for Dependent Sample ( ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ. 2536 : 87 ) ตามสมมุตฐานในขอ้ 1 และ ขอ้ 2 t = D N  D2−( D)2 n−1 df = n - 1 เมื่อ t แทน คา่ ท่ีใชใ้ นการพจิ ารณาของการแจกแจงแบบที D แทน ความแตกตา่ งของคะแนนแต่ละคู่ N แทน จานวนคู่ ΣD แทน ผลรวมของความแตกต่างจากการเปรียบเทียบกนั เป็นรายบคุ คล ระหวา่ งคะแนนท่ีไดจ้ ากการทดสอบก่อนการเรียนกบั ทดสอบหลงั การ เรียน 5.4 การแปลผลข้อมูล นำขอ้ มลู กำรสอบถำมมำหำค่ำเฉล่ียโดยใชเ้ กณฑก์ ำรแปลผลและประเมินควำมแตกตำ่ งเชิงสถิติ ดว้ ยวธิ ี อิงเกณฑ์ Likert scale ดงั น้ี (บรรจง สืบสมำน, 2531) ค่ำเฉลี่ย ระดบั ควำมคดิ เห็น แตม้ คะแนนเฉล่ีย 2.34 - 3.00 คะแนน หมำยถึง มำก แตม้ คะแนนเฉล่ีย 1.67 - 2.33 คะแนน หมำยถึง ปำนกลำง แตม้ คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.66 คะแนน หมำยถึง นอ้ ย

18 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ผวู้ ิจยั ใชส้ ญั ลกั ษณ์ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล และแปลความหมายของผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลดงั น้ี 1. สัญลกั ษณ์ท่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล N แทน จานวนนกั เรียนในกลมุ่ ตวั อยา่ ง X แทน คะแนนเฉลี่ย S.D. แทน คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน แสดงการกระจายของคะแนน D แทน ความแตกตา่ งของคะแนน Σ D แทน ผลรวมของความแตกต่างของคะแนน Σ D2 แทน ผลรวมของความแตกต่างของคะแนน ยกกาลงั สอง CV. แทน สมั ประสิทธ์ิการกระจาย เพอ่ื ตรวจสอบคุณภาพการสอน t - test แทน สถิติในการเปรียบเทียบความแตกตา่ ง df แทน ช้นั แห่งความอิสระ ( N - 1 ) ** แทน มีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั 0.01 2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากการประเมินผลก่อนเรียนและหลงั เรียนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เร่ือง การเขียนโปรแกรมควบคุม การทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ของนกั เรียนแผนกวิชาไฟฟ้ากาลงั ช้นั ปวช .3 กลุ่ม 4 จานวน 20 คน ตาม แผนการสอน ปรากฏผลดงั ตารางตอ่ ไปน้ี

19 ตารางที่ 4.1 การประเมินผลก่อนและหลงั เรียนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เร่ือง การเขียนโปรแกรมควบคุมการ ทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ของนกั เรียนแผนกวชิ าไฟฟ้ากาลงั ช้นั ปวช.3 กลมุ่ 4 นักเรียนคนที่ การประเมินผล D D2 ก่อนเรียน หลงั เรียน 1 5 11 6 36 2 6 12 6 36 3 3 13 10 100 4 4 14 10 100 5 2 11 9 81 6 3 12 9 81 7 4 11 7 49 8 5 15 10 100 9 2 12 10 100 10 3 11 8 64 11 4 12 8 64 12 4 11 7 49 13 4 10 6 36 14 4 11 7 49 15 5 12 7 49 16 4 10 6 36 17 3 12 9 81 18 4 13 9 81 19 5 11 6 36 20 5 11 6 36 N = 14 X = 10.16 X = 24.06 D =221 D2 = 3353 S.D. = 4.09 S.D. = 3.38 จากตารางที่ 4.1 พบว่า คะแนนประเมินผลก่อนเรียนของนกั เรียนแผนกวิชาไฟฟ้ากาลงั ช้นั ปวช.3 กลุ่ม 4 มีค่าเฉล่ีย 10.16 (ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน 4.09) ส่วนการประเมินผลหลังเรียนมีค่าเฉล่ีย 24.06 (ค่า เบี่ยงเบนมาตฐาน 3.38)ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรียนมีค่า ΣD = 221 และ Σ D2 = 3353 เม่ือเทียบกบั เกณฑ์คุณภาพแลว้ พบว่ามีค่าอยู่ในระดบั ปานกลางและเมื่อเปรียบเทียบความ

20 แตกต่าง ของคะแนนการประเมินก่อนเรียนและหลงั เรียน ผวู้ ิจยั ใชค้ ่าสถิติ t - test สาหรับกลุ่มตวั อยา่ งที่ไม่ เป็นอิสระตอ่ กนั ผลการวเิ คราะหด์ งั กลา่ วปรากฏในตารางที่ 4 ตารางท่ี 4.2 การเปรียบเทียบความแตกต่างของการประเมินผลก่อนเรียนและหลังเรียน วิชา หุ่นยนต์ เบ้ืองตน้ เร่ืองการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาระดบั สูง ของนกั เรียนแผนกวิชาไฟฟ้ากาลงั ช้นั ปวส.2 กลมุ่ 6 การประเมินผล N D D2 t-test ก่อนเรียน 20 221 3353 31.11** หลงั เรียน 20 t (0.01 ; df = 19) = 3.8833 ** มีนยั สาคญั ที่ระดบั 0.01 จากตารางที่ 4.2 พบว่าเมื่อตรวจสอบความแตกต่างของคะแนนการประเมินผลก่อนเรียนและหลงั เรียนดว้ ย t- test พบว่าค่า t = 31.11 ซ่ึงมีนัยสาคญั ทางสถิติ ท่ีระดบั 0.01 จึงอาจกล่าวไดว้ ่าผลสัมฤทธ์ิหลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างเช่ือม่ันได้ที่ 99.00% ผลการวิเคราะห์อนุมานได้ว่าส่ือหรือวิธีสอนหรือ นวตั กรรมการเรียนการสอนที่ครูใช้ตาม แผนการสอน คือ การสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ( เทคนิคการสอนแบบJigsaw) มีประสิทธิภาพในการเพม่ิ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนให้สูงข้ึนจริง เป็นไปตามสมมตุ ิฐานขอ้ ที่ 1

21 ตารางท่ี 4.3 การวิเคราะห์แบบสอบถามวดั ความสนใจโดยการใช้การสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบ ร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) รายการ ผลการวเิ คราะห์ S.D. การแปลผล 1. นกั เรียนชอบวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 2.69 0.70 มาก 2. วิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เป็นวชิ าท่ีน่าสนุก 2.63 0.62 มาก 3. นกั เรียนชอบเรียนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ มากกวา่ วชิ าอ่ืน 2.44 0.73 มาก 4. นกั เรียนรู้สึกสนุกสนานต่อการเรียน วชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 2.94 0.25 มาก 5. นกั เรียนชอบทาแบบฝึกหดั วชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 2.38 0.72 มาก 6. วชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เป็นวิชาท่ีน่าจะมีเวลาเรียน ใหม้ ากกวา่ น้ี 2.81 0.40 มาก 7. นกั เรียนอยากใหม้ ีชวั่ โมงเรียนใน วิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 2.75 0.58 มาก 8. นกั เรียนชอบทาแบบฝึกหดั วชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ที่บา้ น 2.50 0.63 มาก 9. นกั เรียนชอบเลน่ เกมที่เก่ียวกบั การเขยี นโปรแกรมควบคุม 2.69 0.60 มาก 10. นกั เรียนรู้สึกสนุกสนาน เมื่อไดเ้ รียน วชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 2.31 0.70 ปานกลาง 11. นกั เรียนนาความรู้เดิมมาช่วยทาความเขา้ ใจวชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 2.38 0.72 มาก 12. นกั เรียนยกมือตอบคาถามในชวั่ โมงเรียน 2.00 0.89 ปานกลาง 13. นกั เรียนชอบอ่านหนงั สือท่ีเก่ียวกบั การเขียนโปรแกรมควบคมุ 2.63 0.62 มาก 14. นกั เรียนอยากจะใหถ้ ึงชว่ั โมงเรียนเร็ว ๆ 2.63 0.72 มาก 15. นกั เรียนชอบสอนวชิ าวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ใหเ้ พ่ือน 2.56 0.63 มาก 16. นกั เรียนคิดวา่ วิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ มีความจาเป็นต่อชีวิตประจาวนั และ การศึกษาต่อในระดบั สูง 2.63 0.72 มาก 17. นกั เรียนชอบซกั ถามปัญหาในบทเรียนกบั เพื่อนและครูเม่ือไม่เขา้ ใจ 2.56 0.73 มาก 18. นกั เรียนเตรียมหนงั สือและอปุ กรณ์ไวพ้ ร้อมเม่ือถึงชว่ั โมงเรียน 2.63 0.62 มาก 19. นกั เรียนศึกษาเน้ือหาล่วงหนา้ ก่อนเขา้ เรียนวชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 2.63 0.72 มาก 20. นกั เรียนชอบทบทวนบทเรียนทุกคร้ังที่เรียนจบ 2.38 0.72 มาก ระดับคะแนนเฉลย่ี 2.55 0.20 มาก จากตารางท่ี 4.3 แสดงให้เห็นว่า ความสนใจโดยการใช้การสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบ ร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) วิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ในภาพรวมอยู่ในระดบั ความสนใจมาก ( = 2.55 , = 0.20) เม่ือพจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ คะแนนเฉลี่ย ( ) มีคา่ สูงสุด คือ นกั เรียนรู้สึกสนุกสนาน

22 ต่อการเรียน วิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ มีคะแนนเฉล่ียอยู่ในระดับความสนใจมาก ( = 2.94 , = 0.25) คะแนนเฉลี่ยท่ีมีค่ารองลงมาลาดับที่ 2 และลาดับที่ 3 คือ วิชา หุ่นยนต์เบ้ืองต้น เป็ นวิชาท่ีน่าจะมีเวลา เรียน ใหม้ ากกว่าน้ี มีคา่ คะแนนเฉลี่ยอยใู่ นระดบั ความสนใจมาก ( = 2.81 , = 0.40) และ นกั เรียน อยากให้มีชว่ั โมงเรียนใน วิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับความสนใจมาก ( = 2.50, = 0.63 ) ส่วนท่ีมีค่าคะแนนเฉลี่ยต่าสุด คือ นักเรียนยกมือตอบคาถามในช่ัวโมงเรียนการเขียน โปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดบั ความสนใจปานกลาง ( = 2.00, = 0.89 )

23 บทท่ี 5 สรุปผลการวจิ ัย อภิปรายและข้อเสนอแนะ การวิจยั คร้ังน้ี เป็นการพฒั นาวิธีการสอนแบบร่วมมือในรายวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ สาหรับนกั เรียน ปวช.3 กล่มุ 4 แผนกวชิ าช่างไฟฟ้ากาลงั ที่ไดร้ ับการสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ( เทคนิคการ สอนแบบ Jigsaw) ซ่ึงเป็นการวจิ ยั เชิงทดลอง โดยใชก้ ล่มุ ทดลองกล่มุ เดียว รายละเอียดสรุป ไดด้ งั น้ี ความม่งุ หมายของการวิจยั 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิ ก่อนเรียนและหลงั เรียนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เร่ืองการเขียน โปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนต์เบ้ืองตน้ โดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอน แบบ Jigsaw) 2. เพื่อศึกษาความสนใจในวิธีการสอนหลังเรี ยน วิชา หุ่ นยนต์เบ้ืองต้น เรื่ อง การเขียน โปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ โดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ(เทคนิคการสอน แบบ Jigsaw) 1. สมมตฐิ านของการวิจยั 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) ก่อนเรียนและหลงั เรียนแตกตา่ งกนั 2. มีความสนใจในวิธีสอนวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ เร่ืองการเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของ หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ของนักเรียนที่ไดร้ ับการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ(เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw)มาก 2. วิธีดาเนินการวิจัย 1. ประชากรกลมุ่ ตวั อยา่ ง ประชากรกลุ่มตัวอย่างเป็ น นักเรี ยนแผนกวิชาช่างไฟฟ้ากาลัง ระดับช้ัน ปวช.3 กลุ่ม 4 วทิ ยาลยั เทคนิคลพบุรี จงั หวดั ลพบุรี จานวน 1 กลุ่ม รวม 20 คน 2. เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการทดลอง 2.1 แผนการสอน เร่ืองการเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ โดยใช้ กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) ซ่ึงไดผ้ ่านการตรวจสอบจากผเู้ ช่ียวชาญแลว้ นาไปทดลองใชพ้ ร้อมท้งั ปรับปรุงแกไ้ ขแลว้ ใชเ้ วลา 12 ชว่ั โมง 2.2 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เป็ นแบบทดสอบชนิดปรนยั แบบเลือกตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 15 ขอ้ มีลักษณะเป็ นข้อสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ซ่ึงแบบทดสอบน้ีผ่านการ

24 ตรวจ-สอบคุณภาพมาแลว้ โดยการใชก้ ารวิเคราะห์ดชั นีความสอดคลอ้ งระหว่างขอ้ สอบกบั จุดประสงคก์ าร เรียนรู้ (IOC) 2.3 แบบทดสอบวดั ความสนใจ โดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการหาคุณภาพมาแลว้ จาก เอกสารรายงานการวิจยั เร่ือง “การศึกษาความสามารถในการใชภ้ าษาความคิดสร้างสรรคแ์ ละความสนใจใน วธิ ีสอนภาษาไทยของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ท่ีไดร้ ับการสอนโดยใชเ้ พลงและเกมประกอบการสอน กบั การสอนตามคู่มือครู ” ของวิไลพร ดาสะอาด (2541 ) 3. การดาเนนิ การทดลอง ผู้วิจัยดาเนินการทดลอง กับกลุ่มตัวอย่างในภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2563 เป็ นระยะเวลา 3 สปั ดาห์ จานวน 12 ชว่ั โมง โดยมีข้นั ตอนในการดาเนินการสอน ดงั น้ี 3.1 อธิบายเพื่อทาความเขา้ ใจกบั นกั เรียน ถึงวธิ ีการสอนโดยการสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบ ร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) โดยแนะนาวิธีการดาเนินกิจกรรมตามข้นั ตอน แจง้ จุดประสงคก์ าร เรียนรู้และวธิ ีการประเมินผลการเรียนโดยใชก้ ิจกรรมน้ี 3.2 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรี ยนและแบบทดสอบวดั ความสนใจใน วิธีการสอนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เร่ือง การเขียนโปรแกรมควบคมุ การทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ก่อนการ ทดลอง 3.3 ดาเนินการทดลอง โดยการสอนตามแผนการสอนท่ีกาหนดไว้ ซ่ึงใชเ้ วลา 12 ชวั่ โมง 3.4 หลงั เสร็จสิ้นการทดลองแลว้ ทาการทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และทาการทดสอบการ วดั ความสนใจในวธิ ีการสอนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เรื่องการเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนต์ เบ้ืองตน้ หลงั การทดลองซ่ึงแบบทดสอบเป็นชุดเดียวกบั แบบทดสอบก่อนการทดลอง 3.5 ตรวจใหค้ ะแนน แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและแบบทดสอบวดั ความสนใจใน วธิ ีการสอนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เรื่องการเขียนโปรแกรมควบคมุ การทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 3.6 เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เพ่ือวิเคราะห์ขอ้ มลู โดยใชว้ ธิ ีทางสถิติ 4. การวเิ คราะห์ข้อมูล เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสนใจในวิธีการสอนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เร่ืองการ เขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ของนกั เรียนแผนกวิชาช่างไฟฟ้ากาลงั ช้นั ปวช.3 กลุ่ม 4 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 ท่ีไดร้ ับการสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ( เทคนิคการ สอนแบบJigsaw ) ก่อนการทดลองและหลงั การทดลองโดยใช้ t – test for Dependent Sample

25 สรุปผลการวิจยั 5.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เรื่อง การเขียนโปรแกรมควบคุมการทางาน ของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ โดยการสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) ก่อน การทดลองและหลงั การทดลองแตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.01 5.2 ความสนใจของนักเรียนท่ีไดร้ ับการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบมีส่วนร่วม(เทคนิคการ สอนแบบ Jigsaw) มาก อภิปรายผลการวิจัย การวิจยั คร้ังน้ีเป็ นการศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสนใจในวิธีการสอนวิชา หุ่นยนต์ เบ้ืองตน้ เร่ืองการเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ของนกั เรียนแผนกวิชาช่างไฟฟ้า กาลัง ช้ัน ปวช.3 กลุ่ม 4 ที่ได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) จากผลการวิจยั ไดอ้ ภิปรายผลตามลาดบั หวั ขอ้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ดา้ นผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เรื่องการเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของ หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ของนกั เรียน โดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ(โดยใชเ้ ทคนิคการสอนแบบJigsaw ) จากส มมุติฐาน ข้อที่ 1 ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรี ยน วิชา หุ่ น ยน ต์เบ้ื องต้น เร่ื องการเขียน โปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียน แบบร่วมมือ(เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) ก่อนการทดลองและหลงั การทดลองแตกต่างกนั จากการทดลอง พบวา่ นกั เรียนท่ี ไดร้ ับการสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ( เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) ก่อน การทดดลองและหลงั การทดลอง แตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ี 0.01 นน่ั แสดงวา่ นกั เรียนท่ีไดร้ ับ การสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ( เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) หลงั การทดลองมีการพฒั นา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่แตกต่างกันจริงซ่ึงเป็ นไปตามสมมุติฐานที่ต้ังไว้ คือนักเรียนกลุ่มทดลองมี ผลสัมฤทธ์ ิทางการเรี ยนสูงข้ ึน ดา้ นความสนใจในวิธีการสอนวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองตน้ เร่ืองการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาระดบั สูง ของนกั เรียนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ(โดยใชเ้ ทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) จากสมมุติฐานข้อท่ี 2 ด้านความสนใจในวิธีการสอนวิชา หุ่นยนต์เบ้ืองต้น เร่ือง การเขียน โปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนต์เบ้ืองตน้ ของนกั เรียน โดยใชก้ ิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ(โดย ใชเ้ ทคนิคการสอนแบบ Jigsaw หลงั การทดลองอยใู่ นระดบั มาก ท้ังน้ีการเรียนแบบร่วมมือ(โดยใช้เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) เป็ นวิธีการเรียนการสอนท่ีมุ่ง พฒั นาผูเ้ รียนในดา้ นการแกป้ ัญหา การกาหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ การคิดแบบหลากหลาย การปฏิบตั ิ

26 ภารกิจท่ีซบั ซอ้ น การเนน้ คุณธรรมจริยธรรม การเสริมสร้างประชาธิปไตยในช้นั เรียน ทกั ษะทางสังคม การ สร้างนิสัยความรับผิดชอบร่วมกนั และการร่วมมือภายในกลุ่มจึงทาให้เกิดการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนของตัวเองและของเพ่ือนที่มีผลการเรียนที่อ่อนกว่าเน่ืองจากการเรียนแบบร่วมมือเป็ นวิธีการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเนน้ การจดั สภาพแวดลอ้ มทางการเรียนใหแ้ ก่ผูเ้ รียนไดเ้ รียนรู้ร่วมกนั เป็ นกลุ่ม เล็กๆ แต่ละกลุ่มจะประกอบดว้ ย สมาชิกที่มีความรู้ ความสามารถแตกต่างกนั โดยที่แต่ละคนมีส่วนร่วม อย่างแท้จริงในการเรียนรู้ และความสาเร็จของกลุ่ม ท้ังโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแบ่งปัน ทรัพยากรการเรียนรู้รวมท้งั การเป็นกาลงั ใจแก่กนั และกนั คนท่ีเรียนเก่งจะช่วยเหลือคนท่ีอ่อนกวา่ สมาชิก ในกลุ่มไม่เพียงแต่รับผิดชอบต่อการเรียนของตนเองเท่าน้ัน แต่จะตอ้ งรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของเพื่อน สมาชิกทุกคนในกลุม่ ความสาเร็จของแตล่ ะบคุ คลคือ “ความสาเร็จของกลมุ่ ” ข้อเสนอแนะ การเรียนแบบร่วมมือ(โดยใช้เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw ) เป็ นเทคนิคท่ีพฒั นาข้ึนเพื่อส่งเสริม ความร่วมมือ และการถ่ายทอดความรู้ระหวา่ งเพื่อนในกลุ่ม เทคนิคน้ีสามารถใชไ้ ดก้ บั รายวิชาท่ีผเู้ รียนตอ้ ง เรียนเน้ือหาวิชาจากตาราเรียน เช่น สังคมศึกษา ภาษาไทยวทิ ยาศาสตร์ เป็นตน้ ดงั น้นั ครูผูส้ อนจึงมีบทบาท สาคญั ในการกาหนดขนาดของกลุ่ม(โดยปกติประมาณกลุ่ม 2-6 คน) และลกั ษณะของกลุ่มจะเป็ นกลุ่มท่ี คละความสามารถ (ท้งั ผูเ้ รียนเก่ง เรียนปานกลาง และเรียนอ่อน) ให้การดูแลการจดั ลกั ษณะการนั่งของ สมาชิกให้สะดวกที่จะทางานร่วมกันและง่ายต่อการสังเกตติดตามความกา้ วหน้าของกลุ่ม ครูตอ้ งช้ีแจง กรอบของกิจกรรมให้นักเรียนแต่ละคนเข้าใจวิธีการและกฎเกณฑ์ในการทางาน สร้างบรรยากาศท่ี เสริมสร้างการแลกเปล่ียนความคิดเห็นและกาหนดหนา้ ที่รับผิดชอบของสมาชิกกลุ่ม เป็นท่ีปรึกษาของทุก กลุ่มย่อยและคอยติดตามความกา้ วหน้าในการเรียนรู้ของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม กาหนดเวลาในการทางาน ร่วมกนั นอกจากน้ันครูจะตอ้ งยกย่อง ให้รางวลั คาชมเชยในการทางานร่วมกันของนักเรียนในดา้ นการ ประเมินผลครูจะให้คะแนนเป็นรายบุคคลแลว้ นาคะแนนของทุกคนมารวมกนั เป็ นคะแนนกลุ่ม กลุ่มที่ได้ คะแนนรวมหรือค่าเฉลี่ยสูงสุด จะติดประกาศไวท้ ่ีป้ายประกาศของห้อง เพ่ือเป็นการสร้างขวญั และกาลงั ใจ ให้กบั นักเรียนและทาให้นกั เรียนมีความสนใจเรียนมากข้ึน อนั จะเป็ นผลให้นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนสูงข้ึนไปดว้ ย

27 บรรณานุกรม กาญจนา วฒั าย.ุ การวจิ ยั ในช้นั เรียนเพ่อื พฒั นาการเรียนการสอน สถาบนั พฒั นาผบู้ ริหารการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ, 2544. เกียรติศกั ด์ิ ส่องแสง. ปริญญานิพนธ์ , มปป. ไตรเทพ โหโ้ ก๋. เอกสารอดั สาเนาการเปรียบเทียบความเขา้ ใจในการฟังภาษาไทยและความสนใจในวิธี สอนฟังของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี่ ที่ 1 ที่เรียนโดยการใชแ้ บบฝึกจากการฟังจากแถบบนั ทึกเสียง และจาก การอ่านของครูปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การสอนมธั ยม). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรีนค- รินทรวิโรฒประสานมิตร, 2533. ฝ่ายวชิ าการโรงเรียนหนองชุมแสงวทิ ยา. เทคนิคการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นศนู ยก์ ลาง เพชรบุรี : ฝ่ายวชิ าการโรงเรียนหนองชุมแสงวทิ ยา, 2542. เรวตั ร กีฎวทิ ยา. เอกสารอดั สาเนาการเปรียบเทียบความเขา้ ใจในการอ่านความสามารถทางการเขียน และความสนใจในวธิ ีสอนภาษาไทยของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4ท่ีไดร้ ับการสอนดว้ ยวิธี สอนโดยใชค้ อมพิวเตอร์ช่วยสอนและวธิ ีสอนตามคู่มือครู ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การสอนมธั ยม). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2537. ลว้ น สายยศ และ องั คณา สายยศ. เทคนิคการวดั ผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทร- วโิ รฒ ประสานมิตร, 2539. ลว้ น สายยศ และ องั คณา สายยศ. เทคนิคการวิจยั ทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทร- วโิ รฒ ประสานมิตร, 2538. วนิช บรรจง และคนอื่น ๆ. ความหมายของความสนใจ. กรุงเทพฯ ,2520. วชั รี ทรัพยม์ ี. ความหมายของความสนใจ. กรุงเทพฯ, 2545 วิไลพร ดาสะอาด. การศึกษาความสามารถในการใชภ้ าษาไทยและความสนใจในวิธีการสอนภาษาไทย ท 401 ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนหนองชุมแสงวทิ ยา ท่ีไดร้ ับการสอนโดยใช้ เพลงและเกมประกอบการสอน. เพชรบุรี : โรงเรียนหนองชุมแสงวทิ ยา, 2542. สุธาทิพย์ หยา่ งอารี. การบญั ชีหา้ งหุน้ ส่วน. พิมพค์ ร้ังท่ี 1 กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์,2543.

ภาคผนวก

แบบสอบถามวัดความสนใจในการเรียน วชิ า หุ่นยนต์เบือ้ งต้น ตอนที่ 1 แบบสอบถามขอ้ มูลส่วนตวั 1. เพศ  ชาย  หญิง 2. อายุ ………… ปี ตอนท่ี 2 คำชีแ้ จง ในการตอบใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1. ตอบคาถามทนั ทีท่ีอ่านขอ้ ความในแต่ละขอ้ จบลง โดยตอบตามความรู้สึกท่ีเกิดข้นึ ทนั ทีในเวลาน้นั 2. ตอบดว้ ยตวั เองโดยไมต่ อ้ งปรึกษาใคร 3. ตอบใหต้ รงกบั ความรู้สึกท่ีแทจ้ ริง 4. ดูตวั อยา่ งวธิ ีการตอบก่อนลงมือตอบ วธิ ีกำรตอบใหน้ กั เรียนกาเคร่ืองหมาย  ลงในช่องระดบั ความรู้สึก ที่ตรงกบั ความ รู้สึกของนกั เรียนตวั อยา่ งวธิ ีการตอบ ข้อควำม ระดบั ควำมรู้สึก มำก ปำนกลำง น้อย 1. นกั เรียนชอบวชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 2. วิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เป็นวิชาที่น่าสนุก 3. นกั เรียนชอบเรียนวิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ มากกวา่ วิชาอ่ืน 4. นกั เรียนรู้สึกสนุกสนานต่อการเรียน วชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 5. นกั เรียนชอบทาแบบฝึกหดั วชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 6. วิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ เป็นวิชาที่น่าจะมีเวลาเรียน ใหม้ ากกวา่ น้ี 7. นกั เรียนอยากใหม้ ีชว่ั โมงเรียนใน วชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 8. นกั เรียนชอบทาแบบฝึกหดั วิชา หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ท่ีบา้ น 9. นกั เรียนชอบเล่นเกมที่เก่ียวกบั การเขียนโปรแกรมควบคมุ 10. นกั เรียนรู้สึกสนุกสนาน เมื่อไดเ้ รียน วชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 11. นกั เรียนนาความรู้เดิมมาช่วยทาความเขา้ ใจวชิ าหุ่นยนตเ์บ้ืองตน้ 12. นกั เรียนยกมือตอบคาถามในชวั่ โมงเรียน 13. นกั เรียนชอบอ่านหนงั สือท่ีเก่ียวกบั การเขียนโปรแกรมควบคุม 14. นกั เรียนอยากจะใหถ้ ึงชวั่ โมงเรียนเร็ว ๆ 15. นกั เรียนชอบสอนวชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ใหเ้ พอ่ื น

16. นกั เรียนคิดวา่ วชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ มีความจาเป็นตอ่ ชีวิตประจาวนั และ การศึกษาต่อในระดบั สูง 17. นกั เรียนชอบซกั ถามปัญหาในบทเรียนกบั เพ่อื นและครูเมื่อไมเ่ ขา้ ใจ 18. นกั เรียนเตรียมหนงั สือและอุปกรณ์ไวพ้ ร้อมเมื่อถึงชวั่ โมงเรียน 19. นกั เรียนศึกษาเน้ือหาลว่ งหนา้ ก่อนเขา้ เรียนวชิ า หุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ 20. นกั เรียนชอบทบทวนบทเรียนทุกคร้ังที่เรียนจบ

จัดกจิ กรรมชว่ ยเหลือผเู้ รยี นด้วยการใช้การสอนแบบร่วมมอื โดยแบง่ กลมุ่ ผูเ้ รียน 2-3 คน ตอ่ กลมุ่ เพ่ือช่วยให้ผู้เรยี นได้เกิดการเรียนร้รู ่วมกนั