Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฉบับที่ 3-2564 Ebook

ฉบับที่ 3-2564 Ebook

Published by wantana246, 2021-11-02 07:01:34

Description: ฉบับที่ 3-2564 Ebook

Search

Read the Text Version

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั ชัยภูมิ ฉบบั ท่ี 3/2564 30 กันยำยน 2564 กลุ่มงำนบริหำรกำรคลังและเศรษฐกิจ สำนักงำนคลังจงั หวดั ชยั ภมู ิ ศำลำกลำงจงั หวดั ชัยภมู ิ ต.ในเมอื ง อ.เมือง จ.ชยั ภมู ิ 36000 รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั ชยั ภมู ิ 1

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวดั ชยั ภมู ิ ส่านกั งานคลงั จังหวัดชยั ภมู ิ ศาลากลางจังหวดั ต.ในเมอื ง อ.เมือง จ.ชยั ภมู ิ 36000 โทรศพั ท.์ 0-4481-1178 / โทรสาร. 0-4481-2398 www.cgd.go.th/cmp ฉบบั ที่ 3/2564 วนั ที่ 30 กันยายน 2564 รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จังหวดั ชยั ภูมิ ปี 2564 “เศรษฐกิจจังหวัดชยั ภมู ปิ ี 2564 คาดว่าจะขยายตวั รอ้ ยละ 0.5 ต่ากวา่ ประมาณการ ณ เดอื นมิถนุ ายน 2564 ทคี่ าดวา่ จะขยายตวั รอ้ ยละ 0.9” 1. เศรษฐกิจจงั หวดั ชยั ภูมิ ในปี 2564 1.1 ดา้ นการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ เศรษฐกิจจังหวัดชัยภูมิ ปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.5 เมื่อเทียบกับปีก่อน (โดยมี ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ (-0.2) – 1.2) ปรับตัวลดลงจากที่คาดการณ์เดิม ณ เดือนมิถุนายน 2564 ที่ขยายตัว ร้อยละ 0.9 พิจารณาจาก ด้านอุปทาน (การผลิต) มีแนวโน้มขยายตัวจากการผลิตภาคอุตสาหกรรม การผลิตภาคเกษตรกรรมชะลอตัว ส่วนการผลิตภาคบริการหดตัว ด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) มีแนวโน้ม ขยายตัวจากการลงทุนภาคเอกชน และการบริโภคภาคเอกชน ส่วนการใช้จ่ายภาครัฐชะลอตัว สาหรับ เสถียรภาพเศรษฐกิจภายในจังหวัด คาดว่าอัตราเงินเฟ้อจะอยู่ที่ร้อยละ 0.4 และการจ้างงานคาดว่ามีแนวโนม้ เพิ่มขึน้ เลก็ น้อย ด้านอุปทาน (การผลิต) คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.2 เม่ือเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ ท่ีรอ้ ยละ (-0.6) – 1.2) ปรบั ตวั ลดลงจากท่คี าดการณ์เดิม ณ เดือนมถิ ุนายน 2564 ทข่ี ยายตวั รอ้ ยละ 0.8 จากการผลติ ภาคอุตสาหกรรม คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.2 เม่ือเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.7 – 1.6) ตามจานวนโรงงานอุตสาหกรรมและทนุ จดทะเบียนโรงงาน การผลิตภาคเกษตรกรรม คาดว่าจะชะลอตวั ร้อยละ 2.8 เมื่อเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ 1.7 – 3.9) ตามปริมาณผลผลิตทางการเกษตรที่สาคัญ ได้แก่ ข้าวนาปี มันสาปะหลัง และอ้อยโรงงาน ส่วนการผลิตภาคบริการหดตัวร้อยละ -0.5 เมื่อเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ (-1.3) – 0.2) เน่ืองจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) ส่งผลให้การทอ่ งเทยี่ วของโลกหยุดชะงัก และจานวนนกั ท่องเที่ยวติดลบ รวมถึงรายได้จากการค้าส่งคา้ ปลกี ลดลงอย่างมาก ด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.0 เมื่อเทียบกับปีก่อน (โดยมี ช่วงคาดการณ์ท่รี อ้ ยละ 0.2 – 1.9) ปรับตวั ลดลงจากท่คี าดการณ์เดิม ณ เดอื นมิถุนายน 2564 ที่ขยายตัวร้อยละ 2.2 จากการบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.9 เมื่อเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.5 – 1.3) ตามปริมาณการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพ่ิมจากการค้าส่งค้าปลีก และปริมาณการใช้ไฟฟ้าครัวเรือน รวมถึงปริมาณการจดทะเบียนรถยนต์และรถจักรยานยนต์ท่ีเพ่ิมข้ึน การลงทุนภาคเอกชนคาดว่าจะขยายตัว ร้อยละ 1.3 เมื่อเทียบกบั ปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณท์ ่ีร้อยละ 0.5 – 2.4) จากพน้ื ท่อี นญุ าตก่อสรา้ งที่อยู่อาศัย และปริมาณรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ รวมถึงการให้สินเชื่อเพื่อการลงทุนท่ีเพ่ิมขึ้น ส่วนการใช้จ่ายภาครัฐ คาดวา่ จะชะลอตวั ร้อยละ 1.6 เม่ือเทียบกับปีก่อน (โดยมชี ว่ งคาดการณ์ที่รอ้ ยละ 0.5 – 2.5) ตามงบประมาณ ทไี่ ดร้ บั จดั สรร ส่วนรายไดเ้ กษตรกรชะลอตวั ตามราคาสินคา้ เกษตร รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั ชัยภมู ิ 2

ปจั จัยที่มีผลกระทบกับเศรษฐกจิ ของจังหวดั ชัยภมู ิ 1. ราคาพืชเศรษฐกิจ อาจมีแนวโน้มปรับตัวเพ่ิมขึ้น ตามความต้องการของตลาดทั้งในและ ตา่ งประเทศ 2. นโยบายอัตราดอกเบ้ีย แนวโน้มการปรับอัตราดอกเบ้ีย อาจส่งผลกระทบต่อหน้ีสินภาคครัวเรือน และตน้ ทุนการเงนิ ของภาคธุรกิจ 3. ราคาน่้ามันเชื้อเพลิงในประเทศ อยู่ในภาวะผันผวน อาจจะกระทบกับค่าครองชีพและการลงทุน ท่ไี ม่แน่นอน 4. ด้านสังคม 4.1 สถานการณ์โรคระบาด การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจโลกอย่างรุนแรง โดยเฉพาะประเทศ หรือจังหวัดที่พ่ึงพารายได้ จากการท่องเท่ียวเป็นหลัก รวมถึง “ห่วงโซ่มูลค่าด้านการท่องเที่ยว” เช่น“บริการนวด” “บริการรถ รับจ้าง” “บริการร้านอาหาร” “บริการโรงแรม” เป็นต้น เมื่อจานวนนักท่องเที่ยวลดลง ผลกระทบ ที่เกิดขึ้นต่อแรงงานและผู้ประกอบการจึงเกิดขึ้นเป็นวงกว้าง ส่งผลต่อภาคเกษตรและอาหาร ที่ผูกติดกับ ห่วงโซ่อุปทานของการท่องเที่ยวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เร่ิมระบาดต้ังแต่ปลายปี 2019 เป็นต้นมา และราชกิจจานุเบกษาประกาศให้โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นโรคตดิ ตอ่ อันตราย 5. มาตรการดา้ นเศรษฐกิจ 5.1 ด้านการเกษตร มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2563/64 เช่น การช่วยเหลือค่าเก็บเก่ียว และปรับปรุงคุณภาพข้าว รวมถึงมาตรการรักษาเสถียรภาพเกษตรกรผู้ปลูกข้าว เช่น โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือก โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวโดยสถาบันเกษตรกร และ โครงการชดเชยดอกเบ้ยี ใหผ้ ู้ประกอบการค้าข้าวในการเกบ็ สต็อก เปน็ ตน้ 5.2 สวัสดิการแห่งรัฐ การดาเนินมาตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและช่วยเหลือประชาชนผู้ท่ีมี รายได้น้อยผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โดยสนับสนุนวงเงินสาหรับซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคท่ีจาเป็น จากร้านธงฟ้า ประชารฐั และรา้ นอน่ื ๆ 5.3 นโยบายกระต้นุ เศรษฐกจิ ของรัฐบาล รัฐบาลเห็นชอบ 14 มาตรการ เพ่อื บรรเทาและเยียวยา ประชาชน รวมถึงผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เช่น มาตรการชดเชยรายได้แก่ลูกจ้างของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบ หรือผู้ได้รับ ผลกระทบอ่ืน ๆ จากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19), มาตรการลดการนาส่งเงิน ประกันสังคม, ลดภาระค่าน้า ค่าไฟฟ้า, โครงการคนละคร่ึง, โครงการช้อปดีมีคืน และโครงการให้ความ ช่วยเหลือภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา เป็นต้น เพื่อเป็นการสนับสนุนการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ รักษาระดับ การจา้ งงาน รวมถงึ สนบั สนุนเศรษฐกจิ ชุมชนใหม้ ีเม็ดเงนิ หมุนเวยี นในเศรษฐกิจฐานราก 6. สภาพภูมิอากาศ มีความผันผวนและได้รับผลกระทบอยู่ท่ัวโลก ส่งผลเสียหายต่อผลผลิต ทางการเกษตรโดยตรง 7. หนี้สินภาคครัวเรือน ซึ่งยังคงมีอยู่อย่างต่อเน่ืองทั้งระยะส้ันและระยะยาว รวมถึงแนวโน้มที่เพ่ิม สงู ขึ้น อาจส่งผลให้กาลังซอื้ ในอนาคตหดตัวลง 8. ภาวะเศรษฐกิจในประเทศและเศรษฐกิจโลกที่ยังไม่ฟื้นตัว การส่งออกของประเทศซบเซา เนื่องจากประเทศคู่ค้าชะลอคาสง่ั ซื้อตามภาวะเศรษฐกิจท่ชี ะลอตัว รวมถึงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรน่า 2019 (COVID-19) รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั ชยั ภมู ิ 3

ตารางสรุปสมมตฐิ านและผลการประมาณการเศรษฐกิจจังหวดั ชัยภมู ิ ปี 2564 (ณ เดอื นกนั ยายน 2564) 2562 2563e 2564f (ณ กันยายน 2564) เฉลยี่ เฉลี่ย เฉลยี่ ช่วง สมมติฐานหลัก -47.7 84.4 2.8 (1.5 – 4.0) สมมตฐิ านภายนอก -30.7 4.5 4.2 (3.5 – 5.0) 1) ผลผลติ ข้าวเจ้านาปี (รอ้ ยละต่อป)ี -68.5 4.8 2.2 (1.5 – 3.0) 2) ผลผลติ มันสาปะหลัง (ร้อยละตอ่ ปี) 3) ผลผลติ อ้อยโรงงาน (รอ้ ยละตอ่ ปี) 4) ราคาขา้ วจา้ วนาปเี ฉลยี่ (บาท/ตัน) 8,396 8,083 8,484 (8,124 – 8,205) 5) ราคามันสาปะหลังเฉลีย่ (บาท/ตัน) 2,633.3 2,126.8 2,102 (2,095 – 2,105) 6) ราคาออ้ ยโรงงาน (บาท/ตนั ) 7) ปรมิ าณการใช้ไฟฟา้ ภาคอุตสาหกรรม (ร้อยละตอ่ ปี) 671 663 691 (676 – 702) 8) จานวนโรงงานอตุ สาหกรรม (โรง) 2.5 -3.5 1.6 (1.0 – 2.0) 601 395 401 (397 – 403) 9) รายได้คา้ สง่ คา้ ปลีก (ร้อยละต่อปี) 1.6 -6.6 0.5 (0.3 –0.7) 10) จานวนรถยนต์จดทะเบียนใหม่ (คัน) 2,802 2,284 2,301 (2,295 – 2,307) 11) จานวนรถจกั รยานยนตจ์ ดทะเบยี นใหม่ (คัน) 12,514 11,058 11,261 (11,169 – 11,334) 12) สนิ เชื่อเพ่ือการลงทนุ (ล้านบาท) 3,411 3,478 3,525 (3,496 – 3,565) สมมติฐานด้านนโยบาย 13) รายจ่ายประจา (ลา้ นบาท) 3,353 4,569 4,490 (4,477 – 4,500) 99..99 3366..33 -1.7 ((-2.0) – (-1.5)) (ร้อยละต่อป)ี 2,697 (2,963 – 3,209) 14) รายจา่ ยลงทนุ (ล้านบาท) 2,093 28.8 3,101 (11.0 – 19.0) 5.8 15.0 (รอ้ ยละตอ่ ป)ี -2.6 ((-0.2) – 1.2) ผลการประมาณการ -0.6 -5.5 0.5 (0.5 – 1.3) -1.0 -4.1 0.9 (0.5 – 2.4) 1) อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอ้ ยละตอ่ ป)ี -0.1 3296..39 1.3 (1.7 – 3.9) 2) อัตราการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชน (ร้อยละตอ่ ป)ี -40.4 -3160.36 2.8 (0.7 – 1.6) 3) อตั ราการขยายตวั ของการลงทนุ ภาคเอกชน (ร้อยละต่อปี) 1.0 -3.1 1.2 ((-1.3) – 0.2) 4) อตั ราการขยายตวั ของภาคเกษตรกรรม (รอ้ ยละต่อปี) 2.3 21.5 -0.5 (1.9 – 5.6) 5) อัตราการขยายตวั ของภาคอตุ สาหกรรม (ร้อยละตอ่ ปี) -34.3 -1.09 3.8 ((-0.7) – 1.0) 6) อตั ราการขยายตัวของภาคบริการ (ร้อยละตอ่ ป)ี 1.0 0.4 7) อัตราการขยายตวั ของรายไดเ้ กษตรกร (ร้อยละตอ่ ป)ี 8) อัตราเงนิ เฟ้อ (ร้อยละตอ่ ป)ี 9) จานวนผู้มีงานทา (คน) 467,693 452,813 453,310 (452,641 – 454,012) 10,767 -14,880 498 ((-172)– 1,199) รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จังหวดั ชัยภมู ิ 4

สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจจังหวดั ชัยภูมิ 1. ด้านอุปทาน (การผลิต) ปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.2 เมื่อเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ (-0.6) – 1.2) ปรับตัวลดลงจากที่คาดการณ์เดมิ ณ เดือนมิถุนายน 2564 ท่ีขยายตัวร้อยละ 0.8 จากการผลิตภาคอุตสาหกรรม คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.2 เม่ือเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.7 – 1.6) ตามจ่านวนโรงงานอุตสาหกรรมและทุนจดทะเบียนโรงงาน การผลิตภาคเกษตรกรรม คาดว่าจะชะลอตัวร้อยละ 2.8 เม่ือเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.7 – 3.9) ตามปริมาณผลผลิตทางการเกษตรท่ีสา่ คัญ ได้แก่ ข้าวนาปี มันส่าปะหลัง และอ้อยโรงงาน ส่วนการผลติ ภาคบริการหดตัวร้อยละ -0.5 เมื่อเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ (-1.3) – 0.2) เนื่องจากการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา (COVID-19) สง่ ผลใหก้ ารท่องเที่ยวของโลกหยดุ ชะงัก และ จ่านวนนกั ทอ่ งเที่ยวตดิ ลบ รวมถึงรายได้จากการค้าส่งคา้ ปลกี ลดลงอยา่ งมาก โดยมรี ายละเอยี ดสมมตฐิ าน ดังนี้ 1.1 ปรมิ าณผลผลิตข้าวเจ้านาปีในปี 2564 คาดวา่ จะชะลอตัวรอ้ ยละ 2.8 เม่ือเทยี บกบั ปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ 1.5 – 4.0) ต่ากว่าท่ีคาดการณ์เดิม ณ เดือนมิถุนายน 2564 ท่ีชะลอตัวร้อยละ 3.5 จากปริมาณฝนที่เพ่ิมขึ้น ทาให้มีปริมาณน้าเพียงพอต่อการเพาะปลูกและการเจริญเตบิ โต รวมถึงสภาพอากาศ ทเ่ี ออื้ อานวย ส่งผลให้พชื สาคัญมผี ลผลติ เพิ่มข้นึ 100.0 %yoy ปริมาณผลผลิต:ข้าวเจ้านาปี 84.4 80.0 60.0 45.2 21.6 (1.5 - 4.0) 40.0 3.5 2.8 20.0 4.3 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 -47.7 0.0 -0.6 -8.7 -20.9 -14.2 -4.8 consensus -20.0 -13.2 -40.0 -60.0 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563e 2564F รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั ชยั ภมู ิ 5

1.2 ปริมาณผลผลิตมันสาปะหลัง ในปี 2564 คาดว่าจะชะลอตัวร้อยละ 4.2 เมื่อเทียบกับ ปกี ่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ทร่ี ้อยละ 3.5 – 5.0) เทา่ กับที่คาดการณ์เดมิ ณ เดอื นมิถุนายน 2564 การชะลอตัว ดังกล่าวเกิดจากสภาพอากาศแปรปรวน ศัตรูพืชระบาด เช่น โรคใบด่างมัน โรคเพลี้ยแป้ง และโรคไรแดงมัน สาปะหลัง เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ความต้องการมันสาปะหลังเพื่อนาไปใช้เป็นวัตถุดิบที่หลากหลาย ทั้งใน อุตสาหกรรมอาหาร อาหารสัตว์ สารให้ความหวาน กรดซิตริก โดยเฉพาะในตลาดจีนท่ีมีความต้องการเพิ่มขึ้น อย่างต่อเน่ือง และยังมีโอกาสในการขยายตลาดสง่ ออกไปยังตลาดใหมท่ ี่มีศักยภาพ เช่น ตุรกี นิวซีแลนด์ และ อินเดยี เปน็ ตน้ จึงเป็นโอกาสใหเ้ กษตรกรขยายเนื้อทเ่ี พาะปลกู เพิ่มมากขนึ้ %yoy ปริมาณผลผลิต:มันสา่ ปะหลัง 120.0 101.5 100.0 80.0 60.0 (3.(53.-55-.05).0) 40.0 23.0 20.0 0.3 0.0 4.5 4.2 4.2 -20.0 -45.9 -24.4 -13.7 -2.2 -12.6 -49.7 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 -40.0 -30.7 consensus -60.0 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563e 2564F 1.3 ปริมาณผลผลิตอ้อยโรงงาน ในปี 2564 คาดว่าจะชะลอตัวร้อยละ 2.2 เมื่อเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ (1.5 – 3.0) ต่ากว่าที่คาดการณ์เดิม ณ เดือน มิถุนายน 2564 ที่ชะลอตัวร้อยละ 3.0 ทั้งนี้ การชะลอตัวดังกล่าวเกิดจากปัญหาภัยแล้งและราคาอ้อยท่ีตกต่าทาให้ชาวไร่อ้อยไม่ได้ดูแลรักษาบารุงตอ หรอื ปลกู อ้อยใหม่เพม่ิ ข้ึนมากนกั จงึ ทาให้ผลผลติ ต่อไร่จากท่ีควรอยูใ่ นระดับกว่า 10 ตนั ต่อไรล่ ดลงเหลือ 7-8 ตนั ต่อไร่ ประกอบกับความหวานที่ไมด่ เี ท่าทค่ี วรจะเปน็ %yoy ปริมาณผลผลิต:อ้อยโรงงาน 80.0 58.3 60.0 48.6 40.0 29.9 (1.5 - 3.0) 22.4 4.8 3.0 2.2 20.0 4.7 0.0 -20.0 -10.7 -11.2 -51.1 -15.9 -68.5 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 -40.0 -60.0 consensus -80.0 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563e 2564F รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั ชัยภมู ิ 6

1.4 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวท่ีร้อยละ 1.6 เม่ือเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.0 – 2.0) ต่ากว่าท่ีคาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนมิถุนายน 2564 ทข่ี ยายตวั รอ้ ยละ 1.7 ตามการเปล่ียนแปลงของจานวนโรงงานอตุ สาหกรรม %yoy ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม 25.0 20.1 20.0 15.0 16.1 13.3 (1.0 - 2.0) 10.0 6.4 7.9 5.0 2.5 1.7 1.6 0.0 -5.0 -6.8 -4.5 -2.2 -6.0 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 -10.0 -3.5 consensus 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563e 2564F 1.5 จานวนโรงงานอุตสาหกรรม ในปี 2564 คาดว่า ณ สิ้นปี จะมีโรงงานจานวน 401 แห่ง หรือเพิ่มขึ้นจากปีก่อน จานวน 6 แห่ง (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ี 397 – 403 แห่ง ) เท่ากับท่ีคาดการณ์เดิม ณ เดือน มถิ นุ ายน 2564 ตามการต่อใบอนุญาตโรงงานประจาปี และการกาหนดคานิยามของ “โรงงานอตุ สาหกรรม” ตาม พ.ร.บ. โรงงานฉบับใหม่ พ.ศ. 2562 โรง จ่านวนโรงงานอุตสาหกรรม 700 582 611 619 628 581 600 601 600 571 561 569 500 (397 - 403) 395 401 401 400 300 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 consensus 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563e 2564F รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั ชยั ภมู ิ 7

1.6 รายได้ค้าส่งค้าปลีก ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.5 เม่ือเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.3 – 0.7) ปรับตัวลดลงจากที่คาดการณ์เดิม ณ เดือนมิถุนายน 2564 ที่ขยายตัวร้อยละ 1.1 ซึ่งการขยายตัวดังกล่าวเกิดจากการขยับเพิ่มข้ึนจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจภาครัฐ ชว่ ยหนนุ กาลังซื้อในประเทศ เชน่ โครงการบัตรสวัสดกิ ารแห่งรฐั , โครงการชอ้ ปดมี ีคนื , และโครงการคนละคร่ึง เป็นต้น รวมถึงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในปี 2563 ผู้ประกอบการ ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ ร้านค้า ร้านอาหารหลาย ๆ แห่ง ต้องมีการปรับแผนธุรกิจสู่ช่องทางออนไลน์ และเดลิเวอรี่เพิ่มข้ึนเพื่อให้ธุรกิจอยู่รอด %yoy รายได้ค้าส่งค้าปลีก 30.0 26.6 25.0 18.5 20.0 13.4 9.8 10.8 9.2 5.6 1.6 (0.3 - 0.7) 15.0 1.1 0.5 10.0 5.0 0.0 -5.0 -10.0 -5.0 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 -15.0 -18.0 -6.6 consensus -20.0 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562e 2563e 2564F -25.0 รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จังหวดั ชยั ภมู ิ 8

2. ด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) ปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.0 เม่ือเทียบกับปีก่อน (โดยมีชว่ งคาดการณท์ รี่ อ้ ยละ 0.2 – 1.9) ปรับตวั ลดลงจากท่ีคาดการณ์เดมิ ณ เดือนมถิ ุนายน 2564 ทขี่ ยายตวั รอ้ ยละ 2.2 จากการบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.9 เมื่อเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ ที่ร้อยละ 0.5 – 1.3) ตามปรมิ าณการจดั เก็บภาษมี ูลคา่ เพิม่ จากการคา้ ส่งค้าปลีก และปริมาณการใชไ้ ฟฟ้า ครัวเรือน รวมถงึ ปรมิ าณการจดทะเบยี นรถยนตแ์ ละรถจักรยานยนต์ที่เพ่มิ ข้นึ การลงทนุ ภาคเอกชนคาดว่า จะขยายตัวร้อยละ 1.3 เมื่อเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.5 – 2.4) จากพื้นท่ีอนุญาต ก่อสร้างท่ีอยู่อาศัย และปริมาณรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ รวมถึงการให้สินเชื่อเพื่อการลงทุนท่ีเพ่ิมข้ึน ส่วนการใช้จ่ายภาครัฐ คาดว่าจะชะลอตัวร้อยละ 1.6 เมื่อเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.5 – 2.5) ตามงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร ส่วนรายได้เกษตรกรชะลอตัวตามราคาสินค้าเกษตร โดยมี รายละเอยี ดสมมตฐิ าน ดงั นี้ 2.1 ยอดจดทะเบียนรถยนต์นั่งส่วนบุคคล ในปี 2564 คาดว่าจะมีรถยนต์จดทะเบียนใหม่ จานวน 2,301 คันต่อปี หรือเพิ่มข้ึนจานวน 17 คันต่อปี (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่จานวน 2,295 – 2,307 คัน) ต่ากว่าที่คาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนมิถุนายน 2564 ที่จานวน 2,322 คันต่อปี เนื่องจากการแพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID -19) ยอดจาหน่ายรถยนต์ในประเทศ คาดว่าน่าจะได้รับผลกระทบถึง ช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี เนื่องจากกาลังซื้อและความเช่ือม่ันของผู้บริโภคท่ีลดลงอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับ ภาคธุรกิจเองน่าจะฟื้นตัวได้ลาบากในปีนี้ ทาให้โอกาสในการปล่อยสินเชื่อของบริษัทผู้ให้สินเชื่อต้องมีความ เขม้ งวดมากขึ้น การแข่งขนั ใชโ้ ปรโมชนั่ ส่งเสริมการตลาดของค่ายรถจงึ อาจไม่ชว่ ยตลาดโดยรวมได้มากเท่าไรนัก ส่งผลให้ยอดจาหนา่ ยรถยนต์อาจไมเ่ พิม่ สงู มากในปี 2564 คนั จา่ นวนรถยนต์น่ังส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ 3,426 3,709 4,000 3,019 (2,295 - 2,307) 3,500 2,573 2,904 2,674 2,802 2,284 2,322 2,301 3,000 2,378 2,500 1,848 1,942 2,000 1,500 1,000 500 - มิ.ย.-64ก.ย.-64 consensus 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562e 2563e 2564F รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั ชยั ภมู ิ 9

2.2 ยอดจดทะเบียนรถจักรยานยนต์ใหม่ คาดว่าในปี 2564 จะมีรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ จานวน 11,261 คัน หรือเพิ่มข้ึนจานวน 203 คันต่อปี (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ีจานวน 11,169 – 11,334 คัน) ตา่ กว่า ที่คาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนมิถุนายน 2564 ที่จานวน 11,611 คัน เน่ืองจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา (COVID -19) หากแยกเป็นรายประเภทรถที่ได้รับผลกระทบมากท่ีสุด คือกลุ่มรถยนต์ขนาดเล็ก และกลุ่มรถจักรยานยนต์ เนื่องจากกลุ่มผู้ซ้ือหลักเป็นกลุ่มผู้มีรายได้ปานกลางลงมา ซ่ึงได้รับผลกระทบ ค่อนข้างมาก เพราะนอกจากจะมีกาลังซ้ือท่ีลดลงแล้ว ยังมีความเสี่ยงสูงในการผ่อนชาระสินเช่ือเช่าซ้ือ ทาให้ไม่ ผา่ นเกณฑ์ของผู้ใหส้ ินเชอ่ื ไดง้ า่ ย 25,000 คนั จ่านวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ 20,000 16,799 15,970 17,429 20,320 15,000 16,410 15,683 15,256 15,983 (11,169 - 11,334) 13,888 11,058 11,611 11,261 12,514 10,000 5,000 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 consensus 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563e 2564F 2.3 สินเชื่อเพ่ือการลงทุน โดยคาดว่าในปี 2564 จะมีสินเชื่อคงค้างจานวน 3,525 ล้านบาท หรือเพิ่มข้ึน 47 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ี 3,496 – 3,565 ล้านบาท) ต่ากว่าท่ีคาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนมิถุนายน 2564 ที่ 3,572 ล้านบาท เน่ืองจากรัฐบาลอนุมัติมาตรการช่วยเหลือ ผู้ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมีมาตรการทางด้านการเงิน เช่น สินเชื่อดอกเบี้ยต่า การผ่อนปรนเกณฑ์การจัดชั้นสินเชื่อปกติเพ่ือให้ลูกหน้ีมีสภาพคล่องเพียงพอ ในการดาเนินธรุ กจิ ส่งเสรมิ เสถยี รภาพของการจา้ งงาน รวมถงึ มาตรการสรา้ งความเช่ือม่ันในระบบตลาดทุน เป็นต้น ลา้ นบาท สินเชื่อเพ่ือการลงทุน (3,496 - 3,565) 4,000 2,407 2,743 3,246 3,293 3,150 3,333 3,389 3,411 3,413 3,572 3,525 3,500 1,536 1,948 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000 500 0 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 consensus 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563e 2564F รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จังหวดั ชัยภมู ิ 10

2.4 การใช้จ่ายภาครัฐ ในปี 2564 คาดว่าจะชะลอตัวร้อยละ 1.6 เมื่อเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ 0.5 – 2.5) ตา่ กว่าทคี่ าดการณไ์ วเ้ ดิม ณ เดือนมิถนุ ายน ทชี่ ะลอตวั รอ้ ยละ 5.1 แยกเป็นงบประจาหดตัวร้อยละ -1.7 (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ (-2.0) – (-1.5)) การแพร่ระบาดของโรค ติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทาให้เงินงบประมาณโครงการอบรมต่าง ๆ ของภาครัฐไม่สามารถ นาไปใช้ได้ และถกู โอนเปล่ียนแปลงจากงบดาเนินงานไปเปน็ งบกลางแทน สว่ นงบลงทนุ คาดว่าจะชะลอตัวร้อยละ 15 (โดยมชี ว่ งคาดการณ์ทีร่ ้อยละ 11.0 – 19.0) ตามงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร %yoy รายจ่ายงบประจ่า 60.0 ((-2.0) - (-1.5)) 40.0 33.4 36.3 20.0 3.5 10.9 4.1 9.9 0.0 2.2 -20.0 -7.3 -12.4 -17.8 -15.6 มิ.ย.-64 ก.ย-1.-.674 -40.0 -54.3 consensus -60.0 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563e 2564F 60.0 %yoy ราย3จ9่.า0ยงบลงทุน 28.8 (11.0 - 19.0) 40.0 15.0 5.8 15.0 20.0 16.3 0.0 0.3 -1.4 -26.2 -20.0 -20.5 -11.6 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 -40.0 -26.2 consensus 2553 2554 2-3565.35 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563e 2564F -60.0 รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวดั ชยั ภมู ิ 11

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กาหนดเป้าหมายการใช้จ่ายงบประมาณภาพรวมไวท้ ร่ี ้อยละ 100.0 ของวงเงนิ งบประมาณในภาพรวม และเป้าหมายการใช้จ่ายงบลงทุนไว้ท่ีร้อยละ 100.0 ของวงเงินงบประมาณ งบลงทนุ เป้าหมายการใช้จา่ ยรายไตรมาสประจ่าปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ดังน้ี เปา้ หมายการใช้จา่ ย ภาพรวม(ร้อยละ) งบลงทุน(รอ้ ยละ) ไตรมาส 1 ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 32 20 ไตรมาส 2 ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 54 45 ไตรมาส 3 ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 77 65 ไตรมาส 4 ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 100 100 ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัดชัยภูมิ คาดว่าจะสามารถใช้จ่ายงบประมาณภาพรวม ได้ท้ังสิ้น 7,758 ล้านบาท เพิ่มข้ึนร้อยละ 29.8 เม่ือเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นอัตราการเบิกจา่ ย ท่ีร้อยละ 97.0 ของวงเงินงบประมาณในภาพรวม โดยรายจ่ายประจาคาดว่าจะสามารถใช้จ่ายได้ 4,059 ล้านบาท เพิ่มข้ึนร้อยละ 8.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นอัตราการใช้จ่ายท่ีร้อยละ 100.0 ของวงเงิน งบประมาณรายจ่ายประจา สาหรับรายจ่ายลงทุนคาดว่าจะสามารถใช้จ่ายได้ 3,699 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 66.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นอัตราการใช้จ่ายที่ร้อยละ 100.0 ของวงเงินงบประมาณ รายจ่ายลงทุน ผลการใช้จา่ ยงบประมาณ ประจา่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 รายการ งบประมาณ ผลการใช้จา่ ย รอ้ ยละการ ผลการ คาดการณ์ เป้าหมาย สูงกวา่ / จดั สรร สะสมตั้งแตต่ ้นปี ใช้จ่าย คาดการณ์ ร้อยละการ การใช้ ต่ากว่า 1.งบประมาณประจ่าปี ใช้จา่ ยปี งปม. จา่ ย เป้าหมาย งบประมาณ พ.ศ. 2564 งปม.จนถงึ ใช้จ่าย (รอ้ ยละ) รายจา่ ยประจา 17 กันยายน 2564 รายจ่ายลงทุน รายจ่ายภาพรวม 2564 2.งบประมาณเหลอ่ื มปี ปี 2563 4,185 3,861 92.3 4,059 97 100 -3 กอ่ นปี 2563 3,813 1,825 76.0 3,699 97 100 -3 รวมงบเหลอื่ มปี 7,998 6,757 84.5 7,758 97 100 -3 ที่มา : ระบบ GFMIS 1,376 1,190 86.5 1,376 100 1,376 1,190 86.5 1,376 100 รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั ชยั ภมู ิ 12

กราฟผลเบิกจ่ายงบภาพรวม ประจา่ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เทียบกบั เป้าหมาย ร้อยละ การเบกิ จ่ายสะสม ตัง้ แต่ตน้ ปีงบประมาณ จนถงึ วนั ที่ 17 กนั ยายน 2564 100 100 80 80 60 60 40 40 20 20 -0 ต.ค.-63 พ.ย.-63 ธ.ค.-63 ม.ค.-64 ก.พ.-64 ม.ี ค.-64 เม.ย.-64 พ.ค.-64 มิ.ย.-64 ก.ค.-64 ส.ค.-64 ก.ย.-64 ผลเบิกจ่ำยภำพรวม ตงั้ แต่ต้นปี ถงึ ปัจจุบนั เป้ ำหมำย 64 กราฟผลเบกิ จา่ ยงบลงทุน ประจ่าปงี บประมาณ พ.ศ.2564 เทยี บกบั เปา้ หมาย ร้อยละ การเบกิ จา่ ยสะสม ตง้ั แตต่ น้ ปีงบประมาณ จนถงึ วันท่ี 17 กนั ยายน 2564 120 100.00 80.00 100 60.00 40.00 80 20.00 - 60 40 20 0 ต.ค.-63 พ.ย.-63 ธ.ค.-63 ม.ค.-64 ก.พ.-64 ม.ี ค.-64 เม.ย.-64 พ.ค.-64 มิ.ย.-64 ก.ค.-64 ส.ค.-64 ก.ย.-64 ผลเบิกจ่ำย เป้ ำหมำย 64 รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จังหวดั ชัยภมู ิ 13

3. ด้านรายได้เกษตรกร ในปี 2564 คาดว่าจะชะลอตัวร้อยละ 3.8 ต่อปี เม่ือเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ 1.9 – 5.6) ต่ากว่าที่คาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนมิถุนายน 2564 ที่ชะลอตัวร้อยละ 4.0 เน่ืองจากสภาพอากาศแปรปรวน ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรออกสู่ตลาดมีน้อย และต้องปลูกซ่อมหลายครง้ั รวมถึงผลผลิตต่อไร่ลดลง ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น อย่างไรก็ตามรัฐบาลยังมีโครงการประกันรายได้ เกษตรกรและมาตรการคขู่ นาน ปี 2563/64 ในเบอ้ื งตน้ แลว้ 3.1 ราคาข้าวเจ้านาปีในจังหวัดชัยภูมิ ปี 2564 คาดว่าราคาเฉลี่ยอยู่ท่ี 8,480 บาทต่อตัน เพิ่มข้ึนเมื่อเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 8,124 – 8,205 บาทต่อตัน) ต่ากว่าท่ีคาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือน มิถุนายน 2564 ที่ 8,536 บาทต่อตัน ท้ังน้ี ราคาเฉล่ียท่ีเพ่ิมสูงข้ึน เนื่องจากสภาพอากาศที่แปรปรวน ปริมาณ ผลผลิตออกสู่ตลาดมีน้อย ความต้องการข้าวในตลาดโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รวมถึงรัฐบาลมีมาตรการช่วยเหลือ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิตที่ 2563/64 เช่น โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2563/64 และ โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมลู ค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร เป็นต้น บาท/ตัน ราคาข้าวเจ้านาปี 17,000 15,471 15,897 13,741 15,000 13,282 13,551 12,383 (8,124 - 8,205) 13,000 11,000 10,256 8,551 8,496 8,396 8,083 8,536 8,480 9,000 7,000 5,000 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 consensus 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563e 2564F 3.2 ราคามนั สาปะหลัง ในปี 2564 เฉล่ียอยู่ที่ 2,102 บาทตอ่ ตนั ลดลงเมอื่ เทยี บกับปีก่อน (โดยมีช่วง คาดการณ์ที่ 2,095 – 2,105 บาทต่อตัน) สูงกว่าท่ีคาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนมิถุนายน 2564 ท่ี 2,013 บาทต่อตัน ทั้งน้ี ลดลงเน่ืองจากผลผลิตออกสู่ตลาดมีคุณภาพต่า เชื้อแป้งมีปริมาณน้อย จากสภาพอากาศท่ีแปรปรวน อย่างไรก็ดี คาดว่าประเทศจีนจะมีความต้องการซื้อสินค้ามันเส้นเพิ่มข้ึน จากราคาข้าวโพดของจีนยังอยู่ ในระดับสูงและอยู่ในช่วงขาขึ้น รวมถึงความต้องการมันสาปะหลังภายในประเทศมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากนโยบายด้านพลังงานของไทยท่ีจะผลักดันให้ใช้น้ามันแก๊สโซฮอล์ E20 หรือน้ามันเบนซินที่มี สัดสว่ นเอทานอลผสมอยูร่ ้อยละ 20 เป็นนา้ มนั เบนซนิ พืน้ ฐานของประเทศ บาท/ตัน ราคามันสา่ ปะหลัง (2,095 - 2,105) 3,000 2,668 2,783 2,397 2,506 2,538 2,481 1,718 1,671 2,586 2,633 2,127 2,013 2,102 2,500 2,000 1,500 1,000 500 - มิ.ย.-64 ก.ย.-64 consensus 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563e 2564F รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จังหวดั ชยั ภมู ิ 14

3.3 ราคาออ้ ยโรงงาน ปี 2564 ราคาเฉลีย่ อยู่ท่ี 691 บาทต่อตนั เพ่มิ ขนึ้ เม่ือเทียบกบั ปีก่อน (โดยมชี ่วงคาดการณท์ ี่ 676 – 702 บาทตอ่ ตนั ) ตา่ กวา่ ที่คาดการณ์ไว้เดมิ ณ เดือนมิถุนายน 2564 ที่ 705 บาทตอ่ ตนั เนอื่ งจากมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอ่ื วนั ที่ 11 พ.ค. 2564 เหน็ ชอบให้จ่ายเงนิ ช่วยเหลอื ชาวไร่อ้อยตดั สด สะอาด 120 บาท/ตัน ตามโครงการชว่ ยเหลือเกษตร และราคาเฉลีย่ ของนา้ ตาลทรายดบิ ในตลาดโลกขยับเพิ่มสงู ขึ้น หลังสตอ๊ กน้าตาลทราย ในตลาดโลกลดลง รวมถึงผลผลติ อ้อยโรงงานของประเทศไทยปรบั ลดลงอย่างต่อเนอ่ื งจากผลกระทบด้านภยั แล้ง บาท/ตัน ราคาอ้อยโรงงาน (676 - 702) 1,200 950 950 1,000 1,013 1,000 965 861 973 763 705 691 1,000 671 663 800 600 400 200 0 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 consensus 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563e 2564F รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั ชยั ภมู ิ 15

4. ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายในจังหวัด อัตราเงินเฟ้อท่ัวไปปี 2564 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 0.4 ปรับตัวสูงข้ึนเม่ือเทียบกับปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ (-0.7) – 1.0 ต่อปี) ต่ากว่าท่ีคาดการณ์ไว้เดิม ณ เดอื นมถิ นุ ายน 2564 ท่รี อ้ ยละ 0.6 ทง้ั น้ี เพ่มิ ขึน้ โดยมีปัจจยั สาคัญจากมาตรการลดค่าครองชพี ผู้บริโภคของ ภาครัฐ ท้ังการลดค่ากระแสไฟฟ้า และค่าน้าประปาในรอบเดือน ก.ค. – ส.ค. 64 รวมท้ังปัจจัยราคาน้ามันทม่ี ี แนวโน้มสงู ขึน้ จากความต้องการที่เพ่ิมขึ้นตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรน่า (COVID-19) ท่คี ล่คี ลายลงในกล่มุ ประเทศเศรษฐกิจหลัก %yoy อัตราเงินเฟ้อ : Inflation rate 12.0 10.9 10.0 5.1 ((-0.7) - 1.0) 8.0 10.7 6.0 5.0 4.0 0.5 0.9 1.3 1.0 0.6 0.4 2.0 0.0 -0.2 -0.4 -2.0 -1.1 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 consensus 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563e 2564F การจ้างงานในปี 2564 คาดว่าจะมีการจ้างงานจานวน 453,310 คน เพ่ิมขึ้นจานวน 498 คน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 452,641 – 454,012 คนต่อปี) ต่ากว่าท่ีคาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนมิถุนายน 2564 ท่ี 453,680 คน เนื่องจากผู้ประกอบการ หรือองค์กรต่าง ๆ ท่ีมีการปรับโครงสร้างขององค์กรและออกแบบ กระบวนการทางานใหม่ ส่งผลให้รูปแบบการจ้างงานมีความยืดหยุ่นมากข้ึน เช่น จากการจ้างงานแบบประจา เป็นรูปแบบการจ้างงานระยะสั้น ท้ังนี้ เป็นผลสืบเนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต้งั แต่ตน้ ปี 2563 เปน็ ต้นมา 700,000 คน 681,725691,549689,735 การจ้างงาน 600,000 500,000 647,860 530,222 (452,641 - 454,012) 506,736479,537456,925467,693 452,813453,680 453,310 529,612 400,000 300,000 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 consensus 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563e 2564F รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั ชยั ภมู ิ 16

ตารางสรปุ ภาพรวมเศรษฐกิจและแนวโนม้ จังหวดั ชยั ภูมิ Indicators Unit 2561 2562e 2563e ปี 2564F Max Min Consensus 64,234 Economic Growth Million Baht 65,996 65,698 62,963 62,202 63,277 2.0 1) GPP Current Price %yoy 4.5 -0.8 -4.2 -1.2 0.5 (V) 39,215 2) GPP Constant Million Baht 40,335 39,769 38,755 38,689 38,946 1.2 price (Q) %yoy 5.4 -0.6 -2.6 -0.2 0.5 Person 945,700 3) Population %yoy 941,525 936,416 945,700 945,700 945,700 - -0.5 -0.5 1.0 - - 4) GPP Percapita Baht/person/y 67,922 %eyaory 69,730 70,159 66,578 65,773 66,910 5) Agriculture(API)(Q) %yoy 3.9 6) Industry(IPI) (Q) %yoy 1.8 -40.4 29.9 1.7 2.8 1.6 7) Service(SI) (Q) -6.7 1.0 -10.6 0.7 1.2 0.2 48.)0Private %yoy 5.8 2.3 -3.1 -1.3 -0.5 C9)oPnrsiuvamteption %yoy 1.3 I1n0dv)eGsxto(mCvpe)rnntmInednetx(Ip) %yoy 6.8 -1.0 -5.5 0.5 0.9 2.4 E1x1p) eBnodrditeur eTrIandex %yoy -1.8 -0.1 -4.1 0.5 1.3 2.5 I(1nG2d))eFxa(Xrmm)Income -15.8 21.6 9.6 0.5 1.6 EIncdoenxomic %yoy 5.6 S13ta)bInilfiltaietison rate 3.1 -34.3 21.5 1.9 3.8 14) GPP Deflator (P) %p.a. 1.0 15) Employment %yoy 0.5 1.0 -1.1 -0.7 0.4 0.8 Person -0.9 -0.2 -1.6 -1.0 0.0 454,012 456,925 467,693 452,813 452,641 453,310 ที่มา :สานกั งานคลงั จงั หวดั ชยั ภมู ิ : ปรับปรุงลา่ สดุ ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564 รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวดั ชยั ภมู ิ 17

นิยามตัวแปรและการคา่ นวณในแบบจา่ ลองเศรษฐกิจจังหวัด GPP constant price หมายถงึ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวัด ณ ราคาปีฐาน GPP current prices หมายถึง ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวัด ณ ราคาปีปัจจุบัน GPPS หมายถึง ดัชนผี ลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวัด ณ ราคาปีฐานดา้ นอปุ ทาน GPPD หมายถงึ ดัชนผี ลิตภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัด ณ ราคาปฐี านด้านอุปสงค์ API (Q) หมายถงึ ดชั นผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรมจงั หวัด API (P) หมายถึง ดชั นีราคาผลผลติ ภาคเกษตรกรรมจงั หวัด IPI หมายถงึ ดัชนผี ลผลติ ภาคอตุ สาหกรรมจงั หวดั SI หมายถึง ดชั นีปริมาณผลผลติ ภาคบริการจงั หวัด Cp Index หมายถึง ดชั นกี ารบรโิ ภคภาคเอกชนจงั หวัด Ip Index หมายถึง ดชั นกี ารลงทุนภาคเอกชนจงั หวัด G Index หมายถงึ ดัชนกี ารใชจ้ ่ายภาคจงั หวดั Xm Index หมายถึง ดัชนมี ลู ค่าการคา้ ชายแดนโดยเฉลย่ี จงั หวดั GPP Deflator หมายถึง ระดบั ราคาเฉลย่ี ของผลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวัด CPI หมายถงึ ดัชนรี าคาผ้บู ริโภคจังหวดั PPI หมายถึง ดัชนีราคาผู้ผลติ ระดับประเทศ Inflation rate หมายถึง อตั ราเงินเฟอ้ จังหวัด Farm Income Index หมายถงึ ดชั นีรายได้เกษตรกรจังหวดั Population หมายถึง จา่ นวนประชากรของจังหวัด Employment หมายถึง จ่านวนผมู้ งี านทา่ ของจงั หวดั %yoy หมายถงึ อัตราการเปล่ียนแปลงเทียบกบั ช่วงเดยี วกันของปกี ่อน Base year หมายถึง ปฐี าน (2548 = 100) Min หมายถึง สถานการณ์ทค่ี าดว่าเลวร้ายท่ีสดุ Consensus หมายถึง สถานการณ์ทีค่ าดว่าจะเปน็ ไดม้ ากทส่ี ุด Max หมายถึง สถานการณ์ทคี่ าดว่าดที ่ีสุด การคา่ นวณดชั นี ดัชนชี ว้ี ดั เศรษฐกิจดา้ นอปุ ทาน (Supply Side หรอื Production Side : GPPS) ประกอบดว้ ย 3 ดชั นไี ดแ้ ก่ (1) ดชั นีผลผลิตภาคเกษตรกรรมจังหวดั โดยใหน้ ้าหนัก 0.262613 (2) ดชั นผี ลผลติ ภาคอตุ สาหกรรมจังหวัด โดยใหน้ า้ หนกั 0.189369 (3) ดชั นผี ลผลิตภาคบริการจงั หวัด โดยให้น้าหนัก 0.548018 การกาหนดน้าหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาสัดส่วนจากมูลค่าเพ่ิมราคาปีปัจจุบัน ของเครื่องช้ีเศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตร + สาขาประมง) เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม (สาขา เหมืองแร่ สาขาอุตสาหกรรม และสาขาไฟฟ้า) และเครื่องช้ีเศรษฐกิจภาคบริการ (11 สาขา ตั้งแต่สาขาก่อสร้าง ถงึ สาขาลกู จา้ งในครวั เรือน) จากข้อมูล GPP ของ สศช. เทียบกบั GPP รวมราคาปปี ัจจุบัน ของ สศช. รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวดั ชยั ภมู ิ 18

ดัชนผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรมจงั หวัด (Agriculture Production Index: API (Q)) จัดทาขึ้นเพ่ือใช้ติดตามภาวะการผลิตภาคเกษตรกรรมของจังหวัด เป็นรายเดือน ซ่ึงจะล่าช้า ประมาณ 1 เดือน(30 วัน) การคานวณ API (Q) ได้กาหนดปีฐาน 2548 โดยคานวณจากเครอื่ งช้ีผลผลิตภาคเกษตรกรรม ของจังหวดั รายเดือน ประกอบด้วยองค์ประกอบทง้ั สนิ้ 7 ตัว คือ (1) ปรมิ าณผลผลติ ขา้ วเจา้ นาปี โดยใหน้ า้ หนัก 0.30650 (2) ปรมิ าณผลผลิตขา้ วเหนยี วนาปี โดยใหน้ า้ หนกั 0.21194 (3) ปรมิ าณผลผลติ มนั สาปะหลงั โดยใหน้ า้ หนัก 0.23318 (4) ปริมาณผลผลิตออ้ ยโรงงาน โดยให้นา้ หนัก 0.15807 (5) ปรมิ าณโคเน้อื (ฆ่าจริง) โดยให้น้าหนัก 0.01133 (6) ปรมิ าณสกุ ร(ฆา่ จรงิ ) โดยให้น้าหนกั 0.03939 (7) ปรมิ าณไกเ่ นื้อ โดยให้น้าหนัก 0.03939 การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา API (Q) ให้น้าหนักของเคร่ืองช้ีจากสัดส่วน มูลค่าเพ่ิมของเครื่องชี้ ณ ราคาปีปัจจุบัน กับ GPP แบบ Bottom up ณ ราคาปีปัจจุบันภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตร และสาขาประมง) โดยมีขอ้ มูล API (Q) อนุกรมเวลายอ้ นหลงั ไปต้งั แต่ปี พ.ศ. 2548 เปน็ ต้นมา ดัชนผี ลผลติ ภาคอตุ สาหกรรมจังหวัด (Industrial Production Index: IPI) จัดทาข้ึนเพ่ือใช้ติดตามภาวะการผลิตภาคอุตสาหกรรมของจังหวัด เป็นรายเดือน ซ่ึงจะล่าช้า ประมาณ 1 เดือน (30 วนั ) การคานวณ IPI ไดก้ าหนดปีฐาน 2550 โดยคานวณจากเคร่ืองช้ีผลผลติ อุตสาหกรรมของจังหวัด รายเดอื น ประกอบดว้ ยองค์ประกอบท้งั สน้ิ 3 ตัว คอื (1) ปรมิ าณการใช้ไฟฟา้ ภาคอุตสาหกรรม โดยให้นา้ หนกั 0.37929 (2) ทนุ จดทะเบยี นของอุตสาหกรรม โดยใหน้ ้าหนกั 0.32212 (3) จานวนโรงงานในจงั หวัด โดยใหน้ า้ หนกั 0.29860 การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา IPI ให้น้าหนักของเคร่ืองชี้จากค่า ความสัมพันธ์ Correlation ระหว่าง เคร่ืองชี้เศรษฐกิจผลผลิตอุตสาหกรรมรายปี กับ GPP (สศช.) ณ ราคา คงท่ี ภาคอตุ สาหกรรม (สาขาเหมืองแร่ สาขาอุตสาหกรรม และสาขาไฟฟ้า) โดยมีขอ้ มลู IPI อนุกรมเวลายอ้ นหลงั ไปตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2548 เป็นตน้ มา ดชั นีผลผลติ ภาคบรกิ ารจังหวัด (Service Index: SI) จัดทาข้ึนเพื่อใช้ติดตามภาวะการผลิตภาคบริการของจังหวัด เป็นรายเดือน ซ่ึงจะล่าช้าประมาณ 1 เดอื นครง่ึ (45 วัน) การคานวณ SI ได้กาหนดปีฐาน 2550 โดยคานวณจากเคร่ืองชี้ผลผลิตภาคบริการของจังหวัด รายเดือน ประกอบด้วยองคป์ ระกอบทง้ั ส้นิ 4 ตวั คอื (1) จานวนนักท่องเท่ยี ว โดยให้น้าหนกั 0.00640 (2) รายไดค้ ้าสง่ คา้ ปลกี โดยให้น้าหนัก 0.41805 (3) ผลการเบกิ จ่ายเงนิ เดอื น (สพป.1-3) โดยใหน้ า้ หนัก 0.45840 (4) การเบกิ จ่ายเงนิ งบบุคลากรดา้ นสขุ ภาพ โดยใหน้ ้าหนกั 0.11714 รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวดั ชัยภมู ิ 19

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา IPI ให้น้าหนักของเคร่ืองช้ี โดยเครื่องชี้ภาค บริการดา้ นโรงแรมจาก สัดส่วนของ GPP สาขาโรงแรม ณ ราคาปีปัจจุบนั (สศช.) เทียบ GPP รวมภาคบริการ ณ ราคาปปี ัจจบุ นั (สศช.) และนา้ หนกั ของเครอ่ื งชภี้ าคบริการด้านการขนส่ง จากสดั สว่ นของ GPP สาขาขนส่ง ณ ราคาปีปจั จบุ ัน (สศช.) เทียบ GPP รวมภาคบรกิ าร ณ ราคาปีปจั จุบัน (สศช.) โดยมขี อ้ มลู SI อนกุ รมเวลาย้อนหลงั ไปตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา ดัชนีชว้ี ดั เศรษฐกิจด้านอปุ สงค์ (Demand Side : GPPD) ประกอบดว้ ย 3 ดัชนี ได้แก่ (1) ดัชนีการบรโิ ภคภาคเอกชนจังหวดั โดยให้น้าหนกั 0.49000 (2) ดชั นีการลงทนุ ภาคเอกชนจงั หวัด และ โดยให้นา้ หนัก 0.28855 (3) ดชั นกี ารใช้จ่ายภาครฐั จังหวดั โดยให้นา้ หนกั 0.22145 การกาหนดน้าหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาค่าเฉลี่ยในแต่ละดัชนี เทียบกับ GPP constant price โดยเฉลี่ยเพื่อหาสัดส่วน และคานวณหาน้าหนักจากสัดส่วนของแต่ละดัชนีเทียบผลรวม สดั สว่ นดชั นรี วมท้ังหมด ดัชนกี ารบริโภคภาคเอกชนจงั หวดั (Private Consumption Index : Cp Index) จัดทาข้ึนเพื่อใช้ติดตามภาวะการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชนของจังหวัด เป็นรายเดือน ซึ่ง จะล่าชา้ ประมาณ 1 เดือน (30 วนั ) การคานวณ Cp Index ไดก้ าหนดปฐี าน 2550 โดยคานวณจากเคร่อื งชี้การใชจ้ ่ายเพ่อื การบริโภค ภาคเอกชนของจังหวัด เป็นรายเดือน ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบทง้ั สิน้ 4 ตวั คือ (1) ภาษมี ลู ค่าเพมิ่ หมวดการขายสง่ ขายปลีก โดยให้นา้ หนัก 0.49211 (2) ปรมิ าณรถยนต์จดทะเบยี นใหม่ โดยให้น้าหนกั 0.27111 (3) ปรมิ าณรถจักรยานยนตจ์ ดทะเบียนใหม่ โดยใหน้ า้ หนกั 0.10533 (4) ปริมาณการใชไ้ ฟฟา้ ของครัวเรือน โดยให้นา้ หนกั 0.13145 การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา Cp Index ให้น้าหนักของเคร่ืองช้ี จากการหา ค่าเฉล่ียของเครื่องชี้ในการจัดทา Cp Index และแปลงเป็นมูลค่าหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้าหนักจาก สดั สว่ นมูลค่าเครือ่ งชี้ฯ เทียบกับมูลคา่ รวมของเครอื่ งชท้ี ้งั หมด โดยมีข้อมูล Cp Index อนกุ รมเวลายอ้ นหลังไปตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา ดัชนกี ารลงทนุ ภาคเอกชนจังหวดั (Private Investment Index: Ip Index) จัดทาขน้ึ เพ่ือใชต้ ิดตามภาวะการใช้จา่ ยเพ่ือการลงทุนภาคเอกชนของจังหวัด เป็นรายเดือน ซ่ึงจะ ล่าชา้ ประมาณ 1 เดือนคร่ึง (45 วัน) การคานวณ Ip Index ได้กาหนดปีฐาน 2550 โดยคานวณจากเครื่องชี้การใช้จ่ายเพื่อการลงทุน ภาคเอกชนของจงั หวัด เปน็ รายเดือน ประกอบดว้ ยองค์ประกอบทัง้ สิ้น 3 ตัว คือ (1) พ้ืนทข่ี ออนญุ าตก่อสร้างรวม โดยใหน้ า้ หนกั 0.07975 (2) ปรมิ าณรถยนต์เพือ่ การพาณชิ ย์จดทะเบียนใหม่ โดยใหน้ ้าหนัก 0.28463 (3) ปรมิ าณสนิ เชอ่ื ธนาคารพาณชิ ย์ โดยให้น้าหนัก 0.63561 การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา Ip Index ให้น้าหนักของเคร่ืองช้ี จากการหา ค่าเฉล่ียของเคร่ืองชี้ในการจัดทา Ip Index และแปลงเป็นมูลค่าหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้าหนักจาก สัดสว่ นมลู คา่ เครื่องชี้ฯ เทียบกบั มลู คา่ รวมของเครอื่ งชี้ทัง้ หมด โดยมีขอ้ มลู Ip Index อนกุ รมเวลายอ้ นหลงั ไปตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2548 เปน็ ตน้ รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั ชัยภมู ิ 20

ดชั นีการใชจ้ า่ ยภาครฐั จังหวัด (Government Expenditure Index : G Index) จัดทาข้ึนเพ่ือใช้ติดตามภาวะการใช้จ่ายภาครัฐของจังหวัด เป็นรายเดือน จะได้รับข้อมูลเป็น ปัจจุบันทกุ เดอื น การคานวณ G Index ได้กาหนดปีฐาน 2550 โดยคานวณจากเครื่องชี้การใช้จ่ายภาครัฐของ จังหวดั เปน็ รายเดอื น ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบท้ังสิ้น 4 ตัว คือ (1) รายจา่ ยงบประจาส่วนราชการ โดยให้น้าหนกั 0.53196 (2) รายจ่ายงบลงทนุ ส่วนราชการ โดยให้นา้ หนกั 0.18627 (3) รายจ่ายงบประจา อปท. โดยใหน้ า้ หนัก 0.24210 (4) รายจา่ ยงบลงทุน อปท. โดยใหน้ ้าหนัก 0.03967 การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา G Index ให้น้าหนักของเคร่ืองช้ี จากการหา ค่าเฉลี่ยของเครื่องชี้ในการจัดทา G Index และแปลงเป็นมูลค่าหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้าหนักจาก สดั สว่ นมูลค่าเคร่อื งชี้ฯ เทยี บกับมูลค่ารวมของเครอื่ งชที้ ้งั หมด โดยมขี อ้ มูล G Index อนกุ รมเวลาย้อนหลังไปต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2548 เปน็ ต้นมา ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวดั ณ ราคาคงที่ (GPP constant price) ประกอบไปด้วยดัชนี 2 ดา้ น (1) ดชั นีชวี้ ดั เศรษฐกจิ ดา้ นอุปทาน (GPPS) โดยใหน้ ้าหนกั 0.58000 (2) ดัชนชี ีว้ ัดเศรษฐกจิ ดา้ นอุปสงค์ (GPPD) โดยใหน้าหนัก 0.42000 ดัชนชี วี้ ัดดา้ นเสถียรภาพเศรษฐกจิ GPP Deflator : ระดับราคา ประกอบไปด้วย (1) ดชั นรี าคาผ้ผู ลติ (PPI) โดยใหน้ ้าหนกั 0.58000 (2) ดัชนรี าคาผบู้ ริโภคจังหวดั ชยั ภูมิ (CPI) โดยใหน้ า้ หนกั 0.42000 การเปลยี่ นแปลงของจา่ นวนผู้มีงานทา่ คานวณจาก GPP constant price X อัตราการพ่งึ พาแรงงาน อัตราการพงึ่ พาแรงงาน คานวณจากการวเิ คราะหก์ ารถดถอยเชงิ เสน้ อย่างงา่ ย (Simple Linear Regression Analysis) โดยมี รูปแบบความสมั พนั ธ์ คือ ln(Emp) =  + (ln(GPP) โดยที่ Emp = จานวนผมู้ งี านทาจาแนกตามอตุ สาหกรรม และเพศของจังหวดั (ข้อมลู Website สานักงานสถติ แิ ห่งชาติ ซึ่งใช้ปี 2549 – 2552) GPP = ผลติ ภัณฑม์ วลรวมจังหวัด ณ ราคาคงท่ี ข้อมูลจาก สศช. ซง่ึ ใชป้ ี 2549 – 2561 สา่ นกั งานคลังจงั หวัดชยั ภมู ิ ขอขอบคุณหน่วยงานผสู้ นบั สนนุ ข้อมลู ในการจัดทา่ 21 ประมาณการเศรษฐกจิ ประกอบดว้ ย ส่วนราชการส่วนกลางและส่วนภูมภิ าค ทอ้ งถน่ิ รฐั วิสาหกิจ และภาคเอกชนในจงั หวัดชยั ภมู ิ รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั ชัยภมู ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook