Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SD-Report-อสค-2559

SD-Report-อสค-2559

Published by gupea69, 2021-01-12 07:08:04

Description: SD-Report-อสค-2559

Search

Read the Text Version

รายงานการพฒั นาอยา งยงั่ ยนื ประจำป 2559 Sustainable Development Report 2016 องคก ารสง เสรมิ กิจการโคนมแหงประเทศไทย (อ.ส.ค.) Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)





สารบัญ 04 06 Contents 08 ค�ำนำ� 12 สารจากประธานอนุกรรมการ CG – CSR 16 สารจากผอู้ ำ� นวยการ แผนวสิ าหกิจ ปี 2560–2564 22 26 หมวดท่ี 1 ตามรอยพอ่ 28 31 จากอาชพี พระราชทานสู่ศาสตร์พระราชาในฟาร์มโคนม การดำ� เนินงานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 32 33 หมวดที่ 2 TRIPLE CG 34 35 TRIPLE CG 37 From Community Grass จากทุ่งหญา้ ของชมุ ชน To Consumer Glass ถึงแก้วนมของผบู้ รโิ ภค 38 By Corporate Governance ด้วยธรรมาภบิ าลขององคก์ ร หมวดที่ 3 กจิ กรรม กจิ กรรมในรอบปี 2559 โครงการตักบาตรนมสดและธรรมะในฟาร์ม โครงการ Thai – Denmark Nature Camp 6th โครงการบม่ เพาะเยาวชนโคนมยคุ ใหม่ โครงการส่งเสรมิ อตั ลกั ษณใ์ ห้สถานศึกษา หมวดท่ี 4 เป้าหมายสู่ปี 2560 เปา้ หมายสู่ปี 2560 เป้าหมายการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื ภาคผนวก รายชอ่ื คณะท�ำงานจดั ทำ� หนงั สอื รายงานความยงั่ ยืน (SD REPORT) ประจำ� ปี 2559

Pค�ำนr�ำeface รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจ�ำปี 2559 ของ องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) ฉบบั นเี้ ปน็ รายงานทนี่ ำ� เสนอพนั ธกจิ และภารกจิ ที่ อ.ส.ค. มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ตงั้ แต่ ตน้ นำ�้ กลางน้�ำ ปลายน�้ำ ทง้ั หว่ งโซค่ ุณค่า (Value Chain) ดว้ ยการสืบสานพระราชปณธิ านพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช เพอ่ื ธำ� รงอาชพี การเลย้ี งโคนมใหม้ คี วามมน่ั คง ยง่ั ยนื ตลอดจนการนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอื่ นำ� มาใชก้ บั การดำ� เนนิ งานของ อ.ส.ค. และผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทงั้ หมด ตลอดจน การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ Triple CG : From Community Grass - To Consumer Glass - By Corporate Governance (จากทงุ่ หญา้ ของชมุ ชน - ถงึ แกว้ นมของผบู้ รโิ ภค - ดว้ ยจรรยาบรรณขององคก์ ร) อันเป็นยุทธศาสตร์ท่ีมุ่งแสดงและส่งมอบความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม ในยุค 4.0 (Corporate Social Responsibility 4.0) เพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืน (Sustainable Development) ที่ต้องวิวัฒน์ กนั อย่างไม่หยุดยง้ั องคก์ ารส่งเสรมิ กจิ การโคนมแห่งประเทศไทย

04 รายงานการพฒั นาอยา่ งยั่งยนื ประจ�ำปี 2559 Sustainable Development Report 2016 สารจากประธานอนกุ รรมการ CG - CSR องคก์ ารสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) จากวสิ ัยทัศนข์ อง องคก์ ารส่งเสริมกิจการโคนมแห่ง ประเทศไทย (อ.ส.ค.) ท่ีต้องการก้าวสู่ยุทธศาสตร์นมแห่ง ชาตภิ ายในปี 2564 โดยมคี ่านยิ มท่ีตอ้ งการให้ อ.ส.ค. เปน็ “องค์กรแห่งความสุขท่ีส่งเสริมและยกระดับความรู้ด้วย คณุ ภาพระดบั มืออาชีพ” พรอ้ มๆ กบั การสรา้ งวัฒนธรรม องค์กรให้ “รู้และรับผิดชอบ ส่งมอบส่ิงท่ีมีคุณค่า พัฒนา อยา่ งต่อเนอื่ ง เน้นเรอ่ื งธรรมาภิบาล”

องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 05 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) ในการขับเคล่ือนเพื่อให้เข้าถึงวิสัยทัศน์ ค่านิยมและวัฒนธรรมขององค์กรดังกล่าว อ.ส.ค. มีนโยบายเกี่ยวกับ การก�ำกับดูแลกจิ การทีด่ ี ( Corporate Governance : CG) และการแสดงความรับผิดชอบตอ่ สงั คมและส่งิ แวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) เพื่อเป็นแนวทางการด�ำเนินงานและการด�ำเนินธุรกิจขององค์กรภายใต้ หลักจริยธรรมและการจัดการท่ีดี โดยรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อมในระดับไกลและใกล้ เพื่อน�ำไปสู่เป้าหมาย ของการพัฒนาท่ียั่งยืนด้วย CSR ยุค 4.0 ซึ่งเป็นยุคแห่งการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เนื่องจากล�ำพัง อ.ส.ค. หรือ หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งไม่สามารถด�ำเนินการหรือแก้ปัญหาให้ลุล่วงได้ด้วยตนเอง หากแต่ต้องเชื่อมโยงกับภาคส่วน ต่างๆ เพื่อร่วมกันด�ำเนินการอย่างท่ีเราเห็นกันมากข้ึนเรื่อยๆ ในรูปแบบการท�ำงานร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนท่ีเรียกว่า “ประชารัฐ” เพ่ือสร้างพลังการเปลี่ยนแปลงในภาพที่ใหญ่ขึ้น หรือแม้แต่การสานพลัง ความร่วมมอื อาสาสมัครผา่ นดจิ ทิ ลั แพลตฟอร์มเพ่ือร่วมกนั แก้ปัญหาสงั คมอีกดว้ ย นอกจากน้ี อ.ส.ค. ยังมองถึงระดบั ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและสง่ิ แวดล้อมขององคก์ รวา่ จะตอ้ งดำ� เนินการใหไ้ ด้ ท้ัง 4 ระดบั กล่าวคอื • ระดับท่ี 1 Mandatory Level ข้อก�ำหนดตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องที่ อ.ส.ค. มีหน้าท่ี ตอ้ งปฏิบัติ • ระดับที่ 2 Elementary Level อ.ส.ค. จะต้องค�ำนึงถึงความอยู่รอดและการให้ผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้น แตข่ ณะเดยี วกนั ประโยชน์ทางเศรษฐกจิ หรอื ผลกำ� ไรท่ี อ.ส.ค. ได้รบั จะตอ้ งไม่เบยี ดเบยี นสงั คม • ระดับที่ 3 Preemptive Level จรรยาบรรณทางธุรกิจท่ี อ.ส.ค. จะต้องใส่ใจ รับผิดชอบ ดูแลผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียท้งั ห่วงโซค่ ุณคา่ (Value Chain) • ระดบั ที่ 4 Voluntary Level การด�ำเนินธุรกจิ ของ อ.ส.ค. ท่คี วบคู่ไปกับการปฏบิ ัตงิ านตามแนวทางของ CSR ดว้ ยความสมัครใจและมงุ่ ประโยชน์ของสังคมเปน็ ส�ำคญั ด้วยแนวทางของ CSR ยุค 4.0 และ 4 ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ อ.ส.ค. มุ่งเดินหน้า เพื่อสร้างการพัฒนาอย่างย่ังยืนให้เกษตรกรมีความมั่นคงทางด้านรายได้ ก้าวทันเศรษฐกิจดิจิทัลและสร้างสุขภาพท่ีดี ด้วยคุณค่าทางโภชนาการจากผลิตภัณฑ์นมของ อ.ส.ค. ตลอดจนสร้างความกินอยู่ดีและมีส่วนสนับสนุน ส่งเสริมให้ เศรษฐกิจของประเทศไทยมีการไหลเวยี นของสภาพคล่องทดี่ ี ปี 2559 นี้จึงเป็นปีท่ี อ.ส.ค. เปิดโฉมหน้าทางยุทธศาสตร์องค์กรใหม่ ด้วย Triple CG : From Community Grass – To Consumer Glass – By Corporate Governance (จากทงุ่ หญา้ ของชุมชน – ถงึ แกว้ นมผูบ้ รโิ ภค – ดว้ ย ธรรมาภบิ าลขององคก์ ร) อันเปน็ ยุทธศาสตรท์ ว่ี างบนหลกั การของ CG และ CSR เพื่อการพัฒนาอย่างย่งั ยืนเคยี งข้างกนั ไปท้ัง อ.ส.ค. และสังคมไทย นายพงศก์ านต์ หงสกลุ ประธานอนุกรรมการก�ำกับดูแลกิจการท่ดี ี (CG) และการแสดงความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม (CSR) องค์การส่งเสรมิ กิจการโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.)

06 รายงานการพัฒนาอยา่ งยั่งยนื ประจำ� ปี 2559 Sustainable Development Report 2016 สารจากผู้อำ� นวยการ องคก์ ารสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) องคก์ ารสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) ถื อ ก� ำ เ นิ ด จ า ก พ ร ะ ร า ช ป ณิ ธ า น ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ที่ทรง พระปรีชาญาณและทรงมีสายพระเนตรท่ียาวไกล ท�ำให้ พระองค์ทรงเล็งเห็นว่า อาชีพการเลี้ยงโคนมจะช่วยให้ ชาวไทยได้บริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ อีกทั้ง ยังช่วยให้เกษตรกรไทยได้มีอาชีพทางเลือกมั่นคงเป็น หลักแหล่ง ไม่ต้องบุกรุกท�ำไร่เล่ือนลอยอีก ดังนั้น อาชีพ การเลี้ยงโคนมจึงถือเป็นอาชีพพระราชทานที่ อ.ส.ค. มุ่งสืบสานพระราชปณิธานดังกล่าว พร้อมกับน้อมน�ำ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ เพ่ือสร้างความ เข้มแข็ง ความยั่งยืนให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมและเป็น คุณค่าหลักท่ี อ.ส.ค. น�ำส่งให้กับผู้ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสีย ท้งั หว่ งโซ่คุณค่า (Value Chain)

องคก์ ารสง่ เสริมกจิ การโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 07 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) สำ� หรับปี 2559 ถอื เป็นอีกปที มี่ ีความสำ� คัญตอ่ การเปลย่ี นแปลงยทุ ธศาสตร์ขององคก์ ารส่งเสรมิ กจิ การโคนมแห่ง ประเทศไทย (อ.ส.ค.) เพื่อการกา้ วสูท่ ศวรรษที่ 6 อยา่ งย่งั ยืนและการก้าวสู่ยทุ ธศาสตรน์ มแห่งชาติ ภายในปี 2564 ขณะ เดยี วกนั กต็ อ้ งขบั เคลอ่ื นองคก์ รควบคกู่ นั ไปกบั ยทุ ธศาสตรข์ องประเทศไทย 4.0 และขานรบั นโยบายจากกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ท่ีต้องการตอบสนองวาระเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (SDG : Sustainable Development Goals) ด้วย ดังนนั้ ยทุ ธศาสตร์เพอื่ การพัฒนาอยา่ งย่ังยืนของ อ.ส.ค. นบั แตป่ นี ้จี ึงเปน็ ยุทธศาสตร์ที่ อ.ส.ค. มองบริบทของผทู้ ่มี ี สว่ นไดส้ ว่ นเสยี อยา่ งรอบดา้ นมากขน้ึ อกี ทงั้ มกี ารแปรยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ นำ� ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ หเ้ หน็ ผลสมั ฤทธท์ิ ชี่ ดั เจนมากขนึ้ ดว้ ยยทุ ธศาสตร์ท่ี อ.ส.ค. เรียกวา่ Triple CG : From Community Grass – To Consumer Glass – By Corporate Governance (จากท่งุ หญ้าของชุมชน – ถึงแก้วนมผู้บริโภค – ด้วยธรรมาภบิ าลขององคก์ ร) CG 3 เสาหลักนเ้ี ปน็ ยุทธศาสตร์ที่ครอบคลมุ ตัง้ แตต่ ้นน�ำ้ – กลางน�ำ้ – ปลายนำ้� ของกระบวนการห่วงโซท่ างคณุ คา่ (Value Chain) ครอบคลมุ วฏั จกั รของผทู้ มี่ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี (Stakeholder) อยใู่ นทกุ กระบวนการโซค่ ณุ คา่ นบั แต่ โคนม, ทุ่งหญ้า/พืชอาหารสัตว์, เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม, เกษตรกรเครือข่าย/สหกรณ์/ชุมชนการเกษตร, โรงงาน, พันธมิตร/ ซพั พลายเออรใ์ นกระบวนการโลจสิ ติกส,์ คคู่ า้ ในระบบการจัดจ�ำหนา่ ย, พันธมิตรเชิงยทุ ธศาสตร์ (Strategic Alliance), ชมุ ชนในสังคมใหญ่ (Mass Community), ผู้บรโิ ภค/ลกู คา้ ตลอดจนบคุ ลากรภายในองค์กรของ อ.ส.ค. เอง เพอ่ื ความ มนั่ คง ยั่งยนื ของทกุ ห่วงโซ่คุณคา่ ที่จะต้องเดินกา้ วไปด้วยกนั กับ อ.ส.ค. ดร.ณรงค์ฤทธ์ิ วงศ์สวุ รรณ ผู้อ�ำนวยการ องคก์ ารส่งเสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.)

08 รายงานการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยืนประจ�ำปี 2559 Sustainable Development Report 2016 แผนวิสาหกิจปี 2560-2564 2017-2021 State Enterprise Plan

องค์การสง่ เสริมกจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 09 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) วิสัยทัศน์ : นมแห่งชาติภายในปี 2564 Vision : Being ‘National Milk by 2021’ พนั ธกิจ 1 ส่งเสริมการเลย้ี งโคนมใหเ้ ปน็ อาชพี แก่ 3 สรา้ งแหล่งความรู้ดา้ นกจิ การโคนม Mission เกษตรกรไทยอยา่ งมน่ั คงและยง่ั ยืน และอตุ สาหกรรมนม Promote Dairy Farming to be Secured and Establish Knowledge Base for Dairy Sustainable Occupation for Thai Farmers Farming and Dairy Industry 2 พัฒนาธรุ กจิ อุตสาหกรรมนมใหค้ รบ 4 ม่งุ บริหารจัดการองค์กรใหเ้ ป็น วงจรและมีมลู คา่ เพม่ิ องค์กรทม่ี ีขดี สมรรถนะสงู Achieving Fully Integrated Dairy Industry ดว้ ยหลกั ธรรมาภบิ าล Development with Value Added Being a Well-Managed High Calibre Organization with Good Governance ค่านิยม : “องค์กรแหง่ ความสขุ ทสี่ ่งเสรมิ และยกระดบั ความรู้ด้วยคณุ ภาพระดบั มอื อาชีพ” Value : A Happy Organization that Advocates and Leverages Knowledge with Professionalism GROWTH SUSTAINABILITY LEARNING PERFORMANCE EBITDA 664 ล้านบาท Top of Mind ในอตุ สาหกรรมนม ศูนยก์ ลางขอ้ มลู และความรูเ้ รอื่ ง รัฐวิสาหกจิ ระดบั B EBITDA 664 MB Top of Mind in the Dairy Industry อุตสาหกรรมโคนม B-Level State Enterprise Information Center and Knowledge Base for the Dairy Industry เตบิ โตอยา่ งม่นั คง ใชท้ รพั ยส์ นิ ใหเ้ กิดประโยชน์ การเงิน Grow Steadily Optimize the Use of Assets Finance ได้รับการยอมรับกับผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสีย สร้างความมนั่ คงในอาชีพ ผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย Accepted by Stakeholders Build Career Security Stakeholder สร้างความหลากหลายของ ยกระดบั การบริหารจัดการสู่ เพิ่มผลิตภาพการผลิต บรหิ ารจดั การให้เกิด กระบวนการภายใน ผลิตภัณฑ์ / บรกิ าร ความเป็นเลศิ Increase Productivity ประสิทธิภาพ Internal Process Create a Variety of Effective Products/Services Upgrade Management to Management Excellence เพม่ิ ขีดความสามารถบคุ ลากร เสริมสรา้ งความผูกพนั องคก์ ร คนและการเรยี นรู้ Building Personnel’s Capacity Employee Engagement People & Learning วฒั นธรรมองคก์ ร รู้และรับผดิ ชอบ ส่งมอบส่ิงท่ีมีคณุ ค่า พัฒนาอย่างตอ่ เนอื่ ง เนน้ เรือ่ งธรรมาภิบาล Corporate Culture Learning and being Delivering Value Improving Continuously Being Determined to Good Accountable Govermance

10 รายงานการพัฒนาอย่างยงั่ ยืนประจำ� ปี 2559 Sustainable Development Report 2016 แนวโนม้ อตุ สาหกรรมโคนมและนม ในประเทศไทย ปี 2560 การผลติ คาดว่าจ�ำนวนโคนมและผลผลติ นำ้� นมดิบมีแนวโนม้ เพม่ิ ขนึ้ เนอ่ื งจาก การขยายตวั ตามธรรมชาติของฝงู โค การเล้ียงโคนมปัจจุบันมีการบริหารจัดการฟาร์มท่ีเป็นระบบตามมาตรฐานฟาร์มที่ดีและมีประสิทธิภาพในการเลี้ยง มากขึน้ สง่ ผลใหป้ รมิ าณนำ้� นมดิบเพม่ิ ขึน้ และมคี ณุ ภาพดขี ึน้ แรงจงู ใจจากการประกาศใช้มาตรฐานการรบั ซ้ือน�้ำนมโค ณ ศนู ย์รวบรวมน้ำ� นมดิบ ควบคู่กับการประกาศราคากลาง รบั ซ้ือน้ำ� นมโค ณ ศูนยร์ วบรวมนำ้� นมดบิ โดยมผี ลบงั คบั ใช้ตัง้ แตว่ นั ที่ 1 ตลุ าคม 2559 การส่งออก-น�ำเขา้ คาดวา่ จะมีปรมิ าณเพมิ่ ข้ึน เนือ่ งจาก ผปู้ ระกอบการในตลาดนมพาณชิ ยข์ ยายการผลติ เพม่ิ ขนึ้ เพอ่ื รองรบั ปรมิ าณผลผลติ นำ้� นมดบิ ทม่ี แี นวโนม้ เพม่ิ ขนึ้ อยา่ ง ต่อเน่อื ง ราคาน้ำ� นมดบิ คาดวา่ ราคาท่เี กษตรกรขายได้จะเพิ่มขึน้ จากปี 2559 เนอื่ งจาก มีการประกาศใช้มาตรฐานการรบั ซอื้ น�ำ้ นมโค ณ ศูนย์รวบรวมน้ำ� นมดิบ ควบคู่กบั ประกาศราคากลางรบั ซอื้ น้ำ� นมโค ณ ศนู ยร์ วบรวมนำ้� นมดบิ โดยมผี ลบงั คบั ใชต้ งั้ แตว่ นั ที่ 1 ตลุ าคม 2559 ซง่ึ เปน็ แรงจงู ใจใหเ้ กษตรกรสนใจปรบั ปรงุ คณุ ภาพ นำ้� นมดบิ ให้ดขี ้นึ ความตอ้ งการผู้บรโิ ภค คาดวา่ จะเพมิ่ ขึน้ เล็กนอ้ ย เนือ่ งจาก ตลาดนมโรงเรยี น ซงึ่ เปน็ ตลาดหลกั มปี รมิ าณคงทีแ่ ละการบรโิ ภคนมในตลาดนมพาณิชยเ์ พิม่ ข้ึนเพียงเลก็ น้อย ปี 2559 เพ่ิมขึน้ 0.85% 1,077,910 ตัน ประมาณการปริมาณการบริโภค ปี 2560 1,087,085 ตนั ประมาณการปรมิ าณการบริโภค

องคก์ ารสง่ เสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 11 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) ประมาณการจ�ำนวนโคและผลผลติ น้ำ� นมดบิ ปี 2560 (ณ วันที่ 1 มกราคม) เพมิ่ ขนึ้ 1.57% ปี 2559 เพิ่มขน้ึ 2.38% 616,420 ตวั เพม่ิ ขน้ึ 1.37% จำ� นวนโคท้ังหมด ปี 2560 626,216 ตวั จ�ำนวนโคท้ังหมด ปี 2559 236,200 ตัว จ�ำนวนแมโ่ ครดี นม ปี 2560 241,824 ตวั จ�ำนวนแมโ่ ครดี นม ปี 2559 1,111,247 ตัน ผลผลิตน�้ำนมดบิ ปี 2560 1,126,513 ตนั ผลผลติ นำ้� นมดบิ

12 รายงานการพัฒนาอยา่ งยัง่ ยนื ประจำ� ปี 2559 Sustainable Development Report 2016 จาก อาชพี พระราชทาน สู่ ศาสตรพ์ ระราชา ในฟาร์มโคนม การเลย้ี งโคนมก็เปน็ อาชพี ที่ดีสำ� หรบั คนไทย เหมาะกับประเทศ และถ้าใชห้ ลักวิชาทเ่ี หมาะสมกจ็ ะท�ำใหม้ ีความเจรญิ และมีรายได้ดี พระราชด�ำรสั พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช



14 รายงานการพัฒนาอยา่ งย่งั ยืนประจ�ำปี 2559 Sustainable Development Report 2016 ในห้วงเวลาที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ เสดจ็ ประพาสทวปี ยโุ รปในการเสดจ็ ทรงประทบั แรมอยู่ ณ ประเทศเดนมารก์ ระหวา่ งเดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2503 พระองค์ทรงสนพระทัยเก่ียวกับกิจการการเลี้ยงโคนมของชาวเดนมาร์กเป็นอย่างมาก และได้กลายเป็น จดุ เริม่ ต้นความสมั พนั ธว์ า่ ด้วยการร่วมมอื ด้านวชิ าการการเลย้ี งโคนมระหว่างประเทศไทยและประเทศเดนมารก์ ในทส่ี ุด ด้วยพระปรีชาญาณและสายพระเนตรท่ียาวไกล ท�ำให้พระองค์ทรงเล็งเห็นว่า อาชีพการเลี้ยงโคนมจะช่วยให้ ชาวไทยได้บริโภคอาหารที่มีคุณค่า อีกทั้งยังช่วยให้เกษตรกรไทยได้มีอาชีพท่ีม่ันคงเป็นหลักแหล่ง ไม่ต้องบุกรุกท�ำไร่ เลื่อนลอยอีกต่อไป รัฐบาลและประชาชนชาวเดนมาร์กจึงได้ทูลเกล้าฯ ถวายโครงการเลี้ยงโคนมแด่ล้นเกล้าท้ังสอง พระองค์ โดยส่งผู้เชยี่ วชาญมาศึกษาความเป็นไปไดแ้ ละเลอื กพน้ื ท่ี อ.มวกเหล็ก จ.สระบรุ ี เพอ่ื ใชเ้ ปน็ สถานที่กอ่ ตั้งฟารม์ โคนมไทย-เดนมาร์ค โดยมีสัญลักษณ์ “ววั แดง” มาจากโคนมพันธุเ์ รดเดน โคนมชุดแรกที่ส่งมาทีฟ่ ารม์ ดงั กล่าว ประวตั ศิ าสตรก์ จิ การการเลย้ี งโคนมของคนไทยและประเทศไทยเปดิ ฉากขน้ึ เมอื่ วนั ท่ี 16 มกราคม พ.ศ. 2505 เมอ่ื พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลท่ี 9 และสมเดจ็ พระเจา้ เฟรดเดอรคิ ท่ี 9 แหง่ ประเทศเดนมารก์ ไดท้ รงประกอบพธิ เี ปดิ ฟารม์ โคนมและศนู ยฝ์ กึ อบรมการเลยี้ งโคนมไทย-เดนมารค์ อยา่ งเปน็ ทางการ อกี ทงั้ เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ของอาชพี การเลีย้ งโคนมของคนไทย ซงึ่ เป็นอาชพี พระราชทานนบั แตน่ ้นั มา ต่อมาในปี พ.ศ.2514 รัฐบาลไทยได้รับโอนกิจการฟาร์มโคนมและศูนย์ฝึกอบรมการเล้ียงโคนมไทย-เดนมาร์ค จดั ตงั้ เปน็ รฐั วสิ าหกจิ สงั กดั กระทรวงเกษตรและสหกรณม์ ชี อ่ื วา่ องคก์ ารสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) มี สำ� นกั งาน ตงั้ อยเู่ ลขที่ 160 ถ.มติ รภาพ อ.มวกเหลก็ จ.สระบรุ ี เพอ่ื ธำ� รงภารกจิ ดา้ นการสง่ เสรมิ การเลย้ี งโคนมและพฒั นา อุตสาหกรรมนมตอ่ ไป รัฐบาลไทย ไดก้ ำ� หนดให้วนั ท่ี 17 มกราคม ของทกุ ปเี ปน็ วนั โคนมแหง่ ชาติ อ.ส.ค. ในฐานะหนว่ ยงานหลกั ทรี่ บั ผดิ ชอบดแู ลการสง่ เสรมิ และพฒั นาการเลยี้ งโคนมไทยมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งยาวนาน กว่า 55 ปีได้สืบสานพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ผู้ทรงเป็น“พระบิดาแห่ง โคนมไทย” ดว้ ยการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหเ้ กษตรกรผเู้ ลยี้ งโคนมทว่ั ประเทศเขา้ ถงึ องคค์ วามรแู้ ละเทคโนโลยกี ารผลติ โคนม

องคก์ ารสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 15 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม พร้อมเน้นใหย้ ดึ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและดำ� เนนิ การศกึ ษาวจิ ยั ตอ่ ยอดพัฒนาการเลย้ี ง โคนมแบบไมห่ ยดุ นงิ่ และถา่ ยทอดไปสเู่ กษตรกร เพอื่ ยกระดบั การผลติ นำ้� นมดบิ ใหม้ คี ณุ ภาพมาตรฐาน รวมทงั้ ขบั เคลอ่ื น พฒั นาอตุ สาหกรรมนมไทยใหม้ ีศกั ยภาพทดั เทยี มกับนานาประเทศด้วย เนอื่ งจากองคค์ วามรทู้ างวชิ าการถอื เปน็ หวั ใจสำ� คญั ของการเลย้ี งโคนม ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ล อดุลยเดช ทรงเล็งเห็นและมีพระราชด�ำรัสให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องใช้เป็นแนวทางการพัฒนาอาชีพการเล้ียงโคนมใน ประเทศไทย อ.ส.ค. จึงได้ยึดหลักและน้อมน�ำพระราชด�ำรัสดังกล่าวมาใช้ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยมุ่งสร้างจุดแข็ง ดา้ นการสง่ เสรมิ การเลี้ยงโคนมของเกษตรกรสมาชิกอย่างครบวงจร ไม่วา่ จะเป็นการจดั ฝกึ อบรมให้ความร้ดู ้านการเล้ียง โคนมให้แก่เกษตรกรทกุ ภูมภิ าค นอกจากน้นั อ.ส.ค. ยงั มีศูนยส์ ง่ เสริมการเลี้ยงโคนม ซง่ึ มที มี นกั วชิ าการและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมทีม่ ศี กั ยภาพและมี ความเช่ียวชาญ อีกท้ังยังมีการให้บริการด้านสัตว์แพทย์และผสมเทียมแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม ขณะเดียวกัน ก็มีการ ควบคุมดูแลคุณภาพน้�ำนมดิบท่ีเกษตรกรผลิตได้ ซึ่งทุกขั้นตอนของการเล้ียงโคนมจะเน้นเร่ืององค์ความรู้และเน้นเรื่อง คณุ ภาพมาตรฐาน รวมถึงความปลอดภยั เพ่ือสรา้ งความเชือ่ มน่ั ให้กับผบู้ ริโภคท้ังภายในและตา่ งประเทศ ส�ำหรับองคค์ วามร้ทู างวิชาการที่ อ.ส.ค. ถ่ายทอดให้กบั เกษตรกรน้ัน มีเน้อื หาครอบคลมุ ทกุ ดา้ น อาทิ การจัดการ ฟาร์มโคนม การจัดการดา้ นการผสมพนั ธ์ุ การดแู ลสุขภาพโคนม การควบคุมและปอ้ งกนั โรคสัตว์ การผลติ อาหารสตั ว์ คณุ ภาพดี การผลติ น�้ำนมดบิ ท่มี คี ณุ ภาพมาตรฐาน การจดบันทึกขอ้ มูลฟาร์ม ตลอดจนการลดต้นทุนการผลิต และการ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ นำ�้ นมดบิ ซง่ึ เปน็ พนื้ ฐานสำ� คญั ทจ่ี ะนำ� ไปสกู่ ารสรา้ งรายไดแ้ ละสรา้ งความมนั่ คงในการประกอบ อาชีพการเล้ยี งโคนมซงึ่ เป็นอาชพี พระราชทานให้กับเกษตรกรอยา่ งยง่ั ยืนสบื ไป ขณะเดยี วกนั อ.ส.ค. ยงั ไดน้ ำ� ศาสตรข์ องพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มาถา่ ยทอดสเู่ กษตรกร ผเู้ ลยี้ งโคนม โดยเฉพาะหลกั ปรัญชาเศรษฐกจิ พอเพียงตามแนวพระราชด�ำริของพระราชา เพื่อใหเ้ กษตรกรผเู้ ล้ียงโคนม สามารถพึ่งพาตนเองและยืนหยัดอยู่ไดอ้ ยา่ งมนั่ คง เนน้ ให้เกษตรกรลดการพง่ึ พาปจั จัยการผลติ จากภายนอกฟาร์ม อาทิ อาหารหยาบ และอาหารขน้ ทใ่ี ชเ้ ลี้ยงโคนม ซ่ึงเป็นปัจจัยสำ� คัญท่ที �ำให้ตน้ ทนุ การผลติ เพ่ิมสงู ขน้ึ กว่า 60% อ.ส.ค. จึงเร่ง ถ่ายทอดองค์ความรู้และส่งเสริมให้สหกรณ์โคนมและเกษตรกรปลูกหญ้าคุณภาพดี เช่น หญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 และ ผลิตอาหารผสมส�ำเร็จรูปหรือทีเอ็มอาร์ (TMR) ส�ำหรับเล้ียงโคนมภายในฟาร์มเป็นช่องทางช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ เลยี้ งโคนม รวมท้งั การเพ่มิ ผลผลติ นำ้� นมดบิ ต่อตัวและแก้ไขปัญหาองคป์ ระกอบน้�ำนมดบิ ทำ� ใหเ้ กษตรกรได้น้�ำนมดบิ ท่ี มีคณุ ภาพและเป็นไปตามมาตรฐานทกี่ ำ� หนด และขายได้ราคาดดี ว้ ย ปัจจุบนั อ.ส.ค. ได้ให้ความส�ำคัญและเน้นเรือ่ งการสง่ เสริมเกษตรกรผเู้ ล้ียงโคนมเพม่ิ มากข้นึ มุง่ ให้เกษตรกรเตบิ โต ควบคู่ไปกับการด�ำเนินธุรกิจของ อ.ส.ค. ซ่ึงในโอกาสครบรอบ 55 ปี อ.ส.ค.ในปี 2560 น้ี ได้มีแผนขยายผลต่อยอด องค์ความรู้ด้านการเลี้ยงโคนมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร โดยมอบหมายให้ศูนย์ส่งเสริมของ อ.ส.ค. เรง่ ถา่ ยทอดและฝกึ อบรมความรดู้ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี งแกส่ หกรณโ์ คนมและเกษตรกรผเู้ ลย้ี งโคนม เพอ่ื ปลกู ฝงั ใหเ้ กษตรกร เดินตามแนวทางที่ในหลวง รชั กาลที่ 9 ไดพ้ ระราชทานอาชพี น้ใี ห้ พรอ้ มพัฒนาอาชพี การเลย้ี งโคนมให้มีคณุ ภาพและมี ความมัน่ คงมากยิง่ ขน้ึ นอกจากนี้ อ.ส.ค. ยังมีแผนสรา้ งความรว่ มมอื ทางวิชาการกบั สถาบันการศกึ ษาต่างๆ ในทกุ ภมู ภิ าคอย่างตอ่ เนอื่ ง อาทิ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ มหาวิทยาลยั แม่โจ้ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยสงขลา นครนิ ทร์ และมหาวิทยาลยั บรู พา เปน็ ต้น เพอ่ื มงุ่ ศกึ ษาวจิ ัยและพัฒนาทางดา้ นวชิ าการ เทคโนโลยแี ละองคค์ วามรูด้ า้ น การเลย้ี งโคนม รวมถงึ ผลติ ภณั ฑน์ มและอตุ สาหกรรมโคนม และขยายผลการพฒั นาไปสเู่ กษตรกรใหม้ กี ารนำ� องคค์ วามรู้ ไปใช้ได้จริงในระดับฟาร์ม อันเป็นกลไกหน่ึงที่ส�ำคัญที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตน�้ำนมดิบของเกษตรกรสมาชิก ซ่งึ เช่อื มน่ั ว่า บทบาทและหน้าทสี่ ่งเสรมิ ของ อ.ส.ค. จะท�ำใหอ้ าชีพการเลี้ยงโคนมของเกษตรกรมคี วามม่ันคงและยง่ั ยืน ตามพระราชดำ� รสั พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช รัชกาลท่ี 9

16 รายงานการพัฒนาอย่างย่ังยนื ประจำ� ปี 2559 Sustainable Development Report 2016 การด�ำเนินงานตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) เป็นองค์กรที่น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมาใชเ้ ปน็ กรอบการดำ� เนนิ งานและยทุ ธศาสตร์องคก์ ร ครอบคลมุ หลักการ “3 หว่ ง - 2 เง่อื นไข” ดงั นี้ คอื 3 ห่วง ความพอประมาณ - ความมเี หตผุ ล - ภูมคิ มุ้ กัน 2 เงอ่ื นไข ความรู้ - คุณธรรม “...การพัฒนาประเทศจ�ำเป็นต้องทำ� ตามลำ� ดบั ข้นั ต้องสร้างพนื้ ฐานคอื ความพอมี พอกนิ พอใช้ ของประชาชนสว่ นใหญ่เบอื้ งต้นก่อน โดยใชว้ ธิ ีการและอุปกรณ์ท่ีประหยัดแตถ่ กู ต้องตามหลักวชิ าการ เมอ่ื ได้พนื้ ฐานความมน่ั คงพร้อมพอสมควร และปฏบิ ตั ไิ ดแ้ ล้ว จึงค่อยสรา้ งค่อยเสรมิ ความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจข้นั ทีส่ ูงข้นึ โดยลำ� ดบั ต่อไป...” พระราชดำ� รัส พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 18 กรกฎาคม 2517 3 หว ง ความพอ ความมี ประมาณ เหตุผล ภูมคิ ุมกนั + 2 เงอื่ นไข + นำไปสู ความรู คณุ ธรรม • ชวี ติ / เศรษฐกจิ / สังคม / สง่ิ แวดลอ ม / วัฒนธรรม (รอบรู รอบคอบ (ซอื่ สตั ยสุจริต ขยันอดทน • สภาพแวดลอม / ความสมดลุ / พรอมรบั การเปลี่ยนแปลง / ระมดั ระวงั ) สติปญ ญา แบงปน) ความม่นั คง / ความยงั่ ยนื

องคก์ ารสง่ เสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 17 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) หลกั ปรชั ญาเศรษญกจิ พอเพียง : 3 ห่วง • “ความพอประมาณ” หมายถงึ ความพอดที ไี่ มน่ อ้ ยเกนิ ไปและไมม่ ากเกนิ ไป โดยไมเ่ บยี ดเบยี นตนเอง และผ้อู นื่ เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคทอ่ี ยูใ่ นระดับพอประมาณ • “ความมีเหตุผล” หมายถึง การตดั สินใจเกี่ยวกบั ระดับความพอเพยี งนน้ั จะตอ้ งเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพจิ ารณาจากเหตุปจั จยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ตลอดจนค�ำนึงถงึ ผลทคี่ าดวา่ จะเกิดข้ึนจากการ กระทำ� นัน้ ๆ อยา่ งรอบคอบ • “ภูมิคุ้มกัน” หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ทจี่ ะเกิดข้ึน โดยคำ� นึงถงึ ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ท่คี าดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต ท่มี า : มลู นธิ ิชัยพัฒนา ความพอประมาณ และ ความมีเหตผุ ล เนื่องจาก อ.ส.ค. เปน็ องคก์ รท่มี ไิ ดม้ งุ่ ทำ� กำ� ไรสูงสดุ เพือ่ ผลประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ทวา่ อ.ส.ค. เปน็ องคก์ รที่มุ่งคนื ประโยชนใ์ หก้ บั การสนบั สนนุ สง่ เสรมิ และพฒั นาเกษตรกรผเู้ ลยี้ งโคนม เพอ่ื สบื สานพระราชปณธิ านของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ท่พี ระราชทานอาชพี การเล้ยี งโคนม เพอ่ื ความม่นั คงและยัง่ ยนื ในการด�ำรงชีพให้กับ เกษตรกรไทย ตลอดจนพระราชทานความมั่นคงทางด้านอาหารและคุณค่าทางโภชนาการให้กับคนไทยและสังคมไทย ตลอดระยะเวลากวา่ 5 ทศวรรษ การคนื ประโยชนใ์ หเ้ กษตรกรผ้เู ลีย้ งโคนม ซง่ึ ต่อเนอ่ื งครอบคลุมถึงธรุ กจิ อตุ สาหกรรมโคนมและผู้บริโภคของ อ.ส.ค. เปน็ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งทวี่ า่ ดว้ ยความพอประมาณและความมเี หตผุ ลท่ี อ.ส.ค. ตอ้ งการธำ� รงบทบาท หนา้ ที่ขององค์กรตามวัตถปุ ระสงค์ในพระราชกฤษฎกี าจัดต้งั องคก์ ารส่งเสริมกจิ การโคนมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2514 ภมู คิ มุ้ กนั ด�ำเนนิ ยทุ ธศาสตร์ดา้ นภูมิคุ้มกนั ด้วยการบรหิ ารความเสย่ี งอยา่ งเปน็ ระบบตามหลกั การ COSO – ERM และพฒั นา อย่างตอ่ เน่ืองตามแนวทางทส่ี ำ� นักงานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกจิ (สคร.) กระทรวงการคลงั ก�ำหนด มกี ารปฏบิ ัติ เป็นมาตรฐานเดยี วกันท่ัวทงั้ องคก์ าร

18 รายงานการพฒั นาอย่างย่งั ยืนประจ�ำปี 2559 Sustainable Development Report 2016 “...พอเพียง มีความหมายกวา้ งขวางย่ิงกว่านอ้ี ีก คือคำ� วา่ พอ กพ็ อเพยี งนก้ี ็พอแคน่ นั้ เอง คนเราถ้าพอ ในความต้องการกม็ คี วามโลภนอ้ ย เมอื่ มีความโลภน้อยก็เบียดเบยี นคนอ่นื นอ้ ย ถ้าประเทศใดมคี วาม คดิ อนั นี้ มคี วามคิดวา่ ทำ� อะไรตอ้ งพอเพยี ง หมายความว่าพอประมาณ ซ่ือตรง ไมโ่ ลภอย่างมาก คนเรา ก็อย่เู ปน็ สขุ พอเพียงนี้อาจจะมี มมี ากอาจจะมขี องหรูหรากไ็ ด้ แต่วา่ ต้องไม่ไปเบยี ดเบยี นคนอน่ื ...” พระราชดำ� รัส พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช เนือ่ งในโอกาส วันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย วนั ท่ี 4 ธันวาคม 2541 มงุ่ เนน้ สรา้ งจติ สำ� นกึ ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ าน ทกุ คนตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของการบรหิ ารความเสยี่ ง เพอ่ื บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ที่ก�ำหนดในแผนวิสาหกิจ โดยมีคณะกรรมการก�ำกับดูแลในทุกระดับ กล่าวคือ คณะกรรมการ อ.ส.ค. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง เพ่ือด�ำเนินการตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงท่ีคณะกรรมการ อ.ส.ค. กำ� หนด ประเมนิ ผลความเส่ียง แนวทางการป้องกันและตรวจสอบความเสยี่ งอย่างมรี ะบบ และมงุ่ เน้นใหเ้ กิดวฒั นธรรม การบรหิ ารความเสี่ยงขน้ึ ในองค์การ อนุมัตแิ ผนการบริหารความเสีย่ งกอ่ นนำ� เสนอคณะกรรมการ อ.ส.ค. ใหค้ วามเหน็ ชอบ โดยมกี ารตดิ ตามประเมินผล การบริหารความเส่ียง แลว้ รายงานตอ่ คณะกรรมการ อ.ส.ค. เป็นรายไตรมาส มคี ณะกรรมการตรวจสอบ ก�ำกบั ดแู ล ความถกู ตอ้ ง เพยี งพอ และความมปี ระสทิ ธิผลของการบริหารความเส่ียง อ.ส.ค. จดั ท�ำแผนบริหารความเสย่ี งประจำ� ปี โดยเช่อื มโยงกับการจัดท�ำแผนยทุ ธศาสตร์ อีกทั้งมกี ารติดตามประเมินผลและ ทบทวนความเพยี งพอของแผนงาน/มาตรการบรหิ ารความเสยี่ งเปน็ รายไตรมาส โดยคำ� นงึ ถงึ การจดั สรรทรพั ยากรอยา่ ง เหมาะสมภายในกรอบการบรหิ ารความเสย่ี งทย่ี อมรบั ได ้ (Risk Appetite) พรอ้ มทงั้ รายงานผลการบรหิ ารความเสย่ี งตอ่ คณะกรรมการ อ.ส.ค. เปน็ ประจ�ำ เพือ่ ใหส้ ามารถตดิ ตามสถานการณ์อยา่ งทันตอ่ เหตกุ ารณ ์ บรหิ ารความตอ่ เนือ่ งทางธุรกิจ (Business Continuity Management : BCM) โดยได้ทบทวนนโยบายการบริหาร ความตอ่ เน่อื งทางธุรกิจ ทบทวนเกณฑ์การวเิ คราะห์ผลกระทบทางธุรกจิ (Business Impact Analysis : BIA) จัดท�ำ/ ทบทวนแผนบรหิ ารความตอ่ เนือ่ งทางธรุ กิจ (Business Continuity Plan : BCP) ของธุรกรรมงานทสี่ �ำคัญ และทบทวน ชว่ งเวลานานทสี่ ดุ ทยี่ อมรบั ได้ หาก อ.ส.ค. จำ� เปน็ ตอ้ งหยุดการให้บรกิ าร โดยมีการวเิ คราะหแ์ ละก�ำหนดล�ำดบั ของงานที่ ส�ำคัญ จดั ใหม้ รี ะบบการควบคมุ ตามระเบยี บคณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ (คตง.) วา่ ดว้ ย (/ตามระเบยี บคณะกรรมการตรวจ เงนิ แผ่นดินวา่ ดว้ ย)การกำ� หนดมาตรฐานการควบคมุ ภายใน พ.ศ. 2544 ถือปฏบิ ตั ิเป็นมาตรฐานเดยี วกนั ทัว่ ทงั้ องคก์ าร

องค์การส่งเสรมิ กิจการโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 19 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) “...การพัฒนาประเทศจ�ำเปน็ ตอ้ งท�ำตามล�ำดับ ตอ้ งสรา้ งพ้ืนฐานคือ ความพอมพี อกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญเ่ บอื้ งต้นก่อน โดยใช้วธิ ีการและอุปกรณท์ ีป่ ระหยดั แต่ถูกต้องตามหลักวชิ าการ เมอื่ ได้พนื้ ฐานความมัน่ คงพรอ้ มพอสมควร และปฏบิ ตั ิได้แล้ว จึงคอ่ ยสร้างค่อยเสรมิ ความเจรญิ และฐานะทางเศรษฐกจิ ขน้ั ทีส่ ูงข้ึนโดยลำ� ดับต่อไป...” พระราชด�ำรัส พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช 18 กรกฏาคม 2517 การประเมินองคป์ ระกอบการควบคุมภายในทงั้ 5 ด้านของ อ.ส.ค. 1. ดา้ นสภาพแวดลอ้ มการควบคุม • มกี ระบวนการควบคมุ ภายใน มคี ณะกรรมการตรวจสอบ สอบทานความเพยี งพอและประสทิ ธภิ าพ ของการควบคุม และติดตามการทบทวนรายงานการเงิน/มิใช่การเงิน อย่างสม่�ำเสมอเป็นประจ�ำ ทกุ เดือน • การมอบอ�ำนาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบเป็นลายลักษณ์ ยึดหลักการก�ำกับดูแลท่ีดีตาม หลักธรรมาภิบาล เพ่ือให้การด�ำเนินงานบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธภิ าพ โปรง่ ใส เปน็ ธรรม ตรวจสอบได้ 2. ด้านการประเมนิ ความเส่ยี ง • การบริหารความเสี่ยงด�ำเนินงานตามแนวทาง COSO-ERM เป็นมาตรฐานเดียวกันท่ัวท้ังองค์กร มีคณะอนุกรรมการบริหารความเส่ียงท�ำหน้าที่ตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงท่ีคณะกรรมการ อ.ส.ค. ก�ำหนด ประเมินผลความเสี่ยง แนวทางการป้องกันและตรวจสอบความเส่ียงอย่างมีระบบ เพ่ือลดโอกาสที่จะเกิดความเสียหายให้อยู่ในระดับท่ียอมรับได้ โดยมุ่งให้เกิดวัฒนธรรมการบริหาร ความเสย่ี งขนึ้ ในองคก์ าร อนมุ ตั แิ ผนการบรหิ ารความเสยี่ งกอ่ นนำ� เสนอคณะกรรมการ อ.ส.ค. ใหค้ วาม เห็นชอบ โดยมีการติดตามประเมินผลการบริหารความเสี่ยง แล้วรายงานต่อคณะกรรมการ อ.ส.ค. ทกุ ไตรมาส 3. ดา้ นกจิ กรรมการควบคมุ • ก�ำหนดนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติงานครบทุกด้าน มีคู่มือที่ส�ำคัญ ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน อย่เู สมอ • แบ่งแยกหนา้ ที/่ อนมุ ัต/ิ ดูแลป้องกนั ทรัพยส์ ิน กำ� หนดหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบเปน็ ลายลักษณ์อักษร • มีฝ่ายตรวจสอบและประเมินระบบงาน สอบทานรายงานการเงิน/มิใช่การเงิน รายงานเสนอคณะ กรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการ อ.ส.ค. ทุกเดือน

20 รายงานการพฒั นาอย่างยั่งยืนประจำ� ปี 2559 Sustainable Development Report 2016 4. ด้านสารสนเทศและการส่อื สาร • มรี ะบบสารสนเทศทง้ั การเงนิ /มใิ ชก่ ารเงนิ และมรี ะบบการจดั การฐานขอ้ มลู เพอื่ นำ� มาใชป้ ระโยชน์ อย่างสมบรู ณ์ เปน็ ปจั จบุ ันและสะดวกในการเขา้ ถึง มรี ะบบสารสนเทศส�ำหรบั ผบู้ รหิ ารเพ่ือสนบั สนุน ข้อมลู ส�ำหรับการตัดสินใจ • มีคณะอนุกรรมการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของ อ.ส.ค. ท�ำหน้าท่ีด�ำเนินการ ตามนโยบายการบริหารจดั การเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารทีค่ ณะกรรมการ อ.ส.ค. ก�ำหนด เพ่ือให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของ อ.ส.ค. อย่างเป็นรูปธรรม โดยมุ่งเน้นให้เกิดการ บูรณาการงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ก�ำหนดนโยบายที่เก่ียวข้องกับแผนแม่บทและยุทธศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ อ.ส.ค. พิจารณาปัจจัยอื่นที่มีผลต่อนโยบายท่ีเก่ียวข้องกับ แผนแม่บทและยทุ ธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ อ.ส.ค. กำ� กบั ดแู ล และประยุกต์ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศของ อ.ส.ค. ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขึน้ ตดิ ตามการด�ำเนนิ งานดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ ของ อ.ส.ค. 5. ด้านการติดตามประเมนิ ผล • มีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานทุกกิจกรรมที่ส�ำคัญอย่างต่อเนื่อง สม�่ำเสมอ มีการติดตาม ประเมินผลแบบเปน็ รายคร้ัง • มีการประเมินการควบคุมภายในดว้ ยตนเอง (Control Self Assessment: CSA) ครบทุกสายงาน โดยบูรณาการร่วมกับการบริหารความเส่ียง ซ่ึงมีการติดตามการรายงานผลทุกไตรมาส รวมทั้งมีการ ติดตามประเมินผลแบบเปน็ อสิ ระ (Independent Assessment: IA) โดยฝ่ายตรวจสอบและประเมิน ระบบงาน และสำ� นกั งานตรวจเงนิ แผน่ ดิน หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง : 2 เงื่อนไข • เงอื่ นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู้ กย่ี วกบั วชิ าการตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งรอบดา้ น ความรอบคอบ ท่ีจะน�ำความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวัง ในการปฏิบตั ิ • เง่ือนไขคุณธรรมท่ีจะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซ่ือสัตย์ สุจริตและมคี วามอดทน มีความเพียร ใชส้ ตปิ ัญญาในการด�ำเนินชวี ิต ท่ีมา : มูลนิธชิ ัยพฒั นา

องคก์ ารสง่ เสริมกจิ การโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 21 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) เงอ่ื นไขความรู้และคณุ ธรรม เงอื่ นไขความรู้ ส่งเสริมและให้องค์ความรู้เพ่อื พัฒนาให้เกษตรกรผูเ้ ล้ยี งโคนมมีความรู้ความชำ� นาญ ตลอดจนรู้จักการบรหิ ารจดั การ ฟาร์มโคนมของตนเอง เพ่ือให้ได้น้�ำนมดิบท่ีมีคุณภาพและเพ่ิมปริมาณการผลิต สามารถลดต้นทุนการท�ำฟาร์มโคนม และสามารถแขง่ ขนั ในตลาดได้ เช่น การส่งเสรมิ ใหใ้ ช้อาหารหยาบ เพอื่ ลดต้นทุน การปลูกหญ้าหรือพชื อาหารสัตว์ หรอื แมแ้ ตก่ ารทำ� เกษตรแปลงใหญ่ ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณเ์ พอื่ ใหเ้ กษตรกร–ชมุ ชนรวมตวั ใชท้ รพั ยากร ร่วมกันส�ำหรับการผลิตพืชอาหารสัตว์ แล้วน�ำมากลับมาขายให้กับเกษตรกรผู้เล้ียงโคนม ซึ่งจะท�ำให้ระบบเศรษฐกิจ หมุนเวียนกนั ในชุมชนของตนเอง ใช้องค์ความรู้ด้านการวางแผนการผลิต การประมาณการที่แม่นย�ำจากระบบเทคโนโลยี เพ่ือท�ำให้ อ.ส.ค. สามารถ น�ำส่งผลิตภัณฑ์คุณภาพสู่ตลาดถึงมือผู้บริโภคได้อย่างสม่�ำเสมอ ด้วยราคาที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล ตอบโจทย์ การผลติ ผลติ ภณั ฑท์ ่ีผลิตจากน�ำ้ นมดบิ ของเกษตรกร 100 % ไม่ผสมนมผง ซงึ่ แม้มคี วามผันผวนจากปรมิ าณน�ำ้ นมดบิ ที่ผันแปรตามสภาพภูมิอากาศ ผลกระทบจากปริมาณน้�ำนมดิบจากเกษตรกรที่จะมีมาก-น้อยแตกต่างกันในแต่ละ ช่วงเวลาก็ตาม มุง่ พฒั นาองค์ความรู้ให้ชอ่ งทางการคา้ แบบดง้ั เดิม (Traditional Trade : TT) เป็น Smart Agent ตามยทุ ธศาสตร์ ประเทศไทย 4.0 เง่อื นไขคุณธรรม มุ่งด�ำเนินการและบริหารจัดการ ตลอดจนมุ่งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ด้วยหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม สิ่งแวดลอ้ มและสิทธขิ องผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี มงุ่ ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ตลอดจนการสรา้ งจติ สำ� นกึ ทด่ี ตี อ่ การธำ� รงจรรยาบรรณทางธรุ กจิ ของ อ.ส.ค. รวมทั้งการปลกู ฝงั ให้เปน็ สว่ นหน่งึ ของวัฒนธรรมองคก์ ร มงุ่ บรหิ ารและพฒั นาทรพั ยากรบคุ คล พรอ้ มเสรมิ สรา้ งระบบคณุ ธรรมจรยิ ธรรม รวมทงั้ การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน ท่เี ปน็ ธรรม มงุ่ บรหิ ารและพฒั นาผทู้ ม่ี สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในหว่ งโซค่ ณุ คา่ ดว้ ยความเปน็ ธรรมและเนน้ รกั ษาระดบั ความสมั พนั ธท์ สี่ มดลุ และยตุ ธิ รรม

22 รายงานการพฒั นาอย่างย่งั ยนื ประจ�ำปี 2559 Sustainable Development Report 2016 TRIPLE CG แนวทางการพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื ของ อ.ส.ค.

องคก์ ารสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 23 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) อ.ส.ค. ไดพ้ ฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอื่ การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ดว้ ยยทุ ธศาสตร์ Triple CG : From Community Grass – To Consumer Glass – By Corporate Governance (From CG – To CG – By CG) ซง่ึ เป็นยทุ ธศาสตร์ ท่ีครอบคลุมตั้งแต่ต้นน้�ำ–กลางน�้ำ–ปลายน้�ำของกระบวนการห่วงโซ่ทางคุณค่า (Value Chain) อีกทั้งเป็นวัฏจักร ของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) อยู่ในทุกกระบวนการ นับแต่ โคนม, ทุ่งหญ้า / พืชอาหารสัตว์, เกษตรกร ผเู้ ลย้ี งโคนม, เกษตรกรเครอื ขา่ ย/สหกรณ/์ ชมุ ชนการเกษตร, โรงงาน, พนั ธมติ ร/ซพั พลายเออรใ์ นกระบวนการโลจสิ ตกิ ส,์ คคู่ า้ ในระบบการจดั จำ� หนา่ ย, พนั ธมติ รเชงิ ยทุ ธศาสตร์ (Strategic Alliance), ชมุ ชนในสงั คมใหญ่ (Mass Community), ผ้บู รโิ ภค/ลกู คา้ ตลอดจนบคุ ลากรภายในองค์กรของ อ.ส.ค. เอง อย่างไรก็ตาม แนวทางการด�ำเนินงานดังกล่าวเป็นแนวทางท่ี อ.ส.ค. ด�ำเนินงานมาก่อนหน้าแล้วในทางปฏิบัติ นับแต่การก่อตั้งองค์กร เพียงแต่ด้วยความมุ่งม่ันของ อ.ส.ค. เราจึงมุ่งพัฒนาแนวทางสู่ความเป็นเลิศและยุทธศาสตร์ เพอื่ การพฒั นาองคก์ รอยา่ งยง่ั ยนื ดว้ ยมติ ทิ แี่ หลมคมมากขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตลอดจนทบทวนลำ� ดบั ความสำ� คญั ของผมู้ สี ว่ นได้ ส่วนเสีย ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การมีส่วนร่วมกับวิธีการมีส่วนร่วมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพ่ือส่งมอบ ความสุขคุณภาพชวี ติ ท่ดี ี และความยง่ั ยืนในมติ ติ า่ งๆ ให้กับผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียเหลา่ น้ี เพ่อื ให้กา้ วไปพรอ้ มๆ กับ อ.ส.ค. ท่มี เี ปา้ หมายสูย่ ุทธศาสตร์ “นมแห่งชาตภิ ายในปี 2564” ดว้ ยยอดขาย 1 หม่นื ล้านบาท

24 รายงานการพัฒนาอยา่ งยั่งยืนประจ�ำปี 2559 Sustainable Development Report 2016 TRIPLE CG From CG - To CG - By CG เกษตรกร By Co rporate Governance โรงงาน โคนม ชองทาง อ.ส.ค. จดั จำหนา ย ทงุ หญา - ธญั พชื ผบู ริโภค From Community Grass To Consumer Glass

องคก์ ารสง่ เสรมิ กิจการโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 25 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) อสค. มุงสบื สานพระราชปณธิ านของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ในการพัฒนาและสง เสริมใหอ าชีพเกษตรกร ซ่ึงเปนอาชีพพระราชทาน สามารถอยไู ดอยา งม่ันคงและยงั่ ยนื มุงดำเนินรอยตามแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มงุ มนั่ ตอบแทนใหก ับการพฒั นาและสงเสริมเกษตรกรใหไดรับประโยชนส ูงสดุ และมคี ณุ ภาพชีวติ ท่ดี ีกวา เดิม มุงรกั ษาสมดุลระหวา งบทบาทของการสรา งรายไดส งู สดุ ใหกบั เกษตรกรและการผลติ นำ้ นมคุณภาพถึงมอื ผูบ ริโภคในราคาสมเหตุสมผล มงุ ดำเนนิ ธุรกิจดวยธรรมาภิบาลความรับผดิ ชอบตอสงั คมและสรา งสรรคคุณคา รว ม (CSV) ระหวา ง อ.ส.ค. และผูม สี วนไดสว นเสียทงั้ โซอปุ ทาน มงุ ดำเนนิ งานเพอื่ ตอบสนองวาระเปาหมายการพฒั นาท่ียง่ั ยืนของสหประชาชาติ (SDG) ทงุ หญา – ธญั พชื โคนม เกษตรกร • สง เสริม/พัฒนาคณุ ภาพอาหารสัตว • โรงงานผลิตนำ้ นมธรรมชาติ ที่ อ.ส.ค. • มุงพัฒนาและสงเสริมการบรหิ าร ซง่ึ เปนตนนำ้ ของหวงโซอุปทาน ใหความสำคญั กบั การสงเสรมิ จดั การดา นตา งๆ เพื่อใหธ รุ กิจ ท้งั กบั เกษตรกรเจาของฟารม การพัฒนาการทำฟารมโคนมใหม ี การทำฟารม โคนมของเกษตรกร สหกรณ ชมุ ชน ประสทิ ธิภาพสงู สุดและไดโคนมท่ีมี มคี วามมั่นคงทางดา นรายได ความสขุ (Happy Cow) เพอ่ื ผลผลติ • สงเสริมการทำการเกษตรแปลงใหญ ทดี่ แี ละมีคุณภาพ • ต้งั เปา สรา ง Smart Farmer ตามนโยบายกระทรวงเกษตรฯ ตามยทุ ธศาสตรไ ทยแลนด 4.0 เพ่ือผลิตอาหารสตั วท มี่ คี ุณภาพ • ใหค วามสำคัญกับการคัดเลอื ก ปอนเกษตรกร สายพันธุ บริการทางดา นสัตวบาล • ตง้ั เปา ใหก ารทำฟารม โคนม ตางๆ กับเกษตรกร ของเกษตรกรผานมาตรฐาน การผลิตทางการเกษตรที่ดี (GAP) ภายใน 3 ป โรงงาน ชอ งทางจัดจำหนาย ผบู รโิ ภค • มุงมน่ั พฒั นาคุณภาพนำ้ นมดิบ/ • มงุ สรางความแขง็ แกรง กับทุกชองทาง • มุงตอบโจทยค วามตองการท่แี ทจริง การผลติ น้ำนมที่มีคณุ ภาพตาม การจำหนา ย เพ่อื สรางความสมั พันธ ของผบู รโิ ภค (Consumer Insight) • มุง ผลิตนมคุณภาพใหผบู ริโภคไดบรโิ ภค มาตรฐานการผลิตระดบั สากล อยา งแนบแนน กบั แบรนด ไทย-เดนมารค • มงุ มน่ั ทำงานรว มกบั ชมุ ชน สนิ คาคุณภาพทีส่ งู ตามมาตรฐานโลก และเพือ่ ใหเ ติบโตดวยกนั อยางยั่งยืน โดยรอบโรงงานอยางใกลช ิด • ต้งั เปา สราง Smart Agent ในราคายตุ ิธรรมและสมเหตสุ มผล • มงุ สง เสรมิ ใหม กี ารบริโภคนมเพม่ิ ขึ้น ตามยทุ ธศาสตรไ ทยแลนด 4.0 เพ่ือสรา งภมู ิคุมกนั ทางดานสุขภาพ ใหก ับประชาชน

26 รายงานการพฒั นาอย่างย่ังยนื ประจำ� ปี 2559 Sustainable Development Report 2016 From Community Grass จากทุง่ หญ้าของชุมชน หญา้ – ธญั พืช ปจั จยั ความส�ำเร็จของการทำ� ฟารม์ โคนมอยูท่ ี่ 1. อาหารสัตว ์ 2. โคนม 3. การบรหิ ารจดั การ ความส�ำคัญ เป็นพืชทีโ่ คนมตอ้ งบรโิ ภคเป็นอาหารหลกั เป็น 1 ใน 3 ปจั จยั ความส�ำเร็จของการทำ� ฟารม์ โคนม แต่เน่อื งจากหญา้ และอาหารสัตว์ สถานการณ์ อาหารสตั วก์ ลับเป็นตน้ ทนุ กว่า 60% ของค่าใช้จ่ายในการท�ำฟาร์มโคนมท้ังหมด การทำ� ฟารม์ โคนมของเกษตรกรไทยยงั มขี นาดเลก็ มโี คนมไมม่ าก มที งุ่ หญา้ จำ� กดั ทำ� ใหต้ น้ ทนุ สงู ตา่ งกบั การทำ� ฟารม์ โคนมในตา่ งประเทศทมี่ ีฝูงโคนมจ�ำนวนมาก มีทุง่ หญา้ กวา้ งใหญแ่ ละมตี น้ ทนุ ตำ่� กวา่ บทบาทของ อ.ส.ค. สง่ เสรมิ และพฒั นาเกษตรกรใหส้ ามารถบรหิ ารจดั การกบั ตน้ ทนุ เพอื่ เพมิ่ พนู รายไดแ้ ละมคี วามสามารถทางการแขง่ ขนั สง่ เสรมิ ให้เกษตรกรท�ำอาหารหยาบ ไดแ้ ก่ หญา้ กากถัว่ ขา้ วโพด ขา้ วฟ่างและพชื อาหารสัตวท์ ่ัวไปที่มคี ุณภาพดี เพ่ือ ลดตน้ ทนุ โดย อ.ส.ค. ตัง้ เปา้ ลดตน้ ทุนคา่ อาหารสตั วข์ องการเลี้ยงโคนมจากกวา่ 60% อีก 5% ให้เหลอื 55% ส่งเสริมให้เกษตรกรและชุมชนท�ำเกษตรแปลงใหญ่ ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรฯ ซ่ึงเอ้ือให้เกษตรกรสามารถ ใช้/ซื้อหญ้าหรือพืชอาหารสัตว์จากท่ีดินของเกษตรกรในเครือข่ายหรือชุมชน เพื่อน�ำมาใช้ในฟาร์มของเกษตรกรที่มี ขอ้ จำ� กัดดังกลา่ วได้ ทสี่ ำ� คัญแนวคิดนกี้ ช็ ่วยท�ำให้ระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นในชมุ ชนดว้ ย โคนม โรงงานทผ่ี ลติ น�ำ้ นมตามธรรมชาติ คือ โคนม ความสำ� คัญ โคนม คอื โรงงานผลิตน้�ำนมดิบตามธรรมชาติ โคนม คอื สตั วเ์ ศรษฐกจิ ทสี่ รา้ งรายไดก้ บั สงั คมฐานรากของไทย และนำ� สง่ คณุ ภาพทด่ี ี ความเปน็ อยทู่ ด่ี ตี อ่ คนไทย-สงั คม ไทยในวงกวา้ ง โคนม เปน็ สว่ นหนงึ่ ของยทุ ธศาสตรค์ วามปลอดภยั และความมน่ั คงทางด้านอาหารคูก่ ับสังคมไทย

องคก์ ารส่งเสริมกิจการโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 27 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) สถานการณ์ การบรหิ ารจดั การฟารม์ โคนม เพอ่ื ใหม้ ตี น้ ทนุ ทแ่ี ขง่ ขนั ไดแ้ ละปรมิ าณผลผลติ โคนมของเกษตรยงั ตอ้ งพฒั นาในวงกวา้ ง อยา่ งต่อเน่ือง บทบาทของ อ.ส.ค. มุ่งส่งเสริม/พัฒนาการท�ำฟาร์มโคนม เพื่อสุขอนามัย การบริหารจัดการต้นทุน และตั้งเป้าให้ฟาร์มเกษตรกร ของ อ.ส.ค. ไดร้ บั มาตรฐานการปฏบิ ตั ิทางการเกษตรทด่ี ี (Good Agriculture Practices : GAP) 100% ภายใน 3 ป ี มงุ่ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การคดั เลอื กสายพนั ธโ์ุ คนม ตลอดจนบรกิ ารทางดา้ นสตั วบาลตา่ งๆ รวมทง้ั บรกิ ารผสมเทยี มโคนม แก่เกษตรกร เพ่อื ใหไ้ ด้ โคนมสายพนั ธ์ุดี มีคุณภาพ และเป็นโคนมทีม่ ีความสขุ (Happy Cow) เกษตรกร อ.ส.ค. ต้งั เป้าสร้าง Smart Farmer ตามยทุ ธศาสตรไ์ ทยแลนด์ 4.0 และต้งั เปา้ ให้การทำ� ฟาร์มโคนมของเกษตรกรผ่านมาตรฐาน GAP ภายใน 3 ปี ความสำ� คญั การเลยี้ งโคนมเปน็ อาชพี พระราชทาน จาก พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทท่ี รงมพี ระราชประสงค์ ใหอ้ าชีพการเล้ยี งโคนมเปน็ อาชพี ใหม่ใหก้ บั เกษตรกรไทยเมอื่ 55 ปีกอ่ นนบั แตแ่ รกกอ่ ตั้งที่ อ.ส.ค. มีการเปิดรบั นกั เรียน ฟารม์ เพื่อพัฒนาบุคลากรให้สามารถประกอบอาชพี การเล้ียงโคนมใหเ้ ป็นสัมมาอาชวี ะได้อย่างแทจ้ ริง เกษตรกรคือกลุ่มอาชีพระดับฐานรากของสังคมไทยท่ีท�ำหน้าที่สร้างอาหารป้อนครัวโลก ตลอดจนสร้างความม่ันคง ทางอาหารใหก้ ับสงั คมไทยและชมุ ชนโลก สถานการณ์ ท่ีผ่านมาเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมยังมีต้นทุนการท�ำฟาร์มโคนมและต้นทุนการผลิตน้�ำนมดิบที่ยังไม่สามารถแข่งขัน ทางธรุ กิจได้ มปี ัญหาทางดา้ นองค์ความรเู้ กย่ี วกับการบรหิ ารจดั การฟาร์ม บทบาทของ อ.ส.ค. มุ่งพัฒนาและส่งเสริมการบริหารจัดการด้านต่างๆ ตลอดจนการเล้ียงโคนม ตลอดจนบริการทางด้านสัตวแพทย์ การใหบ้ รกิ ารผสมเทยี มเพ่อื ใหธ้ รุ กจิ การทำ� ฟาร์มโคนมของเกษตรกรมคี วามมัน่ คงทางดา้ นรายได้ ตงั้ เป้าทจ่ี ะสร้าง Smart Farmer ตามยุทธศาสตรไ์ ทยแลนด์ 4.0 ตัง้ เป้าใหก้ ารทำ� ฟาร์มโคนมของเกษตรกรผา่ นมาตรฐานการผลิตทางการเกษตรทด่ี ี (GAP) ภายใน 3 ปี มงุ่ สง่ เสรมิ ความสัมพันธ์ระหวา่ งเกษตรกรผเู้ ลี้ยงโคนม–สหกรณ์ กบั อ.ส.ค. ให้ย่งั ยืน

28 รายงานการพัฒนาอย่างย่ังยนื ประจ�ำปี 2559 Sustainable Development Report 2016 To Consumer Glass ถึงแกว้ นมผูบ้ ริโภค โรงงาน อ.ส.ค. มีความเชี่ยวชาญทางด้านการประมาณการผลิตที่แม่นย�ำจากประสบการณ์อย่างยาวนานของ อ.ส.ค. แมป้ รมิ าณนำ้� นมดบิ จะมคี วามผนั ผวนตามชว่ งเวลา อกี ทงั้ อ.ส.ค.ไมม่ นี โยบายกดราคารบั ซอื้ นำ้� นมดบิ จากเกษตรกร จึงทำ� ใหร้ ะบบนิเวศของ อ.ส.ค. ท้งั เกษตรกร–อ.ส.ค.–ผ้บู รโิ ภคอย่กู นั ได้อยา่ งย่งั ยนื ความส�ำคัญ โรงงานผลติ ถอื เป็นกระบวนการกลางนำ�้ ในหว่ งโซค่ ุณค่าของ อ.ส.ค. ทอ่ี งค์กรใหค้ วามสำ� คัญไม่แพ้จุดอ่นื ๆ เนอ่ื งจาก อ.ส.ค. รับซ้ือน้�ำนมดิบจากเกษตรกรและสมาชิกท่ีส่งน�้ำนมดิบให้ อ.ส.ค. ในปี 2559 ถึง 3,390 รายและมีปริมาณ การรับซือ้ 650–750 ตัน/วนั เนอื่ งจากผลติ ภณั ฑข์ อง อ.ส.ค. ผลติ จากนำ�้ นม 100% ไมผ่ สมนมผง ดงั นนั้ โรงงานผลติ ของ อ.ส.ค. จงึ ไดร้ บั การรบั รอง ตามมาตรฐาน เพ่ือการผลิตผลิตภัณฑท์ ่ีดแี ละมีคณุ ภาพสู่ผบู้ รโิ ภค สถานการณ์ เพ่ือให้ลดการขนส่ง ลดการใช้พลังงานและคงความสดใหม่ของผลิตภัณฑ์ อ.ส.ค. จึงได้ตั้งโรงงานในแต่ละภูมิภาค ที่มวกเหล็ก จ.สระบรุ ี, อ�ำเภอเมือง จ.เชยี งใหม,่ อ�ำศรีนคร จ.สุโขทยั , อ�ำเภอท่าพระ จ.ขอนแกน่ และ อ�ำเภอปราณบรุ ี จ.ประจวบครี ีขนั ธ์ ปรมิ าณนำ้� นมดบิ จากเกษตรกรจะผนั ผวนตามฤดกู าลและตามชว่ งเวลา ดงั นน้ั โรงงานตอ้ งสำ� รองกำ� ลงั การผลติ ในกรณี ท่ีมีปริมาณนำ้� นมดบิ สูงสุดที่ 750 ตนั /วนั ดว้ ย บทบาทของ อ.ส.ค. วางแผนและคาดการณ์การผลิตและการเก็บสินค้าคลังอย่างแม่นยำ� เพ่ือให้อุปสงค์-อุปทานสมดุล เพื่อมิให้เกิดการ สูญเสยี หรือมภี าระจากสินค้าคงคลงั ล้น หรือเกดิ ปัญหาสนิ ค้าขาดตลาด พัฒนาคุณภาพน้�ำนมดิบ/การผลิตน�้ำนมที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการผลิตระดับสากล อีกทั้งมุ่งมั่นท�ำงานร่วมกับ ชุมชนโดยรอบโรงงานอย่างใกล้ชดิ เพอ่ื สง่ มอบผลติ ภณั ฑ์ทด่ี ี มคี ณุ ภาพให้กบั ตลาด เร่งพัฒนาศักยภาพโรงงานแปรรูปนมเย็นท่ีโรงงาน อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี และเชียงใหม่ เพ่ือผลิตผลิตภัณฑ์นมเย็น (Refrigerated Milk) เพือ่ รองรับแนวโนม้ การบรโิ ภคในปจั จบุ นั ธ�ำรงไวซ้ ึ่งมาตรฐานการผลิตระดับสากลและพฒั นาใหด้ ียิ่งๆ ขนึ้ ไปอยา่ งต่อเนื่อง ทั้งนี้ ในกระบวนการผลติ ในโรงงาน ของ อ.ส.ค. ยงั ได้รบั การรับรองตามมาตรฐานต่างๆ ดงั น้ี มาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice : หลักเกณฑ์และวธิ กี ารท่ดี ใี นการผลติ อาหาร เนน้ การป้องกนั และขจดั ความเส่ียงท่ีอาจท�ำให้เกิดอันตรายหรือไมค่ วามปลอดภัยต่อผู้บรโิ ภค) มาตรฐาน HACCP (Hazard Analysis Critical Control Point : การวิเคราะหอ์ นั ตราย จุดควบคมุ วกิ ฤต) รางวลั CSR-DIW Award 2016 จากกระทรวงอตุ สาหกรรม ทางด้านมาตรฐานความรับผดิ ชอบของผปู้ ระกอบการ อตุ สาหกรรมตอ่ สงั คม

องค์การสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 29 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) การรับรองจาก Green Industry ให้เป็นอุตสาหกรรมสีเขยี วระดับท่ี 3 ทางดา้ นการบรหิ ารจดั การส่งิ แวดล้อมอยา่ ง เป็นระบบ มกี ารติดตามประเมนิ ผลและทบทวนเพอื่ การพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่อื ง ชอ่ งทางจดั จำ� หน่าย อ.ส.ค. มใิ ช่องคก์ รทีเ่ น้นทำ� กำ� ไรสงู สดุ แต่เรามุง่ พฒั นาใหต้ ัวแทนจำ� หนา่ ยของเราทอ่ี ยู่กนั มานานจากรุ่นสูร่ นุ่ เติบโต ไปพร้อมๆ กบั อ.ส.ค. และพฒั นาใหเ้ ป็น Smart Agent ในอนาคต ความส�ำคัญ ช่องทางการจ�ำหน่ายของ อ.ส.ค. มี 2 แบบ ได้แก่ ชอ่ งทางการค้าสมยั ใหมท่ ่เี รียกว่า Modern Trade (MT) และ ชอ่ งทางการคา้ แบบด้ังเดมิ (Traditional Trade : TT) ทมี่ ีขอบเขตการดแู ลพ้นื ทก่ี ารขายในแต่ละภมู ิภาคตามทกี่ ำ� หนด ทำ� หน้าทสี่ นับสนุนการเติบโตของ อ.ส.ค. และเชื่อมโยงผลิตภณั ฑจ์ ากเกษตรกรถึงผบู้ ริโภค ช่องทางการค้าแบบด้ังเดิม มีความส�ำคัญและเติบโตเคียงข้างกับ อ.ส.ค. นับแต่การก่อตั้งองค์กรและมีความใกล้ชิด เชิงซ้อนและแนบแน่นกับ อ.ส.ค. ชมุ ชนและผ้บู รโิ ภคมากกวา่ การค้าขายกันทั่วไป สถานการณ์ ปัจจบุ ันยอดขายจากช่องทางการค้าสมยั ใหม่ และ ช่องทางการคา้ แบบดงั้ เดิมมีสัดสว่ น 60 : 40 ช่องทางการค้าแบบด้ังเดิมยังท�ำการค้าในลักษณะเดิมๆ ใช้เทคโนโลยีเพ่ือช่วยในการด�ำเนินธุรกิจอย่างไม่แพร่หลาย นักสง่ ผลให้ขาดความสามารถทางการแขง่ ขันในบางแง่มมุ ไป บทบาทของ อ.ส.ค. สนบั สนนุ การเตบิ โตของชอ่ งทางการคา้ แบบดงั้ เดมิ ในฐานะคคู่ า้ ทเ่ี ตบิ โตมาดว้ ยกนั กบั อ.ส.ค.ใหม้ คี วามสามารถทางการ แขง่ ขนั ในระบบได้อย่างสมดุลและเปน็ ธรรม อาทิ สว่ นลดทางการค้า การให้ผลประโยชนต์ อบแทน ฯลฯ ตงั้ เป้าเพิ่มสัดส่วนการขายของ ช่องทางการค้าแบบดง้ั เดมิ จาก 40% ให้เป็น 50% ภายในปี 2564 ตง้ั เป้าสร้าง Smart Agent โดยในปี 61 น้ี อ.ส.ค. จะเนน้ ใหม้ ีการทำ� งานรว่ มกนั มากขึ้นกบั ช่องทางการคา้ แบบด้ังเดมิ สนบั สนนุ และชว่ ยเหลอื ชอ่ งทางการคา้ แบบดง้ั เดมิ หากประสบภยั พบิ ตั ิ เชน่ อทุ กภยั อคั คภี ยั ฯลฯ ดว้ ยการชว่ ยเหลอื ทางดา้ นการเคลยี รส์ นิ คา้ ในสตอ็ กใหก้ อ่ น เพอื่ ให้ ชอ่ งทางการคา้ แบบดง้ั เดมิ สามารถขายสนิ คา้ ไดแ้ ละมสี ภาพคลอ่ งอยา่ ง รวดเรว็ ท่ีสดุ อ.ส.ค. มีนโยบายเคลียร์สินค้าหมดอายุออกจากคลังสินค้าของช่องทางจ�ำหน่ายทุกระบบ เพื่อให้สินค้าของ อ.ส.ค. มีความสด ใหม่ และเปน็ ทไ่ี วว้ างใจของผู้บรโิ ภค

30 รายงานการพฒั นาอย่างยง่ั ยืนประจำ� ปี 2559 Sustainable Development Report 2016 ผู้บรโิ ภค อ.ส.ค. มิใช่องค์กรที่เน้นท�ำก�ำไรสูงสุด เราต้องรักษาสมดุลระหว่างการท�ำให้เกษตรกรสามารถขายน้�ำนมดิบ ได้ในราคาท่ีดี ไม่กดราคา ขณะเดียวกัน ผู้บริโภคก็สามารถซ้ือผลิตภัณฑ์นมคุณภาพที่เป็นนมโคสดแท้ได้ในราคา ย่อมเยา สมเหตุสมผล ความสำ� คัญ จากจุดก�ำเนิดของ อ.ส.ค. ท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จประพาสทวีปยุโรปและ สนพระทัยเกยี่ วกับกจิ การเลย้ี งโคนมน้ัน เน่อื งด้วยทรงเลง็ เหน็ ถงึ คุณค่าทางโภชนาการที่คนไทยจะไดร้ ับจากการบริโภค นมด้วย ผู้บริโภคจึงเป็นปลายนำ�้ ของห่วงโซ่คุณคา่ ท่ี อ.ส.ค. ตระหนกั ถึงภารกจิ นอ้ี ย่างดีและด�ำเนินงานภายใต้พันธกจิ นี้ อย่างเครง่ ครัดมาตลอด 55 ปี เพื่อการก้าวสยู่ ทุ ธศาสตร์นมแห่งชาติ ภายในปี 2564 สถานการณ์ จากการสอ่ื สารถงึ จดุ แขง็ ของผลติ ภณั ฑข์ อง อ.ส.ค. ซงึ่ เปน็ นมโคสดแท้ 100% ไมผ่ สมนมผง อกี ทงั้ เปน็ องคก์ รรฐั วสิ าหกจิ ที่มีที่มาจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท�ำให้ผลิตภัณฑ์ ของ อ.ส.ค. ได้รับความเช่ือถือและ ไว้วางใจจากผูบ้ ริโภค ผู้บริโภคยุคใหม่รักษ์สุขภาพและใส่ใจถึงวัตถุดิบ กระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์ อีกท้ังให้ความส�ำคัญกับความเป็น แบรนด์ท่มี คี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ มด้วย กระแสโลกาภิวัตน์และโซเชียลมีเดียที่เติบโตข้ึน ท�ำให้ผู้บริโภควันน้ีเปิดรับวัฒนธรรมการบริโภคจากต่างประเทศ มากขึ้น ท�ำใหผ้ บู้ รโิ ภคมีทางเลอื กมากข้นึ ทัง้ อาหารและเครอื่ งด่มื บทบาทของ อ.ส.ค. มุ่งตอบโจทย์ความต้องการท่ีแท้จริงของผู้บริโภค (Consumer Insight) ด้วยการออกผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม กับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่ที่รักษ์สุขภาพ ดังที่ปี 2559 อ.ส.ค. ได้เปิดตัวนมพาสเจอร์ไรซ์ออร์แกนิค ตรา ไทยเดนมาร์ค “มอร์กานิค” ซ่ึงเป็นผลิตภัณฑ์นมออร์แกนิคนับแต่ทุ่งหญ้าจนถึงโครีดนม, การเปิดตัวไอศกรีมนมสด โยเกิร์ตนมสด แบบดม่ื และแบบถ้วย ออกสู่ตลาดในช่วงเวลาก่อนหน้า มุ่งผลิตนมคุณภาพให้ผู้บริโภคได้บริโภคในราคายุติธรรมและสมเหตุสมผล โดยที่ยังคงยืนหยัดกับจุดแข็งของ ตราไทย-เดนมาร์ค สญั ลักษณ์ “ววั แดง” ท่เี ป็นนมโคสดแท้ 100% ไมผ่ สมนมผง มุง่ สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารบรโิ ภคนมเพ่ิมขนึ้ เพือ่ สร้างภมู ิคุ้มกันทางด้านสขุ ภาพให้กบั ประชาชน มงุ่ พัฒนาอาหารปลอดภัยและความม่นั คงทางดา้ นอาหารให้กับสงั คมไทย

องค์การส่งเสริมกจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 31 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) By Corporate Governance ดว้ ยธรรมาภบิ าลขององค์กร ธรรมาภิบาล อ.ส.ค. มงุ่ สรา้ งสรรคค์ ณุ คา่ รว่ ม (CSV) กบั มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทงั้ โซอ่ ปุ ทาน อกี ทงั้ นำ� ผลกำ� ไรเพอ่ื ตอบแทนคนื ใหก้ บั การ พัฒนาและส่งเสรมิ เกษตรกรให้สามารถทำ� ธุรกิจฟารม์ โคนมได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพและมคี ุณภาพชวี ิตท่ดี กี ว่าเดิม อ.ส.ค. มีนโยบายและแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดี เพ่ือให้การด�ำเนินงานขององค์กรเป็นไปด้วยความ โปรง่ ใสและมธี รรมาภิบาล และทำ� งานโดยไดน้ �ำหลักการและแนวทางการก�ำกบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี (CG) ในรัฐวิสาหกิจและ แผนแม่บททางด้าน CG ของ อ.ส.ค. มาเป็นกรอบแนวทางในการสร้างแนวปฏิบัติในองค์กร โดยได้ก�ำหนดนโยบาย การก�ำกบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี เพอ่ื ใหพ้ นักงานทุกระดับยดึ ถือเป็นหลักปฏบิ ตั ใิ ห้สอดคล้องกนั ทั่วทงั้ องค์กร สร้างความรูค้ วาม เขา้ ใจในหลกั การกำ� กบั ดแู ลกจิ การทด่ี แี กค่ ณะกรรมการ ผบู้ รหิ าร พนกั งาน-ลกู จา้ ง อ.ส.ค. ใหต้ ระหนกั ถงึ ความสำ� คญั และ นำ� ไปใชใ้ นการท�ำงาน เพอื่ เปน็ วฒั นธรรมการท�ำงานทด่ี ขี อง อ.ส.ค. นอกจากนี้ อ.ส.ค. ยงั ดำ� เนนิ งานในสว่ นน้ตี าม พ.ร.บ. ข้อมลู ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ที่ใหห้ น่วยงานของรัฐ ต้องเปิดเผยข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนรับทราบ ท้ังน้ี อ.ส.ค. ได้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดี (Corporate Governance : CG) และการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) เพอ่ื กำ� หนดนโยบายและหลกั เกณฑท์ เ่ี กย่ี วกบั การเปดิ เผยขอ้ มลู และขา่ วสารของ อ.ส.ค. ซง่ึ เผยแพร่ ผา่ นเวบ็ ไซตข์ อง อ.ส.ค. (www.dpo.go.th) ทางโทรศพั ท์ หรอื ตดิ ตอ่ ดว้ ยตนเอง นอกจากน้ี อ.ส.ค. ไดจ้ ดั ใหม้ ชี อ่ งทางการ สอื่ สารกบั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี แตล่ ะกลมุ่ อยา่ งเหมาะสม เพอ่ื เผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารตา่ งๆ ทง้ั ภายในและภายนอกทงั้ เวบ็ ไซต์ อ.ส.ค, รายงานประจำ� ป,ี ระบบอินทราเน็ต (Intranet) และส่อื เผยแพรภ่ ายในต่างๆ ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม และ การกำ� กับดูแลกจิ การทดี่ ี Corporate Social Responsibility (CSR) & Corporate Governance (CG) ในการด�ำเนินการและการปฏิบัติเพ่ือมุ่งสู่วิสัยทัศน์ขององค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) ในปีงบประมาณ 2559 คือ “อ.ส.ค. องค์กรชั้นน�ำด้านอุตสาหกรรมโคนมไทยก้าวไกลสู่อาเซียนด้วยมาตรฐานสากล และนวัตกรรมบริการ” อ.ส.ค. ยังคงด�ำเนินงานภายใต้กรอบของการด�ำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อเศรษฐกิจ สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม (Corporate Social Responsibility: CSR) โดยค�ำนงึ ถึงผทู้ ี่มสี ว่ นได้สว่ นเสียในทุกกระบวนการ ของหว่ งโซ่คณุ คา่ (Value Chain) ครอบคลมุ ถงึ การให้ความส�ำคญั กับการกำ� กบั ดแู ล การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ การประกอบ กิจการด้วยความเป็นธรรม การเคารพสิทธิมนุษยชน การปฏิบัติแรงงานอย่างเป็นธรรม ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม การจัดการสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมสุขภาพและภาวะโภชนาการ ตลอดจนการบริหาร จัดการฟาร์มโคนมและการพัฒนาอาชีพการเล้ียงโคนม ขณะเดียวกัน ก็น�ำหลักการและแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการ ทดี่ ี (Corporate Governance : CG) ในรฐั วสิ าหกจิ มาเปน็ กรอบแนวทางในการสรา้ งแนวปฏบิ ตั ใิ นองคก์ ร โดยไดก้ ำ� หนด นโยบายการกำ� กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี เพอ่ื ใหพ้ นกั งานทกุ ระดบั ยดึ ถอื เปน็ หลกั ปฏบิ ตั ใิ หส้ อดคลอ้ งกนั ทวั่ ทง้ั องคก์ ร สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ ในหลกั การกำ� กับดูแลกจิ การทด่ี แี ก่คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร พนกั งาน-ลกู จา้ ง อ.ส.ค. ใหต้ ระหนกั ถงึ ความ ส�ำคัญและน�ำไปใช้ในการท�ำงานเพ่ือเป็นวัฒนธรรมการท�ำงานที่ดีของ อ.ส.ค. โดยให้มีขอบเขตครอบคลุมทั้งด้านการ บรหิ ารจดั การองคก์ ร ผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสีย ตลอดจนบคุ ลาการและการเรยี นรู้

กิจกรรม ในรอบปี 2559

องคก์ ารสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 33 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) โครงการตักบาตรนมสดและธรรมะในฟารม์ วตั ถปุ ระสงค์ ระยะเวลาดำ� เนนิ การ 1. เพ่ือส่งเสริม และสนับสนุนประเพณีวัฒนธรรมในการ วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2558 ท�ำบุญของคนไทย ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั 2. เพอ่ื สรา้ งเอกลกั ษณอ์ งคก์ รและชมุ ชนในพน้ื ทใ่ี กลเ้ คยี ง พนักงาน ลกู จา้ ง อ.ส.ค. สอ่ื มวลชนและประชาชนท่ัวไป เปา้ หมาย ได้รับรู้ และเข้าร่วมประเพณีตักบาตรนมสด และรวม พนักงาน ลกู จ้าง สอื่ มวลชน ประชาชนทั่วไป ในฟาร์ม ท่ี อ.ส.ค. จดั ขนึ้ มา

34 รายงานการพัฒนาอย่างยงั่ ยืนประจำ� ปี 2559 Sustainable Development Report 2016 โครงการ Thai – Denmark Nature Camp 6th หลักการและเหตุผล กนั พฒั นากิจกรรมต่างๆ เพอื่ ให้เกิดประโยชน์ต่อเยาวชน ปัจจุบันการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ที่เข้าร่วมโครงการ ซึ่งจะส่งผลลัพธ์สุดท้ายคือการ ส่ิงแวดล้อม ถือเป็นภารกิจส�ำคัญของมนุษย์ทุกคน มีนักอนุรักษ์ธรรมชาติรุ่นต่อไป ที่จะน�ำความรู้และ เนื่องจากทุกคนท่ีอาศัยอยู่ในโลกใบน้ีได้ใช้ประโยชน์จาก ประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ในการอนุรักษ์ธรรมชาติให้คง ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่อย่างจ�ำกัด เป็นปัจจัยหลักต่อ อยอู่ ยา่ งยั่งยืนสืบไป การด�ำรงชีวิต จึงท�ำให้ทรัพยากรธรรมชาติลดน้อยลงไป วัตถุประสงค์ ทุกที จนส่งผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมท่ีเปล่ียนแปลง 1. เพี่อปลูกฝังใหเ้ ยาวชนมคี วามรู้ และมคี วามรับผิดชอบ ไป ทั้งเรื่องของฤดูกาล อากาศท่ีแปรปรวน หรือแม้แต่ ในการอนุรักษ์ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม อุณหภูมิของน้�ำทะเลที่สูงข้ึน ซึ่งผลกระทบเหล่าน้ีล้วน 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้และประสบการณ์ด้านการเล้ียง เกดิ จากมนุษยท์ ั้งสิ้น และหากมนุษยย์ งั ไม่ช่วยกนั อนรุ ักษ์ โคนมดา้ นเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติเอาไว้ ผลสุดท้ายโลกใบนี้ก็จะไม่ 3. เพื่อรณรงค์ให้กลุ่มเยาวชนนิยมการดื่มนมโคสดแท้ สามารถด�ำรงอยูไ่ ด้ ดังคำ� กล่าวทว่ี ่า “ธรรมชาติอยไู่ ดโ้ ดย 100% ไมม่ ีมนษุ ย์ แต่มนษุ ยอ์ ยู่ไมไ่ ด้ถา้ ไมม่ ธี รรมชาต”ิ 4. เพอ่ื เปน็ การตอ่ ยอดกจิ กรรม Thai – Denmark Nature ด้วยเหตุนี้ องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่ง Camp จากครง้ั ท่ีผา่ นมา และเป็นการคงไวซ้ งึ่ กจิ กรรม ประเทศไทย (อ.ส.ค.) ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ เยาวชน ส่งิ แวดล้อม และสงั คม อนรุ กั ษธ์ รรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ซงึ่ เปน็ ปจั จยั ทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ 5. เพ่ือส่งเสริมให้เยาวชนที่ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรม การด�ำรงชวี ติ จึงได้ดำ� เนนิ การจัดกิจกรรม Thai – Den- Thai – Denmark Nature มีโอกาสได้เป็นยุวทูต mark Nature Camp ร่วมกับชมรมนักส่ือความหมาย เผยแพรก่ จิ กรรมดงั กลา่ วในสงั คมของตัวเองตอ่ ไป ธรรมชาติ ซ่ึงเป็นชมรมที่รวมกลุ่มเยาวชนที่มีจิตส�ำนึก 6. เพ่ือประชาสัมพันธ์กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ในการอนุรักษ์ธรรมชาติ มาเป็นพ่ีเลี้ยงในการปลูกฝัง ในฟาร์มโคนมไทย – เดนมารค์ และถ่ายทอดประสบการณ์ท่ีดีให้แก่เยาวชนรุ่นน้อง ซ่ึง 7. เป็นการใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างหน่วยงานและ จะเติบโตเป็นก�ำลังส�ำคัญของประเทศชาติในอนาคต ให้ สรา้ งทนุ ปัญญาให้แก่สังคม เป็นผู้สืบทอดในการเป็นนักอนุรักษ์ธรรมชาติ และการ กล่มุ เป้าหมาย ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าเพ่ิมข้ึน เพ่ือขยายเครือข่ายไปยัง เยาวชนผู้ศึกษาในระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2–5 จำ� นวน หน่วยงานต่างๆ ในระดับโรงเรยี น อกี ทัง้ ยังเปน็ โอกาสอัน 50–70 คน ดีที่จะสอดแทรก การเรียนรู้อาชีพพระราชทานการเล้ียง ระยะเวลาในการดำ� เนินงาน โคนม ตลอดจนคณุ ประโยชนข์ องการดม่ื นมโคสดแท้ ใหแ้ ก่ จัดกิจกรรมในวันที่ 23–26 มถิ นุ ายน 2559 เยาวชนผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ ผา่ นกิจกรรมการเรียนรู้ภายใน วธิ ีการ/ข้ันตอนการดำ� เนนิ กิจกรรม ฟารม์ โคนมไทย-เดนมารค์ ซง่ึ เปน็ การเรยี นรนู้ อกหอ้ งเรยี น 1. จัดท�ำโครงการ ทมี่ คี ุณคา่ 2. ประสานงานกับโรงเรียนมัธยมศึกษา และชมรม การจดั กิจกรรม Thai – Denmark Nature Camp นกั สอื่ ความหมายธรรมชาติ ได้ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง และได้บรรจุไว้ในแผน 3. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมในโรงเรียนต่างเพ่ือคัดเลือก ปฏิบัติการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ของ ตัวแทนเข้ารว่ มกิจกรรม อ.ส.ค. ซึ่งการด�ำเนินงานที่ผ่านมาน้ัน กิจกรรมดังกล่าว 4. ประชมุ วางแผนกบั หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีในกลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วม 5. สำ� รวจพืน้ ที่ กำ� หนดรูปแบบ การจัดกจิ กรรม โครงการ และในปี 2559 น้ี เป็นการจัดกิจกรรมครั้งนี้ 6 6. ดำ� เนินการจัดกจิ กรรม ซงึ่ อ.ส.ค. และชมรมนกั สอื่ ความหมายธรรมชาติ ไดร้ ว่ มมอื 7. สรปุ ประเมินผลหลงั เสร็จสนิ้ กิจกรรม

องคก์ ารสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 35 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) คุณสมบัติของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 1. เป็นนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2–5 1. สร้างประสบการณ์การเรียนรู้นอกห้องเรียนท่ีมีคุณค่า 2. มีความสนใจในเร่ืองการอนุรักษ์ธรรมชาติและ แกเ่ ยาวชนผู้เขา้ ร่วมโครงการ ส่ิงแวดลอ้ ม และการเรยี นรูส้ ่งิ ใหม่ๆนอกหอ้ งเรยี น 2. เยาวชนและบุคคลท่ีเข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสสัมผัส 3. ไมม่ โี รคประจ�ำตวั กับธรรมชาติ 4. ได้รับอนุญาตจากสถานศึกษา อาจารย์และผ้ปู กครอง 3. เ ย า ว ช น แ ล ะ บุ ค ค ล ท่ี เ ข ้ า ร ่ ว ม โ ค ร ง ก า ร มี ใ จ รั ก สถานท่ดี �ำเนินการ ในธรรมชาติตลอดจนเป็นแนวร่วมในการอนุรักษ์ ณ ฟาร์มโคนมไทย–เดนมาร์ค องค์การส่งเสริมกิจการ ทรพั ยากรธรรมชาติอยา่ งยัง่ ยนื โคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) อำ� เภอมวกเหล็ก จังหวัด 4. เยาวชนผเู้ ขา้ รว่ มโครงการมคี วามเขา้ ใจถงึ คณุ ประโยชน์ สระบรุ ี ของนมโคสดแท้ ตลอดจนอาชีพการเลย้ี งโคนมอันเปน็ อาชีพพระราชทาน ผรู้ บั ผิดชอบ/ดำ� เนนิ โครงการ คณะท�ำงานโครงการ Thai – Denmark Nature Camp 5th องคก์ ารส่งเสรมิ กิจการโคนมแหง่ ประเทศไทย

36 รายงานการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืนประจ�ำปี 2559 Sustainable Development Report 2016 โครงการบ่มเพาะเยาวชนโคนมยุคใหม่ (จดั นิทรรศการและฐานการเรยี นรู้) วตั ถปุ ระสงค์ ระยะเวลาดำ� เนินการ 1. เพอ่ื กระตนุ้ ใหเ้ ยาวชนเกดิ ความสนใจในอาชพี การเลยี้ ง พฤศจิกายน 2558 ถึง กนั ยายน 2559 โคนม ผลท่คี าดว่าจะได้รับ 2. เพ่ือสร้างแรงบันดาลใจในการประกอบอาชีพการเลี้ยง นักเรียนในโรงเรียนเขตพื้นที่ประกอบกิจการได้เรียนรู้ โคนม อาชีพการเล้ียงโคนมท่ีถูกต้อง และใช้เป็นแนวทาง 3. เพื่อรักษาอาชีพการเล้ียงโคนมให้คงอยู่กับเกษตรกร ประกอบอาชีพได้ ตลอดไป เป้าหมาย โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในพ้ืนที่ส่งเสริมการเล้ียงโคนม จำ� นวน 11 โรงเรยี น

องค์การสง่ เสริมกิจการโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 37 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) โครงการส่งเสริมอตั ลักษณ์ใหส้ ถานศกึ ษา (การตรวจคุณภาพน้�ำนม) วตั ถปุ ระสงค์ ระยะเวลาดำ� เนินการ 1. เพื่อฝึกทักษะในการตรวจคุณภาพน้�ำนมดิบให้กับ พฤศจิกายน 2558 ถงึ มีนาคม 2559 นกั เรียนในเขตชุมชนพน้ื ท่ดี �ำเนนิ การของกิจการ ผลทค่ี าดวา่ จะได้รับ 2. เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรรองรับปฏิบัติงาน 1. นกั เรยี นไดเ้ รียนรกู้ ระบวนการตรวจคณุ ภาพนม ในดา้ นการตรวจคณุ ภาพนำ�้ นมของสถานประกอบการ 2. นักเรียนได้รับองค์ความรู้และมีทักษะในการตรวจ ในพนื้ ด�ำเนนิ การ คุณภาพนำ้� นมดบิ เปา้ หมาย 3. นกั เรยี นนำ� ความรทู้ ไี่ ดร้ บั ไปประกอบอาชพี หรอื ศกึ ษา นักเรียนสายวิทย์-คณิตโรงเรียนในประกอบกิจการของ ตอ่ ในระดับท่ีสงู ข้นึ อ.ส.ค.

เป้าหมาย สปู่ ี 2560

องค์การสง่ เสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 39 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) เป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยนื องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) เป็นองค์กรที่น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมาใชเ้ ปน็ กรอบการดำ� เนินงานและยุทธศาสตร์องค์กร ครอบคลมุ หลักการ “3 หว่ ง - 2 เง่ือนไข” ดังน้ี คือ 3 ห่วง ความพอประมาณ - ความมีเหตผุ ล - ภมู ิค้มุ กัน 2 เง่อื นไข ความรู้ - คุณธรรม นมแห่งชาตภิ ายในปี 2564 TRIPLE CG From CG - To CG - By CG เกษตรกร By Corporate Governance โรงงาน โคนม ชองทาง อ.ส.ค. จดั จำหนาย ทงุ หญา - ธญั พืช ผบู ริโภค From Community Grass To Consumer Glass มุ่งสบื สานพระราชปณิธานของ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในการพัฒนาและสง่ เสรมิ ให้อาชีพเกษตรกร ซ่ึงเป็นอาชีพพระราชทานให้สามารถอยู่ได้อย่างมั่นคงและย่ังยืน ได้รับประโยชน์สูงสุด และมคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี กี ว่าเดมิ มงุ่ ผลิตและพฒั นาผลิตภณั ฑ์นมทม่ี คี ุณภาพและมาตรฐานสูง เพ่ือใหล้ กู คา้ มีโอกาสบรโิ ภคสินค้าทีห่ ลากหลาย มคี ณุ คา่ ทางอาหาร และทำ� ใหส้ ขุ ภาพแข็งแรง พร้อมทัง้ ด�ำเนินกิจการอย่างเปน็ ธรรมและเป็นมติ รต่อสง่ิ แวดล้อม มงุ่ ดำ� เนนิ ธรุ กจิ ดว้ ยธรรมาภบิ าลความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและสรา้ งสรรคค์ ณุ คา่ รว่ ม (CSV) ระหวา่ ง อ.ส.ค. และ ผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสียทั้งโซ่อปุ ทาน พร้อมท้ังตอบสนองวาระเปา้ หมายการพฒั นาที่ยัง่ ยนื ของสหประชาชาติ (SDG)

40 รายงานการพฒั นาอย่างยั่งยืนประจ�ำปี 2559 Sustainable Development Report 2016 รายชื่อคณะทำ� งานจัดท�ำหนงั สือรายงานการพัฒนาอย่างยงั่ ยืนประจ�ำปี 2559 (SD REPORT) รายงานการพฒั นาอยา งย่งั ยืนประจำป 2559 ปรกึ ษา หงสกลุ ประธานอนุกรรมการ CG&CSR อทุ ินทุ อนุกรรมการ CG&CSR Sustainable Development Report 2016 1. นายพงศ์กานต์ 2. นายสกุ ิจ 3. ดร.ณรงคฤ์ ทธิ์ วงศ์สุวรรณ ผ้อู �ำนวยการ 4. นางสาวอรนชุ จิราวฒั นานุรกั ษ ์ ผชู้ ่วยผอู้ ำ� นวยการ คณะท�ำงาน 1. นางสาวภรภัทร จนิ ายน หวั หนา้ ฝ่ายอ�ำนวยการ 2. นางสาวณัฐณิชา พทุ ธาราม หวั หนา้ กองประชาสัมพนั ธ์ และความปลอดภยั ในการทำ� งาน 3. นางสาวกมลชนก นอ้ ยสวรรค ์ นกั วิชาการเผยแพร่ 5 องคการสงเสริมกิจการโคนมแหง ประเทศไทย (อ.ส.ค.) Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) www.dpo.go.th 4. นางสาววราพร มะโนประเสรฐิ กลุ นกั วิชาการเผยแพร่ 5 กองประชาสมั พนั ธ์ ฝ่ายอ�ำนวยการ 0-2279-8603 [email protected] www.dpo.go.th



สำนักงานใหญ 0-3690-9688 www.dpo.go.th 160 ถนนมิตรภาพ ตำบลมิตรภาพ อำเภอมวกเหล็ก จงั หวดั สระบุรี 18180


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook