Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปแหนมปลากราย 1-66.docx

สรุปแหนมปลากราย 1-66.docx

Published by Guset User, 2023-06-16 07:43:53

Description: สรุปแหนมปลากราย 1-66.docx

Search

Read the Text Version

คำนำ การสรุปผลการจัดกิจกรรมหลักสูตรรูปแบบวิชาชีพกลุ่มสนใจ การทำแหนมปลากราย เป็นการ จัดเก็บและรวบรวมขอ้ มลู การอบรม เพื่อส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรตู้ ่อประชาชนผสู้ นใจซึ่งเป็นการตอบสนอง ความตอ้ งการของประชาชนในพื้นท่ีเพ่ือให้มีคณุ ภาพชีวิตทีด่ ีขึ้น ในกระบวนการเรยี นรู้จะแตกต่างออกไปตาม พื้นที่ในแต่ละพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย วิถีการดำเนินชีวิตที่ดีขึ้น สภาพแวดล้อมล้วนแต่ส่งผลต่อการเรยี นรู้ทั้งส้นิ กระบวนการเรียนรู้จะประกอบด้วยภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพื่อเป็นการฝึกทักษะเรียนรู้ให้แก่ประชาชน กลุ่มเปา้ หมายใหส้ ามารถนำความรแู้ ละประสบการณ์ที่ได้ไปปรับประยุกตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชวี ิตต่อไป สรุปผลการจัดกิจกรรมเล่มนี้ ได้เรียบเรียงผลการจัดกิจกรรมหลักสูตรรูปแบบวิชาชีพกลุ่มสนใจ การทำแหนมปลากราย ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อยต่อผู้ที่พบเห็น หากมี ข้อผิดพลาดหรือมีข้อเสนอแนะที่คิดว่าจะเป็นประโยชน์ กรุณาแจ้งผู้จัดทำทราบ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ ปรับปรุง แกไ้ ขข้อมลู ในครั้งต่อไป และขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้ นางสาวเปยี ทพิ ย์ แสงสีบาง กศน.ตำบลทา่ สะแก

สารบัญ หน้า ก คำนำ ข สารบัญ ๑ บทท่ี๑ รายงานผลการจัดกิจกรรมหลกั สตู รรปู แบบวชิ าชพี กลมุ่ สนใจ ๒ การทำแหนมปลากราย ๕ ความเปน็ มา สถานที่ ๑๑ วนั /ระยะเวลาทจ่ี ัดกจิ กรรม วทิ ยากร ๑๕ ผรู้ ับผดิ ชอบ บทที่๒ หลกั สูตรและเอกสารทีเ่ ก่ียวข้อง บทท่ี๓ การดำเนินกิจกรรมการเรยี นการสอน การดำเนินการจดั กจิ กรรม ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม เครื่องมือท่ีใชใ้ นการจัดกจิ กรรม การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มลู ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน บทท๔่ี สรปุ อภิปราย และข้อเสนอแนะ การดำเนินการจดั กิจกรรม สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ขอ้ เสนอแนะ ภาคผนวก ภาพกิจกรรม คณะผ้จู ัดทำ

บทที่ 1 รายงานผลการจัดกจิ กรรม หลักสูตรวิชาชพี กลุ่มสนใจการทำแหนมปลากราย ความเปน็ มา หลักสูตรวิชาชีพกลุ่มสนใจการทำแหนมปลากรายได้จัดทำขึ้น ในปีงบประมาณ 2566 โดยเนื้อหา หลักสูตรมาจากการสำรวจความต้องการในด้านอาชีพของประชาชน ในหมู่ 9 บ้านหนองบัวขาว ตำบล ท่าสะแก อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งมีความต้องการให้มกี ารจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในวิชา ดงั กล่าว เพ่ือเปน็ การพฒั นาตนเองในครอบครวั การเสริมสร้างอาชีพและพฒั นาต่อยอดเปน็ อาชพี ในชุมชน การสรุปรายงานการจัดกิจกรรมหลักสูตรวิชาชีพกลุ่มสนใจการทำแหนมปลากราย เป็นส่วนหนึ่งท่ี สามารถนำไปใช้ในการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่มี หลักการ ศึกษาที่มุ่งให้ผู้เรียนคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น เน้นการเรียนรู้แบบบูรณาการ และการปฏิบัติจริง สอดคล้องกับวิถีชีวิต นำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพได้ทันที สามารถพัฒนา ศกั ยภาพของผู้เรยี นให้เหน็ คณุ ค่า มีความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง สามารถพึ่งพาตนเองได้ ตลอดจนแสวงหาความรู้ใน การพัฒนาตนเองและสังคมอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยใช้วิธีการเรียนอย่างเหมาะสม ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ใน การค้นหาคำตอบได้ด้วยตนเอง การจะหาคำตอบได้ด้วยตนเองนั้น ผู้เรียนต้องมีทักษะ กระบวนการคิด วิเคราะห์ และลงมือฝกึ ปฏิบัตลิ องผดิ ลองถกู จนคน้ พบวิธที ีเ่ หมาะสมท่สี ดุ แนวทางสำคัญในการดำเนินการต้อง เริ่มจากตัวผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีโอกาสได้เลือกเรียน เพื่อความเหมาะสมกับตัวของผู้เรียนเอง โดยการนำข้อมูล ของผู้เรียนแต่ละคนมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งรายบุคคลและเป็นกลุ่ม เพื่อเชื่อมโยงกับหลักสูตร และชุมชน การสรุปรายงานผลการจัดกิจกรรมหลักสูตรวิชาชีพการทำแหนมปลากราย เป็นการสะท้อนผลการ ดำเนินงาน อุปสรรคปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อปรับปรุงหลักสูตรวิชาชีพกลมุ่ สนใจการแปรรูปกล้วยเปน็ การพฒั นาคุณภาพชีวติ ศกั ยภาพของผู้เรียนให้มีประสทิ ธภิ าพต่อไป สถานที่ บ้านเลขที่ 177 หมู่ 9 บา้ นหนองบวั ขาว ตำบลท่าสะแก อำเภอชาติตระการ จังหวดั พิษณุโลก วัน / ระยะเวลาทจ่ี ัดกิจกรรม - ระหวา่ งวนั ที่ 15 มิถุนายน 2566 - ระหวา่ งเวลา 09.00 – 15.00 น. - หลกั สูตร 5 ช่วั โมง - วนั ละ 5 ชวั่ โมง วทิ ยากร นางมณวี รรณ แสงสงิ ห์ ผรู้ ับผดิ ชอบ น.ส.เปียทิพย์ แสงสบี าง ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลท่าสะแก

บทที่ 2 หลกั สตู รและเอกสารทเี่ ก่ยี วขอ้ ง การส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ได้กำหนด บทบาทในการส่งเสรมิ การเรยี นรู้ของรฐั และสถานศกึ ษาตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. รฐั ตอ้ งสง่ เสริมการดำเนนิ งาน และการจัดตง้ั แหล่งการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมูล และแหล่งการเรียนรู้ อย่างเพียงพอ และมปี ระสทิ ธิภาพ 2. ให้คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน กำหนดหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองดีของชาติ การดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพ่ือ การศกึ ษาตอ่ 3. ให้สถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน มหี นา้ ทีจ่ ดั ทำสาระของหลักสูตรในสว่ นที่เกย่ี วข้องกบั สภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของ ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 4. หลักสตู รการศกึ ษาระดบั ตา่ ง ๆ ต้องมีลกั ษณะหลากหลายเหมาะสมกับแตล่ ะระดบั โดยมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวติ ของบุคคล สาระของหลักสูตร ท้งั ท่ีเปน็ วชิ าการ วิชาชพี ตอ้ งมงุ่ พัฒนาคนให้มีความ สมดลุ ท้งั ดา้ นความรู้ ความคดิ ความสามารถ ความดงี าม และความรับผิดชอบตอ่ สงั คม 5. ใหส้ ถานศึกษารว่ มกบั บุคคล ครอบครวั ชุมชน องคก์ รชุมชน องคก์ รปกครองสว่ น ท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีการจัดการศึกษา อบรม มีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และรู้จักเลือกสรรภูมิปัญญา และวิทยาการต่าง ๆ เพื่อพัฒนา ชุมชนในสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนให้มีการเปลี่ยนแปลง ประสบการณก์ ารพัฒนาระหวา่ งชุมชน 6. ใหส้ ถานศึกษาพฒั นากระบวนการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ รวมทงั้ การ ส่งเสริมใหผ้ สู้ อนสามารถวิจยั เพ่อื พัฒนากระบวนการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสมกบั ผูเ้ รียนในแต่ละระดบั การศกึ ษา การศึกษาประกอบด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ที่มีส่วนช่วยเหลือเอื้อต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน แนวทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพียงอย่างเดยี วไม่สามารถทำใหก้ ารจัดการศึกษาดำเนนิ ไปได้อย่างราบรื่น ต้องอาศัยการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ด้วย การจัดการศึกษาท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นต้องสอดคล้องกับสภาพปญั หา และความต้องการของแต่ละท้องถน่ิ ด้วย แนวคิดของการศึกษาตลอดชีวิต เป็นการศึกษาที่มีความจำเป็นสำหรับบุคคลในทุกช่วงชีวติ ตั้งแต่เกิดจนตาย บุคคลมีความสามารถที่จะเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต การศึกษา มิได้สิ้นสุดเมื่อบุคคลจบจาก โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาการศึกษาตลอดชีวิตเน้นความเสมอภาคความเท่าเทียมกันในโอกาสทาง การศึกษาการศึกษาตลอดชีวิตควรมีความยืดหยุ่นหลากหลายรูปแบบ และวิธีการเพื่อเปิดโอกาสให้ทุกคน เรียนรู้สามารถเลือกวิธีเรียนที่เหมาะสมกับความสามารถของตนการศึกษาตลอดชีวิตมุ่งให้บุคคลได้พัฒนา อย่างเต็มศักยภาพพัฒนาคุณภาพชีวิตและพึ่งตนเองได้ สิ่งที่ให้บุคคลเรียนรู้ควรสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต ซึ่งบุคคลควรได้รับความรู้และทักษะที่จำเป็นในการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ รวมทั้งทักษะในการ แสวงหาความรู้ หรือมีเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ต่อไป การศึกษาตลอดชีวิตเป็นภาพรวมของการศึกษา ทั้งหมดครอบคลุมการศึกษาทุกประเภท ทุกระดับที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างระบบการศึกษาที่จัด สดั ส่วนของการศึกษาไว้ 3 ประเภท คอื

1. การศกึ ษาในระบบ เปน็ การศกึ ษาท่ีกำหนดจุดม่งุ หมาย วธิ ีการศึกษา หลกั สูตร ระยะเวลาของการศกึ ษา การวดั และการประเมนิ ผล ซงึ่ เป็นเงื่อนไขสำคัญของการสำเร็จการศกึ ษาที่แน่นอน 2. การศกึ ษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มคี วามยดื หยนุ่ ในการกำหนดจดุ มุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวดั และการประเมินผล ซ่งึ เป็นเงื่อนไขสำคัญของการสำเรจ็ การศกึ ษา โดยเนอื้ หาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกบั สภาพปัญหาและความต้องการของ บุคคลแตล่ ะกลมุ่ ตวั อย่าง เชน่ การจดั กลมุ่ เรยี นตามความสนใจของผ้เู รียน การเรยี นหรือการฝกึ อบรม หลักสูตรระยะสน้ั เปน็ ต้น 3. การศกึ ษาตามอธั ยาศัย เปน็ การศกึ ษาที่ให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนร้ดู ้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบคุ คล ประสบการณ์ สังคม สง่ิ แวดลอ้ ม สื่อ หรอื แหล่ง ความรูอ้ ่ืน ๆ เชน่ การฝึกฝนและปฏบิ ตั ิงานกับพอ่ แม่ หรือ สถานประกอบการ การศึกษาดว้ ยตนเองจาก หนงั สือและสื่อต่าง ๆ เปน็ ต้น ปัจจบุ นั ภารกิจของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยได้ขยายออกไปอยา่ ง กว้างขวาง สามารถแบง่ ภารกิจหลักได้ 3 ประเภท คือ 1. ส่งเสรมิ การศึกษาในระบบโรงเรยี น โดยจัดกิจกรรมเพื่อสง่ เสรมิ การเรยี นการสอนใน ระบบโรงเรยี นในรูปแบบของการใช้ส่ือเทคโนโลยีการศึกษา สือ่ รายการวทิ ยุ โทรทศั นเ์ พื่อการศึกษา สอ่ื การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม และการจดั นิทรรศการวทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษา 2. จัดการศึกษานอกโรงเรียน โดยมุ่งจัดการศึกษาให้กับประชาชนและผู้ด้อยโอกาสที่อยู่ นอกระบบโรงเรียนให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อ่านออก เขียนได้ รวมทั้งการจัดการศึกษาสายสามัญ และ สายอาชีพในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อยกระดับการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับกลุ่มเป้าหมาย 3. ส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับวิถีชีวิตอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นและทันสมัย รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกท่ี เป็นไปอยา่ งรวดเร็วในยุคโลกาภวิ ัฒน์ สามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองอยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวิตจากแหล่ง ต่าง ๆ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน ศูนย์การเรียนชุมชน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ การศึกษา และรายการวิทยุโทรทัศน์ เป็นต้นโดยสรุปภารกิจทั้งหมดดังกล่าว ก็เพื่อจัดการศึกษาตลอดชีวิต ให้แก่ประชาชนที่อยู่ทั้งในและนอกระบบโรงเรียนให้มีโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทักษะอาชีพ และ ข่าวสารขอ้ มูลท่ที นั สมัยในทุกชว่ งเวลาท่ีต้องการ ในรปู แบบของการศึกษาตลอดชีวติ จดั การศึกษาเพือ่ พัฒนาอาชีพ เปน็ การศึกษาเพื่อพฒั นาความรู้ความสามารถและทักษะใน การประกอบอาชพี ของบคุ คลและกล่มุ บุคคล ซึง่ มีจดุ ม่งุ หมายในชีวติ ทตี่ า่ งกนั โดยมีสาระดังนี้ 1. การเรยี นรอู้ าชพี แบบองค์รวมท่ปี ระชาชน ครู กศน.และผูเ้ ก่ียวข้องรว่ มกนั จดั กจิ กรรม การเรียนรู้ เพ่ือฟื้นฟูเศรษฐกิจชมุ ชน 2. การออกแบบการเรยี นรู้งานอาชีพตามลักษณะของการจดั การศึกษาเพอ่ื พฒั นาอาชพี ใน รปู แบบการฝกึ ทกั ษะอาชพี การเขา้ สู่อาชีพ การพฒั นาอาชีพและการพฒั นาอาชีพด้วยเทคโนโลยี 3. การเรียนรจู้ ากการปฏิบตั ิจริงทบี่ รู ณาการกับวถิ ชี ีวิต โดยใช้วงจรกระบวนการคิด ทำ จำ แก้ปัญหาและพฒั นา 4. การจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชีพที่พฒั นาศกั ยภาพของบุคคลและชุมชนทสี่ อดคล้องกับ วิถชี ีวิต โดยสง่ เสริมการรวมกลุ่มอาชพี สร้างเครือข่ายอาชีพ มรี ะบบการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ ความรู้และ ประสบการณ์ การทำอาชีพภายใตว้ ฒั นธรรมของชุมชน มีกลยทุ ธ์เพ่ือการแข่งขนั ของชมุ ชน เป็นชมุ ชนที่ใช้ เทคโนโลยีในการบรหิ ารจัดการและพฒั นาอาชีพ

กศน.อำเภอชาติตระการ ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมตามรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนมีการบูรณาการการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน แสดงถึงภาพสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ในการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การเรียนการสอนมุ่งเน้นประโยชนข์ องผูเ้ รียนเป็นสำคัญ จึงต้อง จัดใหผ้ ูเ้ รยี นได้เรยี นรู้จากประสบการณจ์ รงิ ฝกึ ปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น มีนิสยั รักการเรยี นรู้ และเกิดการ ใฝ่ เรียนอย่างตอ่ เน่อื งตามแนวคดิ ของการศึกษาตลอดชวี ติ

บทท่ี 3 การดำเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ผู้ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มหลักสูตรวิชาชีพกลุ่มสนใจการทำแหนมปลากราย ไดด้ ำเนนิ การในการอบรม เก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลดงั น้ี 3.1 การดำเนินการจดั กิจกรรม 1. เตรยี มการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน - ประชมุ วางแผนรปู แบบการจัดกิจกรรม - เลือกหลกั สตู รวิชาชพี ท่จี ะจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน - มอบหมายงานให้บุคลากรท่เี ก่ยี วข้อง - ตดิ ต่อประสางานในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 2. วิธกี ารดำเนินงาน - เขียนขออนุญาตจดั ต้ังกลุ่มวิชาชีพสนใจ - เสนอขออนุญาตจดั ตงั้ กล่มุ วชิ าชีพสนใจ - เตรยี มการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. เตรียมการก่อนการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน - การจดั เตรียมเอกสารการเรยี นการสอน - ติดต่อสถานท่ี - ติดตอ่ วทิ ยากร - อื่น ๆ 2. ติดต่อประสานงานเครอื ข่าย - จัดการอบรมกลมุ่ ชนั้ เรยี นวิชาชพี ตามแผนที่วางไว้ 1. ลงทะเบยี นผเู้ ข้ารว่ มการกิจกรรมการเรียนการสอน 2. วทิ ยากรใหค้ วามรู้ เร่อื งการทำแหนมปลากราย 3. จัดกิจกรรมกลุม่ ยอ่ ย 4. สรุปกิจกรรมยอ่ ย 5. ปดิ การอบรม - สรปุ รายงานผลการจดั กิจกรรมกล่มุ หลกั สูตรวิชาชพี กลมุ่ สนใจการทำแหนมปลากรายเปน็ รูปเล่ม - รายงานผลการจัดกจิ กรรมกลมุ่ หลักสตู รวชิ าชพี กลมุ่ สนใจการทำแหนมปลากรายใหผ้ ้ทู ี่เก่ยี วข้องรับทราบ 3.2 ผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรม ผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่มหลกั สูตรวิชาชีพกลมุ่ สนใจการทำสายคลอ้ งแมส จำนวน 8 คน - เพศชาย จำนวน - คน - เพศหญงิ จำนวน 8 คน ผูจ้ ัดกจิ กรรมจำนวน 1 คน 3.3 เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการจดั กจิ กรรม - ข้อมลู ปฐมภมู ิ ไดจ้ ากการกรอกแบบสอบถามของผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม - ขอ้ มลู ทุตยิ ภมู ิ ศึกษาจากเอกสาร ขอ้ มูลต่าง ๆ ที่เกย่ี วข้อง

3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู วเิ คราะห์แบบสอบถามในแตล่ ะส่วน ดงั น้ี ตอนที่ 1 ข้อมลู ส่วนบคุ คล ตอนท่ี 2 ประเมินความพงึ พอใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ตอนท่ี 3 สรปุ ขอ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ สรุปเป็นประเด็นท่ีสำคัญ สถิติทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล คือ ค่าเฉล่ีย โดยใชส้ ูตรดังนี้ 3.4.1 คา่ รอ้ ยละ (%) P = F  100 n เมอ่ื p แทน ร้อยละ F แทน จำนวนผตู้ อบแบบสอบถาม n แทน จำนวนท้ังหมด 3.4.2 ค่าเฉลี่ย ( x ) x = x n เม่ือ x แทน คา่ เฉลี่ย  x แทน จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม n แทน จำนวนท้งั หมด 3.5 การวิเคราะหข์ ้อมลู หมายถึง มคี วามพึงพอใจนอ้ ยทส่ี ุด 0.00 – ๑.49 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจน้อย ๑.50 – 2.๔9 หมายถึง มีความพงึ พอใจปานกลาง ๒.๕0 – ๓.๔๙ หมายถงึ มีความพงึ พอใจมาก 3.๕๐ – 4.49 หมายถงึ มีความพึงพอใจมากทีส่ ุด 4.50 – 5.00

ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มหลักสตู รวิชาชีพกลุ่มสนใจการทำแหนมปลากราย ได้มีการ สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีต่อรูปแบบการจัดกิจกรรม จำนวน 8 คน โดยวิธีการตอบ แบบสอบถาม จึงไดม้ ีการนำเสนอขอ้ มลู ในรูปตารางประกอบคำบรรยาย โดยแบ่งออกเปน็ 3 สว่ น ไดแ้ ก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลสว่ นบุคคล ตอนท่ี 2 ประเมนิ ความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (กิจกรรมการเรียนการสอน) ตอนท่ี 3 สรปุ ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ สรุปเปน็ ประเด็นทสี่ ำคัญ ตอนท่ี 1 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ท่ัวไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ตารางท่ี 1 แสดงจำนวน ร้อยละจำนวนตามเพศ เพศ จำนวน ( n = 8 ) รอ้ ยละ ชาย - - หญิง 8 ๑๐๐ รวม 8 ๑๐๐ จากตารางท่ี 1 ผลการศึกษาพบวา่ ผู้เขา้ ร่วมอบรมทงั้ หมดเป็นเพศหญิงคิดเปน็ ร้อยละ 100 ตารางที่ 2 แสดงจำนวน รอ้ ยละจำนวนตามอายุ อายุ จำนวน ( n = 8 ) รอ้ ยละ ต่ำกว่า 15 ปี - - 15 – 39 ปี 1 12.50 40 – 59 ปี 7 87.50 60 ปีขึน้ ไป - - รวม 8 100 จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 40 - 5๙ ปี คิดเป็นร้อยละ 87.50 รองลงมาคือ อายุระหวา่ ง 15 – 39 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 12.50 ตารางท่ี 3 แสดงจำนวน รอ้ ยละจำนวนตามระดบั การศึกษาสูงสุด ระดับการศึกษาสูงสดุ จำนวน ( n = 8 ) รอ้ ยละ ต่ำกวา่ ประถมศึกษา 1 12.50 ประถมศึกษา 4 50.00 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 3 37.50 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย - - ปรญิ ญาตรี - - อ่ืนๆ - - รวม 8 100 จากตารางที่ 3 ผลการศกึ ษาพบว่า ผูเ้ ข้าร่วมอบรมสว่ นใหญ่มีระดับการศึกษาสูงสดุ คอื ระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 50.00 รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คิดเป็นร้อยละ 37.50 และระดับต่ำกว่า ประถมศึกษา คดิ เปน็ ร้อยละ 12.50

ตารางที่ 4 แสดงจำนวน ร้อยละจำนวนตามอาชพี อาชีพ จำนวน ( n = 8 ) รอ้ ยละ เกษตรกร 4 50.00 รบั จา้ ง 4 50.00 ค้าขาย - นกั เรียน/นกั ศึกษา - - 8 - รวม 100 จากตารางที่ 4 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรและอาชีพรับจ้าง คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.00 ตารางที่ 5 แสดงจำนวน ร้อยละจำนวนตามรายไดต้ อ่ เดอื น รายได้ต่อเดอื น จำนวน ( n = 8 ) รอ้ ยละ ตำ่ กวา่ 5,000 บาท 4 50.00 5,001 – 10,000 บาท 4 50.00 10,001 – 20,000 บาท - มากกว่า 20,000 บาท - - 8 - รวม 100 จากตารางที่ 5 ผลการศึกษาพบว่าผู้เข้าร่วมอบรมมีรายได้ต่อเดือนต่ำกวา่ 5,000 บาท และรายได้ต่อเดือน 5,001 – 10,000 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 50.00

ตอนท่ี 2 การวิเคราะหข์ อ้ มูลเกย่ี วกับความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ตารางที่ 6 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรมที่มีต่อการจัดกิจกรรม การเรยี นการสอน ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเขา้ ใจ/การนำความร้ไู ปใช้ ประเด็นความคิดเห็น มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยท่ีสดุ ค่าเฉลีย่ อยูใ่ น 5 4 3 2 1 ระดบั ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเน้อื หา - = 4.60 1.1 เนอ้ื หาตรงตามความ 53 - - 4.63 มาก ต้องการ (62.50%) (37.50%) ทีส่ ุด 1.2 เนื้อหาเพียงพอต่อความ 4 4 - - - 4.50 มาก ต้องการ (50.00%) (50.00%) - - - - 4.63 มาก 1.3 เนือ้ หาปัจจุบนั ทันสมยั 5 3 ทส่ี ดุ (62.50%) (37.50%) 1.4 เนอื้ หามปี ระโยชน์ตอ่ การ - - 4.63 มาก นำไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชีวิต 5 3 ทส่ี ดุ (62.50%) (37.50%) ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม = 4.53 - - 4.50 มาก 2.1 การเตรียมความพรอ้ มก่อน 4 4 - อบรม (50.00%) (50.00%) 2.2 การออกแบบกิจกรรม 44 - - - 4.50 มาก เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ (50.00%) (50.00%) 2.3 การจัดกจิ กรรมเหมาะสม 5 3 - - - 4.63 มาก ทส่ี ุด กับเวลา (62.50%) (37.50%) 2.4 การจัดกิจกรรมเหมาะสม 4 4 - - - 4.50 มาก กับกลมุ่ เป้าหมาย (50.00%) (50.00%) 2.5 วิธีการวดั ผล/ประเมนิ ผล 4 4 - - - 4.50 มาก เหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ (50.00%) (50.00%) ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร = 4.63 3.1 วิทยากรมีความรู้ 53 - - - 4.63 มาก ทส่ี ุด ความสามารถในเรื่องทถ่ี า่ ยทอด (62.50%) (37.50%) 3.2 วิทยากรมเี ทคนิคการ 4 4 - - - 4.50 มาก ถ่ายทอดใช้สือ่ เหมาะสม (50.00%) (50.00%) - - - 4.75 มาก 3.3 วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มี 6 2 ทส่ี ุด ส่วนร่วมและซักถาม (75.00%) (25.00%)

ระดบั ความพงึ พอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำความรู้ไปใช้ ประเดน็ ความคิดเห็น มากที่สุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ุด คา่ เฉลย่ี อยู่ใน 5 4 3 2 1 ระดบั 4. ความถงึ พอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก = 4.58 4.1 สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์และ 6 2 - - - 4.75 มาก สิง่ อำนวยความสะดวก (75.00%) (25.00%) ที่สุด 4.2 การส่ือสาร การสรา้ ง 4 4 - - - 4.50 มาก บรรยากาศเพ่ือใหเ้ กดิ การเรียนรู้ (50.00%) (50.00%) 4.3 การบริการ การชว่ ยเหลือ 4 4 - - - 4.50 มาก และการแก้ปัญหา (50.00%) (50.00%) 5. ความพงึ พอใจดา้ นการนำความรูไ้ ปใช้ = 4.59 5.1 สามารถนำความรู้ท่รี ับไป 5 3 - - - 4.63 มาก ประยกุ ตใ์ ช้ในการปฏิบัตงิ านได้ (62.50%) (37.50%) ทส่ี ุด 5.2 สามารถนำความรู้ไป 4 4 - - - 4.50 มาก เผยแพร/่ ถา่ ยทอดแก่ชมุ ชนได้ (50.00%) (50.00%) 5.3 มีความม่นั ใจและสามารถ 5 3 - - - 4.63 มาก นำความรู้ทีไ่ ด้รับไปใชไ้ ด้ (62.50%) (37.50%) ท่สี ุด รวมทัง้ สิ้น 83 61 - - - 4.58 มาก (57.64%) (42.36%) ท่ีสุด คา่ เฉล่ียถว่ งน้ำหนัก 4.58 ระดบั ความคิดเห็น มากท่สี ุด จากตารางท่ี 6 จากการศกึ ษาพบวา่ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมมีความพงึ พอใจ 1. ดา้ นเน้อื หา อยู่ในระดับ มากทสี่ ดุ ( x = ๔.60) 2. ดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม อยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ ( x = 4.53 ) 3. ดา้ นวทิ ยากร อยู่ในระดบั มากทสี่ ุด ( x = 4.63 ) 4. ดา้ นการอำนวยความสะดวก อยใู่ นระดับ มากท่ีสดุ ( x = ๔.58 ) 5. ดา้ นการนำความรไู้ ปใช้ อยู่ในระดับ มากท่ีสุด ( x = ๔.59 ) จากกิจกรรมการฝึกอาชพี พบวา่ ผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมมคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากทส่ี ุด ( x = 4.58) ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ พบว่าผเู้ ข้าร่วมการอบรมมีความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ ดงั นี้ 1. ผู้เขา้ รว่ มอบรมมีส่วนรว่ มเปน็ อย่างมาก มรี ูปแบบการอบรมทด่ี ีมาก 2. ใหค้ วามเป็นกันเอง ทำใหผ้ ้รู ่วมการสมั มนา กล้าซกั ถาม แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ 3. อยากใหม้ วี สั ดุอุปกรณม์ ากกวา่ น้ี หมายเหตุ คิดคะแนนเฉพาะท่คี วามพึงพอใจอยู่ในระดับมากข้ึนไป

บทที่ 4 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มหลักสูตรวิชาชีพกลุ่มสนใจการทำแหนมปลากราย มจี ุดประสงคใ์ นการจดั กิจกรรมดงั นี้ 1. เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมเกดิ ความรู้ความเขา้ ใจ เกยี่ วกับการทำแหนมปลากราย 2. เพ่อื ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการแลกเปล่ยี นแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับแนวทางการ จดั กจิ กรรมการทำแหนมปลากรายของตนเอง 3. เพือ่ เป็นการลดรายจ่ายในครอบครัว และเปน็ การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของผเู้ ขา้ รว่ ม กจิ กรรมใหด้ ยี ิ่งข้นึ 4. เพ่อื ส่งเสรมิ ความรว่ มมือและการจัดกิจกรรมการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาอาชีพของผู้เรียน ผู้รับบรกิ ารกับสถานศกึ ษา 5. เพอ่ื รว่ มวเิ คราะห์ และสังเคราะห์รูปแบบ กระบวนการจัดและผลสำเร็จท่ีเกดิ ขน้ึ จาก โครงการตามตวั ช้วี ัดทก่ี ำหนดเป็นตวั ช้ีวัดความสำเรจ็ ตามกลุ่มเปา้ หมายจากการประเมินเบื้องต้น 6. เพอ่ื ศึกษาผลการดำเนนิ งาน ประสิทธภิ าพ และประสทิ ธิผลในการจดั การศึกษาอาชีพ การดำเนินการจดั กิจกรรม 4.1 ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมหลกั สตู รวิชาชพี กลุ่มสนใจการทำสายคล้องแมส จำนวน 8 คน - เพศชายจำนวน - คน - เพศหญงิ จำนวน 8 คน ผูจ้ ดั กิจกรรมจำนวน 1 คน 4.2 เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการอบรม - ขอ้ มูลปฐมภูมิ ไดจ้ ากการกรอกแบบสอบถามของผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรม - ขอ้ มูลทตุ ิยภมู ิ ศึกษาจากเอกสาร ข้อมูลตา่ ง ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง 4.3 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล วิเคราะหแ์ บบสอบถามในแต่ละส่วน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ข้อมูลสว่ นบุคคล ตอนท่ี 2 ประเมนิ ความพงึ พอใจในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ สรปุ เปน็ ประเดน็ ทีส่ ำคัญ 4.4 วธิ ีการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู ผจู้ ดั ได้ดำเนนิ การ 2 ลกั ษณะ คือ 4.4.1 การสงั เคราะหเ์ ชงิ คณุ ลกั ษณะ ผู้จัดกจิ กรรมทำการสังเคราะหโ์ ดยใช้วธิ ีการวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ 3 ด้าน คือ ข้อมูล ทวั่ ไป ขอ้ มลู ความพงึ พอใจในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน และข้อเสนอแนะ 4.4.2 การสงั เคราะห์การอบรมเชงิ ปริมาณ ในการสงั เคราะห์การจดั กิจกรรมเชิงปริมาณ ผ้จู ัดกิจกรรมแยกออกเป็นคุณลักษณะ ต่าง ๆ ในการสังเคราะหข์ อ้ มูลดังน้ี 1. ขอ้ มูลเกี่ยวกบั เพศ / อายุ 2. ข้อมูลระดบั ความพงึ พอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. ขอ้ เสนอแนะ

โดยเปรยี บเทียบจำนวนคนคิดเปน็ ร้อยละในแต่ละส่วนของขอ้ มลู การอบรมพรอ้ มการบรรยายประกอบ สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนหลักสูตรวิชาชีพกลุ่มสนใจการทำแหนมปลากราย โดย ใชว้ ิธกี ารวิเคราะห์ สงั เคราะห์จากแบบประเมินความพงึ พอใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนและรูปแบบ การจดั กจิ กรรม สามารถสรปุ ไดด้ ังนี้ ๑. การสังเคราะห์ข้อมูลทั่วไของผู้ตอบแบบสอบถามผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพศหญิง 8 คน เนื่องจากเป็นช่วงหยุดจากการทำการเกษตรหลักคือการทำนา จึงทำให้มีเวลาว่างและต้องการต่อยอดอาชีพ และพัฒนาอาชีพเพอ่ื เป็นการเพ่มิ รายได้ให้กับครอบครวั อีกทางหน่ึง ๒. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสว่ นใหญ่เปน็ มอี ายอุ ยูร่ ะหวา่ ง ๔๐-๔๙ ปี เนือ่ งมาจากเป็นชว่ งอายทุ ่ีอยู่ ในวยั ทำงาน และต้องรับผิดชอบเรอ่ื งการทำงานบ้าน จึงมีผลทำใหก้ ารหาค่าร้อยละในชว่ งนี้สงู กว่าช่วงอืน่ ๆ ผลการสังเคราะห์ทางจำนวนของผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มวิชาชีพมี อยจู่ ำกัด เน่อื งจากเปน็ กลุม่ วชิ าชพี สนใจตอ้ งมผี เู้ รียนอย่างนอ้ ยจำนวน 6 คนข้นึ ไป ส่วนใหญผ่ ูเ้ รยี นจะมาเรยี น มากกวา่ ทก่ี ำหนด ผลการคำนวณอาจมีความคาดเคลือ่ นได้ และงบประมาณการฝกึ อบรมกม็ ีอยู่อย่างจำกดั ๓. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจาก การศกึ ษาพบว่า ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมมีความพึงพอใจ 1. ดา้ นเนื้อหา อยูใ่ นระดับ มากท่สี ดุ ( x = ๔.60) 2. ดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม อยูใ่ นระดับ มากที่สดุ ( x = 4.53 ) 3. ดา้ นวทิ ยากร อยใู่ นระดับ มากทีส่ ดุ ( x = 4.63 ) 4. ดา้ นการอำนวยความสะดวก อยใู่ นระดบั มากที่สุด ( x = ๔.58 ) 5. ด้านการนำความรไู้ ปใช้ อย่ใู นระดบั มากท่ีสดุ ( x = ๔.59 ) จากกจิ กรรมการฝกึ อาชพี พบวา่ ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมมีความพงึ พอใจอยู่ในระดับ มากทสี่ ดุ ( x = 4.58) จากการดำเนินการกล่มุ วิชาชพี พบประเดน็ สำคญั ท่สี ามารถนำมาอภิปรายผลได้ดังนี้ 1. ด้านกลมุ่ เป้าหมาย 1.1 กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ต้องการนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ใน ชวี ติ ประจำวันและนำไปใช้เป็นอาชพี เสรมิ เพ่ือเปน็ การลดรายจา่ ยในครวั เรือนและเพ่ิมรายได้ใหก้ ับตนเอง 1.2 จากการดำเนินการพบว่ากลุ่มเป้าหมายเป็นเพศหญิง เนื่องมาจากเป็นการ เรียนในสงิ่ ที่มีอยู่ใกลต้ วั และมใี ช้อยูใ่ นชีวติ ประจำวนั รวมถึงเป็นส่ิงท่ไี ม่ยาก และเป็นการฝึกฝนการคิดหรือการ วางแผนในด้านการทำการตลาดดว้ ย 2. ด้านงบประมาณ - จากการดำเนินงานพบว่าวัสดุ อุปกรณ์ไม่เพียงพอต่อความต้องการของกลุ่ม เนือ่ งจากมผี เู้ ข้ารบั การอบรมมากกวา่ เป้าที่กำหนด 3. ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน - จากการดำเนินงานพบว่ากิจกรรมต้องยืดหยุ่นตามสภาพกลุ่มเป้าหมาย เนื่องมาจากสภาพชวี ติ ความเป็นอย่ขู องกลุ่มเปา้ หมายมสี ว่ นสำคญั ตอ่ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้

4. ดา้ นสถานท่ี 4.1 การดำเนินการอบรม ด้านสถานที่สามารถมีการเปลี่ยนแปลงไปได้ตามความ ตอ้ งการ และความเหมาะสมของผู้เข้ารว่ มการอบรม 4.2 ควรมกี ารใชส้ ถานที่ของส่วนรวม เพอื่ ใหเ้ กิดความเชอ่ื มโยง สมั พนั ธก์ นั ระหว่าง ศูนย์สง่ เสริมการเรียนรู้อำเภอชาตติ ระการและชมุ ชน ข้อเสนอแนะในการดำเนนิ การกลมุ่ วิชาชีพคร้งั ต่อไป 1. ควรทำการศึกษาปญั หาความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมาย โดยใช้เครื่องมอื ที่หลากหลาย รปู แบบ เพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ มลู ที่ถกู ตอ้ ง ตรงตามความตอ้ งการของผู้เรยี นมากทีส่ ดุ 2. ควรศึกษาความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในด้านต่าง ๆ ที่ต้องการรับบริการจากศูนย์ ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอชาติตระการ เพื่อให้ทราบและสามารถจัดกิจกรรมตามหลักสูตรให้สอดคล้องกับ ความตอ้ งการของท้องถ่ินได้ 3. ควรศกึ ษาผลกระทบจาการดำเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน โดยการศึกษาจาก กลุ่มเปา้ หมาย และชมุ ชน 4. ควรเกบ็ ขอ้ มลู ของผเู้ ขา้ รับการอบรมหลงั การอบรมด้วยทกุ คร้ัง ขอ้ มลู ความตระหนัก ในการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพหลักสูตรวิชาชีพกลุ่มสนใจการทำแหนมปลา กราย ของสถานศกึ ษามุง่ ให้เกดิ ความสอดคล้องกับความตอ้ งการของผเู้ รยี น/ผูร้ ับบรกิ ารเป็นสำคญั โดยมุง่ เน้น ความต้องการของผู้เรียน/ผู้รับบริการเป็นแนวทางในการดำเนินงาน และได้มีการส่งเสริม สนับสนุนให้ บุคลากรในสถานศึกษาเห็นความสำคัญของการจัดหลักสูตรวิชาชีพแต่ละหลักสูตร และปฏิบัติงานอย่างเป็น ระบบอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เพ่ือให้เกิดคณุ ภาพในการทำงาน ข้อมูลการปฏิบตั ิ (ความพยายาม) เมื่อบุคลากรได้รับแนวทาง และนโยบายทางการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพแล้ว ได้ดำเนินการ สำรวจหาความต้องการของกลุ่มเป้าหมายที่แท้จริงโดยการร่วมทำประชาคมหรือร่วมประชุมกับกลุ่มผู้นำ เพ่ือให้ได้รบั ข้อมลู ความตอ้ งการที่แทจ้ รงิ ของชมุ ชน และนำมาจัดการเรียนการสอนดา้ นอาชีพ จดุ เด่นของกลมุ่ 1. มคี วามตอ้ งการ เหมือนกัน 2. กลุ่มเป้าหมายมคี วามสนใจในกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นอยา่ งดี 3. กลุ่มเป้าหมายมีความสามัคคี ชว่ ยงานกันดีพอสมควร 4. กล่มุ เปา้ หมายมคี วามรับผิดชอบ 5. กล่มุ เป้าหมายรู้จักนำวสั ดุ อปุ กรณ์ และวัตถดุ บิ ทม่ี ีในท้องถ่นิ มาใช้ จุดควรพฒั นา (จุดด้อย) 1. การรวมกลุ่มเปน็ กล่มุ อาชีพ 2. ผู้เขา้ รบั การอบรมมาช้า กวา่ จะรวมกลุ่มกันไดใ้ ชเ้ วลานาน

แนวทางการพัฒนา 1. ควรพฒั นาการใช้วัตถุดิบทม่ี ีอยู่ในทอ้ งถนิ่ ในกิจกรรมการเรียนการสอนให้มากกวา่ นี้ 2. ควรจดั หางบประมาณเพิ่มเตมิ หรือการขอความสนบั สนนุ จากแหลง่ ตา่ ง ๆ ในเร่ืองการ จัดหาวัตถุในการเรยี นรู้ วธิ กี ารพฒั นา 1. สร้างความเข้าใจที่ดีในการใช้วัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน ใหผ้ ู้เรยี น/ผู้รบั บริการเหน็ ความสำคญั 2. ปรับวิธีการจัดกิจกรรมใหเ้ หมาะสมกับผ้เู รียน/ผรู้ ับบริการ ใหม้ ีความยดื หยุ่นโดยไม่เน้น หน่วยการเรียนรูต้ ามหลักสตู ร แต่ให้ยึดตัวผู้เรียนเปน็ สำคัญ แล้วจึงนำผลการดำเนนิ งานมาปรบั ปรุงหลกั สตู ร วชิ าชีพการทำแหนมหมู ในครัง้ ตอ่ ไป

ภาคผนวก

ภาพประกอบกจิ กรรม หลักสตู รกลุ่มสนใจ การทำแหนมปลากราย วนั ที่ 15 มิถนุ ายน 2566 ณ บา้ นเลขท่ี 177 หมู่ 9 บ้านหนองบัวขาว ตำบลทา่ สะแก อำเภอชาตติ ระการ จงั หวัดพษิ ณโุ ลก

ภาพประกอบกจิ กรรม หลักสตู รกลุ่มสนใจ การทำแหนมปลากราย วนั ที่ 15 มิถนุ ายน 2566 ณ บา้ นเลขท่ี 177 หมู่ 9 บ้านหนองบัวขาว ตำบลทา่ สะแก อำเภอชาตติ ระการ จงั หวัดพษิ ณโุ ลก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook