Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปโครงการ ทช.1-66 ม.4 ต.ชาติตระการ

สรุปโครงการ ทช.1-66 ม.4 ต.ชาติตระการ

Published by Guset User, 2023-08-07 08:15:29

Description: สรุปโครงการ ทช.1-66 ม.4 ต.ชาติตระการ

Search

Read the Text Version

ก คำนำ การจัดการเรียนรู้การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพ การสร้าง สขุ ภาพจติ ที่ดี และเสริมสร้างขวญั กำลงั ใจให้แกผ่ ู้สูงอายุให้สามารถดำรงชีวติ ในสังคมได้อย่างมีความสขุ เห็น คณุ คา่ ของตนเองในการจัดการชีวติ ตนเอง สรุปผลการจัดกิจกรรมเล่มน้ี ได้เรียบเรียงผลการจัดกิจกรรมโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกายดี จิตดี ชีวีมีสุข ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อยต่อผู้ที่พบเห็น หากมี ขอ้ ผิดพลาดหรือมขี ้อเสนอแนะทค่ี ิดวา่ จะเป็นประโยชน์ โปรดแจ้งผูจ้ ดั ทำเพื่อใช้ในการปรบั ปรุงแก้ไขข้อมูลในคร้ัง ต่อไปและขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้ กศน.ตำบลทา่ สะแก

สารบญั ข เรอ่ื ง หนา้ คำนำ ก สารบัญ ข ส่วนที่ 1 สรปุ ผลการดำเนนิ โครงการการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต 1 หลักการและเหตผุ ล 3 วตั ถุประสงค์ 4 เปา้ หมาย 10 16 ส่วนท่ี 2 วิธีการดำเนินการ 20 การดำเนนิ การจดั กิจกรรม ส่วนที่ 3 เนื้อหาสาระ ส่วนท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน สว่ นที่ 5 สรปุ ผลโครงการ อภปิ รายผล และข้อเสนอนะ ภาคผนวก ภาพกจิ กรรม เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง คณะผ้จู ดั ทำ

สรุปผลการดำเนนิ โครงการ โครงการ การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาทกั ษะชีวติ สุขภาพกายดี จิตดี ชวี มี สี ขุ *************************************************************************************************** ส่วนท่ี 1 รายละเอยี ดโครงการ โครงการ การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทักษะชีวติ สขุ ภาพกายดี จิตดี ชีวีมีสขุ แผนงาน งบประมาณ : การจดั การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง งบประมาณ 115.- บาท ลกั ษณะโครงการ : ( / ) โครงการต่อเนื่อง ( ) โครงการใหม่ กล่มุ ผรู้ บั ผิดชอบ : การศึกษาตอ่ เนื่อง (การศึกษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ติ ) ๑. โครงการ การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวิต สุขภาพกายดี จติ ดี ชีวมี สี ุข ๒. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเนน้ การดำเนินงาน กศน. สอดคลอ้ งกับมาตรฐานกศน. มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี นการศกึ ษาต่อเนอื่ ง ๑.๑ ผูเ้ รยี นการศกึ ษาต่อเน่อื งมีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะ และหรือคุณธรรม เปน็ ไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร ๑.๒ ผู้จบหลกั สตู รการศึกษาตอ่ เน่ืองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้บนฐาน ค่านยิ มรวมของสงั คม ๑.๓ ผู้จบหลักสตู รการศึกษาตอ่ เนื่องทีน่ ำความรู้ไปใช้จนเห็นเปน็ ประจกั ษ์หรือตวั อย่างท่ดี ี สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดำเนนิ งาน กศน. 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศึกษาทุกช่วงวยั 3.3 พฒั นาทกั ษะฝมี ือ พัฒนาการทางร่างกายและจติ ใจกล่มุ ผูส้ ูงอายุ ใหส้ ามารถพ่ึงพา ตนเองได้ สามารถดำเนนิ ชีวิตได้เตม็ ตามศักยภาพ โดยเนน้ การดำเนนิ กิจกรรมใน 4 มติ ิ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ดา้ น สงั คม ดา้ นเศรษฐกจิ ด้านสภาพแวดล้อมและเทคโนโลยี ๓. หลักการและเหตุผล การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต มีความสำคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนาคุณภาพ ของประชาชน กระบวนการจัดการศึกษาที่สมบูรณ์จึงเปรียบเสมือนเหรียญสองด้าน ด้านหนึ่งคือการพัฒนา ผเู้ รียนในด้านวชิ าการการเรยี นรู้ตามหลักสูตร อีกดา้ นหนงึ่ คอื การพัฒนาผู้เรยี นทางดา้ นจิตใจ ดา้ นคณุ ธรรม ท้ังน้ี เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กัน มีการนำเอาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถของบุคคล ให้สามารถจัดการ กับ ตนเองและสิ่งแวดล้อม มีความสุขตามสภาพและความสุข ความปลอดภัยในสังคม ซึ่งเป็นการพัฒนาทักษะ พื้นฐานของบุคคล โดยบูรณาการองค์ความรู้และกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเข้าด้วยกันการจัด การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เน้นส่งเสริมสนับสนุนให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ที่จะช่วยให้ บคุ คลสามารถเผชญิ สถานการณ์ต่าง ๆ ทเี่ กดิ ข้นึ ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมความพร้อม สำหรับการปรับตัวในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการดูแลสุขภาพ การใช้กัญชงและกัญชาในการรักษาโรค ความ ปลอดภัยในชีวิตสิ่งแวดล้อม คุณธรรมจริยธรรม ผลกระทบจากการพนันออนไลน์ ฯลฯ เพื่อให้สามารถมีชีวิตอยู่ ในสังคมได้อย่างมีความสุขหรือจะกล่าวง่าย ๆ ทักษะชีวิตก็คือความสามารถในการแก้ปัญหาที่ต้องเผชิญใน ชีวติ ประจำวัน

ดังนั้นศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอชาติตระการ จึงได้จัดทำโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกายดี จิตดี ชีวีมีสุข เพื่อใหผ้ ู้สูงอายุได้มีความรู้เกย่ี วกับการดูแลสุขภาพร่างกายให้มีสมรรถภาพร่างกายที่ แข็งแรงสามารถช่วยเหลือตัวเองได้และสุขภาพจิตที่ดี ตอบสนองต่อความต้องการทางกายภาพได้ตามสภาพ ความเป็นอยไู่ มม่ ีอุบัตภิ ัยหรืออันตราย มสี ภาพแวดลอ้ มท่ีส่งเสริมสุขภาพ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับการกำจัด แหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย และให้ผู้เข้ารับการอบรมทำยาดมสมุนไพร ในวันที่ 3 สิงหาคม ๒๕๖6 ณ กศน. ตำบลชาติตระการ หมู่ 4 บ้านนาจาน ตำบลชาติตระการ อำเภอชาตติ ระการ จงั หวัดพิษณุโลก ๔. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ใหผ้ ู้สงู อายุ มีความร้คู วามเข้าใจในการดูแลสุขภาพร่างกายให้มสี มรรถภาพรา่ งกายทแ่ี ขง็ แรง สามารถชว่ ยเหลือตัวเองไดแ้ ละมีสขุ ภาพจิตที่ดีข้นึ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกนำ้ ยุงลาย ๕. เป้าหมาย เชิงปริมาณ - ประชาชน จำนวน 1 คน - บุคลากรที่เกยี่ วข้อง จำนวน ๖ คน รวมท้ังสน้ิ จำนวน 7 คน เชงิ คณุ ภาพ ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพรา่ งกายและสุขภาพจติ อย่าง ถูกวิธี มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับการกำจัดแหลง่ เพาะพันธ์ุลูกน้ำยงุ ลาย และร่วมทำกิจกรรมยาดมสมุนไพร 6. สถานท่ี - ณ กศน.ตำบลชาติตระการ หมู่ 4 บ้านนาจาน ตำบลชาติตระการ อำเภอชาติตระการ จังหวัด พษิ ณโุ ลก 7. งบประมาณทีไ่ ด้รบั - 115.- บาท 8. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ - ศูนยส์ ง่ เสรมิ การเรียรู้อำเภอชาตติ ระการ - งานการศกึ ษาต่อเนื่อง กศน.อำเภอชาติตระการ จงั หวัดพษิ ณุโลก - ครูอาสาสมคั รฯ - ครู กศน.ตำบล ท่ีรับผดิ ชอบ 7. เป้าหมายในการดำเนนิ โครงการ เป้าหมาย ผ้สู งู อายุและ ประชาชนทว่ั ไป จำนวน 1 คน ผลการดำเนินงาน 3 คน ชาย - คน หญิง 3 คน

สว่ นท่ี 2 วธิ ีการดำเนนิ การ ผู้ดำเนินการจดั ทำโครงการ การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ สขุ ภาพกายดี จติ ดี ชวี มี ีสขุ ได้ดำเนินการใน การอบรมเกบ็ รวบรวมข้อมูล และการวเิ คราะห์ข้อมลู ดังน้ี การดำเนินการจัดกจิ กรรม 1. เตรยี มการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน - ประชมุ วางแผนรปู แบบการจัดกจิ กรรม - เลือกกิจกรรมที่จะจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน - มอบหมายงานให้บคุ ลากรท่ีเกยี่ วข้อง - ตดิ ต่อประสางานในการจัดกิจกรรม 2. วธิ ีการดำเนินงาน - เขยี นเสนอโครงการ - เสนอโครงการ - เตรยี มการจดั กิจกรรมโครงการ 1. เตรยี มการกอ่ นการจดั กจิ กรรมโครงการ - การจัดเตรียมเอกสารโครงการ - ประสานงานตดิ ตอ่ ผนู้ ำชุมชนในพ้นื ทีเ่ ป้าหมาย - รวบเน้อื หาท่จี ะบรรยายในโครงการ - อ่ืน ๆ 2. ติดตอ่ ประสานงานเครือขา่ ย จัดการกิจกรรมโครงการตามแผนทีว่ างไว้ - ลงทะเบยี นผู้เขา้ รว่ มการกจิ กรรมโครงการ - วิทยากรให้ความเร่ืองต่างๆตามกำหนดการ - ฝึกปฏิบตั ติ ามกำหนดการในโครงการ - สรปุ กจิ กรรมย่อย - ปดิ โครงการ - สรปุ รายงานผลการจดั กจิ กรรมโครงการเปน็ รูปเล่ม - รายงานผลการจดั กจิ กรรมโครงการใหผ้ ทู้ ี่ เกยี่ วข้องรบั ทราบ

สว่ นที่ 3 เนื้อหาสาระ ผู้ดำเนินการจัดทำโครงการ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกายดี จิตดี ชีวีมีสุข ได้ใช้สื่อใบ ความรู้ แบบบันทึกในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เรอื่ งดังต่อไปน้ี วิธกี ารดูแลสขุ ภาพของผู้สงู อายุ ข้อแนะนำจาก อ.นพ.สมบรู ณ์ อนิ ทลาภาพร ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกนั และสงั คม คณะ แพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล ท่ไี ดเ้ ขียนบรรยายไว้อย่างน่าสนใจวา่ 1. เลือกอาหาร วัยนี้ร่างกายมีการใช้พลังงานน้อยลงจากกิจกรรมที่ลดลง จึงควรลดอาหารประเภทแป้ง น้ำตาล และไขมัน ให้เน้นอาหารโปรตีนจากเนื้อสัตว์ โดยเฉพาะปลา และเพิ่มแร่ธาตุที่ผู้สูงอายุมักขาด ได้แก่ แคลเซียม สังกะสี และเหล็ก ซึ่งมีอยู่ในนม ถั่วเหลือง ผัก ผลไม้ ธัญพืชต่างๆ และควรกินอาหารประเภทต้ม น่ึง ย่าง อบ แทนประเภทผดั ทอด จะชว่ ยลดปริมาณไขมนั ในอาหารได้ นอกจากน้ี ควรหลีกเลย่ี งอาหารท่ีมีรสหวาน จดั เค็มจดั และด่มื นำ้ สะอาดอย่างน้อย 6-8 แกว้ ต่อวัน 2. ออกกำลังกาย หากไมม่ ีโรคประจำตวั แนะนำให้ออกกำลงั กายแบบแอโรบิกสัก 30 นาทีต่อคร้ัง ทำให้ ได้สปั ดาห์ละ 3-4 คร้งั จะเกดิ ประโยชนต์ ่อหัวใจและหลอดเลือดอย่างมาก โดยขนั้ ตอนการออกกำลงั กายจะต้อง ค่อยๆ เริ่ม มีการยืดเส้นยืดสายก่อน แล้วค่อยๆ เพิ่มความหนักขึ้นจนถึงระดับที่ต้องการ ทำอย่างต่อเนื่องจนถึง ระยะเวลาทีต่ อ้ งการ จากนน้ั คอ่ ยๆ ลดลงชา้ ๆ และค่อยๆ หยุด เพอ่ื ใหร้ า่ งกายและหัวใจได้ปรบั ตัว 3. สัมผัสอากาศท่ีบรสิ ทุ ธิ์ จะช่วยลดโอกาสการเกดิ โรคได้ อาจเปน็ สวนสาธารณะใกล้ๆ สถานท่ีทอ่ งเท่ียว หรอื การปรับภมู ทิ ัศนภ์ ายในบ้านใหป้ ลอดโปรง่ สะอาด อากาศถ่ายเทสะดวก มีการปลกู ตน้ ไม้ จัดเก็บสิ่งปฏิกลู ให้ เหมาะสม เพือ่ ลดการแพร่กระจายของเชอ้ื โรค และสามารถชว่ ยป้องกนั โรคภูมิแพ้ หรอื หอบหดื ได้ 4. หลีกเลี่ยงอบายมุข ได้แก่ บุหรี่และสุรา จะช่วยลดโอกาสการเกิดโรค หรือลดความรุนแรงของโรคได้ ทั้งลดค่าใชจ้ า่ ยในการรักษา และยังช่วยป้องกันปัญหาอบุ ัติเหตุ อาชญากรรมต่างๆ อันเป็นปัญหาใหญ่ของสังคม ในขณะน้ี 5. ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ โดยเลือกกิจกรรมให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลและโรคที่เป็นอยู่ ส่งเสริม สุขภาพให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรง ปรับสภาพแวดล้อมในบ้านให้ลดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุหรือการ หกลม้ 6. ควบคุมน้ำหนักตัวหรือลดความอ้วน โดยควบคุมอาหารและออกกำลังกายจะช่วยทำให้เกิดความ คล่องตัว ลดปัญหาการหกล้ม และความเสี่ยงต่อโรคต่างๆ เช่น โรคข้อเข่าเสื่อม และโรคหลอดเลือดหัวใจ เปน็ ต้น 7. หลีกเล่ยี งการใช้ยาทีไ่ มเ่ หมาะสม เช่น การซอ้ื ยากนิ เอง การใช้ยาเดิมท่ีเก็บไว้มาใช้รักษาอาการที่เกิด ใหม่ หรือรับยาจากผู้อื่นมาใช้ เนื่องจากวัยนี้ประสิทธิภาพการทำงานของตับและไตในการกำจัดยาลดลง ทำให้ เสี่ยงต่อการเกิดพิษจากยาหรือผลขา้ งเคียงอาจมีแนวโน้มรุนแรง และเกิดภาวะแทรกซ้อนเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ฉะนั้นจงึ ควรปรึกษาแพทยก์ อ่ นใชย้ าจะดที ส่ี ุด 8. หมั่นสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ ของร่างกาย เช่น คลำได้ก้อน โดยเฉพาะก้อนโตเร็ว แผลเรื้อรัง มี ปัญหาการกลืนอาหาร กลืนติด กลนื ลำบาก ทอ้ งอืดเรื้อรัง เบื่ออาหาร นำ้ หนักลด ไอเรอื้ รงั ไข้เร้ือรัง เหน่ือยง่าย แน่นหนา้ อกหรอื ถา่ ยอจุ จาระผดิ ปกติ มีอาการทอ้ งเสยี เร้ือรัง ท้องผกู สลับทอ้ งเสีย ถ้าอย่างน้ีล่ะก็พามาพบแพทย์ ดีท่สี ดุ

9. ตรวจสุขภาพประจำปี แนะนำให้ตรวจสม่ำเสมอเป็นประจำทุกปี หรืออย่างน้อยทุก 3 ปี โดยแพทย์ จะทำการซักประวัติ ตรวจร่างกาย และอาจมีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือด แข็ง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง ตรวจหาโรคมะเร็งที่พบบ่อย ได้แก่ มะเร็ง ลำไส้ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และยังมีตรวจการมองเห็น การได้ยิน ตลอดจนประเมินความเสี่ยงต่อการ เกิดอบุ ตั เิ หตุด้วย 6 วธิ ดี ูแลสขุ ภาพกายและใจ 1. เปล่ียนพฤตกิ รรมการกินอาหาร อาหารเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อร่างกายอยา่ งมาก การจะมสี ขุ ภาพที่ดีควรเร่ิมตน้ ตง้ั แต่การเลือกทานอาหาร ที่มีประโยชน์ เพื่อให้ร่างกายสามารถนำสารอาหารเหล่านั้นไปซ่อมแซมและดูแลสุขภาพภายใน ดังนั้น ในแต่ละ ม้อื ควรรับประทานอาหารให้หลากหลาย ครบ 5 หมู่ ลดอาหารประเภทท่ีมีนำ้ ตาลและไขมนั สงู หรือสำหรับใครท่ี กำลังเริ่มต้นอยากดูแลสุขภาพหรือควบคุมน้ำหนัก อาจลองเปลี่ยนมาทานอาหารคลีนหรือเมนูมังสวิรัติ ก็เป็น ตวั เลอื กทดี่ ไี มน่ ้อย 2. ด่ืมนำ้ ให้เพยี งพอ การดื่มน้ำให้เพียงพอเป็นอีกหนึ่งวิธีง่ายๆ ที่ช่วยดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ทั้งช่วยปรับสมดุลใน ร่างกายให้ทำงานได้ดีขึ้น ดูแลผิวพรรณให้เปล่งปลั่ง สดใส ช่วยลดอาการเหนื่อยล้า สำหรับใครที่เป็นคนดื่มน้ำ น้อย แนะนำว่าให้ลองกรอกน้ำใส่ขวดน้ำพกติดตัวไว้ตลอดเวลา และตั้งเป้าหมายในการดื่มน้ำให้หมดขวดในแต่ ละวัน ค่อยๆ เพิ่มจนครบปริมาณที่ร่างกายต้องการต่อวันคือประมาณ 2 ลิตร เพื่อให้ร่างกายปรับตัว แบบนี้ก็ ช่วยให้เราดม่ื นำ้ ไดเ้ ยอะขึน้ 3. หาเวลาดแู ลตัวเองบา้ ง หลายครั้งทีห่ ักโหมทำงานอย่างหนัก มาส่องกระจกอกี ทเี พงิ่ รูต้ วั วา่ โทรมลงไปมาก ดงั น้ันการหาเวลาเพ่ือ ดูแลตัวเองก็เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยฟื้นฟูสุขภาพกายและสุขภาพใจให้กลับมาแข็งแรงอีกครั้ง โดยอาจเริ่มต้นด้วย การดแู ลตวั เองงา่ ยๆ ไม่วา่ จะเป็น แช่อ่างน้ำ, ทำสปาผวิ เองทบี่ า้ น นวดผอ่ นคลาย หรอื ทำเลบ็ เจลสวยๆ รวมไปถึง การใหเ้ วลากบั ตวั เองเพ่อื คลายเครียด เชน่ การดูซีรสี ์เรอ่ื งโปรดหรือฟังเพลงท่ชี อบ 4. ออกกำลังกาย การออกกำลังกายเป็นสิ่งที่ควรทำเป็นประจำสม่ำเสมอ แต่สำหรับใครที่ไม่มีเวลาไปฟิตเนส ก็มีวิธีออก กำลังกายได้ง่ายๆ ที่บ้านมากมาย ไม่ว่าจะเป็น ฮูลาฮูป กระโดดเชือก คาร์ดิโอ หรือโยคะ เป็นต้น ซึ่งการออก กำลังกายนอกจากจะช่วยเสริมสร้างร่างกายที่แข็งแรงแล้ว ยังเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยให้ร่างกายผ่อนคลาย ลด ความเครียด และชว่ ยใหห้ ลบั สบายยิง่ ขึ้น 5. พักสายตาจากโซเชียล ปฏิเสธไมไ่ ด้เลยวา่ ทุกวันนีโ้ ซเชยี ลได้เข้ามามบี ทบาทต่อชวี ิตอย่างมาก ซ่งึ การจ้องจอเป็นเวลานานส่งผล ใหเ้ กิดปญั หาตาล้า ตาแห้ง และนำไปสูป่ ญั หาสายตาได้ รวมถงึ การรบั ข่าวสารท่มี ากเกินไปยังทำให้เสพตดิ โซเชียล เกินความจำเป็น และอาจเกิดอาการ Toxic ซึ่งอาจทำร้ายสุขภาพจิตใจเราได้ ดังนั้น ควรพักสายตาจากโซเชียล บา้ ง เวลาว่างจากท่เี คยหยิบโทรศัพทม์ าเล่น ให้เปลีย่ นมาอ่านหนังสือแทน หรอื เลือกทำกจิ กรรมอยา่ งอื่นที่ตัวเอง ช่นื ชอบ 6. พกั ผอ่ นใหเ้ พียงพอ อยา่ งสุดทา้ ยคอื การพักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อให้ร่างกายสามารถฟื้นฟูและซ่อมแซมได้อย่างเตม็ ที่ โดยควร นอนพกั ผอ่ นอย่างน้อยให้ได้ 6-8 ชว่ั โมง สำหรบั ใครที่มีปญั หาการนอนหลับยาก อาจจะลองหาเคร่ืองพ่นไอน้ำอ โรมาหรือหาเทียนหอมกลิ่นที่ชอบมาจุด เพื่อเพิม่ ความผ่อนคลายและทำให้หลบั สบายยิ่งข้นึ

ยุงลายที่เป็นต้นเหตุไขเ้ ลือดออกรอ้ ยละ 95 อย่ตู ามบรเิ วณสวน โดยยงุ ตัวเมียมชี ีวิตอยู่ไดป้ ระมาณ 45 วนั หลงั ผสมพนั ธุ์แค่ครั้งเดียว สามารถวางไข่ตวั ละ 3-4 คร้งั คร้งั ละ 1,000-2,000 ฟอง การเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก ถือเป็นงานที่ท้าทายการบริหารจัดการของผู้บริหารทุกระดับ รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วย สิ่ งสำคัญ ทส่ี ดุ คอื ตอ้ งให้ขอ้ มูลที่ถูกต้อง ความรคู้ วามเขา้ ใจ และขอความร่วมมือประชาชนใหท้ ำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย เพื่อลดปริมาณยุงให้น้อยที่สุด ก่อนที่จะเข้าสู่ฤดูฝนซึ่งเป็นฤดูกาลที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกสูงที่สุดใน การกำจัดยงุ ลาย ต้องช่วยกันดแู ล ปิดฝาโอ่งน้ำกินนำ้ ใช้ เพอื่ ป้องกันไมใ่ ห้ยุงลายเข้าไปวางไข่ ส่วนในภาชนะเล็กๆ ในบ้านเรือน เช่น แจกัน ไม้ประดับ น้ำที่อยู่ในจานรองกระถางต้นไม้ น้ำในเล้าไก่เลี้ยงตามบา้ น ให้เปลี่ยนน้ำ เท ท้ิงทุก 7 วัน โดยเฉพาะจุดเสย่ี งทส่ี ุดคือในห้องน้ำ โดยทวั่ ไปจะมีสภาพชื้น เยน็ และมีมุมอับมืด จะเป็นที่ซ่อนตัว ของยุงลายได้ จึงต้องหมัน่ ดวู ่ามีลูกน้ำยงุ ลายหรือไม่ หากพบวา่ มแี มแ้ ค่ตวั เดยี ว ก็ให้ตกั ท้งิ ไป หรือใช้น้ำให้หมดไป และถ่ายน้ำทิ้ง จะเป็นวิธีกำจัดยุงลายที่ดีที่สุด การพ่นหมอกควันไม่สามารถป้องกันในระยะยาว เป็นเพียง การควบคมุ ชัว่ คราวเพ่ือฆ่ายุงลายตัวแก่ในบรเิ วณท่มี กี ารระบาด เพอื่ ไม่ให้ยงุ ทม่ี เี ชือ้ ไปกัดหรือวางไขต่ อ่ ท่ีอน่ื ๆ อกี แหล่งเพาะพันธยุ์ ุงลาย 1. ยุงลายในประเทศไทยทเ่ี ป็นพาหะนำโรคไขเ้ ลอื ดออก ได้แก่ ยงุ ลายบา้ น (Aedes aegypti) และ ยุงลายสวน (Aedes albopictus) 2. แหล่งเพาะพนั ธ์ขุ องลูกน้ำยงุ ลายท้งั สองชนิดแตกต่างกนั โดยลกู น้ำของยุงลายบ้านจะอยู่ในภาชนะขัง น้ำชนดิ ต่างๆ ที่มนุษย์สรา้ งข้ึน ท้ังทอ่ี ยูภ่ ายในบ้าน และบริเวณรอบๆ บ้าน เช่น โอง่ นำ้ ดื่มนำ้ ใช้ บ่อซีเมนตเ์ ก็บนำ้ ในหอ้ งน้ำ ถ้วยหลอ่ ขาตู้กบั ขา้ วกนั มด แจกัน ภาชนะเลยี้ งพลูด่าง จานรองกระถางตน้ ไม้ ยางรถยนตเ์ กา่ และเศษ วสั ดตุ า่ งๆ ทม่ี ีนำ้ ขัง เปน็ ต้น เม่อื ปี ค.ศ. 2007 นักวิทยาศาสตร์จากสถาบันเครกเวนเตอร์ สามารถถอดรหสั พนั ธกุ รรมของยุงลายบ้านไดเ้ ปน็ ผลสำเรจ็ นับเปน็ ยุงชนิดทีส่ องในโลกที่ไดร้ ับการศึกษาจีโนมอยา่ งสมบรู ณ์ พบวา่ สายพนั ธกุ รรมประกอบไปด้วยเบสจำนวน 1.38 ล้านคู่ สรา้ งโปรตีนท้ังหมด 15,419 ชนดิ 3. ลูกน้ำยุงลายสวนมกั เพาะพนั ธ์ุอยใู่ นแหลง่ ธรรมชาติ เชน่ โพรงไม้ โพรงหนิ กระบอกไมไ้ ผ่ กาบใบพชื จำพวกกล้วย พลับพลงึ หมาก ตลอดจนแหล่งเพาะพนั ธ์ุทมี่ นษุ ย์สรา้ งขึ้น และอยู่บรเิ วณรอบๆ บา้ นหรือในสวน เชน่ ยางรถยนต์เก่า รางน้ำฝนท่อี ดุ ตัน ถ้วยรองนำ้ ยางพาราทีไ่ ม่ใช้แล้ว หรอื แมแ้ ต่แอง่ น้ำบนดิน ยงุ ลายสวนตวั เมียจะไมว่ างไขบ่ นนำ้ โดยตรงเหมือนยุงชนิดอ่ืนๆ และมีความสามารถในการกดั ได้รวดเร็วมาก สว่ นใหญค่ นท่ีถูก กดั จะตบไม่ทนั การกำจดั แหล่งเพาะพันธ์ยงุ ลาย 1. ปิดปากภาชนะเก็บน้ำดว้ ยผ้า ตาข่ายไนล่อน อะลูมิเนียม หรอื วสั ดุอื่นทีส่ ามารถปิดปากภาชนะเก็บน้ำ นน้ั ได้อยา่ งมดิ ชิด จนยุงไมส่ ามารถเล็ดลอดเข้าไปวางไข่ได้ 2. หม่ันเปล่ียนน้ำทกุ 7 วัน ซ่งึ เหมาะสำหรับภาชนะเลก็ ๆ ที่มนี ำ้ ไมม่ ากนัก เช่น แจกันดอกไมส้ ด ทั้งที่ เป็น แจกนั ทห่ี งิ้ บูชาพระ แจกนั ที่ศาลพระภมู ิ หรอื แจกันประดับตามโต๊ะ รวมท้งั ภาชนะและขวดประเภทต่างๆ ท่ใี ชเ้ ล้ยี งตน้ พลดู า่ ง ฯลฯ 3. ใสท่ รายในจานรองกระถางตน้ ไม้ ใส่ใหล้ ึกประมาณ 3 ใน 4 ของความลกึ ของจานกระถางต้นไม้นนั้ เพอื่ ใหท้ รายดูดซึมนำ้ ส่วนเกินจากการรดน้ำต้นไม้ไว้ ซงึ่ เป็นวิธีท่เี หมาะสำหรบั กระถางตน้ ไม้ท่ใี หญ่และหนัก สว่ น ตน้ ไมเ้ ลก็ อาจใช้วธิ เี ทน้ำท่ีขังอย่ใู นจานรองกระถางตน้ ไมท้ ิ้งไปทกุ 7 วนั 4. การเก็บทำลายเศษวสั ดุ เชน่ ขวด ไห กระปอ๋ ง ฯลฯ และยางรถยนตเ์ กา่ ท่ีไม่ใช้ หรอื คลมุ ให้มิดชดิ เพือ่ ไมใ่ หร้ องรับนำ้ ได้

5. บรเิ วณทป่ี ลูกต้นไม้ หากมตี น้ ไม้เยอะๆ ก็ทำให้มียุงเยอะ เพราะยงุ จะชอบเกาะพักอยู่ในทม่ี ดื ๆ อบั ๆ ควรแกไ้ ขใหด้ โู ปรง่ ตาขน้ึ ถ้าเป็นตน้ ไม้ประดบั ในบริเวณบ้าน กต็ อ้ งคอยสงั เกตุว่ารดน้ำมากไปจนมนี ้ำขังอยใู่ นจาน รองกระถางหรือเปล่า พยายามเทนำ้ ท้งิ บ่อยๆ วิธีกำจัดลูกน้ำ วธิ ที างเคมี และชวี ภาพทีน่ ำมาใช้กำจดั ลกู น้ำ ไดแ้ ก่ 1. แบคทเี รียกำจดั ลกู นำ้ Bacillus thuringiensis israelensis และ Bacillus sphaericus 2. สารหยุดย้ังการเจริญเตบิ โตของแมลง เชน่ methoprene 3. ยาฆา่ แมลงในกลุ่มสารออร์แกโนฟอสเฟต เช่น temephos 4. นำ้ มนั แร่ (mineral oils) 5. แผ่นฟิลม์ โมเลกุลเดยี ว (monomolecular films) ทรายกำจดั ลกู น้ำ 1. ทรายกำจัดลูกนำ้ เปน็ ทรายที่ถูกเคลือบดว้ ยสารเคมีทมี่ ชี ื่อสามัญวา่ “ทมี ฟี อส” (temephos) เป็น สารเคมสี ังเคราะห์ในกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟต ใชใ้ สใ่ นน้ำเพื่อกำจดั ลูกนำ้ ยุงลาย อัตราส่วนท่ใี ช้ คือ ทรายกำจดั ลูกน้ำ 1 กรัมต่อน้ำ 10 ลิตร หากใชท้ รายกำจัดลกู น้ำตามอัตราทก่ี ำหนดให้น้ีจะไม่มีอนั ตรายตอ่ ผบู้ รโิ ภค 2. เปน็ สารออกฤทธิ์ทำลายระบบประสาท และการหายใจของลูกนำ้ ยุงตา่ งๆ สารทีมฟี อสมีความเป็นพิษ สงู ต่อตวั อ่อนของยงุ รวมทั้งแมลงอนื่ ๆ เช่น ริน้ แมลงวนั ฝอยทราย แมลงหว่ีขน แมลงวันริน้ ดำ และเหา จาก การศกึ ษาพบวา่ มีพิษนอ้ ยต่อคนและสตั ว์เลย้ี งลกู ดว้ ยนมอ่ืนๆ แต่ยังมคี วามเป็นพิษสงู ต่อนกบางชนดิ 3. ทรายกำจดั ลูกนำ้ ท่ีผลิตออกมาจำหนา่ ยมหี ลายชือ่ การคา้ เช่น อะเบท (ABATE) เคมฟลีท แซนดา เบต (Chemfleet Sandabate) ลาวฟิ อส เอสจี (Lavifos SG) เปน็ ต้น 4. ทรายกำจัดลูกนำ้ ไดร้ บั การยอมรบั จากองค์การอนามยั โลกว่า ปลอดภยั สำหรับการใสใ่ นน้ำด่ืม แตม่ ี ข้อจำกัดที่ราคาค่อนข้างแพง โอ่งน้ำ สำหรับโอง่ น้ำ ควรใช้วิธปี ิดฝาใหม้ ดิ ชดิ ปิดปากโอ่งนำ้ ดื่มดว้ ยผา้ ม้งุ หรอื ตาข่ายไนล่อน คาดเชอื กรอบปาก โอ่งให้แน่น แล้วจึงปิดทับชั้นนอกด้วยฝาอะลูมิเนียม เพื่อป้องกันฝุ่นละออง การปิดปากโอ่งด้วยฝาอะลูมิเนียม เพียงอย่างเดียวไม่สามารถป้องกันยุงลายลงไปวางไข่ได้อย่างสมบูรณ์ สำหรับโอ่งนำ้ ใชท้ ี่ต้องใช้น้ำอยู่เป็นประจำ ให้หุ้มฝาอะลูมิเนียมด้วยผ้ามุ้งอย่างหลวมๆ เวลาปิดฝา ชายผ้าจะกรอมลงไปกับตัวโอ่ง ช่วยป้องกันไม่ให้ยุงลาย เล็ดลอดเขา้ ไปวางไขใ่ นโอ่งได้ ยางรถยนต์เกา่ 1. ยางรถยนตเ์ กา่ ท่ีไมใ่ ช้กันแลว้ นนั้ ไมว่ ่าจะเปน็ ยางของรถเก๋ง รถกระบะ รถสิบลอ้ หรอื ว่ารถแทรค เตอร์ หากวางท้ิงไว้นอกบา้ น เวลาฝนตกลงมากจ็ ะสามารถเก็บกักน้ำฝนไวไ้ ด้สว่ นหน่งึ แล้วก็จะกลายเปน็ แหล่ง เพาะพนั ธท์ุ ีด่ ีของยุงลาย 2. การนำยางรถยนต์เก่ามาดดั แปลงให้เป็นประโยชน์แทนการวางท้งิ ไว้เฉยๆ จะช่วยกำจดั แหลง่ เพาะพันธุ์ยุงได้ดี เชน่ นำมาทำเปน็ ทีป่ ลกู ตน้ ไม้ ทีป่ ลกู พืชผัก สวนครัว เปน็ ท่ที ง้ิ ขยะ เป็นเกา้ อี้ เป็นฐานเสา เป็น รัว้ เป็นชิงช้า หรอื ทำเปน็ ทีป่ ีนป่ายหอ้ ยโหนสำหรบั เด็กๆ แตจ่ ะต้องดัดแปลงยางรถยนต์เก่าน้ันให้ขงั น้ำไม่ได้ 3. หากจะทำเปน็ ที่ท้ิงขยะ เป็นชงิ ชา้ หรอื เครอ่ื งเลน่ ในสนามเด็กเล่น จะต้องเจาะรูให้น้ำระบายไหล ออกไปไดง้ ่าย และหากจะทำเปน็ ร้ัวกค็ วรฝงั ดนิ ให้ลกึ พอทด่ี ้านล่างของยางรถยนต์น้นั ไม่สามารถขังนำ้ ได้

ภายในบ้าน 1. แจกัน ควรใชว้ ธิ ีเปลย่ี นน้ำทกุ 7 วัน 2. ขวดเลี้ยงพลดู า่ ง ควรใชว้ ธิ เี ปล่ียนน้ำทกุ 7 วนั หรือปลูกด้วยดนิ 3. จานรองขาต้กู บั ข้าว ควรใช้วธิ ีเติมนำ้ เดอื ดลงไปทุก 7 วนั หรือใสช่ ัน หรือข้เี ถ้าแทนการใส่ดว้ ยน้ำ อาจพิจารณาใชเ้ กลือแกง น้ำส้มสายชู ผงซักฟอก ซง่ึ เปน็ ของค่บู า้ นคูค่ รัวอยู่แลว้ เอามาใชใ้ นการควบคุม และ กำจัดลกู น้ำยงุ ลายได้ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ทจ่ี านรองขาตู้กับข้าว 4. จานรองกระถางต้นไม้ ควรใช้วิธีเทนำ้ ท่ขี ังอยทู่ ้ิงลงดนิ ทกุ 7 วนั หรอื ใสท่ รายธรรมดาใหล้ ึก 3 ใน 4 ส่วนของจาน 5. ยางรถยนตเ์ ก่า ควรใช้วิธปี กปิด เจาะรูหรือดัดแปลงให้ขงั นำ้ ไม่ได้ 6. อา่ งบัว ควรใช้วธิ ีใสป่ ลากินลกู น้ำ ภายนอกบา้ น 1. ท่อระบายนำ้ ควรใช้วธิ ีระบายน้ำออก อย่าปลอ่ ยให้ท่ออดุ ตนั 2. หลมุ บ่อ แอง่ น้ำ ควรใชว้ ิธีกลบถมด้วยดนิ หรือทราย แบคทเี รียกำจดั ลกู นำ้ 1. แบคทีเรียกำจดั ลกู นำ้ เปน็ เช้อื จุลนิ ทรียท์ ม่ี ีอย่ใู นดินตามธรรมชาติ จึงไมเ่ ปน็ พิษต่อคนและสตั ว์เล้ียง ออกฤทธ์ิกำจดั ลกู นำ้ ยุงภายใน 24 ช่วั โมง และคงประสทิ ธภิ าพในการควบคุมลกู น้ำได้นานหลายสัปดาห์ 2. ภายในเซลลข์ องแบคทเี รียมผี ลึกโปรตนี ท่ีมีสารพิษ ลูกนำ้ จะกินแบคทเี รยี เข้าไป โดยทภี่ ายใน กระเพาะอาหาร ของลกู น้ำมีสภาพเป็นดา่ ง เมื่อมเี อนไซม์ออกมายอ่ ยโปลีเปปไทด์ทเ่ี ปน็ องค์ประกอบของผลึก โปรตีนน้ี ผลกึ โปรตีนกจ็ ะแสดงความเป็นพิษต่อ ลกู นำ้ โดยทำให้เกดิ อาการเปน็ อัมพาตซ่ึงทำให้ลูกน้ำตายได้ 3. แบคทเี รยี กำจดั ลูกนำ้ Bacillus thuringiensis israelensis มปี ระสิทธิภาพดใี นการกำจดั ลูกน้ำ ยุงลาย และลกู น้ำยุงกน้ ปลอ่ ง แตไ่ ด้ผลไม่มากนักสำหรบั การกำจดั ลกู นำ้ ยุงรำคาญ ส่วนแบคทีเรยี ที่มี ประสิทธิภาพดใี นการกำจัดลูกนำ้ ยุงรำคาญ มีชื่อเรียกวา่ Bacillus sphaericus 4. แบคทีเรียท่ีได้รับการผลติ ออกจำหนา่ ยตามทอ้ งตลาดมชี อ่ื การค้าแตกตา่ งกันไป เช่น Bactimos, Teknar, VectoBac, Larvitab ฯลฯ และมหี ลายสูตรให้เลือกใช้ตามความเหมาะสมกับชนิดของแหล่งนำ้ และ ชนิดของลูกน้ำยุง ปลากนิ ลูกน้ำ 1. วธิ ีกำจัดลกู นำ้ วธิ ีหนึ่งก็คือ การใชป้ ลากินลูกนำ้ เชน่ ปลาหางนกยงู ปลาสอด ปลากดั โดยใสไ่ วใ้ นโอง่ หรอื บ่อซีเมนต์ทใี่ สน่ ำ้ สำหรบั ใช้ ปลาเหลา่ น้ีจะช่วยกนิ ลูกน้ำในนำ้ ซ่งึ เป็นการชว่ ยควบคุมยุงลายไดท้ างหน่ึง 2. ปลาหางนกยูงเล้ยี งงา่ ยและขยายพนั ธุ์เรว็ พนั ธ์ุพืน้ เมืองของไทยน้ัน ลวดลายไมค่ ่อยสวย แต่ทนทาน ตอ่ สภาพแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสมได้ดกี วา่ พนั ธสุ์ วยงาม ปลาหางนกยูงกินอาหารได้หลายชนิด เช่น ลกู น้ำยงุ ตวั ออ่ นแมลงต่างๆ หนอนแดง พืชน้ำ ตะไคร่นำ้ รวมท้ังลูกของมันเอง และลูกปลาอืน่ ๆ ดว้ ย ปลาหางนกยูงสามารถ อยู่ได้ทง้ั ในน้ำสะอาด และน้ำสกปรก ในธรรมชาตจิ ะพบปลานไ้ี ด้ทว่ั ไปตามลำห้วย ฝายน้ำล้น หนองน้ำ สระน้ำ อา่ งเก็บน้ำ เป็นตน้ 3. ใส่ปลาหางนกยูง 2-10 ตัวต่อภาชนะ จะช่วยให้ปลอดลูกนำ้ ยงุ ลาย ส่วนการคมุ กำเนิดปรมิ าณปลา หางนกยงู ในภาชนะทำได้โดยการใส่เฉพาะปลาตัวผู้



สว่ นท่ี 4 ผลการดำเนินงาน ผู้ดำเนินการจัดทำโครงการการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ สุขภาพกายดี จิตดี ชวี ีมีสขุ ในการอบรม เก็บรวบรวมขอ้ มูล และการวิเคราะหข์ ้อมลู ดังน้ี 1. เคร่อื งมือทใี่ ช้ในการจดั กิจกรรม ขอ้ มูลปฐมภมู ิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม ข้อมูลทุตยิ ภมู ิ ศึกษาจากเอกสาร ขอ้ มลู ต่าง ๆ ที่เกีย่ วข้อง 2. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 2.1 ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 2.1.1 ประชาชนหมู่ 4 ตำบลชาตติ ระการ 2.2 วิธดี ำเนินการในการตดิ ตามและประเมินผลการดำเนินงาน ได้ดำเนนิ การดังน้ี 2.2.1 เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการประเมนิ เปน็ แบบสอบถาม แบ่งออกเปน็ 3 ตอน คอื ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลสถานภาพท่ัวไปเก่ียวกบั ผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ข้อมูลเกีย่ วกบั ความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการฯ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ 2.2.2 วิเคราะห์ขอ้ มูล ในการวเิ คราะห์ ดำเนินการดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมลู สถานภาพทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถามวิเคราะห์ผลดว้ ยการหาค่าร้อยละ คา่ รอ้ ยละ (%) P = F  100 n เมอ่ื p แทน ร้อยละ F แทน จำนวนผตู้ อบแบบสอบถาม n แทน จำนวนท้ังหมด ตอนที่ 2 ข้อมูลเกีย่ วกบั การดำเนินงานตามโครงการ ใชค้ ่าเฉลีย่ x x = x n เม่อื x แทน ค่าเฉลย่ี แทน จำนวนผ้ตู อบแบบสอบถาม x แทน จำนวนทง้ั หมด n

ตอนท่ี 3 สรุปข้อเสนอแนะ โดยใช้ความถ่ี ( f ) 2.2.3 การแปลผลข้อมูล ในการแปลความหมายของขอ้ มลู แปลผลจากคา่ เฉลีย่ เลขคณิต x โดยใช้หลักเกณฑด์ ังนี้ ค่าเฉลี่ยเลขาคณติ x ความหมาย 1.00 – 1.50 1.51 – 2.50 นอ้ ยทสี่ ดุ 2.51 – 3.50 น้อย 3.51 – 4.50 4.51 – 5.00 ปานกลาง มาก มากท่ีสุด 3. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จากการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามโครงการการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ สุขภาพกายดี จติ ดี ชีวมี สี ุข ได้มีการสำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีต่อรูปแบบการจัดกิจกรรม จำนวน 3 คน โดย วิธีการตอบแบบสอบถาม จึงไดม้ ีการนำเสนอข้อมลู ในรูปตารางประกอบคำบรรยาย โดยแบ่งออกเปน็ 3 สว่ น ไดแ้ ก่ ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลส่วนบุคคล ตอนท่ี 2 ประเมินความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (กจิ กรรมการเรยี นการสอน) ตอนที่ 3 สรุปข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สรุปเปน็ ประเด็นท่ีสำคญั ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงจำนวน รอ้ ยละจำนวนตามเพศ เพศ จำนวน ( n = 3 ) ร้อยละ ชาย - - หญงิ 3 100 รวม 3 100 จากตารางท่ี 1 ผลการศึกษาพบว่า ผเู้ ขา้ ร่วมอบรมทง้ั หมดเปน็ เพศหญิง คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ตารางท่ี 2 แสดงจำนวน ร้อยละจำนวนตามอายุ อายุ จำนวน ( n = 3 ) ร้อยละ ๑๕-๓๙ ปี - - ๔๐-๕๙ ปี 1 ๖๐ ปี ข้นึ ไป 2 33.33 3 66.67 รวม 100 จากตารางท่ี 2 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เข้ารว่ มอบรมสว่ นใหญ่ คอื อายรุ ะหวา่ ง 60 ปีข้ึนไป คดิ เป็นร้อยละ 66.67 รองลงมา คือช่วงอายุระหวา่ ง 40 – 59 ปี คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33

ตารางท่ี 3 แสดงจำนวน ร้อยละจำนวนตามระดับการศึกษาสงู สุด ระดบั การศึกษาสงู สุด จำนวน ( n = 3 ) ร้อยละ ประถมศึกษา - - - - มธั ยมศึกษาตอนต้น - - มธั ยมศึกษาตอนปลาย 3 3 100.00 อน่ื ๆ 100 รวม จากตารางที่ 3 ผลการศึกษาพบวา่ ผู้เขา้ รว่ มอบรมสว่ นใหญ่มรี ะดับการศึกษาสงู สุด คือ ระดบั อ่ืนๆ จบระดับประถมศกึ ษาปที ่ี 4 เพราะผู้เข้ารว่ มอบรมส่วนใหญ่เป็นผู้สงู อายุ คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00 ตารางท่ี 4 แสดงจำนวน ร้อยละจำนวนตามอาชีพ อาชีพ จำนวน ( n = 3 ) รอ้ ยละ เกษตรกร 2 66.67 รับจา้ ง - ค้าขาย - - นกั เรยี น/นักศึกษา - - อ่ืนๆ ............. 1 - 3 33.33 รวม 100 จากตารางท่ี 4 ผลการศึกษาพบวา่ ผเู้ ข้ารว่ มอบรมทั้งหมดประกอบอาชีพเกษตรกร คิดเปน็ ร้อยละ 66.67 รองลงมาคือ อาชพี อ่นื ๆ คือ ไมไ่ ด้ประกอบอาชีพเนื่องจากอายุมาก คิดเป็นร้อยละ 33.33

ตอนท่ี 2 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกบั ความพงึ พอใจในการจดั กิจกรรม ตารางท่ี 5 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉล่ยี ของความพึงพอใจของผเู้ ข้าร่วมอบรมที่มตี อ่ การจดั กจิ กรรมการ เรยี นการสอน ระดับความพงึ พอใจ/ความรู้ความเขา้ ใจ/การนำความรู้ไปใช้ ประเด็นความคดิ เหน็ มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย อยู่ใน 5 4 3 2 1 ระดับ ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจด้านเนือ้ หา = 4.50 1.1 เนอ้ื หาตรงตามความ 2 1 - - - 4.67 มาก ต้องการ (66.67) (33.33) ทส่ี ุด 1.2 เนอ้ื หาเพียงพอต่อความ 1 2 - - - 4.33 มาก ตอ้ งการ (33.33) (66.67) 1.3 เนอ้ื หาปจั จบุ นั ทนั สมัย 1 2 - - - 4.33 มาก (33.33) (66.67) 1.4 เนอ้ื หามีประโยชน์ตอ่ การ 2 1 - - - 4.67 มาก นำไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ (66.67) (33.33) ท่สี ดุ ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม = 4.40 2.1 การเตรียมความพร้อมก่อน - 3 - - - 4.00 มาก อบรม (100.00) 2.2 การออกแบบกิจกรรม 1 2 - - - 4.33 มาก เหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ (33.33) (66.67) 2.3 การจัดกิจกรรมเหมาะสม 2 1 - - - 4.67 มาก กับเวลา (66.67) (33.33) ทส่ี ดุ 2.4 การจดั กจิ กรรมเหมาะสม 2 1 - - - 4.67 มาก กบั กล่มุ เป้าหมาย (66.67) (33.33) ที่สุด 2.5 วิธกี ารวัดผล/ประเมนิ ผล 1 2 - - - 4.33 มาก เหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ (33.33) (66.67) ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร = 4.56 3.1 วิทยากรมคี วามรู้ 2 1 - - - 4.67 มาก ความสามารถในเรอ่ื งท่ีถา่ ยทอด (66.67) (33.33) ทส่ี ดุ 3.2 วทิ ยากรมเี ทคนคิ การ 1 2 - - - 4.33 มาก ถา่ ยทอดใช้สอื่ เหมาะสม (33.33) (66.67) 3.3 วิทยากรเปิดโอกาสใหม้ ี 2 1 - - - 4.67 มาก สว่ นร่วมและซกั ถาม (66.67) (33.33) ทส่ี ดุ

ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเขา้ ใจ/การนำความร้ไู ปใช้ ประเดน็ ความคดิ เหน็ มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่ีสดุ คา่ เฉลย่ี อยูใ่ น 5 4 3 2 1 ระดับ 4. ความถงึ พอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก = 4.44 4.1 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และ 2 1 - - - 4.67 มาก สิง่ อำนวยความสะดวก (66.67) (33.33) ทสี่ ดุ 4.2 การสือ่ สาร การสร้าง 1 2 - - - 4.33 มาก บรรยากาศเพ่อื ให้เกิดการเรยี นรู้ (33.33) (66.67) 4.3 การบริการ การช่วยเหลอื 1 2 - - - 4.33 มาก และการแก้ปญั หา (33.33) (66.67) 5. ความพึงพอใจด้านการนำความรูไ้ ปใช้ = 4.67 5.1 สามารถนำความรทู้ ร่ี ับไป 2 1 - - - 4.67 มาก ประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ัติงานได้ (66.67) (33.33) ทส่ี ุด 5.2 สามารถนำความรไู้ ป 2 1 - - - 4.67 มาก เผยแพร/่ ถา่ ยทอดแกช่ มุ ชนได้ (66.67) (33.33) ทส่ี ดุ 5.3 มคี วามม่ันใจและสามารถ 2 1 - - - 4.67 มาก นำความรูท้ ไี่ ด้รับไปใช้ได้ (66.67) (33.33) ทส่ี ดุ รวมท้งั ส้นิ 27 27 - - - 4.50 มาก (50.00%) (50.00%) คา่ เฉล่ยี ถ่วงนำ้ หนัก 4.50 ระดับความคิดเหน็ มาก จากตารางท่ี 5 จากการศึกษาพบวา่ ผูเ้ ขา้ ร่วมอบรมสว่ นใหญม่ ีความพึงพอใจต่อการจดั กจิ กรรมจัดทำโครงการ การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทักษะชีวิต สุขภาพกายดี จิตดี ชีวมี สี ขุ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.50) ตอนที่ ๑ ความพงึ พอใจดา้ นเนอื้ หา ( x = ๔.50) มาก ๑.1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ ( x = ๔.67) มากที่สดุ 1.๒ เน้ือหาเพยี งพอต่อความตอ้ งการ ( x = ๔.33) มาก 1.3 เนอ้ื หาปัจจบุ ันทนั สมยั ( x = ๔.33) มาก 1.๔ เนอื้ หามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ( x = ๔.67) มากทีส่ ุด ตอนท่ี ๒ ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม ( x = ๔.40) มาก 2.1 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม ( x = ๔.00) มาก 2.2 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ ( x = ๔.33) มาก 2.3 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา ( x = 4.67) มากทส่ี ดุ 2.4 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย ( x = 4.67) มากทสี่ ดุ 2.5 วธิ กี ารวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ ( x = 4.33) มาก ตอนท่ี ๓ ความพงึ พอใจต่อวทิ ยากร ( x = ๔.56) มากท่ีสุด 3.1 วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองที่ถา่ ยทอด ( x = ๔.67) มากทสี่ ุด 3.2 วิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใช้สอื่ เหมาะสม ( x = ๔.33) มาก 3.3 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซกั ถาม ( x = ๔.67) มากทส่ี ุด

ตอนท่ี ๔ ความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก ( x = ๔.44) มาก 4.1 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก ( x = 4.67) มากท่ีสดุ 4.2 การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพือ่ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้ ( x = ๔.33) มาก 4.3 การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการแกป้ ัญหา ( x = ๔.33) มาก ตอนท่ี ๕ ความพงึ พอใจด้านการนำความรู้ไปใช้ ( x = ๔.67) มากที่สุด 5.1 สามารถนำความรู้ที่รับไปประยกุ ต์ใช้ในการปฏบิ ตั งิ านได้ ( x = ๔.67) มากท่ีสุด 5.2 สามารถนำความร้ไู ปเผยแพร/่ ถา่ ยทอดแก่ชมุ ชนได้ ( x = ๔.67) มากที่สดุ 5.3 มคี วามมั่นใจและสามารถนำความรทู้ ี่ได้รับไปใชไ้ ด้ ( x = ๔.67) มากท่สี ุด สรุปภาพรวมความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ ท้งั หมด อยใู่ นระดับ มาก มีคา่ เฉลีย่ = 4.50 ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ - หมายเหตุ คิดคะแนนเฉพาะที่ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากขึ้นไป

ส่วนท่ี 5 สรุปผลโครงการ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกายดี จิตดี ชวี ีมีสุข มีจุดประสงคใ์ นการจัดกิจกรรมดังน้ี วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ใหผ้ ้สู งู อายุ มีความรคู้ วามเข้าใจในการดูแลสขุ ภาพร่างกายใหม้ ีสมรรถภาพรา่ งกายท่แี ขง็ แรง สามารถช่วยเหลอื ตัวเองไดแ้ ละมสี ุขภาพจติ ทีด่ ีข้นึ 2. เพ่ือให้ผ้สู ูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับการกำจัดแหล่งเพาะพนั ธ์ุลกู น้ำยุงลาย ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมโครงการ จำนวน 3 คน - เพศชาย จำนวน - คน - เพศหญิง จำนวน 3 คน เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการอบรม ข้อมูลปฐมภมู ิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม ข้อมลู ทุตยิ ภมู ิ ศกึ ษาจากเอกสาร ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง การเก็บรวบรวมข้อมูล วเิ คราะห์แบบสอบถามในแต่ละส่วน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลสว่ นบคุ คล ตอนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ สรปุ เป็นประเดน็ ท่สี ำคัญ วธิ กี ารวเิ คราะห์ขอ้ มูล ในการวิเคราะห์ข้อมลู ผจู้ ดั ได้ดำเนินการ 2 ลกั ษณะ คือ 1. การสังเคราะห์เชิงคุณลักษณะ ผ้จู ัดกจิ กรรมทำการสังเคราะหโ์ ดยใช้วิธีการวิเคราะหส์ ังเคราะห์ 3 ด้าน คือ ข้อมูลทวั่ ไป ขอ้ มูล ความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และขอ้ เสนอแนะ 2. การสังเคราะห์การอบรมเชงิ ปริมาณ ในการสังเคราะห์การจัดกิจกรรมเชงิ ปริมาณ ผู้จัดกิจกรรมแยกออกเป็น คุณลกั ษณะต่าง ๆ ในการสังเคราะหข์ ้อมูลดงั น้ี ขอ้ มูลเกี่ยวกบั เพศ / อายุ ข้อมลู ระดับความพงึ พอใจในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ข้อเสนอแนะ สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ผลการจัดกิจกรรม ผลการจดั กจิ กรรมโครงการการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ิต สุขภาพกายดี จิตดี ชวี มี สี ขุ โดยใช้วธิ ีการวเิ คราะห์ สังเคราะหจ์ ากแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน และรปู แบบการจดั กจิ กรรม สามารถสรปุ ได้ดังนี้

การสังเคราะหข์ ้อมลู ทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมสว่ นใหญ่เป็นเพศหญงิ เนื่องจากเพศหญิงไมค่ ่อยได้ออกไปทำไร่ ทำสวน จึงทำให้ ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมเปน็ เพศหญิง ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมสว่ นใหญเ่ ป็นมอี ายุระหว่าง 40 -59 ปี เนอ่ื งจากต้องการใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์ ผลการสงั เคราะห์ทางจำนวนของผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม จำนวนผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมมากกว่าเปา้ หมายทกี่ ำหนด ไว้ แตง่ บประมาณการฝกึ อบรมมีอยู่อยา่ งจำกดั การวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกบั ความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จากการศึกษาพบว่า ผ้เู ข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่มคี วามพึงพอใจต่อการจดั การเรยี นการสอน ดังนี้ ตอนที่ ๑ ความพึงพอใจด้านเน้อื หา ( x = ๔.50) มาก ๑.1 เนือ้ หาตรงตามความต้องการ ( x = ๔.67) มากท่ีสุด 1.๒ เนอื้ หาเพยี งพอต่อความตอ้ งการ ( x = ๔.33) มาก 1.3 เนื้อหาปจั จุบันทันสมยั ( x = ๔.33) มาก 1.๔ เนื้อหามีประโยชนต์ อ่ การนำไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชีวติ ( x = ๔.67) มากทสี่ ดุ ตอนที่ ๒ ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม ( x = ๔.40) มาก 2.1 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม ( x = ๔.00) มาก 2.2 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ ( x = ๔.33) มาก 2.3 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา ( x = 4.67) มากที่สดุ 2.4 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั กล่มุ เป้าหมาย ( x = 4.67) มากที่สดุ 2.5 วธิ กี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ ( x = 4.33) มาก ตอนท่ี ๓ ความพึงพอใจต่อวิทยากร ( x = ๔.56) มากทส่ี ดุ 3.1 วทิ ยากรมคี วามร้คู วามสามารถในเร่ืองที่ถา่ ยทอด ( x = ๔.67) มากท่สี ดุ 3.2 วทิ ยากรมเี ทคนคิ การถา่ ยทอดใชส้ ่ือเหมาะสม ( x = ๔.33) มาก 3.3 วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนรว่ มและซักถาม ( x = ๔.67) มากที่สดุ ตอนท่ี ๔ ความพงึ พอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก ( x = ๔.44) มาก 4.1 สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์และส่ิงอำนวยความสะดวก ( x = 4.67) มากทีส่ ุด 4.2 การสอื่ สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกดิ การเรียนรู้ ( x = ๔.33) มาก 4.3 การบรกิ าร การช่วยเหลอื และการแกป้ ญั หา ( x = ๔.33) มาก ตอนที่ ๕ ความพึงพอใจด้านการนำความรู้ไปใช้ ( x = ๔.67) มากที่สดุ 5.1 สามารถนำความรทู้ ร่ี บั ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ ( x = ๔.67) มากที่สุด 5.2 สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถา่ ยทอดแก่ชมุ ชนได้ ( x = ๔.67) มากทีส่ ุด 5.3 มคี วามม่นั ใจและสามารถนำความรู้ที่ไดร้ บั ไปใช้ได้ ( x = ๔.67) มากทีส่ ดุ สรปุ ภาพรวมความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการ ทัง้ หมด อยูใ่ นระดับ มาก มีค่าเฉลยี่ = 4.50 อภิปรายผล จากการดำเนนิ การพบประเด็นสำคัญที่สามารถนำมาอภปิ รายผลไดด้ ังน้ี 1. ด้านกลมุ่ เปา้ หมาย 1.1 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพร่างกายให้มีสมรรถภาพร่างกายที่แข็งแรง สามารถช่วยเหลอื ตัวเองไดแ้ ละมสี ุขภาพจติ ทดี่ ี 1.2 จากการดำเนินการพบว่ากลุ่มเป้าหมายเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และส่วนใหญ่เป็น ผ้สู ูงอายุ

2. ด้านงบประมาณ 2.1 จากการดำเนินงานพบงบประมาณที่ใช้ในการจัดซื้อวัสดุในการอบรม ไม่เพียงพอสำหรับ การจัดกิจกรรม เนื่องจากมผี เู้ ขา้ ร่วมอบรมมากกวา่ เป้าหมายทกี่ ำหนด 3. ด้านกิจกรรมการเรยี นการสอน 3.1 จากการดำเนินงานพบว่ากิจกรรมต้องยดื หย่นุ ตามสภาพกลุ่มเปา้ หมาย เน่ืองมาจากสภาพ ชวี ิตความเปน็ อยขู่ องกลุม่ เป้าหมายมสี ่วนสำคญั ต่อการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 4. ด้านสถานท่ี 4.1 การดำเนินการเป็นไปด้วยความสะดวก เรียบร้อย เนื่องจากได้ใช้ศาลาอเนกประสงค์ของ หมบู่ า้ นเป็นสถานที่ในการจัดกจิ กรรม 4.2 การใชส้ ถานทขี่ องผู้รบั บรกิ ารเป็นศูนยก์ ารเรยี นรใู้ นชมุ ชนทำใหเ้ กดิ ความเชื่อมโยง สัมพันธ์ กนั ระหว่าง กศน. และชุมชน ข้อมูลความตระหนัก ในการจัดกิจกรรมโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกายดี จิตดี ชีวีมีสุข ส่งเสริมให้ ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพร่างกายให้มีสมรรถภาพร่างกายที่แข็งแรง สามารถช่วยเหลือ ตัวเองได้และมีสุขภาพจิตที่ดี มีความรู้เความเข้าใจเกี่ยวกับการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ผู้เข้ารับการ อบรมทำกจิ กรรมการทำยาดมสมุนไพร ข้อมลู การปฏิบตั ิ (ความพยายาม) ในการจัดกิจกรรมโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกายดี จิตดี ชีวีมีสุข ได้มีการประชุม วางแผนการดำเนนิ โครงการ และให้กลุม่ เปา้ หมายที่เข้ารับการอบรม ได้ฝึกทกั ษะการทำยาดมสมุนไพร เพื่อไว้ใช้ ในชวี ิตประจำวนั จุดเด่น 1. กลุ่มเป้าหมายมคี วามรบั ผิดชอบ 2. กจิ กรรมตรงตามความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย 3. กลุม่ เปา้ หมายมีความสนใจในกิจกรรมการเรยี นการสอนดี 4. กล่มุ เป้าหมายสามารถนำความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปใช้ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวนั ของตนเองได้ จดุ ควรพฒั นา (จดุ ดอ้ ย) ผู้เรยี นมพี ื้นฐานในการเรียนรทู้ แี่ ตกตา่ งกนั ทำให้การเรยี นรู้เปน็ ไปไดช้ ้ากว่ากำหนดท่ีได้ตัง้ ไว้ เพราะผู้ เขา้ รบั การอบรมสว่ นใหญเ่ ป็นผู้สงู อายุ แนวทางการพัฒนา ควรจัดหาวัสดุให้เพยี งพอต่อผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม วธิ กี ารพัฒนา 1. สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจทด่ี ใี นการจัดโครงการการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวิต สุขภาพกายดี จติ ดี ชวี ีมสี ขุ กลุ่มเป้าหมายมคี วามรับผดิ ชอบในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ให้ผู้รับการอบรม/ผรู้ ับบริการเห็น ความสำคญั 2. มกี ารพัฒนาแหล่งการเรียนรู้/ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นประกอบการเรียนรใู้ นชุมชนจดั ทำเป็นระบบ สารสนเทศเพ่ือใชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ 3. ปรับวธิ ีการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกบั ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม

ขอ้ เสนอแนะในการดำเนินการคร้ังตอ่ ไป 1. ควรทำการศึกษาปัญหาความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้เครื่องมือที่หลากหลายรูปแบบ เพื่อใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ ง ตรงตามความต้องการของประชาชนมากทีส่ ุด 2. ควรศกึ ษาความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในด้านต่าง ๆ ที่ต้องการรบั บริการจาก ศูนย์ส่งเสริมการ เรียนรู้อำเภอชาติตระการเพื่อให้ทราบและสามารถจัดกิจกรรมตามหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของ ท้องถ่ินได้ 3. ควรศึกษาผลกระทบจาการดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการศึกษาจาก กลมุ่ เป้าหมาย และชมุ ชน 4. ควรเก็บขอ้ มูลของผ้เู ข้ารบั การอบรมหลงั การอบรมด้วยทุกครั้ง

ภาคผนวก

ภาพกจิ กรรมการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวติ โครงการการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวติ สุขภาพกายดี จิตดี ชีวีมสี ขุ วนั ท่ี 3 สิงหาคม 2566 ณ กศน.ตำบลชาติตระการ หมู่ 4 บ้านนาจาน ตำบลชาตติ ระการ อำเภอชาตติ ระการ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก

ภาพกจิ กรรมการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวติ โครงการการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวติ สุขภาพกายดี จิตดี ชีวีมสี ขุ วนั ท่ี 3 สิงหาคม 2566 ณ กศน.ตำบลชาติตระการ หมู่ 4 บ้านนาจาน ตำบลชาตติ ระการ อำเภอชาตติ ระการ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก

คณะผจู้ ัดทำ ทีป่ รกึ ษา กันตง ผ้อู ำนวยการศูนยส์ ่งเสรมิ การเรียนรู้อำเภอชาติตระการ นางพรสวรรค์ ลว้ นมงคล ครผู ชู้ ่วย นางสาวชมพนู ชุ ผู้ส่งเสริมสนับสนนุ การจดั กจิ กรรม นางสาวประยรู บญุ ประกอบ ครอู าสาสมัครฯ ผู้รบั ผิดชอบ/ผู้เรียบเรียง/จดั พมิ พ์รูปเล่ม/ออกแบบปก นางสาวเปียทพิ ย์ แสงสีบาง ครู กศน.ตำบลทา่ สะแก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook