Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนแม่บทฯน้ำ20-ปี-A4-Final

แผนแม่บทฯน้ำ20-ปี-A4-Final

Published by supanut kapang, 2019-10-18 02:16:20

Description: แผนแม่บทฯน้ำ20-ปี-A4-Final

Search

Read the Text Version

42 ๔๒ แนวทางการขบั เคล่ือน ๑. การจดั หาน้ำในพ้ืนท่เี กษตรนำ้ ฝน เปน็ แผนงานสำคัญท่ีกำหนดในแผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี เป็นโครงการ Quick Win และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์เพื่อความมั่นคงและการปฏิรูป เพื่อบรรเทาความเสียหาย ในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งสูง และให้สามารถมีน้ำสนับสนุนตามศักยภาพของพื้นที่ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เป็นหน่วยประสานและขับเคลื่อนร่วมกับหน่วยงานปฏิบัติในการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก การฟื้นฟูแหล่งน้ำ ธรรมชาติ ระบบกระจายน้ำ การใช้น้ำบาดาลเพื่อการเกษตร การพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ในพื้นที่ไม่มีศักยภาพในการพัฒนาหรือเป็นพื้นที่คุณสมบัติไม่เหมาะสม และมีการชะล้างพังทลายจาก การใช้ประโยชน์ที่ดิน รวมทั้ง ดำเนินการร่วมกับงานส่งเสริมการเกษตร และการตลาด จะดำเนินการในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง เน้นในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื กำหนดเป้าหมายแก้ไขไดไ้ ม่น้อยกว่า รอ้ ยละ ๕๐ ของหมู่บา้ นท่เี สีย่ งภยั แล้ง ๒. การจัดการในพ้ืนทพี่ ิเศษทีต่ ้องวางแผนเชิงบรู ณาการทั้งอทุ กภยั และภัยแล้ง จำนวน ๖๖ พื้นท่ี สำนักงานทรัพยากรนำ้ แหง่ ชาตเิ ปน็ หน่วยประสานงานและขับเคลอื่ นในการวางแผนหลักของแต่ละพ้นื ที่วิกฤติและ หน่วยงานตามภารกิจพิจารณาดำเนินการโครงการที่มีผลสัมฤทธิ์สูง มีผลกระทบต่อปัญหา มีความสอดคล้องกัน และลดปญั หาการทับซอ้ นของโครงการ เชน่ อา่ งเกบ็ นำ้ ลำเชยี งไกร ๓. การประหยัดน้ำในภาคอุตสาหกรรม ในระยะแรกดำเนินการโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยการสนับสนุนเทคนิคให้โรงงานที่ใช้น้ำมาก และในระยะต่อไป มีการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ และการประหยัดนำ้ จะขับเคลื่อนภายใต้งานวิจัย เพื่อกำหนดแนวทาง เทคโนโลยี และการปฏิบัติ หลังจากนั้นภายใน ๓-๕ ปี จะเร่ิม ดำเนนิ การสนบั สนนุ ให้โรงงานดำเนินการ ๔. การเพิ่มผลิตภาพการใช้น้ำและการปรับโครงสร้างการใช้น้ำภาคเกษตรและอุตสาหกรรม โดยจะเรมิ่ จากการรวบรวมการใชน้ ำ้ ภาคการผลิตรายพนื้ ทีส่ ำคัญดำเนินการในแผนแมบ่ ทด้านที่ ๖ และดำเนินการ ด้านส่งเสริมการเกษตรในการปรับเป็นพืชมูลค่าสูงในเขตชลประทานเดิม พร้อมทั้งจัดทำระบบกระจายน้ำ การส่งเสริมการเกษตรรว่ มกบั การจัดหาน้ำในพนื้ ท่เี กษตรนำ้ ฝน ๕. การจัดหานำ้ เพื่อสนับสนนุ พ้ืนท่ี ระเบียงเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก (EEC) พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ และพื้นท่ีเศรษฐกิจที่มคี วามสำคัญ สำนักงานทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติเป็นหน่วยงานประสานและขับเคลือ่ น ร่วมกับ หน่วยงานตามภารกิจเตรยี มความพรอ้ มและเรมิ่ ดำเนินการต้ังแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นตน้ ไป ๖. การฟื้นฟูแหล่งน้ำธรรมชาติเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ เร่งรัดจัดทำฐานข้อมูล จำแนก ประเภท ขนาดและวางแผนการดำเนินการในภาพรวม ๗. เร่งรัดการเตรียมความพร้อมโครงการผันน้ำโขงระยะที่ ๑ มายังพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพอ่ื สนบั สนุนการเกษตรที่ผลผลิตและรายได้ตำ่ เน่ืองจากขาดแคลนน้ำ 8. การพัฒนาแหล่งน้ำทางเลือกด้วยการพัฒนาแหล่งน้ำบาดาลขนาดใหญ่ เพอื่ ให้มีน้ำต้นทุนสำหรับ การอุปโภคบริโภคและการผลิต สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติเป็นหน่วยประสานและขับเคลื่อนร่วมกับ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยระยะแรก (พ.ศ. 2563-2565) เป็นการศึกษาความเหมาะสมของพื้นที่ และดำเนินการ โครงการนำร่องในพื้นที่ที่ได้ศึกษาความเหมาะสมแล้ว จำนวน 3 พื้นที่ ได้แก่ 1) จังหวัดเชียงใหม่-ลำพูน 2) จังหวัด ชัยนาท-อุทัยธานี และ 3) จังหวัดพิจิตร และขยายผลการดำเนินงานไปสู่พื้นที่ที่เหมาะสมทั่วประเทศ ในระยะต่อไป (พ.ศ. 2566-2580)

๔4๓3 ด้านที่ ๓ การจัดการนำ้ ท่วมและอุทกภยั หลักการ : คนไทยในอดีตจะตั้งชุมชนอยู่ในบริเวณริมแม่น้ำลำคลอง โดยสร้างบ้านเรือนแบบยกพื้นสูง ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทำนาโดยเลือกปลูกข้าวพันธุ์ที่มีลำต้นยาวตามความสูงของน้ำ ใช้เรือ ในการคมนาคมในฤดูน้ำหลาก สามารถปรับตัวเข้ากับปัญหาน้ำท่วมที่เกิดขึ้นเป็นประจำได้ โดยเฉพาะในเขตทรี่ าบลุม่ ภาคกลาง แตต่ อ่ มาความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีทำใหว้ ถิ ชี ีวติ เปล่ียนไป ใช้การคมนาคมทางรถยนต์เป็นหลัก มีการสร้างถนนเพิ่มขึ้นมากมาย สร้างทำนบและกำแพง กั้นริมฝ่งั แม่น้ำ เพอ่ื ไม่ให้นำ้ ทว่ มในชมุ ชน ทำใหไ้ ม่มที ่ีลุ่มในการเกบ็ กกั น้ำตามธรรมชาติ ประกอบ กบั การสร้างถนนบางแห่งมีทางระบายนำ้ ไม่เพยี งพอ ทำให้กีดขวางทางน้ำและเกิดปัญหาน้ำท่วม มากข้ึน ส่วนในพ้ืนที่ต้นน้ำในอดีตมีป่าไม้ช่วยดูดซับน้ำฝนตามธรรมชาติ ลดการไหลบ่าของน้ำ แต่ปัจจุบันสภาพป่าต้นน้ำถูกทำลาย น้ำฝนจะไหลบ่าลงสู่ด้านล่างอย่างรวดเร็ว เกิดปัญหา นำ้ ท่วมฉบั พลนั น้ำปา่ ไหลหลาก และปัญหาดนิ โคลนถล่ม ประกอบกับสภาพแวดลอ้ มทีเ่ ปลี่ยนไป ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีผลกระทบทำให้ปัญหาดังกล่าวเกิดถี่ขึ้นและ ทวคี วามรุนแรงมากขึ้นเรือ่ ย ๆ จากการศึกษาพบว่าปัจจุบันมีพื้นที่วิกฤติปัญหาน้ำท่วม ทั้งประเทศ จำนวน ๒๘ แห่ง พื้นที่ ๘.๕๒ ล้านไร่ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในเขตภาคกลางและภาคเหนือ ปัญหาน้ำท่วมทำให้เกิด ผลกระทบหลายด้าน เช่น ความเสยี หายตอ่ ชวี ติ ทรพั ยส์ ิน อาคารบา้ นเรือน พ้นื ทีเ่ กษตร ปศุสัตว์ และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ความเสียหายทางเศรษฐกิจ สุขภาพอนามัย รวมทั้ง ความเสียหาย ต่อทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น ตัวอย่างเช่น มหาอุทกภัยในประเทศไทยเมื่อปี ๒๕๕๔ ในเขต ลุ่มน้ำเจ้าพระยามีมูลค่าความเสียหายทั้งหมดรวม ๑.๔๔ ล้านล้านบาท ลักษณะการเกิด และแนวทางปอ้ งกนั แกไ้ ขปญั หาน้ำท่วมและอุทกภัย ในแต่พืน้ ที่ สรุปได้ดังน้ี ๑) พื้นที่ลาดชันสูงต่อเนื่องกับเชิงเขา เสี่ยงต่อภัยน้ำหลากและดินโคลนถล่ม เกิดจากการ ตัดไม้ทำลายป่าไม่มีต้นไม้ปกคลุมดินเพื่อดูดซับน้ำ เมื่อมีฝนตกมากจะเกิดน้ำป่าไหลหลากและ ดินโคลนถล่ม สร้างความเสียหายต่อพื้นที่ด้านลา่ งอย่างมาก และใช้เวลานานในการฟ้ืนฟูสู่สภาพเดิม แนวทางป้องกันแก้ไข คือ การสร้างระบบเตือนภัยที่แม่นยำ การย้ายถิ่นฐานออกจากพื้นที่เสี่ยงภัย และการฟน้ื ฟูป่าต้นนำ้ ๒) น้ำล้นตลิ่งของลำน้ำสายหลัก เกิดจากปริมาณน้ำหลากจากต้นน้ำเกินความสามารถ ของลำน้ำจะรบั ได้ ลำน้ำมหี น้าตัดเลก็ ต้นื เขิน มีสิง่ กดี ขวางในลำน้ำ แนวทางปอ้ งกนั แก้ไข ต้องใช้ ข้อมูลในการบริหารจัดการน้ำในลุ่มน้ำ การตรวจสอบแก้ไขสิ่งกีดขวางในลำน้ำ และการสร้าง ระบบควบคุมที่เหมาะสม เช่น การใช้พื้นที่รับน้ำนองร่วมกับการพัฒนา และบริหารจัดการ แหลง่ เกบ็ กกั นำ้ ในพ้นื ทตี่ ้นน้ำ ๓) น้ำท่วมขังในที่ราบลุ่ม พื้นที่ชุมชนและพื้นทีเ่ ศรษฐกจิ ที่สำคัญเกิดจากความไม่สมดุล ของน้ำฝนกับความสามารถในการระบายน้ำ ลักษณะการท่วมขังจะไม่รุนแรง ค่อยเป็นค่อยไป และใช้เวลานานในการระบายออก สาเหตุเกิดจากการสร้างถนน การวางผังเมืองไม่เหมาะสม ขวางทางระบายน้ำ และสร้างช่องระบายน้ำไม่เพียงพอ แนวทางป้องกันแก้ไข คือ การปรับปรุง

44 ๔๔ สภาพลำน้ำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ การผันน้ำเลี่ยงพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญ การแก้ไข สิ่งกีดขวางทางน้ำ การควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน และมาตรการผังเมือง เพื่อลดผลกระทบ และมีการบรหิ ารพน้ื ท่ีนำ้ ท่วมทเี่ กิดขนึ้ เปน็ ประจำ ๔) น้ำท่วมขังจากฝนตกหนักในพื้นที่ เนื่องจากเมืองหลัก เมืองเศรษฐกิจ และพื้นท่ี ทอ่ งเท่ียวสำคญั มีการขยายตัว และมกี ารใชท้ ด่ี ินท่ีหนาแน่น รวมท้ังสถานการณ์ฝนเปล่ียนแปลง เกดิ ฝนตกหนักเฉพาะจดุ บ่อยคร้ัง ทำให้เกิดปัญหานำ้ ทว่ มขงั ในเขตเมอื ง ๕) สิ่งก่อสร้างกีดขวางทางนำ้ จากการพฒั นาโครงสร้างพื้นฐาน ซึง่ จะมีทั้งเกิดจากสภาพ นำ้ ทา่ เปล่ยี นแปลงและการกำหนดขนาดไม่เหมาะสม โดยจะตอ้ งสำรวจและแก้ไขเปน็ จดุ ๆ เปา้ ประสงค์ : เพม่ิ ประสิทธิภาพการระบายน้ำ การจัดระบบป้องกันน้ำท่วมชุมชนเมือง การจัดการพ้ืนท่นี ้ำท่วมและ พื้นที่ชะลอน้ำ รวมทั้งการบรรเทาอุทกภัยในเชิงพื้นที่อย่างเป็นระบบ ในระดับลุ่มน้ำและพื้นท่ีวิกฤติ (Area based) ลมุ่ น้ำขนาดใหญ่ ลุ่มนำ้ สาขา/ลดความเส่ยี งและความรุนแรงลงไมน่ อ้ ยกว่า ร้อยละ ๖๐ กลยุทธ์ : ๑) การเพิม่ ประสิทธภิ าพการระบายนำ้ โดยการปรับปรงุ สิง่ กดี ขวางทางน้ำ การปรบั ปรุงลำน้ำธรรมชาติ ที่ตืน้ เขนิ เพ่อื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการระบายน้ำ ๒) ป้องกันน้ำท่วมชุมชนเมือง โดยการจัดระบบป้องกันชุมชนเมือง การจัดทำผังน้ำ ผังการระบายน้ำ ในระดบั ลุ่มนำ้ จงั หวัด เมอื ง ๓) การจดั การพื้นทนี่ ้ำทว่ ม/พน้ื ท่ีชะลอนำ้ โดยการพัฒนาแกม้ ลงิ พื้นทลี่ ุ่มต่ำรับน้ำนอง การพฒั นา อาคารบังคับน้ำ และสถานีสบู น้ำ เพ่ือบรรเทาอทุ กภยั ในพืน้ ท่เี ฉพาะจุด ๔) การบรรเทาอุทกภยั เชิงพน้ื ที่อยา่ งเป็นระบบ ระดับลุ่มนำ้ /พืน้ ทว่ี ิกฤติ โดยจดั ทำแผนและ ดำเนินการบรรเทาอุทกภยั ในพืน้ ท่ีวิกฤติ โดยจดั ทำแผน และดำเนนิ การตามลำดับความสำคัญ ๕) การสนับสนนุ ปรับตัวและเผชญิ เหตุ

๔๕ ตารางท่ี ๔-๖ เปา้ หมายตามแผนแมบ่ ทด้านท่ี ๓ การจดั การนำ้ ท่วมและอุทกภัย กลยุทธ์ /แผนงาน ตัวช้วี ัด เป้าหมาย (ปี) หนว่ ยงาน หนว่ ยงานปฏบิ ัติ อำนวยการ หลกั สนบั สนนุ 20 ปี 61-65 66-70 71-80 ขบั เคลอื่ น 1. เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการระบายน้ำ 1.1 ปรับปรงุ สิ่งกีดขวางทางนำ้ จำนวนแห่ง 562 562 ปรบั ปรุง - สทนช. ชป./จท./ทล./ - 499 ส่ิงกดี ขวาง 395 ทช./รฟท./สถ./ 1.2 ปรับปรงุ ลำน้ำธรรมชาติ จำนวนแห่ง 1,234 2,122 ทางนำ้ ให้ 2,478 ทน./กทม. - ทตี่ นื้ เขนิ ให้สามารถระบายน้ำ ระยะทาง (กม.) 6,271 แลว้ เสร็จ จท./ทน./สถ./ ได้มีประสทิ ธิภาพ ปภ./อปท. 565 340 3,711 1,671 154 1.2.1 ลำนำ้ หลกั จำนวนแหง่ 770 156 136 273 จท. - 1.2.2 ลำนำ้ สาขา/ยอ่ ย ระยะทาง (กม.) 515 861 881 1969 1.2.3 ลำนำ้ ย่อย จำนวนแหง่ 1,790 10 57 87 จท./ทน./อปท. - ระยะทาง (กม.) 50 285 435 1.3 การกำจดั วัชพชื และขยะมลู ฝอย จำนวนแหง่ ไม่นอ้ ยกวา่ 333 147 35) ปภ./อปท. - ในแม่นำ้ สายหลกั แมน่ ำ้ สาขา และ ระยะทาง (กม.) 7,400,000 1,211 505 74 แหล่งนำ้ ปิด ไม่น้อยกวา่ 7,400,000 ยผ./ชป./อปท./ กองทัพบก*/ ปริมาณวชั พชื และขยะ จท./กทม./ทน. ปภ./ปค./อปท. มูลฝอยทกี่ ำจัด (ตนั ต่อปี) ฯลฯ/ 45 45

๔๖ กลยทุ ธ์ /แผนงาน ตัวช้วี ัด 20 ปี เป้าหมาย (ปี) 71-80 หนว่ ยงาน หนว่ ยงานปฏบิ ตั ิ 46 46 61-65 66-70 อำนวยการ หลกั สนับสนนุ ขับเคล่อื น 2. การป้องกนั น้ำท่วมชุมชนเมอื ง 2.1 ระบบป้องกันชุมชนเมือง จำนวนแห่ง 764 153 211 400 มท. ยผ./กทม. อปท. พน้ื ท่ีได้รับการป้องกัน (ไร)่ 1,745,881 304,165 538,155 903,561 2.2 จดั ทำผังน้ำในผังเมือง/ผงั การ สทนช. สทนช./ยผ./ - ระบายน้ำในระดบั ลุ่มน้ำ จงั หวดั กทม. 2.2.1 ผงั นำ้ จำนวนผังนำ้ ทกุ ลำน้ำหลัก ทุกลำน้ำสาย ทกุ ลำนำ้ สาขา ทบทวน สทนช. - และสาขา หลกั ปรบั ปรงุ ทุก 5 ปี 2.2.2 ผังการระบายนำ้ จำนวนผงั การระบายน้ำ ผังเมืองรวม ผังเมืองรวม ผังเมืองรวมจังหวัด 33 จังหวดั ยผ./กทม. - ท่ีดำเนนิ การในผังเมือง จังหวดั 77 จังหวดั 44 จงั หวัด จงั หวดั 2.3 เข่อื นป้องกนั ตลิ่ง ระยะทางท่ีดำเนนิ การ 1,681 539 530 612 มท. ยผ./จท./อปท. 3. จัดการพน้ื ทน่ี ้ำท่วม/พืน้ ทช่ี ะลอนำ้ 3.1 การพัฒนาและปรบั ปรุงพ้นื ที่ จำนวนแห่ง 84 13 71 - สทนช. ชป. ทล./ทช./ปภ. ชะลอน้ำ ปริมาณนำ้ (ลา้ น ลบ.ม.) 4,612 2,050 2,562 - 3.2 การพัฒนา และเพ่มิ จำนวนแห่ง 3,319 915 1,153 1,251 ประสทิ ธภิ าพอาคารบงั คบั น้ำ พ้ืนทร่ี ับประโยชน์ (ไร)่ 13,148,201 3,906,897 4,530,051 4,711,253 และสถานสี ูบน้ำเพือ่ บรรเทาอุทกภยั ในพนื้ ทเี่ ฉพาะจดุ

กลยุทธ์ /แผนงาน ตัวช้ีวัด 20 ปี เปา้ หมาย (ปี) 71-80 หนว่ ยงาน ๔๗ 61-65 66-70 อำนวยการ 4. บรรเทาอุทกภัยในเชงิ พื้นทอี่ ย่าง รอ้ ยละการจดั ทำแผน จดั ทำแผน บรรเทา - ขบั เคลอื่ น หน่วยงานปฏบิ ตั ิ เปน็ ระบบในระดบั ลุม่ นำ้ /พนื้ ท่ีวิกฤติ บรรเทาอุทกภยั ในเชงิ อทุ กภยั ในเชิงพน้ื ท่ี จัดทำแผน 100 % หลกั สนบั สนนุ 5. การสนบั สนุนการปรบั ตวั พืน้ ท่ีอยา่ งเปน็ ระบบใน อยา่ งเปน็ ระบบใน สทนช. ระดับล่มุ นำ้ /พ้ืนที่วกิ ฤติ ระดบั ลมุ่ น้ำ/พืน้ ที่ 10 20 สทนช. ปภ./ชป./ยผ./ และเผชิญเหตุ ร้อยละพน้ื ทไี่ ด้รบั การ วิกฤติ 10 25 ทน./จท. แก้ไขปญั หา รอ้ ยละพน้ื ทเ่ี ส่ยี งจาก 60 30 ปภ./ชป./ยผ./ อุทกภัยไดร้ ับการจดั การ ทน./จท. ดว้ ยการปรบั ตัว 75 และเผชิญเหตุ 40 มท. ปภ./สถ./อปท. ทธ./ทน./ยผ./ สสน./สทอภ. 47 47

48 ๔๘ แนวทางการขับเคล่ือน ๑. โครงการบรรเทาภัยพิบัติทางน้ำแบบบูรณาการ ที่กำหนดในแผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี เป็นโครงการ Quick Win และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์เพื่อความมั่นคง โดยจัดทำแผนการบรรเทาอุทกภัยพื้นท่ี วิกฤติ ให้ลดความเสียหายลง ร้อยละ ๕๐ ในพื้นที่สำคัญ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติเป็นหน่วยงานประสาน และขับเคลื่อนโดยบูรณาการงานของหน่วยงานในพื้นที่วิกฤติ ที่เหมาะสม และมีความสอดคล้องกัน รวมทั้งให้มี มาตรการการบริหารจัดการพื้นที่น้ำท่วม การเตือนภัย การปรับตัว เน้นพื้นที่ที่มีความเสียหายสูง ในกลุ่มลุ่มน้ำ ภาคเหนอื และภาคใต้ ๒. โครงการบรรเทาอุทกภยั ในพ้ืนที่วิกฤติระดับลุ่มนำ้ ขนาดใหญ่ เช่น ลุม่ นำ้ เจ้าพระยา ท่าจีนตอนล่าง ยม-น่านตอนล่าง บางปะกง ทะเลสาบสงขลา และชีมูลตอนล่าง สำนักงานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติดำเนินการประสานและ ขับเคลื่อนการจัดทำแผนหลักของพื้นที่ จัดลำดับความสำคัญ และหน่วยงานปฏิบัติเร่งรัดการเตรียมความพร้อม ให้สามารถเร่งดำเนินการโครงการสำคัญไดโ้ ดยเร็ว ๓. การป้องกันน้ำท่วมเมือง และพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญ ให้กระทรวงมหาดไทย (กรมโยธาธิการ และผังเมือง) เป็นหน่วยงานหลกั ในการวางแผนทัง้ น้ำท่วมจากน้ำหลากและการระบายนำ้ ฝน ๔. การจัดทำผังน้ำในผังชุมชน ผังเมือง และผังระดับลุ่มน้ำ เพื่อจัดการน้ำทั้งระบบและ ครบวงจร โดยสำนักงานทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติดำเนินการจัดทำผังระดับลุม่ น้ำเร่งจัดทำในพืน้ ที่วิกฤติและเสียหาย รุนแรง กระทรวงมหาดไทย (กรมโยธาธิการและผังเมือง) ดำเนินการให้มีผังน้ำในเมืองหลักที่มีความสำคัญ ทางเศรษฐกิจและความหนาแนน่ สงู เช่น เชยี งใหม่ พิษณุโลก อดุ รธานี ขอนแก่น และหาดใหญ่ เปน็ ต้น ๕. การปรับปรงุ เพ่ิมประสิทธภิ าพการระบายน้ำ ลำน้ำสาขาและสายหลัก สำนักงานทรพั ยากรน้ำ แห่งชาติดำเนินการประสานและขับเคลื่อนร่วมกับหน่วยปฏิบัติ (จท./ทน./อปท.) เร่งรัดดำเนินการในพื้นท่ีวิกฤติ และต้องวางแผนและดำเนินการอย่างต่อเนื่องทั้งระบบ เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายการเพิ่มประสิทธิภาพ การระบายนำ้ ๖. การปรับตัวและเผชิญเหตุ โดยกระทรวงมหาดไทย (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) ดำเนินการเพิ่มประสิทธิภาพการปรับตัวและเผชิญเหตุด้านน้ำ (น้ำท่วม/น้ำแล้ง) ให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามแผน แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (ยกระดบั จากระดับ ๒ ให้ถึงระดับ ๔)

๔4๙9 ด้านท่ี ๔ การจัดการคุณภาพน้ำ และอนรุ ักษท์ รัพยากรนำ้ หลักการ : ปัจจุบันคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำต่าง ๆ ทั่วประเทศ ทั้งแหล่งน้ำผิวดิน แหล่งน้ำใต้ดิน และ แหล่งน้ำทะเล โดยเฉพาะบริเวณที่มีความหนาแน่นของชุมชน และกิจกรรมการพัฒนาต่าง ๆ กำลังประสบปัญหาความเสื่อมโทรม เนื่องจากการปนเปื้อนของสารพิษต่าง ๆ จากกิจกรรมของ มนุษย์ ทั้งจากชุมชน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และ การท่องเทีย่ ว มผี ลกระทบต่อคณุ ภาพน้ำและความสมดลุ ของระบบนเิ วศในแหล่งนำ้ ในปี ๒๕๕๘ กรมควบคุมมลพิษ ได้ตรวจสอบคุณภาพน้ำจากแหล่งน้ำสำคัญ ๖๕ แห่ง จากจุดตรวจวดั คณุ ภาพน้ำ ๓๖๖ จุด ทวั่ ประเทศ จำนวน ๔ ครงั้ ระหวา่ งเดอื นมกราคม - ธันวาคม พบว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ดีเพียง ร้อยละ ๓๔ คุณภาพพอใช้ ร้อยละ ๔๑ และอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม ร้อยละ ๒๕ โดยแม่นำ้ ท่ีอยู่ในสภาพเสื่อมโทรมมาก ได้แก่ แมน่ ้ำท่าจนี ตอนล่าง แม่น้ำเจ้าพระยา ตอนลา่ ง แมน่ ำ้ ระยองตอนล่าง และแมน่ ้ำพงั ลาดตอนบน ปัญหาการรุกล้ำของน้ำเค็มในแม่น้ำและพื้นที่เกษตรก็มีความสำคัญ และมีแนวโน้ม รุนแรงมากข้ึน เน่ืองจากความต้องการนำ้ ท่มี ีมากขน้ึ ในแหลง่ น้ำสายหลัก จึงไม่สามารถจัดสรรน้ำ เพื่อรักษาระบบนิเวศได้เพียงพอ โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งของทุกปี ทำให้เกิดปัญหาคุณภาพน้ำ สง่ ผลกระทบต่อการอปุ โภคบรโิ ภคและการใชน้ ้ำเพอื่ การเกษตร เป้าประสงค์ : พัฒนาและเพ่ิมประสิทธิภาพระบบรวบรวมและระบบบำบัดน้ำเสยี รวมของชมุ ชน การนำน้ำเสยี กลับมาใช้ใหม่ ป้องกันและลดการเกิดน้ำเสียต้นทาง การควบคุมปริมาณการไหลของน้ำเพื่อรักษา ระบบนิเวศ พร้อมทั้งพื้นฟูแม่น้ำ ลำคลอง และแหล่งน้ำธรรมชาติที่มีความสำคัญในทุกมิติ เพ่ือการอนุรกั ษ์ ฟ้นื ฟแู ละใช้ประโยชน์ท่วั ประเทศ กลยทุ ธ์ : ๑) การป้องกันและลดการเกดิ น้ำเสียที่ต้นทาง โดยลดปริมาณและความสกปรกของน้ำเสยี ชุมชน ณ แหลง่ กำเนิด ๒) การเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดและควบคุมการระบายน้ำเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม โดยการพัฒนา และเพ่ิมประสทิ ธภิ าพระบบรวบรวม ระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน และการนำน้ำทบ่ี ำบัด แลว้ กลับมาใชใ้ หม่ในภาคอตุ สาหกรรม ภาคบรกิ ารและที่อย่อู าศยั ๓) การรกั ษาสมดลุ ของระบบนเิ วศ โดยการจัดทำแผนการจัดสรรน้ำในลุม่ น้ำหลัก ๔) การอนุรักษ์และฟื้นฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติทั่วประเทศ โดยส่งเสริมให้ทุกภาคส่วน มีความเข้าใจ รู้คุณค่า และความสำคัญในการจัดการคุณภาพน้ำก่อนระบายออกสู่แม่น้ำลำคลอง การกำจัดวัชพืชและขยะมูลฝอยในแหล่งน้ำ การสำรวจรังวัด พิสูจน์ และสอบแนว พร้อมทั้ง การขึ้นทะเบียน การป้องกันแก้ไขปัญหาการรุกล้ำแนวเขต การอนุรักษ์ฟื้นฟู และพัฒนา รวมถึงการจัดทำข้อกำหนดในการออกแบบทั้งเชิงภูมิสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม เพื่อการ อนรุ ักษ์ฟืน้ ฟูแม่นำ้ ลำคลอง และแหล่งนำ้ ธรรมชาติ

๕๐ ตารางที่ ๔-๗ เปา้ หมายตามแผนแมบ่ ทด้านท่ี ๔ การจดั การคุณภาพนำ้ และอนุรักษท์ รพั ยากรน้ำ 50 50 กลยทุ ธ์ /แผนงาน ตัวช้วี ดั เป้าหมาย (ป)ี หน่วยงาน หนว่ ยงานปฏบิ ัติ อำนวยการ หลัก สนับสนนุ 20 ปี 61-65 66-70 71-80 ขบั เคลอ่ื น สถ./คพ. /สมอ./ สผ./ยผ. รอ้ ยละ 50 อปท./สส./จท. 1. การป้องกนั และลด รอ้ ยละความสำเรจ็ ในการ ทกุ ครวั เรือนใน ร้อยละ 10 ร้อยละ 40 มท. การเกดิ น้ำเสยี ท่ตี น้ ทาง ติดตั้งระบบบำบัดนำ้ เสยี ชมุ ชนเมืองไดร้ บั ทไ่ี ด้มาตรฐานสำหรับครวั เรอื น การติดตัง้ ระบบ (ครวั เรอื นท่ีเกดิ ขนึ้ ใหม)่ บำบัดน้ำเสยี 2. การเพิม่ ประสิทธิภาพในการบำบัดและควบคุมการระบายนำ้ เสยี ออกสสู่ งิ่ แวดลอ้ ม มท. สถ. /คพ./ อจน./ สผ. 2.1 การพฒั นาและเพม่ิ จำนวนระบบบำบดั 741 100 185 456 กทม./อปท. ประสิทธภิ าพระบบ ทก่ี อ่ สรา้ งใหม่ 34 23 44 รวบรวมและระบบบำบดั จำนวนระบบบำบดั ที่เพมิ่ 101 รอ้ ยละ 19 รอ้ ยละ 27 ร้อยละ 11 นำ้ เสียรวมของชมุ ชน ประสิทธภิ าพระบบเดมิ ร้อยละของปรมิ าณนำ้ เสยี ทรี่ ับ รอ้ ยละ 57 การบำบดั ไดต้ ามมาตรฐาน 2.2 เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ จำนวนแห่ง 19,000 แห่ง 9,000 แหง่ 5,000 แห่ง 5,000 แหง่ กรอ./สป.ทส./ ปศ./กปม./ ในการควบคมุ กำกับ และ ร้อยละของแหลง่ กำเนิดมลพิษ รอ้ ยละ 80 ของ รอ้ ยละ 70 ร้อยละ 75 รอ้ ยละ 80 สถ./อปท./คพ. จท. บงั คบั การกับแหล่งกำเนดิ ทางนำ้ ที่ตรวจสอบไดร้ บั แหลง่ กำเนิดมลพษิ (กรอ.ดำเนนิ การ มลพิษทางนำ้ ในพนื้ ท่ี การจัดการ ทางน้ำที่ตรวจสอบ เป้าหมาย 5 ปี แรก)

กลยทุ ธ์ /แผนงาน ตวั ชวี้ ดั เปา้ หมาย (ปี) หน่วยงาน ๕๑ 2.3 กำหนดขดี ความ จำนวนลมุ่ น้ำ อำนวยการ สามารถในการรองรับ 20 ปี 61-65 66-70 71-80 ขบั เคลอื่ น หน่วยงานปฏิบตั ิ มลพิษของแหลง่ นำ้ 20 ลุ่มนำ้ (5 ลุ่มน้ำ) หลกั สนบั สนนุ (carrying capacity) (9 ลมุ่ น้ำ) (6 ลมุ่ น้ำ) ปัตตานี คพ. - เพือ่ ควบคุมมลพษิ จาก 132 ป่าสัก ชายฝ่งั ทะเล เพชรบรุ ี โตนเลสาป แหล่งกำเนิด ตะวันออก ปิง วัง ชายฝั่งทะเล สาละวิน ยม น่าน สะแกกรัง ประจวบคีรีขันธ์ โขง กก 2.4 การนำน้ำทีผ่ า่ น ปรมิ าณนำ้ ที่ไดร้ บั การบำบัด มูล ชี ภาคใต้ฝั่ง สถ./กทม./อจน. - การบำบดั แลว้ กลบั ไปใช้ ถูกนำกลับมาใชป้ ระโยชน์ ตะวันออก 67 ประโยชน์ ลา้ น ลบ.ม./ปี 41 ทะเลสาบสงขลา 3 การรกั ษาสมดลุ ของ จำนวนลุม่ น้ำทีม่ วี างแผน ตาปี ภาคใต้ฝ่ัง ระบบนิเวศ จดั สรรน้ำเพ่ือระบบนิเวศ ตะวันตก 24 13 ลุม่ นำ้ (5 ลมุ่ น้ำ) (3 ลุ่มน้ำ) (5 ล่มุ น้ำ) สทนช. คพ./ชป./กฟผ. สผ. เจ้าพระยา ชายฝัง่ ทะเล ภาคใต้ฝง่ั ท่าจีน ตะวันออก ตะวนั ออก ตาปี แม่กลอง เพชรบุรี ทะเลสาบสงขลา บางปะกง- ชายฝั่งทะเล ภาคใต้ฝ่ังตะวนั ตก ปราจนี บุรี ตะวันตก ปัตตานี 51 51

๕๒ กลยุทธ์ /แผนงาน ตวั ช้ีวดั เป้าหมาย (ปี) หน่วยงาน หน่วยงานปฏิบตั ิ 52 52 4. อนรุ ักษแ์ ละฟนื้ ฟู สดั ส่วนพ้นื ทล่ี ำคลอง อำนวยการ แมน่ ำ้ ลำคลองและ ทไ่ี ด้รับการฟ้นื ฟู 20 ปี 61-65 66-70 71-80 ขบั เคล่อื น หลกั สนบั สนุน แหลง่ น้ำธรรมชาติ คลองในเขต ร้อยละ 15 สทนช./มท./ ทว่ั ประเทศ สดั สว่ นพน้ื ทลี่ ำนำ้ กรงุ เทพมหานคร ร้อยละ 50 ร้อยละ 25 สทนช./กทม./ สผ./ยผ./ปม./ ท่ีไดร้ ับการฟนื้ ฟู สว่ นที่เหลือ ทส. มท./ทด./ชป./ ธร./อปท. ร้อยละ 90 สทนช./มท./ พม./จท./คพ./ ลำนำ้ สายหลัก - ลำนำ้ สายหลกั ทุก - ลำนำ้ สายหลัก - ลำนำ้ สายหลัก ทกุ ลุ่มนำ้ ทกุ ลุ่มนำ้ ทส. ทน. ความสำเรจ็ ความสำเรจ็ ร้อยละ 75 ลมุ่ น้ำ ความสำเรจ็ ทุกลมุ่ นำ้ รอ้ ยละ 25 รอ้ ยละ 20 ความสำเรจ็ - พ้นื ทช่ี มุ่ น้ำ - สำรวจรงั วัดพสิ ูจน์ ร้อยละ 30 แหล่งนำ้ ธรรมชาติ (Ramsar Site ) และสอบแนวแม่นำ้ ท่ีมพี ้ืนทผ่ี วิ น้ำ และพน้ื ที่ชุ่มนำ้ ลำคลอง เกิน 1,000 ไร่ ทม่ี คี วามสำคญั - จัดทำข้อกำหนด ความสำเร็จ ระดบั ชาติ มาตรฐานการ รอ้ ยละ 40 ความสำเรจ็ ออกแบบการ รอ้ ยละ 90 ขุดลอกแม่นำ้ แหล่งนำ้ ธรรมชาติ ลำคลอง สัดส่วนพนื้ ที่ชุม่ น้ำและ ที่มพี ้นื ท่ีผวิ น้ำ พื้นท่ชี ุม่ น้ำ พนื้ ท่ชี ุ่มนำ้ สทนช./กทม./ สผ./ยผ./ปม./ แหลง่ นำ้ ทีไ่ ดร้ ับการฟน้ื ฟู เกนิ 1,000 ไร่ (Ramsar Site ) (Ramsar Site ) มท./ทด./ชป./ ธร./อปท. ความสำเรจ็ และพนื้ ทช่ี ุม่ นำ้ และพ้ืนทีช่ มุ่ นำ้ พม./จท./คพ./ ร้อยละ 90 ท่ีมคี วามสำคญั ท่มี คี วามสำคัญ ระดบั ชาติ ระดับชาติ ทน. ความสำเรจ็ ความสำเรจ็ รอ้ ยละ 40 รอ้ ยละ 50 แหล่งนำ้ ธรรมชาติ แหลง่ นำ้ ธรรมชาติ ท่ีมพี ้นื ท่ีผิวน้ำ ทีม่ ีพน้ื ท่ีผวิ นำ้ เกนิ 1,000 ไร่ เกนิ 1,000 ไร่ ความสำเร็จ ความสำเร็จ รอ้ ยละ 20 ร้อยละ 20

กลยทุ ธ์ /แผนงาน ตัวช้วี ัด เปา้ หมาย (ป)ี หน่วยงาน ๕๓ สัดส่วนพนื้ ทชี่ มุ ชน อำนวยการ (นอกเขต กทม. ทเี่ ปน็ ชมุ ชน 20 ปี 61-65 66-70 71-80 ขบั เคล่อื น หนว่ ยงานปฏิบัติ ขนาดใหญ่) ริมแมน่ ำ้ ลำคลอง ลำนำ้ สาขา ลำนำ้ สาขา หลกั สนบั สนุน และแหล่งนำ้ ธรรมชาติ ความสำเรจ็ ความสำเร็จ (ร้อยละของพน้ื ทเ่ี ป้าหมาย) ร้อยละ 50 - ลำน้ำสาขา รอ้ ยละ 30 สทนช./มท./ สทนช./กทม./ สผ./ยผ./ปม./ ความสำเรจ็ ความสำเรจ็ ความสำเรจ็ ทส. มท./ทด./ชป./ ธร./อปท. ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 50 รอ้ ยละ 20 - พม./จท./คพ./ ความสำเรจ็ ร้อยละ 40 ทน. 53 53

54 ๕๔ แนวทางการขบั เคลื่อน ๑. แผนงานการเพิ่มประสิทธิภาพ และควบคุมการระบายน้ำเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม เนื่องจาก เป็นภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่เป็นงานที่ต้องใช้เทคนิคสูง จึงเห็นควรมอบให้กระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานหลักในการประสานและขับเคล่ือนร่วมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยการสนับสนนุ ท้องถิ่นในการเตรยี มความพร้อม เพอื่ ให้องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นสามารถดำเนินการได้ ๒. การอนุรักษ์ฟื้นฟูแหล่งต้นน้ำลำธารและพื้นที่ชุ่มน้ำที่สมควรสงวนไว้ เพื่อการอนุรั กษ์ ทรัพยากรน้ำสาธารณะ มอบให้สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ กระทรวงมหาดไทย และกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นหน่วยงานประสานและขับเคลื่อนจัดทำแผนการอนุรักษ์ฟื้นฟู หรือดำเนนิ การประกาศเป็นเขตคมุ้ ครองสิ่งแวดลอ้ มตามกฎหมาย ๓. การอนรุ กั ษ์ฟ้ืนฟแู ม่นำ้ คคู ลอง แหลง่ น้ำธรรมชาตขิ นาดใหญ่ เนื่องจากเปน็ แผนงานท่ตี อ้ งบูรณาการ ในกิจกรรมหลายรปู แบบ มอบให้สำนักงานทรพั ยากรน้ำแหง่ ชาติ กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเป็นหน่วยงานประสานและขับเคลื่อน จัดทำแผนหลักในแต่ละพื้นที่เป้าหมาย ได้แก่ คลองแม่ข่า จังหวัดเชียงใหม่ คลองเปรมประชากร บึงบอระเพ็ด หนองหารสกลนคร บึงราชนก แม่น้ำพิจิตร กว๊านพะเยา และอื่น ๆ และบรู ณาการแผนงานของหน่วยงานตามภารกิจในพนื้ ท่ีเป้าหมายที่กำหนด

๕5๕5 ด้านที่ ๕ การอนุรักษฟ์ ืน้ ฟสู ภาพปา่ ต้นนำ้ ท่ีเสอื่ มโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน หลกั การ : พื้นทป่ี า่ ต้นนำ้ เปน็ พ้นื ท่ีซึ่งมีความสำคญั ในการดูดซบั น้ำฝน เก็บรกั ษาความชุ่มชื้นและชะลอ การไหลของน้ำ การบุกรุกพื้นที่ป่าต้นน้ำเพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพป่าไปเป็นพื้นที่เกษตรกรรมและ ชุมชน ทำให้ความอุดมสมบูรณ์ของป่าต้นน้ำลดลงจนถึงมีสภาพเสื่อมโทรม ทำให้เกิดปัญหาน้ำท่วม ฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และปัญหาดินโคลนถล่มในพื้นที่ต้นน้ำ ส่วนพื้นที่กลางน้ำและพื้นที่ท้ายน้ำ เกิดปัญหาอุทกภัย การขาดแคลนน้ำ การชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่เกษตรและพื้นที่ลาดชัน ทำให้ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง โครงสร้างของดินถูกทำลาย ความสามารถในการอุ้มน้ำ ของดนิ ลดลง และตะกอนน้ำทำให้สภาพลำน้ำ อา่ งเก็บนำ้ ตื้นเขนิ จากข้อมูลของกรมป่าไม้ในปี ๒๕๖๐ มีพื้นที่ป่าไม้ทั้งประเทศจำนวน ๑๐๒ ล้านไร่ คิดเป็น ร้อยละ ๓๑.๕๘ ของพื้นที่ประเทศ (ประเทศไทยมีพื้นที่ ทั้งหมด ๓๒๓ ล้านไร่) ซึ่งยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ได้กำหนดเป้าหมายในการฟ้ืนฟูป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรม เพื่อให้ได้พ้นื ทีป่ า่ ร้อยละ ๔๐ ของประเทศ หรือประมาณ ๑๒๘ ล้านไร่ โดยการปลูกป่าในพื้นที่ป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรม การสร้างฝายชะลอน้ำ การป้องกันและลดการชะล้างการพังทลายของดิน การปลูกหญ้าแฝก โดยกำหนดเป้าหมายฟื้นฟูพื้นที่ป่าต้นน้ำ ๓.๕๒ ล้านไร่ และพื้นที่ดำเนินการเพื่อป้องกัน การสูญเสียหน้าดิน และลดการกัดเซาะในพื้นที่ต้นน้ำ ๒๑.๔๕ ล้านไร่ รวมทั้งการเข้มงวดในการ ปราบปรามและปอ้ งกนั การบกุ รุกทำลายปา่ ในแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี ได้กำหนดแนวทางการดำเนินงาน ไว้สอดคล้องกัน ได้แก่ การอนุรักษ์ฟื้นฟปู ่าต้นนำ้ ที่เสื่อมโทรมโดยการปลูกป่าและการทำฝายชะลอน้ำ การป้องกันการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ต้นน้ำ โดยการทำผังการใช้ประโยชน์ลุ่มน้ำ การจดั ทำระบบการอนรุ กั ษด์ ินและนำ้ การปลกู ป่าเลยี นแบบธรรมชาตแิ ละการปลูกหญ้าแฝก เปา้ ประสงค์ : อนุรกั ษ์ ฟ้ืนฟู พนื้ ท่ีปา่ ต้นนำ้ ทเ่ี สอ่ื มโทรม การปอ้ งกนั และลดการชะล้างพงั ทลายของดินในพื้นท่ี ตน้ น้ำและพ้นื ที่ลาดชัน กลยทุ ธ์ : ๑) การอนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นที่ป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรม โดยการปลูกป่าและการสร้างฝายชะลอน้ำ ประเภทตา่ ง ๆ ในพ้นื ท่ปี ่าต้นน้ำ ๒) การป้องกันและลดการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ต้นน้ำ การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ในพื้นที่เกษตรลาดชัน จัดทำแนวป่ากันชน การปลูกป่าเลียนแบบธรรมชาติทดแทน การปลูกพืชเชงิ เดีย่ วและการปลูกหญ้าแฝก

๕๖ ตารางท่ี ๔-๘ เปา้ หมายตามแผนแม่บทด้านท่ี ๕ การอนรุ ักษ์ฟน้ื ฟูสภาพป่าต้นน้ำท่เี ส่ือมโทรมและป้องกันการพังทลายของดนิ 56 56 กลยุทธ์/แผนงาน ตัวช้วี ัด เป้าหมาย (ป)ี หน่วยงาน หน่วยงานปฏิบตั ิ อำนวยการ หลกั สนับสนุน 20 ปี 61-65 66-70 71-80 ขับเคลอ่ื น 1,936,741 1. การอนรุ กั ษฟ์ ้ืนฟพู ื้นที่ปา่ ตน้ นำ้ ท่ีเสื่อมโทรม ทส. 1.1 ฟืน้ ฟูป่าตน้ นำ้ จำนวนพ้ืนท่ีป่าที่ 3,524,241 734,000 853,500 อส./ปม. สผ./มท./ (พืน้ ทีป่ ่าตน้ น้ำในเขตป่า ได้รบั การปลกู ฟืน้ ฟู สทอภ./ อนุรกั ษ์/ป่าสงวนฯ) (ไร)่ อส./ปม. ภาคเอกชน 2. การป้องกนั และลดการชะลา้ งพงั ทลายของดินในพ้ืนทต่ี น้ นำ้ พด. สผ./ชป./ 2.1 การปอ้ งกันและลดการ จำนวนพ้ืนที่ (ไร)่ 1,450,000 240,000 400,000 810,000 ทส./กษ. อปท./ ชะล้างพังทลายของดนิ (พ้ืนท่ปี ่า 1,000,000 5,000,000 ภาคเอกชน ต้นน้ำในเขตปา่ อนรุ ักษ์/ปา่ สงวนฯ) สผ./ชป./ ภาคเอกชน/ 2.2 การป้องกนั และลดการ จำนวนพน้ื ท่ี (ไร)่ 20,000,000 14,000,000 อปท. ชะล้างพงั ทลายของดนิ (พ้ืนท่ี เกษตรนอกพ้ืนท่อี นุรกั ษ์)

๕5๗7 แนวทางการขบั เคลื่อน ๑. การฟื้นฟปู ่าต้นน้ำมอบให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเปน็ หนว่ ยงานประสานและ ขับเคลื่อนโดยดำเนินการควบคู่กันไป เริ่มจากกำหนดขอบเขตการใช้ประโยชน์ เป็น เขตอนุรักษ์ เขตป่าไม้กันชน และการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เหมาะสมในพื้นที่ลุ่มน้ำชั้น ๑ และ ๒ ที่ได้รับการผ่อนผันตามมติคณะรัฐมนตรี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๑ โดยจะดำเนินการกำหนดพื้นท่ีเปา้ หมายทีม่ ีผลกระทบดา้ นทรัพยากรน้ำรนุ แรง ได้แก่ ลุ่มน้ำ ภาคเหนือและภาคใต้ในระยะแรกก่อน โดยดำเนินการในกิจกรรมต่าง ๆ ไปพร้อม ๆ กัน เพื่อให้สามารถเห็น ผลผลิตและผลสัมฤทธ์ไิ ด้อย่างรวดเร็วและต้องมีระบบการประเมินผลไปจนถึงระยะยาว เพ่อื ให้เห็นผลกระทบจาก การฟื้นฟปู า่ ต่อปริมาณและรูปแบบน้ำท่า/ตะกอนทีเ่ ปล่ียนแปลงไป (change in flow/sediment volume and their hydrographs) ๒. การลดการชะลา้ งพังทลายของดนิ ในพื้นทตี่ ้นนำ้ โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีเกษตรลาดชนั ใหพ้ ิจารณา ดำเนินการท้งั ทางกลและการปรับระบบการปลูกพชื ควบคู่กนั ไป

58 ๕๘ ดา้ นที่ ๖ การบริหารจดั การ หลักการ : ปัญหาทรัพยากรน้ำที่ผ่านมาทั้งปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค นำ้ เพือ่ การผลติ ทั้งภาคเกษตรกรรมและอตุ สาหกรรม ปัญหาน้ำท่วม ปัญหาคณุ ภาพนำ้ ท้งั น้ำเสีย และน้ำเค็ม ปญั หาน้ำป่าไหลหลาก และการชะล้างพังทลายของดินในพ้ืนที่ต้นน้ำ จะเกิดบ่อยครั้งขึ้น และทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และที่สำคัญ คือ การบริหารจัดการที่ไม่มีเอกภาพทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ ขาดข้อมูลในการวางแผน การตัดสินใจสั่งการ ขาดกฎหมาย แผนแม่บท และองค์กรที่กำกับดูแลในภาพรวมการบริหาร จัดการทรัพยากรน้ำทั้งระบบ ทำให้ไม่สามารถบริหารจัดการทั้งก่อนการเกิดภัย ระหว่างเกิดภยั และหลังการเกิดภัย ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ดังนั้น การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศให้มีประสิทธิภาพ สมดุล เป็นธรรม และสามารถแก้ไขปัญหาได้ทั้งระบบ จำเป็นต้องมีการปรับปรุง ทบทวน กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ด้านทรัพยากรน้ำ การพัฒนาองค์กรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำทุกระดับ การจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การติดตามและประเมินผล การพัฒนาระบบ ฐานข้อมูล รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรผู้ใช้น้ำและ การมีสว่ นร่วมของผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ทุกภาคสว่ น เปา้ ประสงค์ : จัดตั้งองค์กรด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ คณะกรรมการลุ่มน้ำ ฯลฯ) ปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัย ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ เชื่อมโยงประเด็นการพัฒนาและการหาแหล่งเงินทุน พัฒนาระบบฐานข้อมูลประกอบการตัดสินใจ (คลังน้ำชาติ) สนับสนุนองค์กรลุ่มน้ำ สนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างภาครัฐและเอกชน การบริหารจัดการชลประทาน การศึกษาวิจัย เตรียมความพร้อม ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์และ การมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรนำ้ พัฒนางานวิจัย นวัตกรรม และเทคโนโลยี สนับสนุนการสร้างมูลค่าเพิ่มในภาคการบริการและ การผลติ รวมถงึ พฒั นารูปแบบเพื่อยกระดับการจัดการน้ำในพื้นท่แี ละลมุ่ นำ้ (เชอ่ื มโยงการตลาด พลังงาน การผลิต และของเสีย) กลยุทธ์ : ๑) การจัดทำ ปรับปรุง กฎหมาย และองค์กรด้านการบริหารจัดการทรพั ยากรน้ำและน้ำบาดาล ได้แก่ การจัดทำ ปรับปรุง ทบทวน กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ ด้านทรัพยากรน้ำ การส่งเสริม พัฒนาองค์กร การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ในระดับชาติ/ระดับลุ่มน้ำ/ระดับชุมชน และ พฒั นากลไกความรว่ มมือระหวา่ งประเทศด้านทรัพยากรน้ำ ๒) การจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ แผนแม่บทระดับลุ่มน้ำ และแผนปฏิบัติการ รวมท้ัง การจัดทำแผนบริหารน้ำในสภาวะวิกฤติทุกลุ่มน้ำ ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและ พระราชบญั ญตั ิทรพั ยากรนำ้ ๓) การติดตามและประเมินผล ทั้งแผนงานภายใต้แผนแมบ่ ท และการดำเนินงานของหน่วยงาน และประเมินผลกระทบระดับแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ

๕5๙9 ๔) การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ โดยพัฒนาฐานข้อมูลทรัพยากรน้ำ น้ำบาดาล และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการภัยพิบัติด้านน้ำ การจัดการอุทกภัย และการพัฒนาระบบติดตาม เฝ้าระวัง และแจ้งเตือนภัยคุณภาพน้ำและ น้ำบาดาล เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพการพยากรณ์ฝนระยะสั้น การพยากรณ์น้ำหลากที่ลาดเชิงเขา (ลุ่มน้ำสาขา/ย่อย) ข้อมูลแหล่งน้ำธรรมชาติ ศักยภาพน้ำบาดาลในขั้นรายละเอียด ขอ้ มลู คุณภาพนำ้ ในแหลง่ น้ำตา่ ง ๆ ๕) การศึกษาวิจัยและพัฒนาการจัดการทรัพยากรน้ำ โดยศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยี และ นวัตกรรมที่เกี่ยวกับทรัพยากรน้ำและน้ำบาดาลให้สามารถดำเนินการตามกลยุทธ์ที่เกี่ยวข้องได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การศึกษาวิจัยการประหยัดน้ำในทุกกิจกรรมการใช้น้ำ การลดการใช้น้ำ นำน้ำกลับมาใช้ใหม่ และการใช้น้ำซ้ำในภาคอุตสาหกรรม การศึกษาการใช้น้ำและมูลค่าน้ำ ภาคการผลติ ตา่ ง ๆ ๖) การประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม โดยเสริมสร้างการรับรู้และประชาสัมพันธ์ นโยบาย แผนแม่บท การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ และบูรณาการการมีส่วนร่วมในการบริหาร จดั การทรพั ยากรน้ำ ส่งเสริมการจัดการน้ำชมุ ชน และการจัดการภัยพิบัติดา้ นน้ำในระดับพ้ืนท่ี ล่มุ นำ้ ประเทศ และระหว่างประเทศ

๖๐ ตารางท่ี ๔-๙ แผนแมบ่ ทด้านที่ ๖ การบริหารจดั การ 60 60 กลยทุ ธ์ /แผนงาน ตวั ช้ีวดั เปา้ หมาย (ปี) หน่วยงาน หนว่ ยงานปฏิบัติ ขบั เคลอื่ น หลกั สนบั สนนุ 20 ปี 61-65 66-70 71-80 สทนช. สทนช./มท./ ทกุ หน่วยงาน/ 1. จดั ทำปรับปรุงกฎหมายและองคก์ รด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ทส./กษ./ ภาคประชาชน 1.1 การจดั ทำ 1. การจดั ทำ ปรับปรงุ 35 เรอ่ื ง/ประกาศ จัดทำ/ประกาศ ติดตาม และปรบั ปรงุ การบงั คับใช้กฎหมาย อปท. ปรับปรงุ ทบทวน ทบทวน กฎหมาย ระเบยี บ บงั คบั ใช้ ใชก้ ฎหมาย ให้เกดิ ผลอย่างเปน็ รูปธรรมอย่างตอ่ เนอ่ื ง กฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ดา้ นทรัพยากรนำ้ ลำดับรอง สทนช. ทกุ หน่วยงาน ขอ้ บังคับด้าน 1.1 จดั ทำอนุบญั ญตั ิ 35 เร่อื ง ทรัพยากรนำ้ ทรัพยากรนำ้ สทนช. ทกุ หน่วยงาน 1.2 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคับ และมาตรการท่เี กยี่ วข้อง 1.2 สง่ เสรมิ พฒั นา ระดบั ความสำเรจ็ ของการ มอี งค์กรทำหนา้ ที่ - กนช. ดำเนินการตอ่ เนอื่ ง องค์กรการบรหิ าร จดั ตง้ั องคก์ รที่เกยี่ วข้อง บรหิ ารจดั การดา้ น - สทนช. จัดการทรัพยากรนำ้ กับการบริหารจัดการ ทรพั ยากรน้ำใน - คกก. ในระดบั ชาต/ิ ระดับ ทรพั ยากรน้ำ ระดับชาต/ิ ระดับชาติ/ระดบั ล่มุ น้ำ/ระดับชุมชน ระดบั ลุ่มนำ้ /ระดับชมุ ชน ลมุ่ น้ำ/ระดบั ชมุ ชน (ทกุ ล่มุ นำ้ ) ตามพระราชบญั ญตั ิ - องค์กรผใู้ ช้น้ำ ทรพั ยากรนำ้ 1.3 พัฒนากลไก ระดับความสำเรจ็ ของ มขี อ้ ตกลง/ - มแี ผนปฏบิ ตั ิ ขับเคล่ือน ขับเคล่อื นร้อยละ 30 ความรว่ มมอื ระหว่าง การจดั ทำความรว่ มมอื / ความร่วมมือระหว่าง การระหวา่ ง รอ้ ยละ 40 ประเทศดา้ น แผนปฏิบัติการระหวา่ ง ประเทศ ประเทศและ ทรพั ยากรน้ำ ประเทศและองคก์ รระหว่าง องค์กรระหวา่ ง ประเทศในการบรหิ าร ประเทศ จัดการทรพั ยากรน้ำ - ขับเคล่อื น ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80 รอ้ ยละ 10

๖๑ กลยทุ ธ์ /แผนงาน ตวั ชวี้ ัด เป้าหมาย (ป)ี หนว่ ยงาน หนว่ ยงานปฏิบัติ 2. การจัดทำแผน มีแผนการบริหารจดั การ ขบั เคลอ่ื น หลกั สนับสนุน บรหิ ารจดั การ ทรพั ยากรนำ้ ทุกระดับ 20 ปี 61-65 66-70 71-80 สทนช. สทนช. ทุกหน่วยงาน ทรัพยากรน้ำ เปน็ มาตรฐาน สอดคล้อง แผนแมบ่ ท/แผน จดั ทำแผน ทบทวนและปรับปรงุ แผนทกุ 5 ปี กับยทุ ธศาสตร์การพฒั นา ปฏบิ ัติ/แผนการ ครบทกุ ลุม่ น้ำ สทนช. สทนช. ทกุ หน่วยงาน 3. การตดิ ตามและ ของประเทศ จดั สรรน้ำ/แผนภาวะ สทนช. สทนช./อว./ ทุกหน่วยงาน ประเมนิ ผล ระดบั ความสำเร็จในการ วิกฤตทิ ้งั ลุม่ นำ้ หลกั เปา้ หมายระดับ เป้าหมายระดบั เป้าหมายระดับ ดศ./ทส./กษ./ ติดตามและประเมนิ ผลการ และสาขาจัดทำเสรจ็ ผลผลติ และ ผลลัพธ์และ ผลลัพธแ์ ละ มท. ดำเนินงาน ตามกำหนด ผลลัพธ์ ผลกระทบ ผลกระทบ เป้าหมายสามารถ วัดไดถ้ งึ ระดับ ผลกระทบ 4. การพฒั นาระบบฐานข้อมลู สนับสนนุ การตดั สนิ ใจ - พัฒนา/เชื่อม 4.1 พฒั นาและเพ่ิม ระดับความสำเร็จในการ มรี ะบบฐานขอ้ มลู โยงระบบฐาน - มีศนู ย์ข้อมลู กลางครอบคลมุ ทกุ จังหวัด ประสทิ ธภิ าพระบบ จัดทำระบบฐานข้อมูล ด้านทรพั ยากรนำ้ ข้อมูลระหวา่ ง - ชุมชนมรี ะบบสารสนเทศดา้ นทรพั ยากรน้ำ ฐานขอ้ มลู เพือ่ การ ดา้ นทรัพยากรนำ้ ท่ีทันสมัย ทีท่ นั สมัย ถูกต้อง หนว่ ยงานเปน็ การบริหารจดั การ ถูกตอ้ ง และบรู ณาการ และบรู ณาการเป็น มาตรฐานเดียวกนั ของชมุ ชนใช้งาน โดยใช้ขอ้ มลู ระดบั ทรพั ยากรน้ำ เปน็ มาตรฐานเดยี วกัน มาตรฐานเดยี วกนั (Bigdata) ชุมชนจากศนู ยข์ อ้ มูลระดบั จงั หวดั ทกุ หน่วยงานครอบคลุม ทกุ หนว่ ยงาน - มีระบบบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ ท้งั ระดับชาติ ลมุ่ นำ้ ครอบคลมุ - มีระบบตรวจ (platform) เพือ่ ใช้ในการบริหาร และชุมชน ทั้งระดบั ชาติ ลมุ่ นำ้ วดั และเตือน จดั การทรัพยากรน้ำอยา่ งบรู ณาการ และชุมชน ภยั ครอบคลมุ และมธี รรมาภบิ าล ล่มุ น้ำหลกั อยา่ งบรู ณาการ และมีธรรมาภิบาล - มศี นู ย์ข้อมูล กลางทค่ี รอบ คลุมล่มุ นำ้ หลัก 61 61

๖๒ กลยทุ ธ์ /แผนงาน ตัวช้ีวดั เป้าหมาย (ป)ี หน่วยงาน หน่วยงานปฏิบตั ิ 62 62 ขับเคล่ือน หลกั สนับสนุน 5. การศกึ ษา วจิ ัย ระดับความสำเร็จของ 20 ปี 61-65 66-70 71-80 สทนช. สทนช./ ทุกหนว่ ยงาน มงี าน วิจัย ศึกษา - กำหนด ดำเนนิ การอยา่ งต่อเนือ่ ง สทนช. อุดมศึกษาวจิ ยั และพัฒนาการ การจัดทำงานศกึ ษาวิจัย พัฒนาเทคโนโลยแี ละ ประเดน็ และ และ จัดการทรพั ยากรน้ำ และนวัตกรรมเพื่อขับเคลอื่ น นวัตกรรมทไี่ ด้นำมา จดั ทำแผนงาน สทนช. นวตั กรรม/อว. การบรหิ ารจัดการนำ้ ประยกุ ตใ์ ชข้ บั เคล่อื น - นำผลการวิจยั สทนช./กรม ทกุ หน่วยงาน ของประเทศทถ่ี กู นำไปใช้ การบรหิ ารจดั การน้ำ มาขยายผล ประชาสมั พนั ธ์ ประโยชน์ ของประเทศ 6. การประชาสมั พันธแ์ ละการมสี ว่ นร่วม สร้างการรับรู้นโยบาย สทนช. ทกุ หน่วยงาน 1. เสรมิ สร้างการรับรู้ จำนวนช่องทางของการ แผนแมบ่ ทการบรหิ าร ไมน่ ้อยกวา่ ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ ประชาสมั พนั ธ์ และประชาสมั พนั ธ์ ประชาสมั พนั ธ์ 1.โทรทศั น์ จัดการทรัพยากรนำ้ ร้อยละ 70 ของ 90 ของช่องทาง ในทุกช่องทางทง้ั หมด นโยบาย/แผนแมบ่ ท 2. วิทยุ 3. หนงั สือพมิ พ์ ทง้ั 6 ด้าน อนั จะ ชอ่ งทางท้ังหมด ทงั้ หมด การบริหารจัดการ 4. สง่ิ พิมพ์ 5. เวป็ ไซต์ นำไปสคู่ วามรว่ มมือ ทรพั ยากรนำ้ 6. เครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ ในการพฒั นาและ 7. ประชุม/สมั มนา บริหารจดั การน้ำ 8. นทิ รรศการ 9. กิจกรรม ของประเทศ 10. สื่อบุคคล รอ้ ยละของหนว่ ยงาน จดั ทำกรอบงานและ ดำเนนิ การใหไ้ ด้ ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ทกุ หนว่ ยงานดา้ นนำ้ ดา้ นนำ้ ทม่ี กี ารประชาสมั พนั ธ์ สนบั สนุนการมสี ว่ น ร้อยละ 70 90 ของ ทต่ี ้องมีการประชา แผนแมบ่ ทฯ รว่ มขององคก์ รผู้ใชน้ ำ้ ไม่น้อยกวา่ หนว่ ยงานด้านน้ำ สัมพันธ์แผนแม่บทฯ รอ้ ยละของการรับรขู้ อง ในการใช้ ร้อยละ 60 ของ ไม่น้อยกวา่ ไมน่ อ้ ยกวา่ ประชาชนท่ีมตี ่อแผนแมบ่ ท กลุ่มตัวอย่าง รอ้ ยละ 70 ของ ร้อยละ 80 ของ การบริหารจัดการ กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตวั อยา่ ง ทรัพยากรนำ้ 2. บรู ณาการ จำนวนเรอื่ ง/กจิ กรรม จัดกิจกรรมการ ดำเนนิ การ ดำเนินการ การมสี ว่ นรว่ มในการ มีสว่ นร่วมให้แก่ อย่างตอ่ เนอ่ื ง อยา่ งต่อเน่ือง บริหารจดั การ ภาคส่วนท่ี ทรพั ยากรน้ำ เก่ยี วข้อง

๖๓ กลยทุ ธ์ /แผนงาน ตวั ชว้ี ดั เปา้ หมาย (ปี) หน่วยงาน หน่วยงานปฏิบัติ 3. ผลกั ดันให้เกดิ จำนวนหม่บู ้านทสี่ ามารถ ขับเคลอื่ น กลไกขยายผล บรหิ ารจดั การทรัพยากรนำ้ 20 ปี 61-65 66-70 71-80 สทนช. หลัก สนับสนนุ ความสำเร็จด้านการ ไดด้ ้วยตนเอง และสามารถ ชมุ ชนสามารถบริหาร 800 หม่บู า้ น 2,200 หมู่บา้ น 3,000 หม่บู ้าน สทนช./มท./ ทส./กษ./ บรหิ ารจดั การนำ้ ขยายผลความสำเร็จไปยงั จดั การทรัพยากรน้ำ สสน./สกว. ในระดับชุมชน/ระดบั พื้นทีอ่ ่ืน ในพื้นทีไ่ ด้ดว้ ยตนเอง อปท. /มลู นธิ ปิ ดิ ทอง ท้องถิน่ (ประเดน็ การ ผา่ นกระบวนการมี หลงั พระฯ/ สว่ นรว่ มของ กองทัพบก* ปฏริ ปู ประเทศ) ทุกภาคส่วน และเกิด เครอื ขา่ ยการบริหาร จัดการทรพั ยากรนำ้ ชมุ ชน ตามแนว พระราชดำริ ชมุ ชน มคี วามเป็นอยู่ทดี่ ี เกดิ ความยงั่ ยนื ในทุก มติ ิ (6,000 หม่บู ้าน) หมายเหตุ : * มูลนธิ อิ ุทกพัฒน์ฯ สนับสนุนเชงิ เทคนคิ ใหก้ องทัพบกและใช้แบบอย่างความสำเร็จของเครอื ข่ายจัดการนำ้ ชุมชน ตามแนวพระราชดำรขิ องมลู นธิ ิอุทกพัฒน์ฯ ขยายผลต่อไป 63 63

64 ๖๔ แนวทางการขับเคล่ือน ๑. การจัดทำอนุบัญญัติที่เกี่ยวขอ้ งกับพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำและการจัดต้ังคณะกรรมการ ลุ่มน้ำ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติเป็นหน่วยงานหลักในการดำเนินการและประสานงานในการขับเคลื่อน การบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ ในระดบั ประเทศและลุ่มน้ำ ๒. แผนแมบ่ ทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี สำนักงานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติดำเนินการ จัดทำและถ่ายทอดเป้าหมายลงสู่การดำเนินงานระดับลุ่มน้ำและแผนปฏิบัติการ รวมถึงติดตาม ประเมินผลการ ดำเนินงานของแผนงานตามนโยบายและแผนแม่บทเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำเสนอต่อคณะกรรมการ ทรัพยากรน้ำแห่งชาติโดยมีกลุ่มผู้ใชน้ ำ้ ทำหนา้ ท่ีขับเคล่อื นการดำเนินงานภายใตค้ ณะกรรมการลมุ่ นำ้ ๓. การศึกษา วิจัย และพัฒนายกระดับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและทรัพยากรมนุษย์ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติร่วมกับกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกำหนดประเด็นงานวิจัย นวัตกรรมที่เป็นช่องว่าง ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ และขับเคลื่อนด้วยการใช้ เทคโนโลยี นวตั กรรม สนับสนุนการเพิม่ มลู คา่ เพ่มิ ของภาคการผลิตและบริการตอ่ ไป ๔. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลทรัพยากรน้ำและข้อมูลอื่นที่เกี่ยวขอ้ ง สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประสานงาน ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาและเชื่อมโยงระบบคลังข้อมูลน้ำและระบบโทรมาตร สำหรับการเฝ้าระวัง คุณภาพน้ำนั้น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นหน่วยงานหลักในการดำเนินการในแม่น้ำสายหลัก และแหลง่ น้ำนงิ่ ทส่ี ำคญั ๔.๖ การขบั เคลื่อนการดำเนนิ งานตามแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ การจดั ทำแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (แผนระดับ ๑) ในด้านที่ ๕ ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดับ ๒) ภายใต้ประเด็นที่ ๑๙ การบริหารจัดการน้ำ ทั้งระบบ ซึ่งมีเป้าหมายในภาพรวม เพื่อให้เกิดความมั่นคงและเกิดความสมดุลด้านน้ำ ทั้งด้านการจัดหา การใช้และ การอนรุ ักษ์ รวมถึงการดแู ลพิบัติภยั ทั้งระบบ โดยกำหนดแนวทางการพฒั นาตามแผนย่อย ๓ แผน คอื ๑. พฒั นาการจัดการนำ้ เชิงลุม่ น้ำทง้ั ระบบเพื่อเพิม่ ความมัน่ คงด้านนำ้ ของประเทศ ๒. เพิ่มผลิตภาพของนำ้ ทั้งระบบ ในการใชน้ ำ้ อย่างประหยดั รคู้ ุณค่าการใช้นำ้ ซำ้ การนำน้ำกลบั มาใช้ใหม่ เพิ่มประสิทธภิ าพการส่งและการใช้น้ำทุกภาคส่วน พร้อมทั้งเพิ่มการเกบ็ กักน้ำในพื้นที่และสร้างมูลค่าเพ่ิมจากการใช้นำ้ ให้ทัดเทียมกับระดบั สากล เพ่อื เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การนำ้ และพัฒนาเศรษฐกจิ ๓. อนุรักษ์และฟื้นฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติทั่วประเทศ เพื่อฟื้นฟูแม่น้ำลำคลอง บนพืน้ ฐานของการรกั ษาสมดลุ นิเวศ รวมถึงได้มีการกำหนด แผนงานโครงการสำคัญที่สอดคล้องกับประเด็นเร่งด่วน ๑๕ ประเด็น (Quick Win) ประเด็นที่ ๔ บริหารจัดการน้ำและมลพิษ โดยในแผนงานจัดระบบการจัดการน้ำในภาวะวิกฤติ ประกอบด้วย ๒ โครงการ คือ ๑. โครงการบรรเทาภัยพบิ ัตทิ างนำ้ แบบบูรณาการ ๒. โครงการพัฒนาระบบนำ้ ชุมชนเพ่ือเกษตรยังชีพนอกเขตชลประทานสภู้ ัยแลง้ โดยแผนแมบ่ ทการบริหารจดั การทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ไดก้ ำหนดไว้ ๖ ดา้ น ท้งั น้ี การจัดทำ แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ได้ปรับปรุงเป้าหมาย และแนวทางการขับเคลื่อนให้สอดคล้องกับ

๒. เพ่มิ ผลติ ภาพของน้ำท้ังระบบ ในการใชน้ ้ำอย่างประหยัด รูค้ ุณค่าการใชน้ ำ้ ซำ้ การนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ เพิ่มประสิทธภิ าพการส่งและการใช้น้ำทุกภาคสว่ น พร้อมทั้งเพิ่มการเก็บกักน้ำในพื้นที่และสร้างมูลคา่ เพ่ิมจากการใช้น้ำ ให้ทดั เทยี มกบั ระดับสากล เพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การน้ำและพฒั นาเศรษฐกิจ 65 ๓. อนุรักษ์และฟื้นฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติทั่วประเทศ เพื่อฟื้นฟูแม่น้ำลำคลอง บนพื้นฐานของการรกั ษาสมดลุ นเิ วศ รวมถึงได้มีการกำหนด แผนงานโครงการสำคัญที่สอดคล้องกับประเด็นเร่งด่วน ๑๕ ประเด็น (Quick Win) ประเด็นที่ ๔ บริหารจัดการน้ำและมลพิษ โดยในแผนงานจัดระบบการจัดการน้ำในภาวะวิกฤติ ประกอบด้วย ๒ โครงการ คือ ๑. โครงการบรรเทาภยั พิบตั ทิ างน้ำแบบบรู ณาการ ๒. โครงการพัฒนาระบบน้ำชมุ ชนเพอื่ เกษตรยังชีพนอกเขตชลประทานสู้ภยั แล้ง โดยแผนแมบ่ ทการบริหารจดั การทรัพยากรนำ้ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ได้กำหนดไว้ ๖ ด้าน ท้งั นี้ การจัดท๖ำ๕ แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ได้ปรับปรุงเป้าหมาย และแนวทางการขับเคลื่อนให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี และแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ โดยได้เพิม่ เปา้ หมายในการควบคุมปริมาณการไหล ของน้ำเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม (แผนแม่บทด้านที่ ๔) การยกระดับการจัดการน้ำให้มีความเชื่อมโยงกับการผลิต (แผนแม่บทด้านที่ ๒) ภายใต้แผนแม่บทประเด็นที่ ๑๙ การบริหารจัดการน้ำทั้งระบบพร้อมทั้งยังมีเป้าหมาย บางประเด็นที่ไม่ได้ดำเนินการในแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำโดยตรง แต่ ได้ดำเนินการตาม แผนแมบ่ ทภายใตแ้ ผนยุทธศาสตร์ชาตใิ นประเด็นอนื่ ๆ ประกอบดว้ ย ๑. จัดทำแผนและดำเนินการป้องกัน ฟื้นฟู รักษา ร่วมกับแผนรักษาเขตต้นน้ำ ถูกขับเคลื่อน ให้ดำเนินการตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ ๑๘ การสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน โดยหยุดย้ัง การบุกรุกทำลายพื้นที่ป่า ให้มีการบริหารจัดการเชิงพื้นที่และมีการบูรณาการทุกหน่วยงานในการตรวจติดตาม เฝ้าระวงั และปอ้ งกนั การบุกรกุ ป่า รวมถงึ บรหิ ารจัดการการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ ในพืน้ ท่ปี า่ บนพน้ื ฐานให้คนและชุมชน สามารถอย่รู ่วมกับป่าได้ ๒. การจัดการน้ำเสียภาคการเกษตร ดำเนินตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ ๑๘ การสร้างการเตบิ โตอย่างย่ังยนื โดยจดั การมลพษิ ที่มีผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม และสารเคมีในภาคเกษตรทั้งระบบ ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานสากล ๓. การยกระดับผลิตภาพด้านน้ำ ต้องดำเนินการร่วมกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ๓ ประเดน็ ดงั นี้ ๓.๑ ประเด็นที่ ๓ ประเด็นการพัฒนาการเกษตรโดยส่งเสริมการผลิตและแปรรปู สินคา้ เกษตรสรา้ งมลู ค่า ๓.๒ ประเดน็ ที่ ๔ อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต โดยการเพ่ิมประสิทธภิ าพ ผลิตภาพ การผลิตและขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ด้วยเทคโนโลยีดิจทิ ัล ๓.๓ ประเด็นที่ ๑๖ การพัฒนาความเสมอภาคและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โดยการเพิ่ม ขีดความสามารถการผลิต และเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร การพัฒนาระบบตลาดสำหรับสินค้าเกษตร เพ่อื ลดชอ่ งว่างของรายได้ระหว่างประชาชนและเพิ่มรายได้ของครวั เรอื นในภาคเกษตรอย่างย่ังยนื

66 ๖๖ บทท่ี ๕ แนวทางการขบั เคลื่อนแผนแมบ่ ท ขอ้ เสนอแนะ ๕.๑ การถ่ายทอดแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำระดับชาติลงส่แู ผนแม่บท/แผนปฏิบัตกิ ารระดับลุ่มนำ้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยมาตรา ๖๕ กำหนดให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมาย การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและ บูรณาการกัน โดยกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี พ.ศ ๒๕๖๑-๒๕๘๐ ไว้ทั้งหมด ๖ ด้าน ซึ่งด้านที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ คือ ด้านที่ ๕ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กบั สิง่ แวดลอ้ ม ประกอบดว้ ยแนวทางการพัฒนา ๖ ดา้ น มีด้านท่ีเกีย่ วขอ้ ง ได้แก่ ๑) การสรา้ งการเติบโตอย่างยงั่ ยนื บนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว ๑.๑ อนุรักษแ์ ละฟน้ื ฟแู มน่ ำ้ ลำคลองให้คลอบคลุมแม่นำ้ ลำคลองทั่วประเทศ ๒) พฒั นาความมนั่ คงทางนำ้ พลงั งาน และเกษตรทีเ่ ปน็ มิตรตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม ท่ีเก่ยี วข้อง คอื ๒.๑ มีการพฒั นา จดั การน้ำเชิงลุม่ น้ำทงั้ ระบบ เพ่ือเพม่ิ ความม่ันคงดา้ นนำ้ ของประเทศ ๒.๒ เพิ่มผลิตภาพของน้ำทั้งระบบในการใช้น้ำอย่างประหยัด รู้คุณค่า และสร้างมูลค่าเพ่ิม จากการใช้น้ำให้ทัดเทียมระดับสากล ภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ไดก้ ำหนดแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติไว้ทั้งหมดจำนวน ๒๓ ประเด็นแผนแม่บท ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ คือ ด้านที่ ๑๙ ประเด็นการบริหารจัดการน้ำ ท้งั ระบบ พ.ศ ๒๕๖๑-๒๕๘๐ โดยกำหนดแนวทางการพฒั นาไว้ ๓ แผนยอ่ ย คือ ๑) แผนย่อย พฒั นาการจดั การน้ำเชิงลมุ่ น้ำท้งั ระบบเพื่อเพ่ิมความมัน่ คงด้านน้ำของประเทศ ๒) แผนย่อย เพิ่มผลิตภาพของน้ำทั้งระบบ ในการใช้น้ำอย่างประหยัด รู้คุณค่า และสรา้ งมูลค่าเพม่ิ จากการใชน้ ำ้ ให้ทดั เทยี มกบั ระดบั สากล ๓) แผนยอ่ ย อนรุ ักษ์และฟน้ื ฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งนำ้ ธรรมชาติทวั่ ประเทศ แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑–๒๕๘๐) ได้จัดทำให้สอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑–๒๕๘๐ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ โดยสำหรับการขับเคลื่อน แผนแม่บทการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนำ้ ๒๐ ปี สู่การปฏิบตั ิ (ตามรูปท่ี ๕-๑) สรปุ ไดด้ งั น้ี ๑. คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) โดยอนุกรรมการยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ ซ่ึงสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) เป็นเลขานุการนั้น จัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑–๒๕๘๐) (๑) (มาตราที่ ๑๗ ข้อ (๑) พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑) ให้มีความสอดคล้องและสนับสนุนเป้าหมายแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ โดยแผน แม่บทดังกลา่ ว ประกอบด้วย ๒๘ กลยทุ ธ์ ๕๔ แผนงาน

๖6๗7 รูปท่ี ๕-๑ ผงั แสดงการขบั เคล่อื นแผนแมบ่ ทการบริหารจัดการทรพั ยากรนำ้ ๒๐ ปี รขับเคล่อื นแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรนา้ ๒๐ ปี ๗. คณะรัฐมนตรี ครม. เสนอ ครม. เห็นชอบ (แผนแม่บทน้ำ ๒๐ ปี และ แผนบูรณาการงบประมาณประจำปี) ๖. คณะกรรมการ เสนอ กนช. ๑. แผนแมบ่ ทน้ำ ๒๐ ปี กนช. โดยอนุกรรมการ ทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ กนช. เหน็ ชอบ - ๒๘ กลยุทธ์ ๕๔ แผนงาน จดั ทำ ยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ าร - แผนแมบ่ ทนำ้ ๒๐ ปี - สนบั สนนุ เป้าหมาย/แผนแมบ่ ท ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ จัดการทรพั ยากรนำ้ - แผนแม่บทลมุ่ นำ้ (สทนช. เลขาฯ) - แผนบูรณาการงบประมาณ ประจำปี ถา่ ยทอดกลยทุ ธ์/แผนงานลงสู่ แผนปฏบิ ตั แิ ละแผนแมบ่ ทรายพ้นื ที่ ๘. กระทรวงเจา้ สงั กัด เสนอ กนช. ๒. แผนปฏิบตั ติ ามภารกิจ (Functions) จัดทำ สทนช. และหนว่ ยงาน เหน็ ชอบ - แผนปฏบิ ตั ิการตามภารกจิ แผนแมบ่ ท - แผนแม่บทรายพน้ื ท่ีวกิ ฤต/โครงการสำคญั ตามภารกิจแผนแมบ่ ทฯ ๙. สำนักงบประมาณ สทนช.วิเคราะห/์ กำหนดประเด็น และเป้าหมายเบ้อื งต้น ๕. คณะกรรมการลุม่ น้ำ ๓. แผนแมบ่ ทลมุ่ นำ้ คณะกรรมการลมุ่ นำ้ - แผนแม่บทลุ่มน้ำ - แผนปฏิบัติการตามภารกจิ ของหนว่ ยงาน จดั ทำ โดยเลขานกุ าร (สะท้อนเป้าหมายแผนแมบ่ ทรายลุม่ นำ้ ) - แผนบูรณาการงบประมาณ - แผนปฏบิ ตั กิ ารระดบั พื้นที่ คณะกรรมการลมุ่ นำ้ / (สะท้อนเป้าหมายความตอ้ งการของพืน้ ท่ี หนว่ ยงาน/จงั หวดั / ประจำปี กลมุ่ จังหวัด จังหวดั อปท. ทอ้ งถิ่น) อปท./ผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี คณะกรรมการลมุ่ น้ำ วเิ คราะห/์ จัดลำดับความสำคัญ เห็นชอบ แผนแมบ่ ทลุ่มน้ำ วเิ คราะห์ความเชื่อมโยงกับแผนกล่มุ จังหวดั / ๒.เสสนำอนคักณงะากนรรทมกราัพรยลุ่มานก้ำรนำ้ แห่งชาติ (สทนช.) และหน่วยงานถ่าจงัยหทวอดั /ดทเ้อปงถ้าน่ิหมแลาะยสแถลานะกกาลรณยข์ุทอธง์แพน้ืผทนี่ แม่บท การบริหารจัดการทรัพยากรเหนน็ ้ำชอ๒บ๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ไปสู่การจัดทำแผนแม่บทลุ่มน้ำ โดยพิจารณาแผนปฏิบัติ (กPาroรตjeาcมtภbาaรseกdิจ)ข(อ๒ง)หจนำแ่วนยกงารนายภลามุ่ยนใต้ำ้แเพผน่ือใแชม้เป่บ็นทขฯ๔อ้ ๒.มแ๐ลูผในหปปก้ี แฏับลิบคะตั ณแกิ ะผากรนรปแรรมมะ่กบจาทำรปรลีาุ่มยนพ้ำื้นใชท้พ่ีวิจิกาฤรตณิจา(ดัAใทนreำกaารbจaดั sทeำdแ)คผ/ณนโคแะเมรกลงรบ่ ขกรทามานลรกุกุม่สาารนำรลคำ้ มุ่ ญั นำ้ ๓. คณะกรรมการลุม่ น้ำ (โดยเลขานกุ ารลมุ่ น้ำ/หนว่ ยงาน/จังหวัด/ผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสีย) ทำหน้าที่วเิ คราะห์

68 ๖๘ 2. สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) และหน่วยงานถา่ ยทอดเป้าหมายและกลยุทธ์แผนแม่บท การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ไปสู่การจัดทำแผนแม่บทลุ่มน้ำ โดยพิจารณาแผนปฏิบัติ การตามภารกจิ ของหน่วยงานภายใตแ้ ผนแม่บทฯ 20 ปี และแผนแม่บทรายพืน้ ท่ีวิกฤติ (Area based) /โครงการสำคัญ (Project based) (2) จำแนกรายลุม่ นำ้ เพอ่ื ใชเ้ ป็นข้อมลู ให้กบั คณะกรรมการลุ่มน้ำใช้พิจารณาในการจดั ทำแผนแมบ่ ทลุ่มน้ำ 3. คณะกรรมการลุ่มน้ำ (โดยเลขานุการลุ่มน้ำ/หน่วยงาน/จังหวัด/ผู้มีส่วนไดเ้ สีย) ทำหน้าที่วิเคราะห์ ขอ้ มูลแผนปฏิบตั ิการตามภารกิจ (แผนปฏบิ ตั ิการตามภารกิจของหน่วยงานภายใต้แผนแม่บทฯ ๒๐ ปี และแผนแม่บท รายพื้นที่วิกฤติ (Area based) /โครงการสำคัญ (Project based)) เชื่อมโยงกับความต้องการในการพัฒนาของพื้นที่จาก แผนปฏิบัติการของพื้นท่ี (แผนปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด จังหวัด อปท. ท้องถิ่น) สถานการณ์ของพื้นที่ลุ่มน้ำ แผนหลัก การพัฒนาโครงการในลมุ่ น้ำ และผลการวิเคราะห์ทางเลอื กการบรหิ ารจัดการน้ำของลุ่มนำ้ (การประเมนิ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เชงิ กลยทุ ธ์ : Strategic Environmental Assessment (SEA)) เพ่ือวเิ คราะห์และจัดทำแผนแม่บทลุม่ นำ้ (๓) ๔. เลขานุการคณะกรรมการลุ่มน้ำทำหน้าที่ในการวิเคราะห์และจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี (๔) ตามกรอบแผนงาน/โครงการท่ีจะระบุไว้ในแผนแม่บทลุ่มนำ้ โดยเม่ือคณะกรรมการลุ่มน้ำพิจารณาให้ความเห็นชอบ (๕) ต่อแผนแม่บทลุ่มน้ำและแผนบูรณาการงบประมาณประจำปีเรียบร้อยแล้ว จะได้เสนอให้คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (๖) ให้ความเห็นชอบต่อแผนแม่บทลุ่มน้ำและแผนบูรณาการงบประมาณประจำปีต่อไป โดยในส่วนแผนบูรณาการงบประมาณ ประจำปนี ้นั คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติจะตอ้ งเสนอคณะรฐั มนตรีพจิ ารณา (๗) ให้ความเห็นชอบ (มาตราท่ี ๑๗ ข้อ (๒) พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑) และเมื่อแผนดังกล่าวผ่านความเห็นชอบแล้ว (แผนแม่บทลุ่มน้ำ โดยคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ และแผนบูรณาการงบประมาณประจำปี โดยคณะรัฐมนตรี) การดำเนินการ ตามแผนแม่บทลุม่ น้ำสู่การปฏิบัติ กระทรวงเจ้าสังกัด (๘) จะได้ขอจัดสรรงบประมาณต่อสำนักงบประมาณ (๙) ในการ ขบั เคลอ่ื นแผนงาน/โครงการตามแผนแม่บทลมุ่ น้ำและแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีต่อไป ทั้งนี้ จะมีการปรับปรุงการจัดทำงบประมาณรายปี และปรับปรุงแผนแม่บทการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำทุก ๕ ปี พร้อมทั้งจะต้องพัฒนาระบบการติดตามประเมินผลในทกุ ระดับ ตง้ั แตก่ ารประเมนิ ผลในระดับ โครงการ ระดบั ลุม่ นำ้ ระดบั แผนแมบ่ ทและระดบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ เพ่อื ปรับปรงุ แผนแม่บทการบริหารจดั การทรัพยากรน้ำ ทุก ๕ ปี ใหม้ คี วามสอดคล้องกบั บริบทและแนวทางการพัฒนาทเ่ี ปลี่ยนแปลง 5.2 แนวทางการจัดลำดบั ความสำคญั การจัดลำดับความสำคัญของแผนงาน/โครงการ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรน้ำเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องสภาพปัญหา เหมาะสมกับงบประมาณ พร้อมทั้งตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยการดำเนินการให้ความสำคัญต่อการบริหารจัดการน้ำในชุมชน ชนบท และการบริหารจัดการน้ำเชิงพื้นที่ (Area based) 66 พื้นท่ี รวมถึงความสอดคลอ้ งเละเชื่อมโยงกับแผนการพฒั นาในระดับตา่ ง ๆ ในการแก้ไขปัญหา ความยากจน ปัญหาด้านน้ำเฉพาะหน้า (น้ำท่วม/น้ำแล้ง) และการพัฒนาเมือง/เขตเศรษฐกิจ สรุปแนวทาง การจดั ลำดบั ความสำคัญของแผนงาน/โครงการ ดังนี้

๖6๙9 1) ความเชื่อมโยงและความสอดคล้องกับแผนในระดับต่าง ๆ แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี จะถูกถ่ายทอดไปสู่การจัดทำแผนแม่บทลุ่มน้ำ ซึ่งตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561 มาตราที่ 35 ได้กำหนดให้คณะกรรมการลุ่มน้ำมีหน้าที่และ อำนาจเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในเขตลุ่มน้ำ เกี่ยวกับการ (1) จัดทำแผนแม่บทการใช้ การพัฒนา การบรหิ ารจัดการ การบำรงุ รกั ษา การฟืน้ ฟแู ละการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำในเขตลุ่มน้ำ รวมถงึ (7) เสนอความเห็น ต่อคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) เกี่ยวกับแผนงานและโครงการในการดำเนินการใด ๆ เกี่ยวกับ ทรพั ยากรน้ำในเขตลุ่มน้ำ โดยในการจดั ทำแผนแม่บทลุ่มน้ำ จะพิจารณานโยบายและแผนงานท่ีเก่ียวข้อง ดงั น้ี (1.1) นโยบายระดบั ประเทศ (1) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (2) แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ (19) ประเด็นการบริหารจัดการนำ้ ท้ังระบบ (3) แผนปฏิรปู ประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม เร่อื ง ทรัพยากรน้ำ (4) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พัฒนาภาค) (5) แผนแม่บทการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนำ้ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) (6) แผนพัฒนาภาคและแผนพัฒนาเฉพาะเร่ือง (7) นโยบายรฐั บาล (1.2) การแก้ไขปญั หาและการพัฒนาตามภารกิจ (1) แผนการแก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแลง้ เชิงพื้นท่ีอยา่ งเป็นระบบ (Area Based) (2) แผนปฏบิ ตั กิ ารของหน่วยงาน (Function) (1.3) ความต้องการของพืน้ ที่ (1) แผนพฒั นาจังหวดั /กลุ่มจังหวัด (Area) (2) แผนปฏบิ ตั กิ ารของท้องถ่ิน/อปท. (Area) 2) ให้ความสำคัญกับแผนงาน/โครงการ ในระดับผลสัมฤทธิ์ถงึ ระดับผลกระทบ (2.1) ตอบสนองต่อเปา้ หมายหรือนโยบายในระดบั ประเทศ เชน่ - การม/ี ใช้ทรพั ยากรน้ำเป็นทรัพยากรในการผลกั ดนั เพ่ือให้บรรลผุ ลและเกดิ ผลสมั ฤทธ์ิ ตามเป้าหมาย เชน่ การพฒั นาด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม เมืองหลกั และเขตเศรษฐกิจพิเศษ หรือ - การกระจายความเท่าเทยี มในการเข้าถึงทรัพยากรน้ำ เชน่ การจดั หานำ้ อปุ โภคบรโิ ภค ชนบท - ด้านสิง่ แวดล้อม เช่น การกำหนดปริมาณนำ้ เพ่ือรักษาระบบนิเวศและสง่ิ แวดล้อม (2.2) ตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาและการแก้ไขปัญหาเชิงพื้นท่ี ตามภารกิจของ หนว่ ยงาน เชน่ - แผนงาน/โครงการที่ตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาและการแก้ไขปัญหาท่ีจะต้อง สามารถวดั ผลการดำเนินงานได้อย่างนอ้ ยในระดับผลสัมฤทธ์ไิ ปจนถึงผลกระทบ - แผนงาน/โครงการที่ตอบสนองต่อความต้องการในการพัฒนาระดับพื้นที่ ที่เป็นความ ตอ้ งการผลผลติ ทีเ่ กิดขึน้ จะตอ้ งตอบสนองในเชงิ ความพึงพอใจหรือสามารถตอบผลสมั ฤทธิ์ทางอ้อม (2.3) ตอบสนองต่อความตอ้ งการของพื้นท่ี เชน่ - การพัฒนาด้านทรัพยากรนำ้ ที่กระทบกับความจำเปน็ พืน้ ฐาน การดำรงชีวิต การประกอบอาชีพ - อาจรวมไปถึงความเป็นระเบียบของระบบนิเวศ การพัฒนาเมือง ชนบท และ สิ่งแวดล้อมทท่ี ำให้เกดิ การเป็นเมืองหรอื ชุมชนนา่ อยู่

70 ๗๐ ๕.3 การจัดสรรงบประมาณแบบบรู ณาการ เพื่อให้เกิดการบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการตามแผนแม่บทการบริหาร จดั การทรัพยากรนำ้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ บรรลตุ ามวัตถุประสงค์ และเปา้ หมายที่กำหนด จำเปน็ ตอ้ งมีการจัดสรร งบประมาณแบบบูรณาการตามกรอบนโยบาย ดังน้ี ๑) คณะกรรมการทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) จดั ทำกรอบนโยบายการจัดทำแผนงาน งบประมาณ การบริหารจัดการทรพั ยากรน้ำแบบบูรณาการ โดยกำหนดเปา้ หมาย ลำดับความสำคัญของกิจกรรม แผนงาน โครงการ และพืน้ ท่เี ป้าหมาย รวมทงั้ การรบั ฟังความคดิ เห็นของประชาชน และกรรมการลุ่มน้ำ เพ่ือเป็น กรอบแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติการระดับจังหวัด ระดับลุ่มน้ำ และของหน่วยงาน โดยมีหลักเกณฑ์ การจัดทำแผนปฏบิ ตั กิ าร สอดคลอ้ งกับแผนแม่บทการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนำ้ ๒๐ ปี ดังนี้ แผนงานตามภารกจิ พืน้ ฐาน แผนงานตามภารกิจยทุ ธศาสตร์ แผนงานตามภารกิจพืน้ ที่ (FUNCTION) นโยบายเรง่ ดว่ น แนวทางปฏิรปู ท้องถิน่ ภูมภิ าค จังหวัด ภาครฐั งบประมาณบูรณาการ ลักษณะงาน กลุ่มจังหวดั ๑) กจิ กรรมภารกจิ พ้ืนฐาน/ (AGENDA) (AREA) ภารกิจหลกั /ภารกิจประจำ ลักษณะงาน ลกั ษณะงาน ของแต่ละหนว่ ยงาน ๑) มีเปา้ หมายหลกั ในการขับเคล่อื น ๑) โครงการดา้ นน้ำขนาดเลก็ ท่ี ๒) กจิ กรรมที่ดำเนนิ การ แผนแม่บทการบริหารจดั การ ดำเนินการแกไ้ ขปญั หาเฉพาะจุด แล้วเสรจ็ ภายใน ๑ ปี ทรัพยากรน้ำ แก้ไขปญั หาพืน้ ทร่ี ะดับตำบล/ ๓) ไมม่ ผี ลเกยี่ วเนื่องถึง ๒) แผนงาน/โครงการสำคัญ หมู่บา้ น หนว่ ยงานอ่นื ๆ ภายใตก้ ารกำหนดพื้นที่เป้าหมาย ๒) ดำเนนิ การแลว้ เสร็จ ๔) ดำเนนิ การในจดุ ดำเนินการ เชิงยทุ ธศาสตร์ (AREA BASED) ภายใน ๑ ปี ท่ีไม่ส่งผลต่อพนื้ ทด่ี ำเนนิ การอืน่ ๓) บูรณาการการดำเนินงานร่วมกนั ๓) แก้ไขปญั หาตามความต้องการ โดยสง่ ผลเป้าหมายร่วมกนั มากกวา่ ในการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะที่ ๑ หน่วยงาน ๔) ไม่มีความยุ่งยากซบั ซ้อน ๔) ผลงานจากการดำเนินงานของ เชิงวชิ าการ โครงการเพ่ือแก้ปญั หาทรัพยากรน้ำ ๕) อยใู่ นภารกจิ การถ่ายโอน เชงิ พืน้ ท่อี ย่างเปน็ ระบบ ให้แก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ๕) เป็นงานทต่ี ้องใชเ้ ทคนคิ ท่ีมี ตามข้อพจิ ารณาร่วมกนั ระหว่าง ความซับซ้อน หนว่ ยงานทมี่ ี หน่วยงานดำเนินงานและ ความชำนาญเฉพาะใหก้ ารสนับสนุน คณะกรรมการกระจายอำนาจ* ตารางท่ี ๕-๑ หลกั เกณฑก์ ารจดั ทำแผนปฏิบตั กิ าร สอดคล้องกับแผนแม่บทการบริหารจดั การทรพั ยากรนำ้ ๒๐ ปี ๒) สำนักงบประมาณ หารือกับสำนกั งานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) และหนว่ ยงาน ที่เกี่ยวข้อง บูรณาการสาระสำคัญ ของแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและการจัดสรรงบประมาณ ทสี่ อดคล้องกนั รวมทงั้ แนวทางจดั ทำแผนงานโครงการ เพ่อื เปน็ ข้อมลู ประกอบการอนุมตั ิงบประมาณ ๓) สำนักงบประมาณและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันกำหนดแนวทาง สนับสนุน แผนพัฒนาจังหวัด กลุ่มจังหวัดและท้องถิ่น ตามแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ รวมทั้งการจัดสรรงบประมาณ รายกระทรวงและมิติพ้ืนที่ โดยมขี ัน้ ตอนในการเสนอแผนงานตามพระราชบญั ญัตทิ รัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ ดงั น้ี

๗7๑1 รูปที่ ๕.๒ ข้ันตอนการเสนอแผนงานตามพระราชบญั ญัตทิ รัพยากรนำ้ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ๕.4 การเตรยี มความพร้อมในการขบั เคลอื่ น ๑) การเตรียมความพร้อมในการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแล้งเชิงพื้นที่อย่างเป็น ระบบ (Area Based) คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติได้มีมติในการประชุม ครั้งที่ ๒/๒๕๖๐ วันที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ในการจัดทำแผนที่เชิงพื้นที่เพื่อป้องกันอุทกภัยและภัยแล้งให้มีประสิทธิภาพ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ และให้ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติเป็นหน่วยงานบูรณาการในการดำเนินงาน ซึ่งการจัดทำแผนแม่บทการบริหาร จดั การทรพั ยากรนำ้ ๒๐ ปี ไดศ้ กึ ษาแผนหลักรายพน้ื ที่วิกฤติ (Area Based ๖๖ พนื้ ท่ี) เพอ่ื กำหนดขนาดแผนงาน และโครงการที่เหมาะสมที่จะดำเนินการในแต่ละพื้นที่ รวมถึงกำหนดโครงการสำคัญ/ขนาดใหญ่ (Flagships) ในระยะ ๕ ปี ดำเนินการให้มีผลเป็นรูปธรรม โดยการขับเคลื่อนโครงการภายใต้แผนหลักรายพื้นที่วิกฤติ (Area Based) มแี นวทางการดำเนนิ งาน ดงั น้ี ๑.๑) โครงการบูรณาการการดำเนินงานหลายหน่วยงาน เตรียมความพร้อมช่วงแรก โดยการจัดทำแผนหลัก (Master Plans) ในพื้นท่ีวิกฤติ (Area based) หรือเพ่ือกำหนดรายละเอียดการดำเนินการโครงการ กรอบระยะเวลาและการติดตามประเมินผล ภายใต้บริบทบูรณาการทั้งเชิงพื้นที่และหน่วยงาน โดยภายหลังจากการจัดทำ แผนหลัก หน่วยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งจะไดด้ ำเนินการเตรียมความพร้อมต่อไป ๑.๒) สำหรับโครงการที่มีหน่วยงานรับผิดชอบเพียงหน่วยงานเดียวนั้น หน่วยงาน สามารถเตรียมความพร้อมโครงการโดยการจัดทำรายละเอียดของแผนงาน การศกึ ษาความเป็นไปได้ของโครงการ การประเมินความเหมาะสม และดำเนินการโครงการตามกรอบเวลาที่กำหนดไว้ในแผนแม่บทการบริหารจัดการ ทรพั ยากรนำ้ ๒๐ ปี

72 ๗๒ ๒) การเตรยี มความพร้อมในการขับเคล่ือนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ รายแผนงาน (Project based) เพื่อให้แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี สามารถขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เป็นรูปธรรม การดำเนินการตามแผนงานขับเคลื่อนโดยมีหน่วยงานหลักทำหน้าที่ในการประสานงานบูรณาการ การทำงานในสว่ นทีเ่ ก่ยี วข้อง โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ ตารางท่ี ๕-๒ ประเด็นการขับเคล่ือน หนว่ ยงานหลัก และหนว่ ยงานสนบั สนนุ แผนแม่บท หนว่ ยงานอำนวยการ หนว่ ยงานปฏบิ ตั ิ ดา้ นท่ี ๑ การจัดการน้ำอุปโภค ขบั เคลอื่ น หลัก สนบั สนุน บรโิ ภค สทนช./มท. สถ./ทบ./กปน./กปภ./ทน./ ทบ./อน./สป.ทส./ทน./ อปท. นทพ./ชป./กปภ./ ด้านท่ี ๒ การสร้างความมน่ั คงนำ้ สทนช./กษ ทุกหน่วยงาน/ ภาคการผลิต ภาคเอกชน สทนช./มท. ด้านที่ ๓ การจัดการนำ้ ท่วม สทนช./ชป./ทน./พด./ทบ./ มท./กษ/สถ./ทน./ และอุทกภัย สทนช./มท./ทส. กรอ./กนอ./อปท./สปก./ ทบ./ กปร./ปภ/สปก./ กสก./กข./ฝล./อปท. สภาอุตสาหกรรม/ ดา้ นท่ี ๔ การจดั การคณุ ภาพนำ้ ทส. ทุกหน่วยงาน และอนรุ ักษ์ทรัพยากรน้ำ สทนช. สทนช./ยผ./กทม./จท/ชป./ จท./ทล./ทช./รฟท./ ด้านที่ ๕ การอนรุ ักษ์ฟ้นื ฟูสภาพ ทน./สถ./ปภ./อปท. สถ./ปภ./ทน./กทม./ ปา่ ตน้ นำ้ ท่ีเสื่อมโทรมและป้องกัน ชป./กองทัพบก/ปค./ การพงั ทลายของดิน ทธ./ยผ./สสน./สทอภ. ดา้ นท่ี ๖ การบริหารจัดการ สทนช./สถ./อจน./กทม./ สผ./กปม./จท./ยผ./ กรอ./กฟผ./สป.ทส./มท./ ปม./ธร./ปศ. ทด. ชป./พม./จท./คพ./ ทน./สมอ./อปท./สส./อปท. อส./ปม./พด. สผ./ภาคเอกชน สทนช./มท./ทส./กษ./อว./ ทส./กษ./สสน./ ดศ./กรมประชาสมั พนั ธ์ ทกุ หน่วยงาน/ ภาคประชาชน หมายเหตุ มท. กระทรวงมหาดไทย/ ทส. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม/กษ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดศ. กระทรวงดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคม/ อว. กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม

๗7๓3 ๓) การศึกษาวิจัยเพ่ือขบั เคลื่อนแผนแม่บท สถาบันการศึกษา รวมกนั หนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้องดำเนนิ การศึกษา และวิจัย เพอื่ พฒั นา นวัตกรรม การบริหารทรัพยากรน้ำ โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนให้เกิดการขับเคลื่อนแผนแม่บท สามารถบรรลุเป้าหมาย ตามทกี่ ำหนดไว้ เช่น การศึกษาเพอื่ ปรับโครงสร้างองค์บรหิ ารจัดการนำ้ พื้นท่ใี ช้น้ำมากในภาคตะวนั ออก เปน็ ตน้ ๕.5 การตดิ ตามประเมินผล แผนแมบ่ ทการบริหารจดั การทรัพยากรนำ้ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ได้ถกู จดั ทำให้สอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (แผนระดับ ๑) ในด้านที่ ๕ ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพที่เป็นมิตร กบั ส่ิงแวดล้อม และแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดับ ๒) ภายใต้ประเด็นท่ี ๑๙ การบริหารจัดการน้ำ ทั้งระบบ ที่ระบุเป้าหมาย ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายไว้ และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ ตามกลยุทธ์/ แผนงานตามแม่บทการบริหารจดั การทรัพยากรนำ้ ๒๐ ปี (แผนระดับ ๓) จงึ ไดก้ ำหนดแนวทางและตัวชี้วัดในการ ติดตามประเมินผลแผนแมบ่ ทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ดังน้ี ๑. การติดตามประเมินผลผลสัมฤทธิ์ (ผลผลิต/ผลลัพธ์) กลยุทธ์และแผนงานภายใต้แผนแม่บท การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) (๒๘ กลยุทธ์ ๕๔ แผนงาน) โดยเปน็ การติดตามประเมนิ ผล การดำเนินงานผ่านตัวชี้วัด ๕๔ แผนงาน ภายใต้กรอบแผนงบประมาณตาม (๑) ภารกิจพื้นฐาน (Function) (๒) ภารกิจ ยุทธศาสตร์ นโยบายเร่งด่วน แนวทางปฏิรูปภาครัฐ งบประมาณบูรณาการ (Agenda) (๓) ภารกิจพื้นที่ ท้องถิ่น ภูมิภาค จังหวัด กลุ่มจังหวัด (Area) (๔) งบกลาง และ (๕) เงินกู้ จึงกำหนดให้มีระบบติดตามประเมินผลที่สะท้อนการบรรลุ เป้าหมายและตัวชี้วัดของแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ในแต่ละด้าน และทุกระดบั ดังนี้ ๑.๑ การติดตามในรูปแบบของการรายงาน ผ่านระบบสารสนเทศ เพื่อทราบผลความก้าวหน้า การดำเนนิ งานเปรยี บเทยี บกับเป้าหมายท่กี ำหนด ๑.๒ การประเมินผลการดำเนินงานและการประเมินดัชนีชี้วัดสากล เพื่อทราบประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ผลกระทบที่เกิดขึ้น ปัญหาอุปสรรค และข้อจำกัดในการดำเนินโครงการ และการขับเคลื่อนแผนแม่บทฯ รวมท้งั ขอ้ เสนอแนะการปรับปรุงแผนแม่บทฯ และกลไกการขับเคลื่อนของหน่วยงาน ๑.๓ การติดตามโดยบุคคล หรือคณะกรรมการ เพื่อให้มีการกำกับดูแลและหน่วยงานขับเคลื่อน แผนแม่บทฯ มจี ุดมุ่งหมายในการดำเนนิ งานไปในทศิ ทางเดียวกัน ทั้งนี้ มีการติดตามประเมินผลทั้งก่อนเริ่มโครงการ ระหว่างดําเนินการ และหลังการดําเนินงาน เป็นการติดตามประเมินผลทั้งระบบ ตั้งแต่ปัจจัยนําเข้า กระบวนการดําเนินการ ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ต่อการบรรลุเป้าหมายตามแผนแม่บทฯ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับประเด็นการพัฒนา ระดับหน่วยงาน และระดับพื้นท่ี พร้อมทั้งเปดิ โอกาสให้ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีสว่ นร่วมในการติดตาม ประเมินผล และจัดให้มกี ารรายงานการติดตาม ประเมนิ ผลในการบรรลุเปา้ หมายต่อสาธารณะ คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ และคณะรฐั มนตรเี ป็นประจํา รวมท้ังการตรวจสอบโดยองคก์ รอิสระตอ้ งเป็นไปเพื่อส่งเสริมการขบั เคลื่อนแผนแม่บทฯ

74 ๗๔ ๒. การติดตามประเมินผลผลสัมฤทธิ์ (ผลผลิต/ผลลัพธ์) ภาพรวม ๖ ด้าน ภายใต้แผนแม่บทการ บริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) เพื่อติดตามผลการดำเนินการของแผนแม่บทการบริหาร จดั การทรัพยากรนำ้ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ใหส้ อดคลอ้ งและเช่ือมโยงกบั เป้าหมายในระดับผลสัมฤทธ์ิ (ผลผลิต และ ผลลัพธ์) ของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ ๑๙ การบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ สรุปรายละเอียด ตัวชีว้ ดั สำหรบั การประเมินผลสมั ฤทธแิ์ ผนแม่บทการบริหารจัดการทรพั ยากรน้ำ ๒๐ ปี ในแตล่ ะดา้ น ตามตารางท่ี ๕-๓ ตารางท่ี ๕-๓ สรปุ ตัวชว้ี ัดผลสัมฤทธ์ภิ าพรวม ๖ ด้านแผนแมบ่ ทการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี แผนแมบ่ ทฯ ผลสัมฤทธิ์ (Outcome) ตวั ชีว้ ัด (Indicators) ดา้ นท่ี ๑ ประชากรเข้าถึงนำ้ สะอาด ๑. สดั สว่ นการเขา้ ถึงนำ้ ประปา การจดั การนำ้ ท้งั ด้านปริมาณและคณุ ภาพ จำนวนครวั เรอื นท่ีเขา้ ถึงนำ้ ประปา/จำนวนครวั เรือนทั้งหมด อุปโภคบรโิ ภค มีความมั่นคงของน้ำ ๒. สัดส่วนการเขา้ ถึงนำ้ ประปาทีไ่ ดม้ าตรฐาน ดา้ นท่ี ๒ ภาคการผลิต (เกษตร จำนวนครัวเรือนทเ่ี ขา้ ถงึ นำ้ ประปาท่ีไดม้ าตรฐาน/จำนวน การสรา้ งความ อุตสาหกรรม และบรกิ าร) ครัวเรือนท้ังหมด มน่ั คงของนำ้ ๓. คุณภาพน้ำประปาจำนวนคนปว่ ยจากโรคทางน้ำ/จำนวน ภาคการผลิต ลดความเสียหาย ประชากรท่ีเขา้ ถงึ น้ำสะอาด จากภัยพิบตั ิดา้ นนำ้ ๑. ความเครยี ดดา้ นน้ำ (Water Stress) ดา้ นที่ ๓ แมน่ ้ำลำคลองและแหล่งน้ำ การจัดการ ธรรมชาติมีคุณภาพได้มาตรฐาน - ภาคการเกษตร (พนื้ ทนี่ อกเขตชลประทาน นำ้ ทว่ มและ ตามประเภทการใช้ประโยชน์ และพ้ืนทีใ่ นเขตชลประทาน) อุทกภยั ท่กี ำหนด - ภาคอตุ สาหกรรม และภาคบรกิ าร ด้านท่ี ๔ : Water Demand/ Water Supply การจดั การ ๒. ผลติ ภาพจากการใชน้ ำ้ คณุ ภาพน้ำ - ภาคการเกษตร (พ้นื ทน่ี อกเขตชลประทาน และอนรุ ักษ์ และพ้นื ทใ่ี นเขตชลประทาน) ทรัพยากรนำ้ - ภาคอุตสาหกรรม และภาคบรกิ าร : GDP/ลกู บาศกเ์ มตร ๓. มลู คา่ ความเสียหายทางเศรษฐกิจจากภยั แลง้ ที่ลดลง ๑. มลู คา่ ความเสยี หายทางเศรษฐกิจที่ลดลง ตอ่ รอบปีการเกดิ ซ้ำ ๒. สัดสว่ นผเู้ สยี ชวี ติ /สูญหาย/ไดร้ ับผลกระทบ จากภัยพบิ ตั ทิ างนำ้ ต่อประชากรรวมตอ่ รอบปีการเกดิ ซำ้ ๑. สัดส่วนน้ำเสยี ท่เี ข้าระบบรวบรวมและบำบัด ต่อปริมาณนำ้ เสียท้ังหมด ๒. ดชั นคี วามสมบรู ณข์ องแม่น้ำ River Health Index (Composite indicator แหลง่ นำ้ นิง่ และแหล่งน้ำไหล) 3. การนำน้ำบำบดั แล้ว กลับมาใชใ้ หม่

๗๕75 แผนแม่บทฯ ผลสัมฤทธ์ิ (Outcome) ตัวช้ีวัด (Indicators) ดา้ นท่ี ๕ ปา่ ตน้ น้ำได้รับการฟ้ืนฟู ทำให้ ๑. ปริมาณและรูปแบบนำ้ ทา่ ทีเ่ ปลี่ยนแปลง การอนรุ กั ษฟ์ ้นื ฟู ปริมาณน้ำเพมิ่ ขึ้น และลดการ ๒. ปริมาณและรูปแบบตะกอนในลำนำ้ ท่เี ปลยี่ นแปลง สภาพปา่ ตน้ น้ำที่ พังทลายของดนิ เสอ่ื มโทรมและ ๑. ดชั นธี รรมาภบิ าลด้านน้ำ ปอ้ งกนั การ ธรรมาภบิ าลในการบริหาร Water Governance Index (Composite indicator) พังทลายของดิน จดั การทรพั ยากรนำ้ ด้านที่ ๖ การบรหิ าร จัดการ ๕.6 ขอ้ สรุปและข้อเสนอแนะ เพื่อให้แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพตาม เป้าหมายที่กำหนด มีขอ้ เสนอแนะดังนี้ ๑) การขับเคลื่อนแผนแม่บทไปสู่การปฏิบัติ ในระดับชาติ คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) และสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) ต้องเป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อน กำกับ และประสาน การดำเนินการ ให้แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ไปสู่การปฏิบัติในทุกรัฐบาล ส่วนในระดับภูมิภาค และพื้นที่ คณะกรรมการลุ่มน้ำ ต้องมีกระบวนการสรรหาที่เหมาะสม มีทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการ เป็นคณะกรรมการ เพื่อสามารถแก้ไขปัญหาในพื้นที่ ร่วมกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ เชอื่ มโยงสอดคล้องกับ แผนแม่บทการบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำระดบั ชาติ และระดับพื้นท่ี ๒) หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ต้องนำแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี แปลงสู่ การปฏบิ ัติ ใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนงานระดับกระทรวง กรม ภมู ิภาค จงั หวัด และทอ้ งถน่ิ ๓) ในการดำเนินการตามแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี ให้เน้นการมีส่วนร่วม ของประชาชน และผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี ในพนื้ ท่ี ๔) ควรศึกษาเตรียมความพร้อมลว่ งหน้าในการผันน้ำจากภายนอก หรือลุ่มน้ำที่ไหลออกต่างประเทศ เนื่องจากเป็นโครงการทมี่ ีมลู ค่าการลงทุนสูงมาก และมีประโยชน์ในการเสริมสร้างความม่ันคงของน้ำต้นทุนในระยะยาว ๕) ในพื้นท่ีเกษตรอาศัยน้ำฝนนอกเขตชลประทาน ควรพฒั นาระบบนำ้ บาดาลเพ่ือการเกษตร ในพ้ืนท่ี ซึ่งมีศักยภาพเหมาะสม ส่วนพื้นที่อื่น ๆ ให้จัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ เพื่อเก็บกักและใช้ประโยชน์จากน้ำฝนในพื้นที่ ให้มากทส่ี ุด มีความม่ันคงสามารถปลูกพชื ได้อยา่ งน้อย ๑ ครงั้ ในฤดูฝน ๖) ควรเลือกชนิดพืชที่เหมาะสมกับพ้ืนที่ ตามนโยบายการจัดการพื้นที่เกษตร (Zoning by Agri-map) ทงั้ ในเขตและนอกเขตชลประทาน เพอ่ื ลดความเสี่ยง และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ๗) ต้องสร้างกลไกเพื่อให้มีการจัดสรรน้ำที่เป็นธรรม ระหว่างกิจกรรม หรือระดับลุ่มน้ำ เพื่อลด ข้อขดั แย้งในกรณีที่เกิดการขาดแคลนนำ้ หรือภาวะแลง้

76 ๗๖ ๘) ควรควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นท่ีต้นนำ้ หรือเขตที่มีความลาดชันสูง เพื่อให้มีความสมดุล ของน้ำท่า ทง้ั ในชว่ งฤดูฝนและฤดูแล้ง ๙) ควรจัดทำระบบฐานข้อมูลส่วนกลาง โดยบูรณาการข้อมูลที่ผ่านกระบวนการวิเคราะห์จาก หน่วยงานราชการเจ้าของข้อมูล และมีการปรับปรุงข้อมูลอย่างต่อเนื่อง สามารถแบ่งปัน และนำข้อมูลมาใช้ได้อย่าง มีประสทิ ธิภาพ ๑๐) สร้างระบบคาดการณ์ภูมิอากาศที่แม่นยำ ทั้งตำแหน่ง ระยะเวลา และการคาดการณ์ระยะยาว รวมทงั้ การติดต้ังระบบเฝ้าระวังสถานการณ์ต่าง ๆ ในพนื้ ท่ีเส่ียงภัย พร้อมท้ังศึกษาผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของ สภาพภูมิอากาศที่มีต่อความมั่นคงด้านน้ำและความสามารถในการบริหารจัดการน้ำในระดับพื้นที่ เพื่อรองรับ ความเสยี่ งท่ีเพ่มิ มากขึ้นจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคต ๑๑) การจัดการด้านคุณภาพน้ำ ควรดำเนินการเชิงรุก โดยส่งเสริมให้ลดปริมาณน้ำเสีย และมีการ บำบดั นำ้ เสยี จากแหล่งกำเนิด เช่น บ้านเรอื น อุตสาหกรรมขนาดเล็ก และพ้นื ท่เี กษตร ๑๒) แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี ต้องมีการทบทวนสถานการณ์และแนวทาง การดำเนินงานทกุ ๕ ปี ตามระยะเวลาและสถานการณท์ ่เี ปลี่ยนแปลงไป

๗7๗7 ภาคผนวก

78 ๗๘ สรปุ พน้ื ทเ่ี ปา้ หมายและแนวทางแก้ไขเชิงบูรณาการ (Area Based Approach) ๑. ความเป็นมา ปัญหาด้านทรัพยากรน้ำโดยเฉพาะอุทกภัยและภัยแล้ง จัดเป็นปัญหาที่ประเทศไทยประสบ มาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีการดำเนินการแก้ไขในทุกรัฐบาล แต่ด้วยสภาพปัจจัยต่าง ๆ ทั้งปัจจัยธรรมชาติ สังคม เศรษฐกิจ รวมไปถึงปัจจัยด้านนโยบาย ทำให้การแก้ไขปัญหามีประสิทธิภาพเพียงระดับหน่ึงเท่านั้น เนื่องจาก งบประมาณที่มีอยู่จำกัด จึงจำเป็นต้องมีการพิจารณาการใช้จ่ายอย่างเหมาะสม และจากสภาวะการณ์ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศขึ้นทั่วโลกในปัจจุบัน ส่งผลทำให้ปัญหาเรื่องอุทกภัยและภัยแล้งได้ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น รวมถงึ ผลกระทบตอ่ ชีวิตและทรัพยส์ นิ ของ จึงเปน็ เรื่องเร่งด่วน ที่จะต้องดำเนนิ การปอ้ งกนั แก้ไข และบรรเทาให้มี ประสิทธภิ าพ เมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ได้มีมติมอบหมายให้ สำนักงาน ทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ (สทนช.) เป็นหน่วยงานหลักในการบรู ณาการร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง จดั ทำแผนแม่บท การแก้ไขปัญหาเชิงพื้นที่อย่างเป็นระบบ (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๕) และสร้างการรับรู้กับทุกหน่วยงานให้แล้วเสร็จ ภายในปี ๒๕๖๑ เพอื่ ใหเ้ กิดการขับเคล่ือนอยา่ งเป็นรูปธรรม สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ได้เล็งเห็นถึงความจำเป็นในการวิเคราะห์แผนหลักการพัฒนาแหลง่ นำ้ เชิงพื้นที่อย่างบูรณาการ จึงได้บรรจุโครงการศึกษาวิเคราะห์พื้นที่สำคัญ ที่มีปัญหาด้านน้ำและแนวทางแก้ไขเชิงบูรณาการ (Area Based) ในแผนการดำเนนิ การของสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติอยา่ งเรง่ ด่วน ๒. ความหมายของ Area Based “พื้นที่ที่ประสบปัญหาน้ำท่วม/ภัยแล้ง ซ้ำซาก หรือปัญหาอื่น ๆ ของทรัพยากรน้ำ จำเป็นต้อง ได้รับการแก้ไขเชิงบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้พื้นที่ที่ประสบปัญหาและความรุนแรงที่เกิดขึ้น ลดน้อยลง รวมถงึ พืน้ ที่เศรษฐกิจพเิ ศษตามนโยบายของรฐั บาลและพืน้ ทีแ่ หล่งท่องเทีย่ วสำคญั ” ๓. เหตุผลความจำเปน็ ในการบริหารจดั การบน Area Based ๓.๑ เพื่อแก้ไขปัญหาเชิงพื้นที่โดยการบูรณาการการทำงานของหน่วยงานเข้าด้วยกัน ลดความซ้ำซ้อน และเพ่มิ ประสิทธิภาพการใชจ้ ่ายงบประมาณ สามารถกำหนดขนาดของการพัฒนาโครงการตา่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสม ๓.๒ เพื่อจัดลำดับความสำคัญของพื้นที่แก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม มีการใช้มาตรการ ด้านส่งิ กอ่ สร้างและไมใ่ ชส้ ิ่งก่อสร้างรว่ มกัน ๓.๓ เพ่อื กำหนดแนวทางและเปา้ หมายการแก้ไขปญั หาทช่ี ดั เจน สามารถติดตามและประเมินผลได้

๗7๙9 ๔. ปจั จยั ทน่ี ำมาพจิ ารณา Area Based ปัจจัยนำมาเพอื่ พิจารณา พ้นื ท่เี สี่ยงอทุ กภยั และภัยแลง้ ๔.๑ ขอ้ มูลดาวเทียม สถติ ิการเกดิ อทุ กภัยยอ้ นหลงั - ลำดบั ตามความถี่การเกิด มาก > นอ้ ยสภาพการใชท้ ่ีดนิ ๔.๒ สภาพการใชท้ ด่ี นิ - ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ชุมชนเมือง > พื้นที่รกร้าง > พื้นที่เกษตร > เกิดอุทกภัย ยอ้ นหลัง ๔.๓ ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั (Gross Provincial Product, GPP) - ลำดบั ตามมูลค่า GPP มาก > นอ้ ย ๔.๔ พ้ืนทนี่ โยบายรฐั บาล ให้ความสำคญั สงู - ใหค้ วามสำคัญพืน้ ท่ีสอดคล้องนโยบาย ๔.๕ ข่าวการเกดิ อทุ กภัย น้ำหลาก บรเิ วณท่ไี มไ่ ดม้ ีบันทกึ ในสถิติ - ข่าวการเกดิ ภัยพิบตั ิในพื้นที่ นอกเหนือจากข้อมลู สถติ ิ ๔.๖ รับฟงั ความคิดเหน็ หน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ งในพน้ื ที่ - ข้อมูลพื้นที่ จากการวิเคราะหข์ า้ งต้น รับฟงั ความคิดเหน็ ๕. ผลการศึกษา ผลการศึกษาได้พื้นที่เป้าหมาย ๖๖ พื้นที่ แบ่งตามภูมิภาคของประเทศประกอบด้วย ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ และภาคใต้ จำนวน ๑๒ ๑๕ ๘ ๑๖ และ ๑๕ พื้นท่ตี ามลำดับ สามารถแบ่งพื้นที่ออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ พื้นที่ประสบปัญหาด้านน้ำ ๓๔.๖๒ ล้านไร่ และพื้นที่สนับสนุน การพัฒนา ๑๑.๒๙ ล้านไร่ รวมมีพ้นื ทเ่ี ปา้ หมาย ๔๕.๙๑ ลา้ นไร่

80 ๘๐ ตารางท่ี ๑ สรปุ ขอ้ มลู Area Based ทั่วประเทศ

๘8๑1 ตารางที่ ๑ สรปุ ข้อมลู Area Based ทว่ั ประเทศ (ตอ่ ) จากข้อมูลขา้ งตน้ สามารถแบง่ เป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ๑) พื้นทป่ี ระสบปญั หาด้านนำ้ รวม ๓๔.๖๒ ล้านไร่ ประกอบดว้ ยพืน้ ทีเ่ สี่ยงภัยน้ำท่วมและภัยแล้ง ๒๕ พื้นที่ รวม ๑๖.๕๑ ล้านไร่ พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม ๑๘ พื้นที่ รวม ๑๑.๒๔ ล้านไร่ พื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง ๘ พื้นท่ี รวม ๖.๘๗ ล้านไร่ พืน้ ทน่ี ้ำเคม็ รุกล้ำ ๒ พนื้ ท่ี รวม ๐.๐๐๑ ลา้ นไร่ ๒) สนับสนุนพื้นที่พัฒนา ๑๑.๒๙ ล้านไร่ ประกอบด้วย สนับสนุนเขตเศรษฐกิจพิเศษ ๑๐ พื้นที่ รวม ๑๐.๕๕ ลา้ นไร่ สนับสนุนการท่องเท่ียว ๓ พืน้ ท่ี รวม ๐.๗๔ ล้านไร่

82 ๘๒ รปู ที่ ๑ แผนที่พ้นื ท่ีประสบปัญหาดา้ นนำ้ และพื้นท่พี ัฒนา