Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนแม่บทฯน้ำ20-ปี-A4-Final

แผนแม่บทฯน้ำ20-ปี-A4-Final

Published by supanut kapang, 2019-10-18 02:16:20

Description: แผนแม่บทฯน้ำ20-ปี-A4-Final

Search

Read the Text Version

หน้า ๑๑ ๑๘ กนั ยายน ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๓๔ ง ราชกิจจานเุ บกษา ประกาศสา้ นักงานทรัพยากรน้าแหง่ ชาติ เร่อื ง แผนแมบ่ ทการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนา้ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ด้วยพระราชบัญญัติทรัพยากรน้า พ.ศ. 2561 มาตรา 17 และ 18 ก้าหนดให้ คณะกรรมการทรัพยากรน้าแห่งชาติ (กนช.) จัดท้านโยบายและแผนแม่บทเก่ียวกับการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้าท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ ส้าหรับใช้เป็น กรอบแนวทางในการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้าของประเทศ และเม่ือ คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปีแล้ว ให้ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ และให้หน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ท่ีเก่ียวข้องกับการใช้ การพัฒนา การบริหารจัดการ การบ้ารุงรักษา การฟื้นฟู และการอนุรักษ์ ทรัพยากรน้าปฏบิ ัติตามนโยบายและแผนแมบ่ ทเก่ยี วกบั การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนา้ ดงั กล่าว บัดนี คณะกรรมการทรัพยากรน้าแห่งชาติ โดยคณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์การบริหาร จัดการน้า ได้จัดท้าแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันท่ี 18 มิถุนายน 2562 เห็นชอบแผนแม่บทการบริหารจัดการ ทรัพยากรนา้ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ตามแนบท้ายประกาศนแี ล้ว จึงประกาศใหใ้ ช้บังคับต่อไป ประกาศ ณ วนั ท่ี 28 สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖2 สมเกยี รติ ประจา้ วงษ์ เลขาธกิ ารสา้ นกั งานทรพั ยากรน้าแหง่ ชาติ

ก  คำนำ แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ฉบับนี้ ดำเนินการจัดทำโดยคณะอนุกรรมการ ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ มีกรอบการดำเนินงาน 20 ปี (พ.ศ. 2561–2580) และจัดทำ ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) (แผนระดับ 1) และแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดับ 2) ภายใต้ประเดน็ ที่ 19 การบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นกรอบ และแนวทางในการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศ โดยยึดหลัก แนวทางตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และหลักการสร้างสมดุลระหว่างการ อนุรักษ์ ฟ้นื ฟู และการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรน้ำอยา่ งย่ังยนื ในการจัดทำ แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ในครั้งน้ี ได้ทบทวนปรับปรุงยทุ ธศาสตร์การบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำ 12 ปี ความเห็นจากผ้ทู รงคุณวุฒิ ตลอดจนการบูรณาการ หนว่ ยงานดา้ นนำ้ ทเ่ี กี่ยวข้อง และจดั เวทีรบั ฟังความคดิ เหน็ จากประชาชน นำมาวเิ คราะหเ์ พือ่ กำหนดเป็นกลยุทธ์และ แผนงานภายใต้แผนแม่บทฯ สำหรับการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับศักยภาพของลุ่มน้ำ สภาพปัญหาและ ความต้องการของประชาชน โดยได้กำหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาตามแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ไว้ ดังนี้ “ทุกหมู่บ้านมีน้ำสะอาดอุปโภค บริโภค น้ำเพื่อการผลิตมั่นคง ความเสียหายจาก อุทกภัยลดลง คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน บริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน ภายใต้การพัฒนาอย่างสมดุล โดยการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคส่วน” คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องในการขับเคลื่อนแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) รวมถึงการบูรณาการทำงานร่วมกันของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง จะช่วยสนับสนุนการ แกไ้ ขปัญหาดา้ นน้ำของประเทศ เพิม่ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการ ส่งเสรมิ ธรรมาภิบาล และทำให้เกิดประโยชน์ สขุ ตอ่ ประชาชน

ข บทสรปุ ผบู้ ริหาร แผนแมบ่ ทการบริหารจัดการทรพั ยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑–๒๕๘๐) ๑.๑ ความเปน็ มา “น้ำ” เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของโลก รวมถึงเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญในระบบเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม จากการแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติด้านน้ำบ่อยครั้งและรุนแรงมากขึ้น พร้อมท้ัง การเพิม่ ข้นึ ของชุมชนเมือง การขยายตัวของเศรษฐกจิ และอตุ สาหกรรม สง่ ผลใหเ้ กดิ ภาวะการขาดแคลนน้ำ ภาวะน้ำท่วม มลพษิ ทางน้ำ ดงั นน้ั เพื่อใหก้ ารบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) จึงแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เพื่อปรับปรุงยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ ๑๒ ปี เป็นแผนแม่บท การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ให้มีความเหมาะสมสอดคล้องและตอบสนองเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) (แผนระดับ ๑) และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดับ ๒) ภายใตป้ ระเดน็ ที่ ๑๙ การบรหิ ารจดั การน้ำทงั้ ระบบ ๑.๒ วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อเป็นกรอบและแนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาทรัพยากรน้ำของประเทศ ที่มีผลกระทบ รุนแรงต่อประชาชน สนับสนุนด้านเศรษฐกิจและสังคม ที่ต้องเร่งดำเนินการอย่างต่อเนื่อง (ปี ๒๕๖๑-๒๕๘๐) สอดคลอ้ งกับแนวทางการพฒั นาและเปา้ หมายตามยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) โดยระยะเวลา ๕ ปีแรก (ปี ๒๕๖๑-๒๕๖๕) ตอ้ งแก้ไขปัญหาทีส่ ำคัญไดอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรม ๒) เพื่อพัฒนาการจัดการน้ำเชิงลุ่มน้ำทั้งระบบ เพิ่มความมั่นคงด้านน้ำของประเทศ โดยจัดให้มี น้ำสะอาดใช้ทุกครวั เรือนในชุมชนของชนบทและการเจริญเตบิ โตของเขตเมือง การป้องกัน ฟื้นฟู รักษาเขตต้นน้ำ สภาพสงิ่ แวดลอ้ ม ลำนำ้ และแหล่งนำ้ ธรรมชาติ ๓) เพื่อเพิ่มผลิตภาพของน้ำทั้งระบบ โดยการจัดหาน้ำและใช้น้ำอย่างประหยัด รู้คุณค่า และ สร้างมูลค่าเพิ่มจากการใช้น้ำให้ทัดเทียมระดับสากล รองรับการเติบโตของเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต ทั้งภาค เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม บริการและพลงั งาน ๔) เพื่อจดั ระบบการจดั การภัยพิบัตจิ ากน้ำให้สามารถลดความสูญเสยี ลดความเสีย่ งจากภัยพิบัติ ที่เกิดจากน้ำตามหลักวิชาการ มีประสิทธิภาพ และแบ่งตามลักษณะของแต่ละลุ่มน้ำ พื้นที่ ให้อยู่ในขอบเขต ที่ควบคุมและใหส้ ามารถฟื้นตวั ไดใ้ นเวลาอนั ส้นั ๕) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ มีการจัดหาและใช้น้ำที่สมดุล ทันสมัย ทันการณ์ และสร้างความเป็นธรรม ใช้มาตรการทั้งทางโครงสร้าง กฎระเบียบ องค์กรการจัดการ การจัดการข้อมูล การเตือนภัย การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ให้สามารถขับเคลื่อนงานภายใต้แผนแม่บทด้านน้ำและงานตามพระราชบัญญัติ ทรัพยากรนำ้ ๑.๓ วสิ ัยทศั น์ ได้กำหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาตามแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ไว้ ดังนี้ “ทุกหมู่บ้านมีน้ำสะอาดอุปโภค บริโภค น้ำเพื่อการผลิตมั่นคง ความเสียหายจาก อุทกภัยลดลง คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน บริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน ภายใต้การพัฒนาอย่ างสมดุล โดยการมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ น”

ค ๑.๔ แผนแม่บทการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนา้ ๒๐ ปี เพ่ือให้บรรลุตำมวิสัยทัศน์ข้ำงต้น ได้ก้ำหนด แผนแม่บทกำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ๖ ดำ้ น คือ แผนแม่บท เปา้ ประสงค์ ดา้ นท่ี ๑ การจดั การนา้ จดั หำน้ำสะอำดเพอื่ กำรอุปโภคบริโภคให้แก่ชุมชน ครบทกุ หมู่บ้ำนหรอื ทุกครัวเรือน อุปโภค บริโภค ชุมชนเมือง แหล่งท่องเท่ียวส้ำคัญ และพืนท่ีเศรษฐกิจพิเศษ รวมทังกำรจัดหำ แหล่งน้ำส้ำรองในพืนที่ซ่ึงขำดแคลนแหล่งน้ำต้นทุน พัฒนำน้ำดื่มให้ได้มำตรฐำน ในรำคำทีเ่ หมำะสม และกำรประหยัดนำ้ โดยลดกำรใช้นำ้ ภำคครวั เรอื น ภำคบรกิ ำร และภำครำชกำร ดา้ นท่ี ๒ การสร้าง พัฒนำแหล่งเก็บกักน้ำและระบบส่งน้ำใหม่ให้เต็มศักยภำพ พร้อมทังกำรจัดหำน้ำ ความมนั่ คงของนา้ ในพืนที่เกษตรน้ำฝน เพ่ือขยำยโอกำสจำกศักยภำพโครงกำรขนำดเล็กและ ภาคการผลิต ลดควำมเสยี่ งในพืนทไี่ มม่ ศี ักยภำพ ลดควำมเส่ยี ง/ควำมเสยี หำยลง ร้อยละ ๕๐ รวมถึง กำรเพิ่มผลิตภำพและปรับโครงสร้ำงกำรใช้น้ำ โดยด้ำเนินกำรร่วมกับยุทธศำสตร์ชำติ ดำ้ นกำรสรำ้ งควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั และด้ำนกำรสรำ้ งโอกำสและควำมเสมอภำค ทำงสังคมเพ่ือยกระดบั ผลิตภำพด้ำนน้ำทังระบบ ดา้ นที่ ๓ การจดั การ เพิ่มประสิทธิภำพกำรระบำยน้ำ กำรจัดระบบป้องกันน้ำท่วมชุมชนเมือง กำรจัดกำร น้าท่วมและอทุ กภัย พืนท่ีน้ำท่วมและพืนที่ชะลอน้ำ รวมทังกำรบรรเทำอุทกภัยในเชิงพืนที่อย่ำงเป็นระบบ ในระดับลุ่มน้ำและพืนทว่ี ิกฤต (Area based) ลุ่มน้ำขนำดใหญ่ ลุ่มน้ำสำขำ/ลดควำมเสยี่ ง และควำมรนุ แรงลงไมน่ อ้ ยกว่ำ ร้อยละ ๖๐ ด้านที่ ๔ การจดั การ พัฒนำและเพิ่มประสิทธิภำพระบบรวบรวมและระบบบ้ำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน คุณภาพน้า และอนรุ กั ษ์ กำรน้ำน้ำเสียกลับมำใช้ใหม่ ป้องกันและลดกำรเกิดน้ำเสียต้นทำง กำรควบคุมปริมำณ ทรัพยากรนา้ กำรไหลของน้ำเพ่ือรักษำระบบนิเวศ พร้อมทังพืนฟูแม่น้ำ ล้ำคลอง และแหล่งน้ำ ธรรมชำติท่มี ีควำมสำ้ คัญในทุกมิติ เพอื่ กำรอนรุ กั ษ์ ฟ้นื ฟแู ละใชป้ ระโยชนท์ ว่ั ประเทศ ดา้ นท่ี ๕ การอนุรกั ษ์ อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู พืนที่ป่ำต้นน้ำที่เสื่อมโทรม กำรป้องกัน และลดกำรชะล้ำงพังทลำย ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้า ของดนิ ในพืนทต่ี ้นน้ำและพืนท่ีลำดชนั ทเ่ี ส่อื มโทรม และ ปอ้ งกนั การพังทลาย ของดิน ดา้ นที่ ๖ การบรหิ าร จัดตังองค์กรด้ำนกำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรน้ำ (คณะกรรมกำรทรัพยำกรน้ำแห่งชำติ จดั การ คณะกรรมกำรลุ่มน้ำ ฯลฯ) ปรับปรุงกฎหมำยให้ทันสมัย ส่งเสริมควำมร่วมมือระหว่ำง ประเทศเชื่อมโยงประเด็นกำรพัฒนำและกำรหำแหล่งเงินทุน พัฒนำระบบฐำนข้อมูล ประกอบกำรตัดสินใจ (คลังน้ำชำติ) สนับสนุนองค์กรลุ่มน้ำ สนับสนุนกำรแลกเปลี่ยน ข้อมูลระหว่ำงภำครัฐและเอกชน กำรบริหำรจัดกำรชลประทำน กำรศึกษำวิจัย เตรียมควำมพร้อม ส่งเสริมกำรประชำสัมพันธ์และกำรมีส่วนร่วมของประชำชนและ ภำคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง สร้ำงจิตส้ำนึกในกำรอนุรักษ์ทรัพยำกรน้ำ พัฒนำงำนวิจัย นวัตกรรม และเทคโนโลยีสนับสนุนกำรสร้ำงมูลค่ำเพ่ิมในภำคกำรบริกำร และกำรผลิต รวมถึงพัฒนำรูปแบบเพ่ือยกระดับกำรจัดกำรน้ำในพืนท่ีและลุ่มน้ำ (เชือ่ มโยงกำรตลำด พลังงำน กำรผลติ และของเสยี )

สารบัญ หนา้ ก คำนำ ข บทสรุปผู้บริหาร 1 บทท่ี 1 บทนำ 2 2 1.1 ความเปน็ มา 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 3 1.3 กรอบแนวคดิ การดำเนินงาน 3 บทที่ 2 การประเมินสถานการณท์ เี่ ก่ียวข้องกับการบริหารจดั การทรัพยากรน้ำ 4 2.1 สถานการณภ์ ายนอกทส่ี ำคญั และผลกระทบตอ่ การพัฒนาประเทศ ในระยะ 20 ปี 4 2.2 ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี 5 5 2.2.1 วสิ ัยทศั นป์ ระเทศไทย 9 2.2.2 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) 2.3 แผนการปฏริ ปู ประเทศ 11 ดา้ น 15 2.4 ทศิ ทางการพฒั นาภาคภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาตแิ ละกรอบการพฒั นาด้านน้ำ 18 2.5 สถานการณ์และแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงของประเทศ 18 ท่มี ผี ลตอ่ การบริหารจัดการทรพั ยากรน้ำ 21 บทท่ี 3 สถานการณ์และปัญหาด้านทรัพยากรนำ้ ของประเทศ 3.1 ศกั ยภาพทรัพยากรน้ำในประเทศ 26 3.2 สภาพเศรษฐกจิ และสังคม 28 3.3 การใช้นำ้ และการบรหิ ารจดั การ 29 3.4 สภาพปัญหาทรพั ยากรน้ำ 31 บทที่ 4 แผนแม่บทการบรหิ ารจดั การทรัพยากรนำ้ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) 4.1 ความเช่ือมโยงยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี กับแผนแม่บทการบริหารจดั การทรพั ยากรนำ้ 20 ปี 4.2 ความเชื่อมโยงแผนการปฏริ ูปประเทศ 11 ด้าน และแผนแม่บทการบรหิ าร จดั การทรพั ยากรนำ้ 20 ปี 4.3 ความเชอ่ื มโยงเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ่งั ยืน (SDGs) และแผนแมบ่ ทการบริหาร จัดการทรัพยากรนำ้ 20 ปี 4.4 หลักการและแนวคดิ ในการปรับปรุงแผนแมบ่ ท

สารบญั หน้า บทท่ี 4 แผนแม่บทการบริหารจดั การทรพั ยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) (ต่อ) 31 4.5 แผนแมบ่ ทการบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) 31 4.5.1 วิสยั ทัศน์ 31 4.5.2 เปา้ หมายในภาพรวมของแผนแม่บทการบรหิ ารจดั การทรัพยากรนำ้ 20 ปี 32 4.5.3 ประเด็นความครอบคลมุ ในการวางแผนแมบ่ ทดา้ นน้ำของประเทศ 33 4.5.4 แผนแม่บทการบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี 33 ด้านท่ี 1 การจดั การน้ำอุปโภค บริโภค 37 ด้านที่ 2 การสรา้ งความมั่นคงของน้ำภาคการผลิต 43 ดา้ นที่ 3 การจัดการนำ้ ท่วมและอุทกภยั 49 ด้านที่ 4 การจัดการคณุ ภาพนำ้ และอนุรักษท์ รพั ยากรนำ้ ด้านท่ี 5 การอนรุ ักษ์ฟนื้ ฟูสภาพปา่ ต้นนำ้ ทเ่ี สอื่ มโทรม 55 และป้องกันการพงั ทลายของดนิ ดา้ นที่ 6 การบรหิ ารจัดการ 58 64 4.6 การขบั เคลือ่ นการดำเนินงานตามแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ บทที่ 5 แนวทางการขับเคลื่อนแผนแม่บท ข้อเสนอแนะ 66 5.1 การถ่ายทอดแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำระดับชาติลงสแู่ ผนแม่บท/ 68 แผนปฏิบตั ิการระดับลุ่มน้ำ 70 5.2 แนวทางการจัดลำดบั ความสำคญั 71 5.3 การจดั สรรงบประมาณแบบบรู ณาการ 73 5.4 การเตรยี มความพรอ้ มในการขบั เคลอื่ น 75 5.5 การตดิ ตามประเมินผล 5.6 ขอ้ สรุปและข้อเสนอแนะ 78 ภาคผนวก สรปุ พ้ืนที่เป้าหมายและแนวทางแก้ไขเชิงบูรณาการ (Area Based Approach)

รายการรูปภาพ หน้า รูปที่ 3-1 แผนท่แี สดงความเขม้ และการกระจายของฝน รปู ที่ 3-2 แผนท่แี สดงปรมิ าณและคุณภาพน้ำบาดาล 16 รปู ท่ี 3-3 พน้ื ท่เี สยี่ งภยั แล้งซ้ำซาก 17 รูปท่ี 3-4 พืน้ ท่ีเส่ียงภัยน้ำท่วมซ้ำซาก 22 รปู ท่ี 3-5 คุณภาพน้ำในแหล่งนำ้ สำคญั ท่ัวประเทศ 24 รปู ที่ 5-1 ผงั แสดงการขับเคล่ือนแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัยพากรน้ำ 20 ปี 25 รูปที่ 5-2 ขัน้ ตอนการเสนอแผนงานตามพระราชบัญญตั ิทรัพยากรน้ำ ปี พ.ศ. 2561 67 71 รายการตาราง หน้า ตารางที่ 2-1 ทศิ ทางการพฒั นาภาคตามแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 และแผนแม่บทการบรหิ าร 6 จดั การทรพั ยากรนำ้ 10 ตารางท่ี 2-2 การเปลี่ยนแปลงดา้ นเศรษฐกจิ สังคม และกระแสโลก ท่มี ีผลตอ่ การบรหิ าร จดั การทรัพยากรนำ้ ของประเทศ 12 27 ตารางที่ 2-3 การเปล่ยี นแปลงด้านทรพั ยากร และสถานการณ์ของประเทศ ท่ีมผี ลต่อการบริหาร 28 จดั การทรพั ยากรนำ้ ของประเทศ 30 ตารางที่ 4-1 ความเชื่อมโยงยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี กบั แผนแม่บทการบริหารจดั การทรพั ยากรน้ำ 20 ปี 35 ตารางที่ 4-2 ความเช่อื มโยงแผนการปฏิรปู ประเทศ 11 ดา้ น และแผนแมบ่ ทการบรหิ ารจดั การ 39 45 ทรพั ยากรน้ำ 20 ปี 50 ตารางที่ 4-3 ความเช่อื มโยงเปา้ หมายการพฒั นาท่ียั่งยนื และแผนแมบ่ ทการบรหิ ารจดั การ 56 ทรัพยากรน้ำ 20 ปี 60 ตารางที่ 4-4 เปา้ หมายตามแผนแม่บทด้านท่ี 1 การจัดการน้ำอปุ โภคบรโิ ภค 70 ตารางที่ 4-5 เปา้ หมายตามแผนแม่บทด้านที่ 2 การสร้างความมั่นคงของนำ้ ภาคการผลติ 72 ตารางที่ 4-6 เปา้ หมายตามแผนแม่บทด้านท่ี 3 การจัดการน้ำทว่ มและอุทกภยั 74 ตารางที่ 4-7 เป้าหมายตามแผนแมบ่ ทดา้ นที่ 4 การจัดการคุณภาพน้ำและอนุรกั ษ์ทรัพยากรนำ้ ตารางท่ี 4-8 เป้าหมายตามแผนแม่บทด้านที่ 5 การอนรุ กั ษฟ์ ื้นฟูสภาพป่าต้นนำ้ ทเ่ี ส่อื มโทรม และปอ้ งกันการพงั ทลายของดนิ ตารางที่ 4-9 แผนแมบ่ ทด้านที่ 6 การบริหารจดั การ ตารางที่ 5-1 หลักเกณฑก์ ารจดั ทำแผนปฏิบตั กิ ารสอดคลอ้ งกับแผนแมบ่ ทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ20ปี ตารางที่ 5-2 ประเดน็ การขับเคลื่อน หน่วยงานหลกั และหนว่ ยงานสนบั สนนุ ตารางท่ี ๕-๓ สรุปตัวช้วี ัดผลสมั ฤทธ์ิภาพรวม ๖ ดา้ นแผนแม่บทการบริหารจดั การทรัพยากรนำ้ ๒๐ ปี

๑ ๑.๑ ความเปน็ มา บทท่ี ๑ บทนำ “น้ำ” เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของโลก สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องอาศัยน้ำในการดำรงชีวิต น้ำเป็นส่วนประกอบที่สำคัญ โดยมีจำนวนมากถึง ๓ ใน ๔ ส่วนของพื้นโลก ถึงแม้ว่าจะมีน้ำจำนวนมหาศาล แตก่ ารเพม่ิ ขึ้นของประชากรและการขยายตัวทางเศรษฐกิจทำให้มคี วามต้องการใช้นำ้ มากข้ึน ประกอบกับมีการบุกรุก ทำลายป่าต้นน้ำ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและภูมิอากาศ เกิดปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ บ่อยครั้งและรุนแรงมากขึ้นทั้งปัญหาอุทกภัย ภัยแล้ง ดินโคลนถล่ม และการชะล้างพังทลายของดิน รวมถึงการเพิ่มขน้ึ ของชมุ ชนเมือง และการขยายตวั ของอุตสาหกรรม สง่ ผลใหเ้ กดิ ปัญหาดา้ นคุณภาพน้ำทวีความรนุ แรงมากข้นึ ทีผ่ ่านมารฐั บาลไดใ้ ห้ความสำคัญในการบริหารจัดการนำ้ มาโดยตลอด โดยได้จัดสรรงบประมาณ จำนวนมากในการแก้ไขปญั หาและจัดหาแหล่งน้ำเพ่ิมเตมิ แต่กไ็ ม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยง่ั ยืน เน่ืองจากไม่มี หน่วยงานกลางในการประสานงาน กำกับดูแล เพื่อให้เกิดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานอยา่ งแท้จริง ผลการดำเนินงาน ชัดเจนในชว่ งที่ผ่านมา ได้แก่ การจัดการเรือ่ งน้ำอุปโภคบริโภค ซึ่งได้ดำเนินการเกือบครบทกุ หมูบ่ ้าน รวมทั้งการจัดการ เพ่อื ปอ้ งกันน้ำท่วมและอุทกภัย ในสว่ นท่ียงั ไมบ่ รรลตุ ามเป้าหมาย ได้แก่ การจดั การคุณภาพน้ำ และการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูป่าต้นน้ำ ที่เสือ่ มโทรม และในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้มกี ารแต่งต้งั คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน เพื่อทำหน้าที่ผลักดันและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การบริหารจัดกา รทรัพยากรน้ำอย่างมีเอกภาพเกิดการบูรณาการ ในทุกระดับ พร้อมทั้งได้จัดตั้งสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ โดยคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๔๖/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๒๕ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ทำหนา้ ทใ่ี นการบูรณาการข้อมูลสารสนเทศ แผนงาน โครงการ งบประมาณ และตดิ ตาม ประเมนิ ผลการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เพื่อใหก้ ารบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้จัดทำ แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ระยะเวลา ๑๒ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๙) แต่เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง ของสถานการณ์ สิ่งแวดล้อม และปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง รัฐบาลจึงได้จัดทำยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑–๒๕๘๐) และ แผนปฏิรูปประเทศ ๑๑ ด้าน ประกอบกับการกำหนดเป้าหมาย และตัวชี้วัด ในยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้ำ ๑๒ ปี บางสว่ นยังไมส่ ามารถตอบสนองยุทธศาสตรช์ าติได้ครบทกุ ประเด็น ดังนนั้ คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ (กนช.) จึงแตง่ ตง้ั คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เพ่อื ดำเนนิ การปรับปรุงเป็นแผนแม่บทการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ รวมถึงแผนพัฒนาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยรูปแบบการปรับปรุงยังคงยึดประเด็นยุทธศาสตร์ทั้ง ๖ ด้าน ไว้ แต่เพิ่มเติมแผนงาน หลักและแผนงานรอง เชน่ การพฒั นาน้ำดมื่ ใหไ้ ดม้ าตรฐานและราคาทเ่ี หมาะสม การเพมิ่ ผลิตภาพการใช้นำ้ (Productivity) การเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ การบรรเทาอุทกภัยระดับลุ่มน้ำ การฟื้นฟูแม่น้ำลำคลอง การป้องกันและ ลดการชะลา้ งพังทลายของดินในพื้นที่ปา่ ตน้ น้ำและการทำผังการใชป้ ระโยชน์ลุ่มนำ้ เปน็ ตน้

2๒  ๑.๒ วตั ถุประสงค์ ๑) เพื่อเป็นกรอบและแนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาทรัพยากรน้ำของประเทศ ที่มีผลกระทบ รุนแรงตอ่ ประชาชน สนับสนุนดา้ นเศรษฐกิจและสังคม ท่ตี ้องเร่งดำเนินการอยา่ งต่อเน่ือง (ปี พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาและเปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) โดยระยะเวลา ๕ ปีแรก (ปี พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๕) ตอ้ งแกไ้ ขปัญหาทส่ี ำคัญไดอ้ ย่างเป็นรปู ธรรม ๒) เพื่อพัฒนาการจัดการน้ำเชิงลุ่มน้ำทั้งระบบ เพิ่มความมั่นคงด้านน้ำของประเทศ โดยจัดให้มี น้ำสะอาดใช้ทุกครัวเรือนในชุมชนชนบทและการเจริญเติบโตของเขตเมือง การป้องกัน ฟื้นฟู รักษา เขตต้นน้ำ สภาพสง่ิ แวดลอ้ ม ลำน้ำและแหลง่ นำ้ ธรรมชาติ ๓) เพื่อเพิ่มผลิตภาพของน้ำทั้งระบบ โดยการจัดหาน้ำและใช้น้ำอย่างประหยัด รู้คุณค่า และสร้าง มูลค่าเพิ่มจากการใช้น้ำให้ทัดเทียมระดับสากล รองรับการเติบโตของเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต ทั้งภาคเกษตรกรรม อตุ สาหกรรม บรกิ ารและพลงั งาน ๔) เพื่อจัดระบบการจัดการภยั พบิ ัตจิ ากน้ำใหส้ ามารถลดความสูญเสยี ลดความเส่ยี งจากภัยพิบัติ ที่เกิดจากน้ำตามหลักวิชาการ มีประสิทธิภาพ และแบ่งตามลักษณะของแต่ละลุ่มน้ำ พื้นที่ ให้อยู่ในขอบเขต ท่ีควบคมุ และให้สามารถฟื้นตัวได้ในเวลาอนั สัน้ ๕) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ มีการจัดหาและใช้น้ำที่สมดุล ทันสมัย ทันการณ์ และสร้างความเป็นธรรม ใช้มาตรการทั้งด้านโครงสร้าง กฎระเบียบ องค์กรการจัดการ การจัดการข้อมูล การเตือนภัย การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ให้สามารถขับเคลื่อนงานภายใต้แผนแม่บทด้านน้ำและงานตามพระราชบัญญัติ ทรัพยากรน้ำ ๑.๓ กรอบแนวคดิ การดำเนนิ งาน ๑) ยึดแนวทางตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมีภมู ิคุ้มกันทีด่ ี ภายใตเ้ งือ่ นไขความรูแ้ ละเงื่อนไขคุณธรรม ๒) ยึดยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) “ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ ง การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” ในประเด็นหลักที่ ๕.๑ “สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน บนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว ในเรื่อง “การอนุรักษ์ฟื้นฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติทั่วประเทศ” และ ประเด็นหลักที่ ๕.๕ พัฒนาความมั่นคงน้ำ พลังงาน และเกษตร ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในเรื่อง “พัฒนาการ จัดการน้ำเชิงลุ่มน้ำทั้งระบบ เพื่อเพิ่มความมั่นคงด้านน้ำของประเทศ” และเรื่อง “เพิ่มผลิตภาพของน้ำทั้งระบบ ในการใชน้ ำ้ อย่างประหยัด ร้คู ณุ ค่า และสรา้ งมลู ค่าเพิ่มจากการใชน้ ้ำใหท้ ัดเทยี มกบั ระดบั สากล” ๓) ยึดหลกั การสรา้ งความสมดุลระหวา่ งการอนุรักษ์ ฟน้ื ฟู และการพฒั นาแหล่งน้ำรวมถึงการใช้ ประโยชน์ทรัพยากรน้ำ เพื่อตอบสนองปัญหาความต้องการในทุกด้านอย่างยั่งยืน โดยการจัดหาแหล่งเก็บกักน้ำ ต้องพิจารณาการจัดลำดับความสำคัญที่ตอบสนองต่อเป้าหมาย ทิศทางการพัฒนาของประเทศในแต่ละด้าน ในภาพรวม และแนวโน้มการพัฒนาในอนาคต รวมทั้งการให้ความสำคัญกับทุกภาคส่วนในการใช้น้ำ ทั้งด้าน อปุ โภคบริโภค การผลติ (เกษตรและอุตสาหกรรม) และเพ่ือรักษาระบบนิเวศ

3๓  บทที่ ๒ การประเมินสถานการณ์ท่เี กยี่ วขอ้ งกับการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำ ๒.๑ สถานการณ์ภายนอกทีส่ ำคัญและผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ ในระยะ ๒๐ ปี ๒.๑.๑ เป้าเหมายการพฒั นาท่ีย่ังยืน ค.ศ. ๒๐๓๐ (Sustainable Development Goals: SDGs) เป็นเป้าหมายการพัฒนาระดับนานาชาติ ซึ่งประเทศสมาชิกสหประชาชาติได้ร่วมกันรับรอง ตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. ๒๐๓๐ เป็นเป้าหมายที่กำหนดทศิ ทางการพัฒนาในช่วงระยะเวลา ๑๕ ปี (พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๗๓) ประกอบดว้ ย ๑๗ เป้าหมาย ซึ่งเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนมีส่วนสำคัญในการกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต โดยเฉพาะ เป้าหมายท่ี ๖ การเข้าถงึ การใช้น้ำสะอาดและสุขาภบิ าลท่ีดี ปัญหาการขาดแคลนน้ำสะอาด เป้าหมายที่ ๑๒ มีการบริโภคและ การผลิตท่ียงั่ ยืนเปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อม และเปา้ หมายท่ี ๑๓ การรับมอื กบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ๒.๑.๒ กระแสโลกาภิวัตน์ จะทวีความเข้มข้นขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีและ รวดเรว็ ของผคู้ น เงินทนุ ขอ้ มูลข่าวสาร องค์ความรู้ เทคโนโลยี สนิ ค้าและบรกิ าร การรวมกลมุ่ เศรษฐกจิ ในภูมิภาค จะนำไปสู่การเชื่อมโยงทุกระบบ ในขณะที่ศูนย์รวมอำนาจทางเศรษฐกิจโลก จะเคลื่อนย้ายมาสู่ทวีปเอเชีย ทำให้ มีการเติบโตด้านเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียสูง มีผลต่อโครงสร้างภาคอุตสาหกรรม การค้าและบริการ รวมทั้งการเคลื่อนย้าย ประชากรจากชนบทเข้าสู่เมืองมากขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้น้ำ จากความจำเป็นพื้นฐานไปสู่ การเพิ่มคุณภาพชีวิต ๒.๑.๓ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทำให้เกิดภัยธรรมชาติถี่และรุนแรงมากขึ้น ส่งผลต่อ การผลิตในภาคการเกษตร ความมั่นคงด้านน้ำและอาหาร เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง สำหรับ ประเทศไทยความผันผวนและความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส่งผลต่อเนื่องไปถึงการผลิตและการส่งออก สินค้าเกษตรและอาหาร ซ่ึงเป็นแหล่งรายได้สำคัญของประเทศและอาจก่อให้เกิดความไม่มั่นคงด้านอาหาร ทั้งระดับประเทศและระดับครัวเรือน ประเด็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจก อาจถูกใช้เป็นเงื่อนไขในการกำหนด มาตรฐานสินค้าสำหรับการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อภาคการส่งออกของไทย แต่ก็อาจสร้างโอกาส ให้ธรุ กจิ ใหมด่ า้ นสง่ิ แวดล้อม เช่น ผลติ ภัณฑแ์ ละบริการทีเ่ ป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม การเพ่ิมประสทิ ธิภาพ การลดของเสยี เป็นตน้ ๒.๒ ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๖๕ กำหนดให้รัฐบาลต้องจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี เพื่อเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนในระยะยาว ตามหลักการธรรมาภิบาล เพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันให้บรรลุเป้าหมายในระยะเวลาที่กำหนด โดยภายใต้เงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงของจำนวนประชากร โครงสร้างทางเศรษฐกิจ สภาพสังคม และสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้ ประเทศจำเป็นต้องกำหนดวิสัยทัศน์ระยะยาว พร้อมทั้งแนวทางยุทศาสตร์หลักในการดำเนินการ โดยได้กำหนด วิสัยทัศน์ประเทศและประเด็นยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ดังน้ี

4๔  ๒.๒.๑ วิสยั ทัศน์ประเทศ “ประเทศมีความมนั่ คง มัง่ คั่ง ย่งั ยืน เป็นประเทศพฒั นาแล้ว ดว้ ยการพัฒนาตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ได้แก่ การมีเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งเขตอำนาจรัฐ การดำรงอยู่อย่างมั่นคง ยั่งยืน ของสถาบันหลักของชาติ การดำรงอยู่อยา่ งมั่นคงของชาติและประชาชนจากภัยคุกคามทกุ รูปแบบ การอยู่ร่วมกนั ในชาติอย่างสันติสุขเป็นปึกแผ่น มีความมั่นคงทางสังคมท่ามกลางพหุสังคม และการมีเกียรติและศักดิ์ศรีของ ความเปน็ มนษุ ย์ ความเจริญเติบโตของชาติ ความเปน็ ธรรมและความอยู่ดีมสี ุขของประชาชน ความย่ังยืนของฐาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ความมั่นคงทางพลังงานและอาหาร ความสามารถในการรักษาผลประโยชนข์ องชาติ ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ประสานสอดคล้องกัน ด้านความมั่นคงในประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกอย่างมีเกียรตแิ ละศักด์ิศรี ๒.๒.๒ ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ประกอบด้วย ๖ ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านความมนั่ คง เป้าหมายการพัฒนา คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะ แวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ มุ่งเน้น การพัฒนาคน เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ใช้กลไกการแก้ไขปญั หาแบบบูรณาการ บนพื้นฐานของ หลกั ธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน เปา้ หมายการพฒั นา คอื การยกระดบั ศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด (๑) การต่อยอดอดตี โดยมองกลบั ไปยงั รากเหงา้ จดุ เด่น และความไดเ้ ปรียบของประเทศ นำมาประยกุ ต์ผสมผสาน กับเทคโนโลยีและนวัตกรรม (๒) ปรับปัจจุบัน เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ (๓) สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต โดยเพ่ิมศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ และปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนอง ความตอ้ งการของตลาด ยุทธศาสตรท์ ี่ ๓ ยุทธศาสตรช์ าติด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ เป้าหมายการพัฒนา คือ พัฒนาคนในทุกมิติและทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ มีความพร้อมทงั้ กาย ใจ สตปิ ญั ญา มที กั ษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ สูก่ ารเปน็ คนไทยท่มี ีทกั ษะสูง เปน็ นวตั กรรม นักคดิ ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยคุ ใหม่ และอนื่ ๆ โดยมีอาชพี ตามความถนดั ของตน ยทุ ธศาสตร์ที่ ๔ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม เป้าหมายการพัฒนา คือ การดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ มาร่วมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุน การรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิด ร่วมทำ เพื่อส่วนรวม การกระจายอำนาจและความรับผิดชอบ ไปสู่กลไก การบริหารราชการแผ่นดนิ ในระดบั ท้องถิ่น การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยรฐั ใหห้ ลักประกนั การเข้าถึง บรกิ ารและสวัสดกิ ารท่มี คี ณุ ภาพ อย่างเป็นธรรม และยั่งยนื

5๕  ยุทธศาสตรท์ ่ี ๕ ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตท่เี ป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม เป้าหมายการพัฒนา คือ การพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกัน อย่างบูรณาการ บนพื้นฐานการเติบโตร่วมกัน มีการสร้างสมดุลทั้งด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต เพอ่ื นำไปสูค่ วามยัง่ ยืนเพอ่ื คนรุ่นต่อไปอย่างแท้จริง ยทุ ธศาสตร์ที่ ๖ ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ เป้าหมายการพัฒนา คือ การปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก ภาครัฐของประชาชน เพื่อประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม โดยภาครัฐต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐ ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย และ พรอ้ มท่ีจะปรับตัวให้ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลง การนำนวตั กรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ รวมถงึ การนำระบบการทำงาน ที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่าและปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล นอกจากนั้น กฎหมายต้องมี ความชัดเจน มีเพียงเทา่ ที่จำเป็น มคี วามทันสมยั และความเป็นสากล ๒.๓ แผนการปฏิรปู ประเทศ ๑๑ ด้าน รัฐธรรมนูญแห่งประเทศไทย ปี ๒๕๖๐ หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ กำหนดให้ดำเนินการ ปฏิรูปประเทศใน ๑๑ ด้าน และต่อมาคณะรัฐมนตรีได้มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ จำนวน ๑๑ คณะ เมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๐ เพื่อดำเนินการจัดทำร่างแผนการปฏิรูปประเทศ ซึ่งดำเนินการแล้วเสร็จและ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่อื วันที่ ๖ เมษายน ๒๕๖๑ ประเด็นการปฏิรูปที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ คือ ด้านที่ ๖ ด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย คือ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการรักษา ฟื้นฟูให้สมบูรณ์และยั่งยืน เปน็ รากฐานในการพฒั นาประเทศอยา่ งสมดลุ ทัง้ ทางเศรษฐกจิ สังคม และส่ิงแวดล้อม มีการใช้ประโยชนท์ รพั ยากร ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคม เกิดความสมดุลระหว่างการคุ้มครองรักษา และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน รวมทั้งมรี ะบบการบรหิ ารจดั การทรัพยากรท่ีมีประสิทธภิ าพบนพน้ื ฐานการมีส่วนรว่ ม ๒.๔ ทิศทางการพฒั นาภาคภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาตแิ ละกรอบการพฒั นาด้านนำ้ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) และแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ ในประเดน็ การบรหิ ารจัดการน้ำท้ังระบบ (พ.ศ. 2561 – 2580) จะเปน็ กรอบหลกั ของการพฒั นาประเทศไทยใหม้ คี วามมน่ั คง มัง่ คั่ง และยง่ั ยนื โดยมีแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ เปน็ เครอื่ งมือหรือกลไกทส่ี ำคญั ในการถา่ ยทอดยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ไปสกู่ ารปฏิบตั ิและขับเคลอ่ื นให้บรรลุเป้าหมายในระยะยาวท่ีกำหนดไว้ แผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี ๑๒ มยี ทุ ธศาสตร์ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำ คอื ยทุ ธศาสตร์ที่ ๔ การเติบโตท่เี ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และมแี นวทางการพัฒนาทีเ่ กี่ยวข้อง คือ ๑) การรักษา ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ สร้างสมดุลการอนรุ ักษ์และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม ๒) เพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อให้เกิดความมั่นคง สมดุล และยั่งยืน ๓) การบริหารจัดการ เพื่อลดความเสี่ยง ดา้ นภัยพบิ ตั ิ และไดจ้ ัดทำทิศทางการพัฒนาภาคในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี ๑๒ เพ่ือเป็นเครือ่ งมอื ในการแปลงแผนไปสู่ การปฏิบัติ การกำหนดทิศทางการพัฒนาเชิงพื้นที่ตามศักยภาพภูมิสังคมของแต่ละภาค ทั้ง ๖ ภาค ซึ่งในด้านการบริหาร จดั การทรัพยากรนำ้ ไดก้ ำหนดทศิ ทางการพัฒนาดา้ นน้ำในแต่ละภาคไวใ้ หส้ อดคลอ้ งและสนับสนุนกนั (ตารางที่ ๒-๑)

๖ ตารางที่ ๒-๑ ทศิ ทางการพัฒนาภาคตามแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๑๒ และแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ 66 แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๑๒ แผนแม่บทการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนำ้ ๑) ภาคเหนอื ๑) ภาคเหนอื (๑) พัฒนาการท่องเท่ยี วและธรุ กจิ บริการต่อเนื่อง (๑) อนรุ กั ษ์ฟ้นื ฟูปา่ ต้นนำ้ และการจัดการการใชป้ ระโยชน์ในเขตต้นนำ้ เพื่อสร้างความสมดุล (๒) ใช้โอกาสจากเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษเช่อื มกบั โครงการ และลดผลกระทบจากทรพั ยากรนำ้ และรกั ษาสภาพธรรมชาตทิ ่ีเปน็ จดุ เดน่ ดา้ นการท่องเทยี่ ว ความร่วมมือต่าง ๆ ในอนภุ มู ภิ าค ในพ้นื ทภ่ี าคเหนอื ตอนบน (๓) เปน็ ฐานการผลิตเกษตรอนิ ทรีย์และปลอดภยั เช่ือมสู่ (๒) พัฒนาแหล่งเก็บกักน้ำเพือ่ เพิม่ ปริมาณน้ำต้นทุน สำหรบั เมอื งหลัก พืน้ ทเี่ ศรษฐกจิ พิเศษ และสนับสนุนชมุ ชนท่มี รี ายไดต้ ำ่ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรปู เพ่มิ มูลคา่ (๓) การบรรเทาอทุ กภัยนำ้ หลากฉับพลนั ทล่ี าดเชงิ เขา ดินโคลนถล่ม โดยเพิ่มประสิทธิภาพ (๔) พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ แก้ไขปญั หาความยากจน ด้านการเตือนภัย การปรับตัว และเผชญิ เหตุ (๕) อนุรกั ษ์และฟ้นื ฟูป่าตน้ นำ้ จัดระบบการบริหาร (๔) การวางแผนระยะยาว สร้างความสมดลุ ระหว่างการใช้ทด่ี ินตน้ น้ำและท้ายน้ำ เพื่อลดผลกระทบจากภยั แล้งและอทุ กภยั จดั การน้ำ และปอ้ งกนั แกไ้ ขปัญหาหมอกควัน ๒) ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ๒) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (๑) จัดการน้ำให้เพียงพอต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและ (๑) พัฒนาแหล่งนำ้ ต้นทนุ และผันนำ้ สนับสนนุ ภาคเกษตร เพ่ือยกระดบั รายได้ภาคการเกษตร คุณภาพชวี ติ ที่ยั่งยืน เพื่อเตรยี มพร้อมการพัฒนาเศรษฐกิจ และการพฒั นาพืน้ ท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ ในอนาคต เชน่ เศรษฐกิจชวี ภาพ การเสริมสร้างความเข้มแข็ง (๒) การพฒั นาในพ้ืนที่เกษตรน้ำฝนในพน้ื ที่ท่มี ศี ักยภาพ เชน่ แหลง่ นำ้ ขนาดเล็ก แหลง่ น้ำ (๒) แก้ไขปญั หาความยากจน พัฒนาคุณภาพชีวติ ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย ธรรมชาติ แหล่งน้ำบาดาล ใหส้ ามารถทำการเกษตรยงั ชีพ และฤดูแล้งได้บางส่วน (๓) สร้างความเข้มแข็งของฐานเศรษฐกิจ ควบคกู่ ับการแก้ไข (๓) จัดระบบอนรุ ักษ์ดินและน้ำ ในพ้นื ทเี่ กษตรอาศัยนำ้ ฝนทไี่ ม่มศี กั ยภาพพฒั นาแหล่งน้ำ ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (๔) การบรหิ ารจดั การน้ำแบบบรู ณาการ การแก้ไขปัญหาอทุ กภัย โดยการบรหิ ารจัดการ (๔) พัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่ง ที่เช่ือมโยงพ้ืนท่ีเศรษฐกิจหลัก พืน้ ทีน่ ้ำท่วมซ้ำซาก การแก้ไขปัญหาภัยแล้งโดยการสง่ เสริมการเกษตรแบบครบวงจร ภาคกลาง และพ้นื ทร่ี ะเบียงเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก (EEC) (๕) การบรหิ ารจดั การพ้นื ทเ่ี กษตร (Zoning) ในพนื้ ท่ีที่มีศักยภาพการพฒั นาด้านน้ำตำ่ (๕) สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ ตามแนวชายแดน หรอื ศกั ยภาพของดนิ ไมเ่ หมาะสม และแนวระเบียงเศรษฐกิจ

๗ ตารางท่ี ๒-๑ ทิศทางการพัฒนาภาคตาม แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ และแผนแมบ่ ทการบริหารจดั การทรพั ยากรน้ำ (ตอ่ ) แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ ๑๒ แผนแม่บทการบริหารจดั การทรัพยากรน้ำ ๓) ภาคกลาง ๓) ภาคกลาง (๑) พฒั นากรุงเทพฯ เปน็ มหานครทันสมยั ระดบั โลก (๑) พัฒนาแหล่งนำ้ ต้นทุนและระบบการจัดสรรน้ำ เพื่อรองรบั การเปน็ พ้นื ท่ีเศรษฐกจิ สำคญั อนั ดับหนงึ่ (๒) พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวทีม่ ีช่ือเสียงระดบั ของประเทศและการขยายตวั ในอนาคต นานาชาติ และเชอ่ื มโยงกระจายแหล่งทอ่ งเที่ยว (๒) วางแผนและขับเคลอื่ นโครงการบรรเทาอุทกภัยล่มุ น้ำเจา้ พระยาและท่าจนี ตอนลา่ ง (๓) ยกระดับการสนิ ค้าเกษตรและอตุ สาหกรรม โดยใช้ รวมถึงการป้องกนั เมอื งและพืน้ ท่เี ศรษฐกิจครอบคลุมพ้ืนทที่ ง้ั หมด นวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสรา้ งสรรค์ (๓) ปรับปรงุ ลำน้ำสายหลกั เพือ่ การคมนาคมและการเพ่ิมประสิทธิภาพการระบายน้ำ (๔) บรหิ ารจดั การน้ำ ทรัพยากรธรรมชาติ และความสมดุล (๔) การบริหารจัดการน้ำ ให้สมดุลกบั น้ำต้นทนุ (การวางแผนจดั สรรนำ้ รายฤด)ู (๕) การวางแผนพัฒนาระบบจดั การน้ำในพนื้ ที่ภาคกลางตอนลา่ ง ในระยะ ๓๐ ปี (ค.ศ. ๒๐๕๐) ของระบบนิเวศ ๔) ภาคตะวนั ออก (๕) เปิดประตูการคา้ การลงทนุ การท่องเทยี่ ว (๑) พฒั นาแหล่งนำ้ โครงขา่ ยน้ำ และจดั หานำ้ ทางเลือกใหม่เพื่อรองรบั พ้ืนทร่ี ะเบยี งเศรษฐกิจ เชอ่ื มโยงทวาย – ภาคกลาง - EEC ภาคตะวนั ออก (EEC) และเขตเศรษฐกิจพเิ ศษ (๖) พัฒนาเชอื่ มโยงเศรษฐกิจและสงั คมกบั ทุกภาค (๒) พฒั นาระบบประปาเมอื ง เพื่อรองรบั การขยายตัวของชุมชนเมอื ง และภาคการท่องเทยี่ ว ๔) ภาคตะวันออก (๓) บรหิ ารจดั การนำ้ เพื่อสนับสนุนภาคเกษตรและภาคเศรษฐกิจ พร้อมท้งั การวางแผนจัดสรรน้ำ (๑) พฒั นาพ้นื ท่รี ะเบยี งเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) รายภาคการผลิตและรายฤดู ใหท้ นั สมัยทสี่ ดุ ในภูมิภาคอาเซียน (๔) การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการใช้นำ้ ปรับโครงสร้างการใช้น้ำ เพิม่ ผลติ ภาพการใช้นำ้ (๒) เปน็ แหล่งผลิตอาหารคุณภาพ มาตรฐานสากล (๓) ปรบั ปรงุ มาตรฐานสนิ ค้าและบรกิ ารทอ่ งเทีย่ ว ภาคอตุ สาหกรรม และภาคเกษตร (๔) พัฒนาพืน้ ท่ีเศรษฐกิจชายแดน ให้เป็นประตูเศรษฐกจิ (๕) ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การลดและการนำกลบั มาใชใ้ หม่ในภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตร เช่ือมโยงกบั ประเทศเพื่อนบ้าน (๕) เร่งแกป้ ัญหาจดั ระบบการบริหารจดั การมลพิษ 77

๘ ตารางท่ี ๒-๑ ทศิ ทางการพฒั นาภาคตาม แผนพฒั นาฯ ฉบับที่ ๑๒ และแผนแมบ่ ทการบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ (ต่อ) 88 แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๑๒ แผนแม่บทการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรน้ำ ๕) ภาคใต้ ๕) ภาคใต้ (๑) พฒั นาการท่องเทีย่ วของภาค ให้เป็นแหล่งท่องเทยี่ ว (๑) พฒั นาแหลง่ น้ำเพือ่ เมอื งท่องเทยี่ วสำคญั และพื้นที่เกาะ (๒) พฒั นาแหล่งน้ำเฉพาะพ้ืนท่ี เพ่อื สนับสนุนภาคการเกษตร อุตสาหกรรมแปรรปู คณุ ภาพชั้นนำของโลก (๒) พัฒนาอตุ สาหกรรมการแปรรูปยางพารา และปาลม์ น้ำมัน และพนื้ ท่ีเขตเศรษฐกจิ พิเศษ (๓) บรรเทาอุทกภัยในพ้นื ท่ีเศรษฐกจิ สำคญั และท่เี ป็นอุปสรรคตอ่ การพัฒนาเศรษฐกจิ แหง่ ใหมข่ องประเทศ (๓) พัฒนาการผลติ สินคา้ เกษตรหลกั ของภาค และสังคม ไดแ้ ก่ เมอื งหลกั เมอื งทอ่ งเท่ยี วสำคญั และพน้ื ท่นี ำ้ ท่วมเสียหายรนุ แรง (๔) พัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐาน สนบั สนนุ การท่องเทีย่ ว (๔) จัดการระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพน้ื ทีเ่ กษตรเพ่ือลดผลกระทบจากอุทกภัยและภยั แลง้ ๖) ภาคใตช้ ายแดน พัฒนาเขตอุตสาหกรรม และเชอ่ื มโยงการคา้ ในอาเซยี น (๑) พัฒนาแหลง่ น้ำ เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรปู เกษตรกรรม ๖) ภาคใต้ชายแดน (๒) พัฒนาระบบประปา เพ่ือพัฒนาแหล่งการค้า และท่องเท่ยี วชายแดน (๑) พฒั นาอุตสาหกรรมเกษตร และอตุ สาหกรรมแปรรูป (เมืองสไุ หงโก-ลก เมืองเบตง เมอื งปัตตานี และเมืองนราธวิ าส) การเกษตร สร้างความมั่นคงภาคการผลติ (๓) ปอ้ งกนั น้ำทว่ มชุมชนเมือง เมืองศนู ย์กลางการท่องเท่ียว และพ้นื ที่เศรษฐกจิ สำคัญ (๒) พฒั นาเมือง สุไหงโก-ลก และเมืองเบตง ให้เปน็ เมอื งการคา้ และเมืองท่องเทย่ี วชายแดน (๓) เสริมสรา้ งความเข้มแข็งให้กบั ชมุ ชน

9๙  ๒.๕ สถานการณแ์ ละแนวโนม้ การเปลยี่ นแปลงของประเทศ ทม่ี ีผลตอ่ การบริหารจดั การทรพั ยากรนำ้ จากสถานการณ์และแนวโน้มการพัฒนาประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเปลี่ยนแปลง กระแสโลกและการเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ประเทศไทยมีแนวโนม้ การเปล่ียนแปลง จากสังคมเกษตรกรรมไปเป็นสังคมอุตสาหกรรมมากขึ้น มีการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจไปสู่เศรษฐกิจฐานความรู้ ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและการเพิ่มผลิตภาพการผลิต มีโครงสร้างเศรษฐกิจแบบกึ่งอุตสาหกรรม ที่ผ่านมามีการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่ยั่งยืน พื้นที่ป่าถูกทำลาย การบำบัดน้ำเสียทำได้น้อย การลงทุนจัดหาแหล่งน้ำขนาดใหญ่ มีจำนวนจำกัดเนื่องจากผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและด้านสังคม การจัดการน้ำเสียยังไม่สามารถดำเนินการได้ทันและ พอเพยี ง ทำให้การยกระดับคุณภาพแหล่งน้ำสำคัญยังไม่มีความคืบหน้ามากนัก ซ่ึงปัจจยั การเปลยี่ นแปลงดังกล่าว มีส่วนสัมพันธ์กับการกำหนดประเด็นการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศ สรุปได้ ดังนี้ (ตารางที่ ๒-๒ และ ตารางที่ ๒-๓)

๑๐ ตารางที่ ๒-๒ การเปลี่ยนแปลงดา้ นเศรษฐกจิ สังคม และกระแสโลก ที่มผี ลตอ่ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำของประเทศ 10 10 ประเดน็ สถานการณ์ แนวโน้มการเปลีย่ นแปลง ทิศทางการจดั การน้ำ ๑. ศูนย์กลางเศรษฐกิจโลกจะ ๑.๑ กระแสโลกาภวิ ัตน์ จะทวคี วามเขม้ ข้น มกี ารคล่อื นย้ายเงินทุน ๑.๑ ต้องจัดเตรยี มความพร้อมในการพัฒนาแหล่งน้ำ เคล่ือนย้ายมาส่ทู วีปเอเชีย แรงงาน ข้อมลู เทคโนโลยี สนิ ค้า และบรกิ ารอยา่ งรวดเรว็ โครงสร้างประเทศไทยจะ ๑.๒ เปลย่ี นไปสเู่ ศรษฐกิจฐานความรู้ท่ีขับเคลอ่ื นด้วย ขนาดใหญร่ องรับ ในภาคกลางและภาคตะวันออก เปลี่ยนจากเกษตรกรรม นวัตกรรม โครงสร้างแบบกงึ่ อตุ สาหกรรม มีหลายสาขา ๑.๒ เตรยี มการจัดสรรน้ำทเ่ี หมาะสม และปอ้ งกัน เป็นอตุ สาหกรรมและ การผลติ และบริการ บริการมากขึ้น ๑.๓ ภาคอุตสาหกรรมจะมกี ารขยายตวั และมีความต้องการน้ำ ความขัดแยง้ กบั ใช้นำ้ ของภาคส่วนต่าง ๆ มากข้ึน โดยเฉพาะภาคตะวันออกท่กี ำหนดเป็นพ้ืนที่หลกั ๒.๑ ตอ้ งจัดหาแหลง่ นำ้ และเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการชลประทาน ๒. การผลติ ด้านการเกษตร ๒.๑ รายได้ประชาชาติด้านการเกษตร น้อยกว่าอตุ สาหกรรม ยงั คงเปน็ แกนหลกั สำคัญ แตเ่ ป็นแหล่งรองรับแรงงาน และเปน็ รายได้ส่วนใหญ่ เพื่อเพิ่มผลติ ภาพการผลิตการเกษตร โดยเฉพาะ สำหรับภาคเศรษฐกิจ ในชนบท ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ทม่ี รี ายได้ต่ำ สังคมในชนบทและมีการ ๒.๒ ภาคการเกษตรจะต้องเพ่ิมผลติ ภาพการผลิต โดยการใช้ ๒.๒ ใช้พ้ืนทช่ี ลประทานท่ีมีอยู่ เพื่อเพมิ่ ผลิตภาพการผลิตพืช ผลิตเชงิ เศรษฐกจิ มากขึ้น เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมเพ่มิ ข้ึน รวมท้ังการจัดการ เศรษฐกิจท่ีมมี ลู ค่าสงู ดา้ นการตลาด ๒.๓ ปรบั โครงสร้างใช้น้ำภาคผลิต ท้งั เกษตร/อุตสาหกรรม ๓. การจัดต้ังเขตเศรษฐกิจ ๓.๑ การต้งั เขตเศรษฐกิจพเิ ศษระยะที่ ๑ (จังหวดั ตาก ๓.๑ ต้องจดั การนำ้ ตน้ ทุน รองรบั การขยายตัวของเมอื งหลัก พเิ ศษ และโครงการระเบยี ง มกุ ดาหาร สระแก้ว ตราด สงขลา) ระยะท่ี ๒ (จงั หวัด กรงุ เทพมหานครและปริมณฑล เขตเศรษฐกจิ พิเศษ พื้นที่ เศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก กาญจนบรุ ี เชยี งราย นครพนม หนองคาย นราธิวาส) ระเบยี งเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก (EEC) จัดหานำ้ ต้นทนุ เพม่ิ (Eastern Economics จะทำให้มปี ระชากรในเขตดงั กล่าวเพ่ิมขึน้ สำหรบั ภาคกลางเพ่ือรองรบั ความเสีย่ งการขาดแคลนน้ำ Corridor: EEC) ในปีทีแ่ ลง้ จัด

๑๑ ตารางที่ ๒-๒ การเปล่ียนแปลงดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และกระแสโลก ท่ีมีผลต่อการบริหารจดั การทรัพยากรนำ้ ของประเทศ (ต่อ) ประเดน็ สถานการณ์ แนวโนม้ การเปล่ยี นแปลง ทิศทางการจดั การน้ำ และการพัฒนาภาคกลาง ๓.๒ โครงการระเบยี งเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก (ชลบุรี ๓.๒ เร่งรดั การบรรเทาอทุ กภัยลมุ่ นำ้ เจ้าพระยา ทา่ จนี ตอนล่าง และกรงุ เทพฯ ใหเ้ ปน็ ระยอง ฉะเชิงเทรา) ทำใหม้ กี ารขยายตัวมากขึน้ ใหเ้ ปน็ รูปธรรมโดยเรว็ เพื่อสรา้ งความม่นั ใจทจี่ ะไม่เกดิ มหานครท่ีทันสมยั ทำให้มีการ ความเสียหายรุนแรง เคลื่อนยา้ ยประชากรเข้าสเู่ มอื ง ๓.๓ พนื้ ท่ภี าคกลางตอนลา่ งจะยังคงเตบิ โต เปน็ พ้ืนท่ี เศรษฐกิจสำคัญของประเทศตอ่ ไป ๓.๓ จัดหาน้ำต้นทนุ และมีข้อตกลงในการจัดสรรนำ้ ทเี่ หมาะสม สำหรับเมืองหลักทม่ี ีการเติบโตสูง ๓.๔ การพฒั นากรุงเทพฯ ใหเ้ ปน็ มหานครที่ทันสมยั ส่งผลให้มีการเคล่ือนยา้ ยประชากรจากชนบท ๓.๔ เตรยี มความพรอ้ มใชน้ ำ้ อยา่ งประหยัด รู้คุณคา่ และ และต่างประเทศเขา้ ส่กู รุงเทพฯ มากข้ึน การนำนำ้ เสยี เพื่อนำกลบั มาใชใ้ หม่ภาคอุตสาหกรรมและบริการ ๔. ภาคบริการและการท่องเที่ยว ๔.๑ ภาคบริการและการท่องเท่ียวยงั คงขยายตวั ๓.๕ วางแผนการจัดการนำ้ ในพ้ืนทภี่ าคกลางตอนลา่ ง ยงั สามารถเติบโตและสรา้ ง มากขึ้นทัง้ ในเขตกรุงเทพฯ และเมืองท่องเท่ยี วหลัก อย่างเป็นระบบ รองรับสถานการณ์ในระยะ ๓๐ ปี รายได้เข้าประเทศจำนวนมาก ๔.๒ การเพ่ิมขึ้นของนักท่องเทยี่ วจากประเทศ ๔.๑ เตรยี มจดั หาแหล่งนำ้ สนับสนุน สถานท่ีท่องเทีย่ วทีส่ ำคญั ๕. การเปล่ียนแปลงสภาพ ในภมู ิภาคเอเชยี ที่มกี ารเติบโตทางเศรษฐกจิ สงู ๔.๒ แกป้ ญั หาการขาดแคลนน้ำในแหลง่ ท่องเท่ยี วชายทะเล ภมู ิอากาศ มีแนวโนม้ ความแปรปรวนและ ๕.๑ สภาพภมู ิอากาศมีความแปรปรวนมากขน้ึ ทำให้ หรอื พ้ืนทเ่ี กาะท่ขี าดแคลนน้ำจดื รนุ แรงเพ่มิ มากข้นึ เกิดปัญหาขาดแคลนนำ้ ปญั หาอทุ กภยั วาตภัย ๔.๓ การจัดการน้ำทว่ มในเขตพ้ืนที่ท่องเทย่ี วสำคญั ท่ีเกิดความเสยี หายรนุ แรง สง่ ผลกระทบต่อ ๕.๑ จัดทำแผนบรหิ ารจัดการน้ำแบบยืดหยุ่น มีแหล่งน้ำหลัก เศรษฐกจิ ชีวิต ทรพั ย์สนิ ของประชาชนมากขึ้น แหลง่ นำ้ สำรอง และการเชื่อมโยงกับระบบชลประทาน ๕.๒ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศจะมผี ลกระทบ ๕.๒ กำหนดพนื้ ท่ีเสีย่ งจากอทุ กภยั ภัยแล้ง และพฒั นาระบบ ตอ่ ปรมิ าณนำ้ ตน้ ทนุ และผลผลติ ทางการเกษตร ทำให้เกดิ ปญั หาความไมม่ ั่นคงด้านอาหาร พยากรณ์เตือนภัยให้มปี ระสิทธภิ าพ ถูกต้อง และรวดเร็ว ๕.๓ การเตรียมความพร้อมในการรบั มือกบั ภยั ธรรมชาติ การบรหิ ารพื้นท่ีน้ำทว่ ม และพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน เพือ่ บรรเทาและแก้ไขปัญหาอย่างเปน็ ระบบ 11 11

๑๒ ตารางที่ ๒-๓ การเปล่ยี นแปลงดา้ นทรัพยากร และสถานการณ์ของประเทศ ที่มผี ลตอ่ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำของประเทศ 12 12 ประเดน็ สถานการณ์ แนวโนม้ การเปลีย่ นแปลง ทิศทางการจัดการนำ้ ๑. การจดั การพื้นที่ต้นนำ้ และปา่ ไม้ ๑.๑ พนื้ ที่ปา่ ต้นน้ำถูกบุกรุกเพือ่ ปลูกพชื เศรษฐกิจ ๑.๑ จำเป็นตอ้ งฟืน้ ฟูปา่ ตน้ น้ำ เพ่ือลดผลกระทบต่อพืน้ ที่ ๒. การจัดการทรพั ยากรดินและ เชงิ เดยี่ ว เชน่ ข้าวโพดล้ยี งสัตว์ ยางพารา และ กลางนำ้ และปลายนำ้ โดยการวางแผนการใช้ประโยชน์ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ยคู าลปิ ตสั ขาดแหล่งดูดซับน้ำฝน ทำใหเ้ กิดการ ทดี่ ินในเขตตน้ น้ำ กำหนดเขตการอนรุ ักษ์ ปา่ กนั ชน และ เปล่ียนแปลงปริมาณน้ำท่า ความรุนแรงของ เขตพน้ื ที่ทำการเกษตรเพื่อยังชีพ ๓. ปญั หาคณุ ภาพนำ้ ท่ีเกดิ จากพฤตกิ รรม อทุ กภัย และการขาดแคลนน้ำมากขึน้ ๑.๒ การพฒั นาแหล่งนำ้ ตน้ ทุน ตอ้ งพิจารณาร่วมกนั ระหว่าง การผลติ และการบริโภค ๑.๒ การพัฒนาแหล่งนำ้ ในเขตพื้นที่อนุรักษ์ทำได้ยากขนึ้ ผลประโยชนก์ ับผลกระทบทเ่ี กดิ ขึ้น เพ่ือหาจุดสมดลุ ๒.๑ มกี ารนำทด่ี ินทม่ี ีความเหมาะสมในการทำ ระหว่างการพฒั นากบั การอนรุ กั ษ์ การเกษตร เชน่ ในเขตชลประทาน มาใชใ้ นการ ๒.๑ จดั ระบบการปลูกพืชให้เหมาะสมกบั ศักยภาพของพ้นื ที่ ขยายเมอื งและพฒั นาพื้นทอ่ี ตุ สาหกรรม (Zoning by Agri-map) ๒.๒ การนำพ้นื ท่ีไมเ่ หมาะสมมาทำการเกษตร ทำให้ ๒.๒ จัดระบบการอนรุ กั ษด์ นิ และน้ำ และการปรบั ปรงุ บำรุงดนิ การลงทุนสงู ผลติ ภาพการผลติ ตำ่ ในพน้ื ที่ไม่มีศกั ยภาพในการพัฒนาแหลง่ น้ำ ๓.๑ ปริมาณน้ำเสยี จากชมุ ชนทร่ี ะบายลงสแู่ หลง่ นำ้ ๓.๑ ควบคุมนำ้ เสยี จากแหลง่ กำเนดิ เพื่อให้ไมเ่ กิน มีมากข้ึนตามการขยายตัวของเศรษฐกิจและชมุ ชน ขดี ความสามารถของแหล่งน้ำในการรองรับน้ำเสยี ๓.๒ นำ้ เสยี และสารเคมีจากการเพาะปลกู พชื ปศุสัตว์ ๓.๒ ลดการใชส้ ารเคมีเพ่ือการเกษตร นำ้ เสียจากฟารม์ และประมงส่งผลกระทบตอ่ แหล่งนำ้ ธรรมชาติ ปศุสตั ว์และการเพาะเลย้ี งสตั วน์ ้ำธรรมชาติ โดยเฉพาะในฤดูแลง้

๑๓ ตารางท่ี ๒-๓ การเปลี่ยนแปลงดา้ นทรัพยากร และสถานการณข์ องประเทศ ที่มีผลต่อการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรน้ำของประเทศ (ตอ่ ) ประเดน็ สถานการณ์ แนวโนม้ การเปลี่ยนแปลง ทิศทางการจัดการนำ้ ๔. สถานการณอ์ ุทกภยั ๓.๓ การตดิ ตาม ควบคุม การจัดการนำ้ เสยี ของโรงงาน ๓.๓ เพ่ิมประสิทธภิ าพในการบำบดั นำ้ เสียของระบบบำบัด ๕. สถานการณ์ภยั แล้ง อตุ สาหกรรมขนาดกลาง และขนาดเลก็ ทกี่ ระจายตวั นำ้ เสียรวมชมุ ชน มคี วามยุ่งยาก ๓.๔ การวางแผนให้มีปรมิ าณนำ้ เพอื่ รักษาระบบนเิ วศ ๓.๔ เมอื งขยายตัว แม่นำ้ คูคลองถูกบกุ รุก และขาดนำ้ ๓.๕ การฟืน้ ฟแู ม่น้ำลำคลองและแหลง่ นำ้ เพอื่ รกั ษาระบบนเิ วศลำน้ำและการผลกั ดนั น้ำเค็ม ๔.๑ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการระบายน้ำ โดยการปรับปรุง ๔.๑ ปา่ ตน้ นำ้ ลดลง ทำให้เกิดน้ำไหลบ่าลงพนื้ ท่ี กลางน้ำ และปลายน้ำอย่างรวดเรว็ สิ่งกดี ขวางทางน้ำ การปรบั ปรุงลำน้ำ ๔.๒ การใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ินเปลย่ี นไปทำให้ขาดพื้นที่ ๔.๒ จดั โครงสร้างป้องกันน้ำท่วมชุมชนเมอื ง จัดทำผงั น้ำ รองรับนำ้ หลากในฤดูฝน (แก้มลงิ ) ๔.๓ การขยายตวั ของชมุ ชนและเมืองไม่เหมาะสม เช่น ผงั การระบายน้ำ อย่ใู นพืน้ ท่ลี ุ่ม พน้ื ที่น้ำหลาก การพฒั นาท่ี ๔.๓ จัดการพ้นื ทน่ี ำ้ ท่วม พน้ื ท่ีชะลอน้ำ (แก้มลงิ ) กีดขวางทางน้ำ ทำใหเ้ กดิ อุทกภัยรุนแรงมากขึน้ ๔.๔ จัดทำทางผนั นำ้ และการใช้พื้นที่เกษตร ในการ ๔.๔ การเกดิ อุทกภัยมแี นวโนม้ รนุ แรงและขยายพื้นที่ มากขึน้ เช่น มหาอุทกภยั ในปี ๒๕๕๔ รองรบั นำ้ นองในภาวะวิกฤติ ๕.๑ ศักยภาพการพัฒนาแหล่งเกบ็ กักนำ้ ที่คาดวา่ จะ สามารถดำเนินการได้ถึงปี ๒๕๘๐ เพ่ิมได้ ๑๓,๒๔๓ ๕.๑ จดั การด้านความตอ้ งการ ใหส้ อดคล้องกับศักยภาพ ล้านลูกบาศกเ์ มตร พฒั นาพ้นื ท่ชี ลประทานเพ่ิม การพฒั นาในแตล่ ะพ้ืนท่ี ๑๗.๙๔ ลา้ นไร่ ๕.๒ พฒั นาโครงข่ายนำ้ เชอื่ มโยงระหว่างแหล่งนำ้ เพื่อสรา้ งเสถยี รภาพของนำ้ ต้นทุน 13 13

๑๔ ตารางท่ี ๒-๓ การเปล่ียนแปลงดา้ นทรพั ยากร และสถานการณข์ องประเทศ ที่มผี ลตอ่ การบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ ของประเทศ (ตอ่ ) 14 14 ประเด็นสถานการณ์ แนวโนม้ การเปล่ยี นแปลง ทศิ ทางการจดั การนำ้ ๕.๒ พ้ืนท่ีเกษตรนำ้ ฝนท่ีไม่มีศักยภาพในการพัฒนา ๕.๓ พัฒนาแหลง่ นำ้ ขนาดเล็กและนำ้ บาดาลเพิ่มเตมิ ในพืน้ ท่ี ๖. การจดั การแหล่งนำ้ ธรรมชาติ ๕.๔ พัฒนาแหลง่ น้ำบาดาลขนาดใหญ่ เพ่ือเสริมน้ำผวิ ดิน ท่เี ปน็ พนื้ ที่ชุ่มนำ้ แหลง่ น้ำประมาณ ๑๐๐ ลา้ นไร่ ตอ้ งพัฒนาโดยใช้ แหล่งน้ำธรรมชาติ นำ้ บาดาล และแหล่งนำ้ ในไรน่ า ท้งั ดา้ นการเกษตร และอุตสาหกรรมในพืน้ ท่ี ซ่งึ มีขอ้ จำกดั ๗. การบริหารจดั การทรัพยากรนำ้ เสริมการใช้น้ำฝน ในการพัฒนาน้ำผวิ ดนิ แบบบูรณาการ ๕.๓ แอง่ นำ้ บาดาลขนาดใหญ่ ยงั มศี ักยภาพในการ ๕.๕ จัดระบบการอนรุ กั ษด์ นิ และน้ำในพ้นื ที่เกษตรน้ำฝน พฒั นาเพมิ่ ขน้ึ เพอ่ื ใหส้ ามารถทำการเกษตรได้อย่างน้อย ปลี ะ ๑ ครงั้ ๖.๑ พน้ื ทชี่ ่มุ นำ้ ส่วนใหญ่ยงั ไม่ไดร้ บั การคุม้ ครอง ๖.๑ ปรับปรงุ การจัดการให้เหมาะสม ป้องกันการบกุ รุก ตามกฎหมาย ยกเวน้ พืน้ ที่ซ่งึ อยู่ในเขตอนุรักษ์ เพอ่ื รกั ษาพ้นื ท่ชี ุ่มน้ำไม่ให้สูญเสียระบบนเิ วศตามธรรมชาติ ๖.๒ เกดิ การสญู เสียพื้นที่ชมุ่ น้ำจากการบุกรกุ ต่าง ๆ ๖.๒ ใช้พนื้ ท่ีช่มุ น้ำเปน็ แหลง่ รองรบั นำ้ ในฤดูฝน และเปน็ เช่น การทำการเกษตร การเพาะเล้ียงสัตวน์ ้ำ แหลง่ น้ำเสริมในฤดูแล้ง ๗.๑ ปัญหาการบริหารจดั การทรัพยากรน้ำ ๗.๑ คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ (กนช.) และ มีความทา้ ทายและซบั ซ้อนมากข้ึน สำนักงานทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) ต้องทำหน้าท่ี ๗.๒ การเขา้ ถึงทรัพยากรน้ำของชาติเป็นไปโดยอสิ ระ กำกบั ดูแลการบริหารจดั การทรพั ยากรนำ้ ขาดกฎหมายในการกำกับดูแล ทำให้เกดิ ปญั หา ๗.๒ การขับเคลือ่ นงานตาม พ.ร.บ. ทรพั ยากรน้ำ ระหว่างภาคสว่ นการใชน้ ้ำ ๗.๓ สนบั สนุนใหท้ กุ ภาคสว่ น เขา้ มามีส่วนรว่ มในการพฒั นา ๗.๓ การจดั การโดยการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ น อนรุ ักษ์ ฟ้นื ฟู บำรุงรกั ษาและใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรนำ้

๑1๕5  บทท่ี ๓ สถานการณ์และปญั หาด้านทรัพยากรนำ้ ของประเทศ ๓.๑ ศกั ยภาพทรพั ยากรน้ำในประเทศ ปริมาณน้ำฝน พน้ื ที่ประเทศไทยประกอบด้วย ๒๕ ล่มุ น้ำหลกั มพี ้ืนทป่ี ระมาณ ๕๑๔,๐๐๘ ตารางกโิ ลเมตร หรือ ๓๒๑.๒ ล้านไร่ สภาพพื้นที่ตั้งอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุม ๒ ชนิด ได้แก่ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยที่ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทยระหว่างกลางเดือนพฤษภาคมถึง กลางเดือนตุลาคม มีปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยทั่วประเทศประมาณ ๑,๔๕๕ มิลลิเมตร มีความผันแปรตามพื้นที่ระหว่าง ๙๐๐-๔,๐๐๐ มิลลเิ มตรต่อปี ดังแสดงในรปู ท่ี ๓-๑ ปรมิ าณน้ำผวิ ดิน ปรมิ าณนำ้ ทา่ ตามธรรมชาติ (Natural Flow) ซง่ึ เปน็ ปรมิ าณน้ำบนผวิ ดนิ ทเ่ี กิดจากฝน โดยหักการซึมลง ใต้ดิน และการระเหยแล้ว มีปริมาณรวมทั่วประเทศ ๒๘๕,๒๒๗ ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นปริมาณน้ำทา่ ไหลออกนอกลุ่มน้ำ ทเ่ี หลือจากการเกบ็ กักและการใชป้ ระโยชน์แล้ว (Runoff) จำนวน ๒๒๔,๐๒๔ ล้านลกู บาศกเ์ มตร คิดเป็นรอ้ ยละ ๗๙ ของน้ำท่า ธรรมชาติ โดยลุ่มน้ำที่มปี ริมาณน้ำท่า (Runoff) สูง ได้แก่ ลุ่มน้ำโขง (อีสาน) ภาคใต้ฝั่งตะวันออกและแม่กลอง ตามลำดับ ในขณะที่ลุ่มน้ำที่มีปริมาณน้ำท่าน้อยที่สุด ได้แก่ ลุ่มแม่น้ำสะแกกรัง วัง และโตนเลสาบ ตามลำดับ สำหรับลุ่มน้ำที่มี ปริมาณน้ำท่ารายปีตอ่ พ้นื ท่ลี ่มุ น้ำมากท่ีสดุ ได้แก่ ลุม่ น้ำชายฝ่งั ทะเลตะวันออก และนอ้ ยทีส่ ุด ไดแ้ ก่ ลุ่มน้ำวงั ปริมาณน้ำบาดาล ประเทศไทยมี แอ่งน้ำบาดาลทั้งหมด ๒๗ แอ่งน้ำบาดาล มีปริมาณการกักเก็บในชั้นน้ำบาดาล รวมประมาณ ๑.๑๓ ล้านล้านลูกบาศก์เมตร (ดังแสดงในรูปท่ี ๓-๒) มีศักยภาพที่จะพัฒนาขึ้นมาใช้ได้ โดยไม่กระทบตอ่ ปรมิ าณนำ้ บาดาลที่มีอยู่ได้รวมปีละ ๔๕,๓๘๕ ล้านลูกบาศก์เมตร (ท่ีมา: กรมทรัพยากรน้ำบาดาล เม.ย. ๒๕๖๐) อย่างไรก็ตาม ในการพัฒนาน้ำบาดาลขึ้นมาใช้นั้น มีข้อจำกัดในเรื่องของความคุ้มทุน เนื่องจากมีค่าใช้จ่าย (ค่าไฟฟ้า/ค่าน้ำมัน/ ค่าบำรุงรักษา) ในการสูบน้ำ อีกทั้งก่อนทำการเจาะบ่อน้ำบาดาล จำเป็นต้องมีการสำรวจเพื่อให้สามารถกำหนดจุด ในการเจาะบ่อน้ำบาดาลที่มีปริมาณและคุณภาพน้ำบาดาลที่ดี โดยเฉพาะพื้นที่ที่เป็นหินแข็งและพื้นที่น้ำเค็มซึ่งจะมี ค่าใช้จา่ ยในการดำเนนิ การสำรวจค่อนข้างสงู ปรมิ าณแหลง่ น้ำต้นทุนท่คี วบคมุ ได้ ปริมาณน้ำท่าธรรมชาติเฉลี่ยของประเทศไทยมีจำนวน ๓,๔๙๖ ลูกบาศก์เมตรต่อคนต่อปี ซึ่งถือว่าเป็นค่าเฉลี่ยที่ต่ำเมื่อเทียบกับประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีการพัฒนาแหล่งเก็บกักน้ำ รวมความจุ ๘๑,๓๗๓ ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ ๒๘ ของปริมาณน้ำท่าธรรมชาติ จำแนกเป็นแหล่งเก็บกักน้ำ ขนาดใหญ่ ๗๓,๔๘๐ ล้านลกู บาศกเ์ มตร ขนาดกลาง ๔,๒๐๐ ล้านลูกบาศกเ์ มตร และขนาดเลก็ ๓,๖๙๓ ล้านลูกบาศก์เมตร มีปริมาณน้ำที่นำไปใชป้ ระโยชน์ได้ปีละประมาณ ๖๕,๐๐๐ ล้านลูกบาศกเ์ มตร ซึ่งปริมาณน้ำส่วนนี้ มากกว่าร้อยละ ๙๐ มาจากอา่ งเก็บนำ้ ขนาดใหญ่ เชน่ เขือ่ นภมู ิพล เขอ่ื นสริ กิ ิติ์ เข่อื นศรนี ครินทร์ และเขอื่ นวชริ าลงกรณ์

16 ๑๖  รปู ท่ี ๓-๑ แผนที่แสดงความเข้มและการกระจายของฝน (ที่มา : สำนกั งานทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ, ๒๕๖๑)

๑1๗7  รปู ที่ ๓-๒ แผนท่ีแสดงปรมิ าณและคุณภาพนำ้ บาดาล (ทมี่ า : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล, ๒๕๕๗)

18 ๑๘  ๓.๒ สภาพเศรษฐกิจและสังคม ประเทศไทยมีประชากรประมาณ ๖๖ ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยมีสัดส่วนความหนาแน่น ประชากรในพื้นที่ลุ่มน้ำภาคใต้และภาคกลางมากที่สดุ พื้นที่ลุ่มน้ำที่มีการพัฒนาแหล่งน้ำ ระบบชลประทาน และ การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมจะมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมค่อนข้างสูง เช่น ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ลุ่มน้ำชายฝั่งทะเล ตะวนั ออก ลมุ่ น้ำภาคใตฝ้ ่งั ตะวันออก และลมุ่ น้ำมลู เป็นต้น ๓.๓ การใชน้ ำ้ และการบริหารจดั การ พน้ื ท่กี ารเกษตร ประเทศไทยมีพื้นที่การเกษตร ๑๔๙.๒ ล้านไร่ โดยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือมพี น้ื ท่ีการเกษตรมากที่สุด คือ ๖๓.๖ ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ ๔๓ ของพื้นที่การเกษตรทั้งประเทศ รองลงมา คือ พื้นที่ภาคกลาง มีพื้นที่การเกษตร รวม ๒๗.๒ ลา้ นไร่ คดิ เป็นร้อยละ ๑๘ ของพ้ืนท่ีการเกษตรทง้ั ประเทศ ปัจจุบัน (ปี พ.ศ. ๒๕๖๐) มีการพัฒนาพื้นที่ชลประทานรวม ๓๒.๗๕ ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ ๒๒ ของพื้นที่การเกษตร ท่เี หลอื อีก ๑๑๗ ล้านไร่ หรือกวา่ รอ้ ยละ ๗๘ เปน็ พน้ื ท่ปี ลกู พชื โดยใช้นำ้ ฝนเป็นหลัก ซ่ึงมคี วามเสย่ี ง ต่อการขาดแคลนน้ำมาจากความผันแปรของสภาพลม ฟ้า อากาศ อีกทั้งในบางพื้นที่ยังมีสภาพภูมิประเทศ ไมเ่ อ้ืออำนวยตอ่ การลำเลียงน้ำจากแหลง่ น้ำมาใช้ประโยชน์อีกด้วย สภาพการเพาะปลูกข้าวทผ่ี ่านมา สภาพการปลูกข้าวของประเทศไทย มีความแตกต่างกันไปตามสภาพของระบบนิเวศในแต่ละภาค ขึ้นอยู่กับระบบชลประทานเป็นสำคัญ กล่าวคือ หากพื้นที่ใดมีระบบชลประทานที่ไม่สมบูรณ์ เช่น ในภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ เกษตรกรจะสามารถปลูกข้าวได้ปีละ ๑-๒ ครั้ง คือ ครั้งที่ ๑ นาปี และครั้งที่ ๒ นาปรัง โดยอาศัยน้ำฝน ส่วนพื้นที่ที่มีระบบชลประทานที่สมบูรณ์ เช่น ในเขตภาคกลาง ภาคเหนือตอนล่าง เกษตรกรจะปลูกข้าว ได้ปลี ะ ๒-๓ คร้งั โดยเกษตรกรจะทำนาปลูกข้าวต่อเนื่องทันทีหลังจากเก็บเก่ียวข้าวครั้งที่ผ่านมา ทำให้มีการทำนา ไดถ้ ึงปีละ ๓ ครง้ั หรือ ๕ คร้ังใน ๒ ปี ทำใหค้ วามตอ้ งการนำ้ สูงมากขนึ้ พื้นที่ศักยภาพที่เหมาะสมต่อการปลูกข้าวที่พัฒนาให้เป็นพื้นที่เกษตรชลประทาน มีทั้งสิ้น ๖๐ ล้านไร่ พื้นที่ดังกล่าวไม่ได้อยู่ในพื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมาย รวมทั้งเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และพื้นที่ชุ่มน้ำ แหล่งนำ้ พรุริมชายทะเล และเป็นพื้นที่มีความลาดชันน้อยกว่าร้อยละ ๒๐ โดยพัฒนาเป็นพื้นที่ชลประทานไปแล้ว ๑๘ ล้านไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ ๕๕ ของพ้ืนทีช่ ลประทานทงั้ หมด (๓๒.๗๕ ลา้ นไร)่ การบรหิ ารจดั การน้ำปจั จุบัน การบริหารจัดการน้ำในฤดูแล้งเป็นช่วงท่ีวิกฤติ ซึ่งจะเป็นไปตามสภาพปริมาณน้ำต้นทุน เม่ือส้ินสุดฤดฝู น โดยพจิ ารณาตามลำดบั ความสำคญั ของกจิ กรรมการใชน้ ำ้ ดงั น้ี ➢ลำดับ ๑ สำรองน้ำไวส้ ำหรับการใชน้ ้ำในชว่ งต้นฤดฝู น เพอื่ สนับสนนุ การเพาะปลูกข้าวนาปี ➢ลำดบั ๒ จดั สรรน้ำเพอื่ การอุปโภคบริโภคในชว่ งฤดแู ลง้ ➢ลำดบั ๓ จัดสรรนำ้ เพ่อื การรกั ษาระบบนิเวศในชว่ งฤดแู ล้ง ➢ลำดบั ๔ จดั สรรนำ้ เพ่อื การเกษตรกรรม ➢ลำดบั ๕ จัดสรรน้ำเพอื่ การอตุ สาหกรรม

๑1๙9  การบริหารจัดการน้ำในฤดูฝนจะเน้นให้มีการเก็บกักน้ำของแหล่งน้ำให้มากที่สุดในปลายฤดูฝน โดยจะ บรหิ ารจดั การควบคูก่ ับการบรรเทาอุทกภัยอกี ด้วย แบง่ เปน็ การบริหารได้ ดังนี้ ไมใ่ ชส้ งิ่ ก่อสรา้ ง ได้แก่ ๑) การพยากรณส์ ภาพอากาศ นำ้ ฝน นำ้ ทา่ และปรมิ าณน้ำในอา่ งเกบ็ น้ำต่าง ๆ ล่วงหน้า ๗ วนั – ๖ เดือน ๒) การตดิ ตามสถานการณน์ ้ำทว่ มและประมวลผลเป็นรายชั่วโมง และรายวนั ๓) การแจ้งเตอื นพื้นทีเ่ สยี่ งภยั ชมุ ชนเมอื ง ๔) การตัดสินใจ โดยใชข้ อ้ มูลจากการสำรวจพ้นื ท่นี ำ้ ท่วมแบบ real time ๕) การประชาสัมพันธ์ ได้แก่ เว็บไซต์ และเจ้าหน้าที่ระดับพื้นที่ต่อประชาชนโดยตรง ผนวกกับ การสอื่ สารผา่ นวิทยุและโทรทศั นข์ องสอื่ ภายนอก และใชส้ ่งิ ก่อสรา้ ง ไดแ้ ก่ ๖) อ่างเก็บน้ำ ทำการเก็บกักน้ำและหน่วงน้ำอย่างเต็มศักยภาพ และทำการระบายน้ำส่วนเกิน ที่เขอื่ นไมส่ ามารถรองรับได้ ใหส้ ่งผลกระทบต่อการเกดิ นำ้ ทว่ มด้านลา่ งเขือ่ นน้อยที่สุด ๗) ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ โดยทำการเร่งรัดให้เกิดการระบายน้ำ ในระบบชลประทาน เพอ่ื ลดยอดนำ้ สงู สุดในแมน่ ้ำ ๘) ระบบคูคลองและลำน้ำย่อย โดยทำการกระจายน้ำ เพื่อลดยอดน้ำสูงสุดในแม่น้ำและรองรับ นำ้ หลากจากตอนเหนือ ๙) ประตูระบายน้ำ และอาคารบังคับน้ำชลประทาน โดยทำการควบคุมและเร่งระบายน้ำ จากพืน้ ที่น้ำทว่ มขงั ๑๐) เครื่องสูบน้ำ ใช้ในการสูบน้ำในพื้นที่น้ำท่วมขังที่ไม่สามารถระบายตามธรรมชาติ ได้ลงสรู่ ะบบแมน่ ำ้ และคคู ลองตา่ ง ๆ ๑๑) คันป้องกนั น้ำท่วม โดยทำคันกัน้ น้ำและเสริมคันกันน้ำท่ีมอี ยู่เดิม เพ่อื ป้องกันพ้นื ท่ีเศรษฐกจิ ๑๒) การเติมน้ำลงส่ใู ต้ดิน โดยการระบายน้ำฝนในช่วงฤดูน้ำหลาก ผ่านสระก้นร่ัว ผา่ นบ่อเติมน้ำ เพื่อกักเก็บน้ำฝนไว้ในชั้นน้ำใต้ดิน ซึ่งจะทำให้ระดับน้ำใต้ดินให้สูงขึ้น และสามารถ นำกลับมาใช้ประโยชนไ์ ด้อกี ครั้งในฤดแู ลง้ ความตอ้ งการใชน้ ำ้ ในพน้ื ทเ่ี กษตรท่ีอยู่ใกลก้ ับแหล่งนำ้ จะมกี ารปลกู พืชในฤดูแล้ง โดยเฉพาะพนื้ ท่ีเกษตรชลประทาน ทำให้ มีการใช้น้ำเพื่อการเกษตรเป็นปริมาณมาก อีกทั้งการเพิ่มขึ้นของประชากร การขยายตัวของพื้นที่ชุมชนเมือง และการพัฒนา พืน้ ท่อี ุตสาหกรรมและพื้นทเ่ี ศรษฐกิจ ทำใหค้ วามตอ้ งการใชน้ ำ้ โดยรวมเพิ่มข้ึนดว้ ย สรุปไดด้ ังน้ี ๑) การใชน้ ้ำเพอื่ การเกษตร : มีการใชน้ ำ้ มากกวา่ ร้อยละ ๗๕ ของปรมิ าณการใช้น้ำท้ังหมด โดยแบ่งเปน็ ๑.๑) พ้นื ทเี่ กษตรในเขตชลประทานเป็นการใช้น้ำจากอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ผ่านระบบชลประทาน ซึ่งมีการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง จึงมีการใช้น้ำเป็นปริมาณมาก โดยเฉพาะใน พื้นที่โครงการเจ้าพระยาใหญ่ ซึ่งพบว่าในเขตชลประทานทั่วประเทศ จำนวนทัง้ สิ้น ๓๒.๗๕ ล้านไร่ ได้จัดสรรนำ้ ให้พ้นื ท่ี ดังกลา่ วรวมท้งั ปีเฉลีย่ ๖๕,๐๐๐ ล้านลกู บาศกเ์ มตร

20 ๒๐  ๑.๒) พื้นทนี่ อกเขตชลประทานมีทั้งสิ้น ๑๑๗ ลา้ นไร่ เปน็ การใช้นำ้ ฝนโดยตรงเป็นส่วนใหญ่ และบางส่วนจากการสูบน้ำบาดาลและน้ำท่าบริเวณพืน้ ทใ่ี กล้เคียง การขาดแคลนนำ้ ขน้ึ กับปรมิ าณน้ำฝน และการกระจาย ของฝนในแต่ละปี รวมท้ังสภาพภูมปิ ระเทศ ชนดิ พืชและช่วงเวลาทป่ี ลูก จึงต้องการปริมาณน้ำเพ่ือป้องกันผลผลิตเสียหาย ในช่วงฝนท้งิ ช่วงอกี ประมาณปีละ ๔๘,๙๖๑ ล้านลูกบาศกเ์ มตร (คิดเฉพาะการปลูกฤดฝู นเท่าน้นั ) ๒) การใช้น้ำเพื่ออุปโภคบริโภคและการท่องเที่ยว : ปัจจุบัน (ปี พ.ศ. ๒๕๕๘) มีความต้องน้ำอุปโภค บริโภค ๔,๗๘๓ ล้านลูกบาศก์เมตร ซึ่งในอนาคต (ปี พ.ศ. ๒๕๘๐) คาดการณ์ความต้องการน้ำ จำนวน ๕,๙๙๑ ล้านลูกบาศก์เมตร เนื่องจากการขยายตัวภาคบริการของประเทศ มีการขยายตัวค่อนข้างมาก เป็นการขยายตัวด้านการท่องเที่ยว และภาคการค้า ในระดับทอ้ งถ่นิ และในระดับภูมภิ าค ทำให้เมอื งหลกั ในภูมภิ าค เช่น จ.เชียงใหม่ จ.อดุ รธานี จ.สงขลา และแหล่งท่องเท่ียว สำคัญที่มีชื่อเสียงติดระดับโลก เช่น กรุงเทพมหานคร ชายฝั่งทะเลอันดามันและเกาะสมุย มีความต้องการใช้น้ำเพิ่มขึ้น มีจำนวนนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศประมาณ ๑๔ ล้านคน ซึ่งมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง และมีแนวโน้มที่จะขยาย การท่องเที่ยวบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันตกใน จ.เพชรบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ และ จ.ชุมพร พร้อมทั้งมีการขยายตัวภาคบริการ ภาคการค้าทั้งในประเทศและการค้าชายแดน เช่น ภาคเหนือใน จ.เชียงใหม่ จ.เชียงราย จ.พิษณุโลก และ จ.ตาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใน จ.อุดรธานี จ.นครราชสีมา และ จ.มุกดาหาร ภาคกลางในกรุงเทพมหานคร จ.นครสวรรค์ จ.ชลบุรี จ.ระยอง และภาคใต้ ใน จ.สุราษฎร์ธานี จ.สงขลา และ จ.ภูเกต็ ๓) การใชน้ ้ำเพ่ืออตุ สาหกรรม : ปจั จุบนั (ปี พ.ศ. ๒๕๕๘) ภาคอตุ สาหกรรมมคี วามตอ้ งการ ๑,๙๑๓ ลา้ น ลูกบาศกเ์ มตร คาดการณ์ความต้องการน้ำในอนาคต (ปี พ.ศ. ๒๕๘๐) จำนวน ๓,๔๘๘ ลา้ นลูกบาศกเ์ มตร ในพ้ืนที่หลักท่ีมี โรงงานและกลุ่มอุตสาหกรรม คือ กรุงเทพมหานครและจังหวัดใกล้เคียง รวมถึงพื้นที่ในภาคตะวันออกซึ่งเป็นพ้ืนท่ี อุตสาหกรรมหลักของประเทศ สำหรับในภาคอื่น ๆ อุตสาหกรรมส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากภาคเกษตรและ การผลติ เพ่ือใช้ในทอ้ งถิ่น ๔) การใช้น้ำเพื่อรักษาระบบนิเวศ: ปริมาณความต้องการน้ำเพื่อการรักษาระบบนิเวศในฤดูแล้ง รวมทั้งประเทศปีละมากกวา่ ๒๗,๐๙๐ ล้านลกู บาศกเ์ มตร โดยสรุป ความต้องการน้ำรวมทั้งประเทศ (ปี พ.ศ. ๒๕๕๘) ประมาณ ๑๔๗,๗๔๙ ล้านลูกบาศก์เมตร สามารถเข้าถึงแหล่งน้ำในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ แหล่งเก็บกักน้ำ อาคารพัฒนาแหล่งน้ำ แหล่งน้ำ/ลำน้ำธรรมชาติ และน้ำบาดาล เป็นต้น จำนวน ๑๐๒,๑๔๐ ล้านลูกบาศก์เมตร ท่ีเหลือยังไม่สามารถจัดสรรน้ำให้กับพื้นที่การเกษตร นอกเขตชลประทาน และน้ำอปุ โภคบางส่วนอีกประมาณ ๔๘,๙๖๑ ล้านลกู บาศกเ์ มตร การใช้นำ้ บาดาล การใช้น้ำบาดาลในประเทศไทย มีทั้งการใช้น้ำในด้านอุปโภค-บริโภค เกษตรกรรม และ อุตสาหกรรม โดยแบ่งน้ำบาดาลออกเป็น ๒ ระดับ คือ ระดับตื้น ท่ีมีความลึกไม่เกิน ๑๕ เมตร จะมีการทำบ่อน้ำตื้น เพ่อื สูบน้ำขนึ้ มาใช้ และน้ำบาดาลระดับลึกทีต่ ้องทำการเจาะบ่อน้ำบาดาล โดยข้อมลู บอ่ นำ้ ตื้นในประเทศไทยปี พ.ศ. ๒๕๕๗ มีทั้งสิ้น ๑.๙๒ ล้านบ่อ ส่วนบ่อน้ำบาดาลในส่วนภาครัฐและเอกชน ที่สามารถใช้การได้มีจำนวน ๐.๑๗ ล้านบ่อ โดยในแต่ละปี จะมีปริมาณการใช้น้ำบาดาลในประเทศ ๑๔,๗๔๑ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี เป็นการใช้น้ำด้านการเกษตรมากที่สุดปีละ ๑๒,๗๔๑ ล้านลูกบาศก์เมตร เพื่ออุปโภคบริโภคปีละ ๑,๒๒๓ ล้านลูกบาศก์เมตร และในภาคอุตสาหกรรมปีละ ๗๗๗ ล้านลกู บาศก์เมตร (ท่ีมา: กรมทรัพยากรนำ้ บาดาล เม.ย. ๒๕๖๐)

๒2๑1  ๓.๔ สภาพปญั หาทรัพยากรน้ำ ปญั หาทรัพยากรนำ้ ประกอบดว้ ยการขาดแคลนนำ้ น้ำทว่ ม น้ำเสีย และนำ้ เค็ม เกิดขึ้นเนื่องจาก สาเหตุต่าง ๆ ได้แก่ ปริมาณน้ำฝนที่ไม่เพียงพอหรือมากเกินไป การบุกรุกพื้นที่ป่าต้นน้ำและแหล่งน้ำสาธารณะ การเพิ่มขึ้นของประชากรและขยายตัวของชุมชนเมือง การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจ การขยายตัวด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวพิเศษ การปลูกพืชที่ไม่เหมาะสมกับสภาพดินและน้ำ การสร้างสิ่งกีดขวางทางน้ำ การปล่อยมลพิษ ลงสู่แม่น้ำลำคลอง การขาดแหล่งเก็บกักน้ำต้นทุนที่เพียงพอ และการบริหารจัดการที่ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ซึ่งจะแตกตา่ งกนั ตามสภาพพนื้ ท่ใี นแตล่ ะลมุ่ น้ำ สรุปได้ดงั น้ี ปัญหาการขาดแคลนนำ้ ในรอบ ๔๐ ปที ่ีผ่านมา ประเทศไทยประสบปัญหาภัยแลง้ หลายคร้งั คือ ปี พ.ศ. ๒๕๑๐, ๒๕๑๑, ๒๕๑๕, ๒๕๒๐, ๒๕๒๒, ๒๕๒๙, ๒๕๓๐, ๒๕๓๓, ๒๕๓๗, ๒๕๔๒, ๒๕๔๕ แ ละ พ.ศ. ๒๕๔๘ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อรายได้ ของเกษตรกรและความเสียหายทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมากทั้งด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ที่ต้องอาศัยผลผลิตทางการเกษตรเป็นวัตถุดิบ ภัยแล้งครั้งรุนแรงที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๒๒, ๒๕๓๗ และ พ.ศ. ๒๕๔๒ เกิดเป็นบริเวณกว้างในเกือบทุกภาคของประเทศ ช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา (ปี พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๗) มีพื้นที่แล้งซ้ำซากเพิ่มมากข้ึน เนื่องจากฝนตกน้อยกว่าปกติหรือฝนตกไม่เป็นไปตามฤดูกาล ซึ่งพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งในระดับต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิประเทศ สภาพดิน ปริมาณฝน โดยพื้นที่เสี่ยงภัยในระดับรุนแรง (เกิดมากกว่า๖ คร้ัง/๑๐ ปี) และระดับปานกลาง (เกิด ๔-๕ ครั้ง/๑๐ปี) มพี ้ืนท่รี วมประมาณ ๒๖.๘ ลา้ นไร่ สำหรับปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค พบว่าหมู่บ้านทั้งประเทศไทย (ปี พ.ศ. ๒๕๖๐) จำนวน ๗๕,๐๓๒ หมู่บ้าน มีปัญหาหมู่บ้านที่ไม่มีระบบประปา ๒๕๖ หมู่บ้าน ระบบประปาชำรุดและขาดประสิทธิภาพ ๒๐,๐๓๔ หมู่บา้ น ปัญหาน้ำทว่ ม ในรอบ ๓๐ ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยได้ประสบปัญหาน้ำท่วมเกือบทุกจังหวัดของประเทศถึง ๑๓ คร้ัง ในปีต่าง ๆ ดังนี้ ปี พ.ศ. ๒๕๑๕, ๒๕๑๘, ๒๕๒๑, ๒๕๒๓, ๒๕๒๖, ๒๕๓๒, ๒๕๓๘, ๒๕๔๔, ๒๕๔๕, ๒๕๔๘, ๒๕๔๙, ๒๕๕๓ และ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยมีอุทกภัยในลุ่มน้ำเจ้าพระยาที่มีความรุนแรงถึง ๘ ครั้ง คือ ปี พ.ศ.๒๕๑๘, ๒๕๒๖, ๒๕๓๘, ๒๕๔๕, ๒๕๔๘, ๒๕๔๙, ๒๕๕๓ และ พ.ศ. ๒๕๕๔ ตามลำดับ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน และเศรษฐกิจของประเทศ อย่างมาก เช่น ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ มคี วามเสยี หายทางเศรษฐกิจคิดเปน็ มูลคา่ ถึง ๑.๔๔ ลา้ นล้านบาท พน้ื ท่ีน้ำทว่ มขัง ซ้ำซาก ของท้ังประเทศ ระดบั ปานกลาง คือ ๔-๕ ครง้ั ในรอบ ๙ ปี และระดบั สูง คอื มากกวา่ ๕ คร้ังในรอบ ๙ ปี รวมท้งั สิน้ ๑๐ ล้านไร่ พ้ืนที่เสย่ี งต่อดินโคลนถล่ม รวมทั้งส้นิ กว่า ๖,๐๔๒ หมูบ่ ้าน มีสาเหตุจากฝนที่ตกหนักในพ้ืนที่ลุ่มน้ำ และจากสภาพทางกายภาพของล่มุ นำ้ ท่เี ปน็ ภูเขาสงู ชนั และพ้นื ทีป่ า่ ต้นนำ้ ตอนบนถกู ทำลาย

22 ๒๒  รปู ที่ ๓-๓ พ้นื ที่เส่ยี งภยั แลง้ ซำ้ ซาก (ท่มี า : กรมพฒั นาที่ดิน, ๒๕๔๘-๒๕๕๖)

๒๒2๓๓3  นจขทรทคขนจทครทะาอะาอุณ้ำีอ่ีุ่ณมำ้อี่ี่มกบกงบเงเยสยีนภสแีนชภแชบบใู่ใู่ียหยีาหุ้ำมาุ้ำมนบนบจพจพเลเชลชเำสเำสาานง่กนนง่กนบกบีกยีนยนณ้เำณ้เำชดัชกดัชกช้ำใ้ำใมุนนฑมุนินดหุฑมิดหุมชชชข้ำชลขำ้ช์พลช์พนเนเว่ึ้นกัว่ึ้นนักสนสอองงททกยีเกียใเ๑ใ๑กปป๑กปป๑ชา่ัวใชาั่วใ๐๐นิรดนปรญัิร๐ด้แปรัญ๐้แช.ชะ.พขะพร๓ขลร๓ลหะปหะเปะเะึ้นนื้ึ้ะน้นืทะทหหลเาลีเยาียทเทมทเทมศนศคน้สาค้สา้อ้อศากี่ศาไนก่ีไนา้ณุ่ือ้านณุื่อนทกทกรดรลดล(ม(หมหทุงจยทภจยุงภนิูกนิูกโเลโเำลำี่สทาีท่บสททาทบทมนมนังังพุพดพาุพดม่ีรา่ีมีรวคีวค(ศ(ศมมปนนปีมมปนนีปุณคุณคกกหมหี้ำมยุ๋ี้ำุ๋ยือ๕ื์พเอ๕ภ์พเภาผมีแตาผมแีต๒.๒นา.านกตกนศวิกตกนศวิ พพคครค.รครดแ.วรดแวตนร๒ตนุา้รง๒โหุา้งินโหินสงนเ่สองน้ำเ่อ๕้ำล๕ลทจทจาวอา้มวอ้ม๔ง่๔าง่มพามพนัยนันยเนกเก๘๘าพามพมู่ใู่ใก้ำขกำ้รขร-น-นห่ิ)มหิ่)ม๒าถณ๒าถณเรไเารไขาบข๕กบ๕มกมะเะเนนึน้ก้นึกำณ๕ำณท่พ๕ท่พคษบคษบ๗บี๗่รฑบี่รฑสรสตรัดตดัะะ)ค)คา์ดรา์ดรนบนบโพพโณุเณุเีดีดห้ำบแห้ำบแบรบรภเยภเยลบลตบ้ตสอว้อสวามะามะำุสำ่ายยีุส่ายียพพกบกีนบีนำไลำลไแนแานาดดัดค้ำัดคะ้ำะรหรห้ำำ้้เน้ญัเนปญัปทสรลทสรล๒๒้ำศ้ำ้อศข้อี่งยขี่อ่ีงยี่อเ๙เ๙สุนสยุสนสอยยอปยปัตีลย้ตัำงีลยู้่ำใพงู่ใพรรนทวนรปทวะรปะะอะออ์เอ์เี่อัญ่ีอมัญกโมกใโใ๓ง๓งดดยชยชณารณารหหย๘ย๘ู่ใ้ณู่ใับ้ณับฑนารปฑนารปนนค้อขเค้อขเ์ดจัด์ัจ๒ก๒ก้ำ้ยุณอำยจณุอีมจีมณณเเลงสลบุลงสาบุลภาภฑปะฑปกีะยก้ีายัน้านัาารท์นดรท์พนดพ๔แ๔แ(ิม(ิมีมปี่ลเีมปนี่ลเลนล๙ก๙กาาีูแกีะีูแกำ้ีะำ้ิดณพิดณพนเเบแนเเบแสขสสขส..นศวลนศวาลา่ือึ้นอื่ือ่้ึน่อืโ.โศะ.้ำศะำ้นมมไนมมไ๒๒เเกดเเกดโโโสส้มโส้สมท๕ทท๕์้เเท์้เเลยีืพ่อมลียืพ่อมร๕รร๕รดทดมตทมมียตมมยีม๗๗ลลโรมงีเ่โมรงเ่ีมมก)ทงรก)ทงรตาตาาามอ้มิดรกอ้ิดขรก่ขอจ่อจยีปมขีปยมณขณาวาวออลรลึน้รกนึ้กันันะรยะรยะิมะิมกกท้อท้า่อ่าาใาาใ๓า๓งยงี่นณแย่ีนณแรรไ๑ไ๑ลหลรหขรรขรนนกะะลกะะณลพณพำ้ำ้บ็ตบ็่ตง่งเ๒เื้น๒ะื้นะสนสาานาาทท๒ททม๒ียยมียย้ำ้ำี่่ี่ี่ี แใแอณอแใแณนนลุปลุลปลพพจะโจะะโะน้ืภื้นภดุแุดแเเทคขทคคขมคม-ี่ตื-่ีตว่ื่อกว่่อกบบอบอบลนลนรรนนคคอิโอวิโวบบภุมภมุงชงชนนคคิริไทขรไทขนนมมาอาอำำ้ำ้ำใ่ล่ใงใลงใใใหขหขลนลนหหงงอ้เอุ่ม้เสุ่มกส้เกก้เกงกงนกน่วร่วนิรรนิริดิ้นำด้นำณาณามมผษผขษขเเาา์ชใ์ชใลอลฎอตฎตนน่นน่กงกงรรรรฤฤปปรทรฐจทฐจดะดัญะาาัญีาา่อี่อกูทนกแทูนแยหยหเเขบลขขบลูข่รู่ราาออ่ื้อติงมื่อ้กติงมกงนปงน่ปฝอา่ฝอากกภรภักี่รงลัก่ีงลาารแรูมแมูาาะระรุกุมกรมพิริพเมเมลกเล่นกเ่ลนลาพพา้ษำ้ษำ้ำ้ำกกเขาเขาตขตขกะกกอะกอร่อืร่อื ปาวปงาวงแนแนรนรน่ลา่ลลาสลสจจ้ำูก้ำูะกริะิรัดัด๒เ๒เพิกกพิกกคคสส,,ติาืิตาช๘็ืมรช๘็มรรริ์ร์ิร๐เ๐ปเปกนเขกนเขกก๐รา๐รอื่า้ำื่อ้ำิดะิดระนเรนเพปพขปลปขปลปปึื่้อนาึื้่้อรนาา้รา่า่าผะสในผะสในนนลปักลปักลลตัตกัากาูกเูกเอขดอขดบกบกนือ่นัน่อืันาาานลานลนนรรศขศข่า่า้ำป้ำปุนกงุนงกเเรคขรคขด์ดเ์เะะอ็มมอ็มม่าา่ มมนงนงตตเแงปแเงปปรปรมมรรกก็น็นา่เาน่เนาาพกกกพก้ำร้ำราาาาื่ืเอ่เออรอรรรจจชคชุจตคุจต้า้าลลัดวสัดพสวพสบาสรบารรรวหรวหระคะคมรมรกยกยุมุนมถนถารารคึง้คำึง้ำรรทจทจวเวมเมขขาาา่าา่า่ือกื่อกจตมจตมนแนแีนลีเนลเศหคศหคออรบรลบ็ลม็ดมดีนีนา่งา่งขจขจคเงคเงกนอกนอปรปร็บิ็นงบินงะกะกนนนทนกทากา้ำร้ร้ำงำรร้ำง์์ ปปัญัญหหาาคคณุุณภภาาพพนน้ำ้ำบบาาดดาาลล นพคจปกจทขจปนจคกขทพ.าาอว.า้นม่ีำาอวื้น้นี่มำื้นลลรรกาบกงาบงีปเีปทำเทำออมปมปกกาปาปรรจี่ปุตจี่ปุตส้ือสาดือ้าดิมามิา.า.โาโมัรนนมัรานนงภาางภามมทพทลพลใคณใคณคคแแแแนนำขำันขรันบรบลสนลสนเชเชึ้นศึ้นศธรธหะรหาะาวว้นััน้รก์มิโรก์มโิรรมปมปภภจีนธจีนธบัาลบัาลือาืคอร.าคร.ำ้ใ้ำใะรกะรกกชกรงชรบงคบอคลอาลแาแแมแแ้มเแ้เุาณญยุาณาญยลกาลกรมรรมรดดยเยะเินะจภิน่าดจภล่า่ดนล่นาใาเใเชนสชนกาสีนอื่บกลาีน่ือบ้ำล้ำพบมษพบมษนแไนนแุไนกุกพพดดดตนุรลดตนแุรล้ำแ้ำบ้บ้ีรุลนบะีรลุ้ลนำบะ้ลำมมกสกสบชใบอชะาใอะาีแรนีแรานาดาแาดากแากรรรรรรภยดภยาหดาหจมจม่เห่เหลฝาลฝาหาาหลาลานเคนสล่ังเคสลั่งกลง่กชลง่ชทูททตูงโูทนตงูโนน็กน่น็ก่นดกดกะะะี่ะอ้ำี่อแ้ำี้แี้ยวยวเจวเพจวบาพบลาลลลา่ท่าท.ัน.ันจจรุยะารุยะาเเั่วัอเ่กวม้ออเกโมงฟ้อโงฟชชสไสไพอณนีพสณอนีสลปล่ปนธ่นธกากื้นาืู้นอฑรูอฑจรจบเบเเเพอทพอทะหฉ์มะหฉ์มาาจไจอืไ้นีี่ยอทืา้นีต่ียทาตงงรร..ตยองพตยทองพุจีท่ดมุจี่ดมเูร่เใบุูร่ใบุาื้นี่แา์ืน้หสีี่แก์หสีกนนฐฐกลกลมทมูทงานูงานาเาเรกรกกก่กรนกพ่ี่รนนพ่ีืนอือาาาวลาณวลณ้ำชบน้ำชบนร่ราบ่าักเบักเธธปำ้ฑปป้ำฑจเปจเาาลกาาลดกดัญ้า์ญัมนา้์นมนงนงอณอณมื่พืม่พพาพเาหีเหีบบปปฑตรฑตรื้นจืเา้นจเาทะทชื้อะรชื้อร์ม.ก์ม.กททศศยฐิ่นย้นงฐิ่น้นงาาาาีร่มีร่มาาขาาขตรตตรตสีสีใีนคในีคยรยรรารแนาแนะะุณทุกุณฐะทุกฐะมมลเบลเบกาลกพาี่ใลพี่ใธภะธภะานชาษชนษำ้้ำริษริงษางา้บขจ้บขจรรพพพพซจซจอ.รมอ.รมนนสน้ืสื้นึ.่งนึ.่งนิโงิโสงชสช้เงำภท้เงำภนท้ำนป้ำุรปาุรขาเขเบคขี่บคำ้่ขีินส้ำตนิส็ตน็ลนลเอไาเอไาียทิขียทิคขปาคดปาดดดงงอร็อมร็มั้ญา้ัญาขทขทอ์อจ์งจลงใลใแอแหีอ่อหแนี่ยอแ.นยก.กเลเงลงาาร่าาาชชร่ารชชรเะเทะจ่ธทงจ่ธง่ียอั้นส่ียอ้นัสไาจไีาจ่มียง่มจียนงยจีรนยรตะตใะใ-ัก-.กัอก.ำ้กอำ้หเบหเุบมใุใมคเคบ็เตาบ็ตนานมกุรมกีสุรีส็มจ็มาาจาาชีรชิ่ดรีิ่ดาาดมถจดมถจัมไัมั้นไัเข้นเขมา.ูกหมา.ูกหยยลหึ้ลยนหึ้ยนลล่เช่เตช์ต์ำหำังหินักงินกใใะุจพะุจมพโมนมโนมับใับใดลาดลาูนีบหนูาีบหบาบพกพย้กาย้าะะา้นา้นาางกจื้งกนสจื้นสงงงจง้ำจล้ำละาำพะาำพทพทพ.แ.แหรงแเรหงแเื้นีื้่น้ืปทนี่ลื้ปทนสไลพสไรพรปทปท็ทนีะู่บม็ับทนีะู่บมับรร่ี่ีี่ี่ี่ี่

24 ๒๔  รูปที่ ๓-๔ พ้นื ทเี่ ส่ียงภยั นำ้ ทว่ มซ้ำซาก (ที่มา : สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศและภูมสิ ารสนเทศ (GISTDA), ๒๕๔๘-๒๕๕๖)

๒2๕5  รปู ที่ ๓-๕ คณุ ภาพน้ำในแหลง่ น้ำสำคัญทวั่ ประเทศ (ท่ีมา : กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๕๗)

26 ๒๖  บทที่ ๔ แผนแมบ่ ทการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) การพัฒนาประเทศตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รัฐบาลได้ให้ความสำคัญในการจัดหาแหล่งน้ำ และ พัฒนาระบบชลประทานมาโดยตลอด เพื่อตอบสนองต่อความต้องการใช้น้ำของประเทศ ทั้งด้านอุปโภค บริโภค ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และการรักษาระบบนิเวศ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม ส่งผลให้ความต้องการใชน้ ้ำเพ่ิมมากข้ึน รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ การเกดิ ปัญหาภยั ธรรมชาติท่ีรุนแรงเพ่ิมมากข้ึน เชน่ ปัญหาอทุ กภยั ภัยแล้ง ปัญหาการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ ลาดชัน และดินโคลนถล่ม ซึ่งเป็นผลจากการตัดไม้ทำลายป่าและพื้นที่ป่าต้นน้ำทรุดโทรม ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ ในพื้นที่ต้นน้ำ ปัญหาน้ำเน่าเสียที่เกิดจากชุมชน เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม โดยปัญหาดังกล่าวทวีความรุนแรงขึ้น และกระทบตอ่ ประชาชน เศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ ประเทศไทยได้จัดทำยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๑๒ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๙) เพื่อเป็นกรอบและแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง ของสภาพแวดลอ้ ม สภาพสงั คมและเศรษฐกิจ รวมถึงรัฐบาลได้จดั ทำยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ในประเด็นการบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) และ แผนปฏริ ูปประเทศ ๑๑ ด้าน ในการพฒั นาประเทศ ดังน้นั เพอ่ื ให้การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ สอดคล้อง และ ตอบสนองเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ จงึ ได้จดั ทำแผนแม่บทการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) โดยปรับปรุงยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๑๒ ปี ให้มี ความเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั เป้าหมายของยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ๔.๑ ความเชอื่ มโยงยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี กบั แผนแมบ่ ทการบริหารจดั การทรัพยากรนำ้ ๒๐ ปี สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ภายใต้ยุทธศาสตร์ ที่ ๕ การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งถ่ายทอดลงสู่การดำเนินงานตามแผนแม่บทการบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ (แผนระดับ ๒ : แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าตปิ ระเดน็ ที่ ๑๙ ) โดยการจดั ทำแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ ๒๐ ปี มีความเช่อื มโยงและดำเนินการสอดคล้องกับการพัฒนายอ่ ยตามแผนแมบ่ ทการบรหิ ารจดั การทรัพยากรนำ้ ทง้ั ระบบ ดังน้ี ๑) พัฒนาการจัดการน้ำเชิงลุ่มน้ำทั้งระบบเพื่อเพิ่มความมั่นคงด้านน้ำของประเทศ ๒) เพ่ิมผลิตภาพของน้ำทั้งระบบในการใช้น้ำ อย่างประหยัด รู้คุณค่า และสร้างมูลค่าเพิ่มจากการใช้น้ำให้ทัดเทียมกับระดับสากล และ ๓) อนุรักษ์และฟื้นฟู แม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติทั่วประเทศ โดยจะวัดความสำเร็จจากการใช้ดรรชนีตามกรอบของธนาคารพัฒนา เอเชีย (ADB) ทั้งนี้แผนแม่บทด้านน้ำจะกำหนดแผนงานที่จะดำเนินการให้มีผลผลิตและผลลัพธ์ที่สามารถส่งผล กระทบต่อดรรชนีการวดั ในระดับชาตไิ ด้ มีประเดน็ ความเช่อื มโยง ดังนี้ (ตารางที่ ๔-๑)

๒2๗7  ตารางท่ี ๔-๑ ความเชื่อมโยงยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี กับแผนแม่บทการบริหารจดั การทรพั ยากรนำ้ ๒๐ ปี แผนแมบ่ ทประเดน็ แผนยอ่ ย/ความครอบคลุม แผนแม่บทฯ นำ้ ท่สี อดรับ แผนแมบ่ ทประเด็นที่ ๑๙ ๑. พฒั นาการจัดการนำ้ เชิงลุ่มนำ้ ด้านที่ ๑ การจดั การนำ้ อปุ โภคบริโภค การบริหารจัดการนำ้ ทงั้ ระบบเพื่อเพม่ิ ความมัน่ คง • พัฒนาระบบประปาชนบท ทงั้ ระบบ ด้านน้ำของประเทศ • พัฒนาน้ำด่มื ให้ได้มาตรฐานและราคา ทีเ่ หมาะสม • จดั การนำ้ เพื่อชุมชนในชนบท ดา้ นท่ี ๓ การจดั การนำ้ ท่วมและอุทกภัย • จดั การน้ำเพ่ือส่ิงแวดล้อม • เพิ่มประสิทธิภาพการระบายนำ้ • จัดระบบการจดั การนำ้ • ป้องกนั น้ำทว่ มชุมชนเมือง การจดั ทำผังนำ้ และปรบั ปรงุ ผงั เมือง ในภาวะวกิ ฤติ • การจดั การพน้ื ที่นำ้ ท่วม และพืน้ ทีช่ ะลอน้ำ • จัดการบรหิ ารนำ้ เชงิ ลุ่มน้ำ อย่างมธี รรมาภิบาล • การบรรเทาอุทกภัยในเชิงพน้ื ที่อย่างเปน็ ระบบในระดับลมุ่ น้ำ และพ้ืนท่ีวิกฤติ • การสนบั สนนุ การปรับตัวและเผชญิ เหตุ ด้านที่ ๔ การจดั การคณุ ภาพนำ้ และอนรุ ักษ์ ทรัพยากรน้ำ • การลดนำ้ เสยี จากแหลง่ กำเนิด • พฒั นาและเพิ่มประสทิ ธิภาพระบบบำบัดน้ำเสยี ดา้ นท่ี ๕ การอนรุ ักษ์ฟน้ื ฟูสภาพปา่ ตน้ น้ำ ที่เส่ือมโทรมและป้องกนั การพงั ทลาย ของดิน • การอนรุ ักษ์ฟนื้ ฟูพื้นที่ปา่ ต้นน้ำท่เี สือ่ มโทรม • การป้องกันและลดการชะลา้ งพงั ทลาย ของดนิ ในพ้นื ทต่ี น้ น้ำ ด้านท่ี ๖ การบริหารจัดการ • ปรับปรุงองค์กรด้านการบริหารจัดการน้ำ • การจัดทำแผนบรหิ ารจัดการนำ้ ๒. เพมิ่ ผลิตภาพของนำ้ ทั้งระบบ • การพฒั นาระบบฐานข้อมลู สนับสนนุ ในการใช้น้ำอย่างประหยัด การตัดสนิ ใจ รู้คุณคา่ และสร้างมูลค่าเพ่ิม จากการใชน้ ้ำให้ทดั เทียมกบั ด้านที่ ๑ การจดั การน้ำอุปโภคบรโิ ภค ระดบั สากล • การพัฒนาระบบประปาเมือง/เศรษฐกิจ • จัดการนำ้ ในเขตเมือง • การประหยดั นำ้ ในทกุ ภาคส่วน • จัดการนำ้ เพื่อการพฒั นา ดา้ นที่ ๒ การสร้างความมน่ั คงนำ้ ภาคการผลิต • เพิม่ ผลิตภาพของการใชน้ ้ำ • พัฒนาแหลง่ น้ำตน้ ทนุ ใหม่ • บริหารจัดการความต้องการ • จดั หานำ้ พื้นทเ่ี กษตรนำ้ ฝน • การเพ่ิมผลิตภาพภาคการผลติ

28  ๒๘ แผนแม่บทประเดน็ แผนย่อย/ความครอบคลุม แผนแม่บทฯ นำ้ ที่สอดรบั ๓. อนรุ กั ษแ์ ละฟนื้ ฟูแมน่ ำ้ ด้านที่ ๔ การจัดการคุณภาพน้ำ และและอนุรักษ์ ลำคลองและแหล่งนำ้ ธรรมชาติ ทรพั ยากรนำ้ ท่ัวประเทศ • ฟน้ื ฟูแม่นำ้ ลำคลอง • พสิ ูจน์และสอบเขตแมน่ ้ำ ลำคลอง • แก้ไขปัญหา การรุกล้ำ แนวเขตแม่นำ้ • จดั ทำขอ้ กำหนดในการ ออกแบบทั้งเชงิ ภมู ิ สถาปัตยกรรมและวิศวกรรม ๔.๒ ความเชื่อมโยงแผนการปฏิรูปประเทศ ๑๑ ด้าน และแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี แผนการปฏิรปู ประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เรื่องทรัพยากรน้ำ ได้พิจารณา กำหนดแนวทางการปฏิรูปประเทศ เป้าหมาย และทิศทางของการพัฒนา ซึ่งแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ จะต้องกำหนดแนวทางการดำเนินงาน เปา้ หมาย และตวั ชวี้ ดั ให้เปน็ ไปในทิศทางท่ีแผนการปฏริ ปู ประเทศ โดยเช่ือมโยง แผนการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำ (จำนวน ๒๘ กลยุทธ์ ๕๔ แผนงาน) กบั แผนปฏริ ูปประเทศ ด้านทรพั ยากรนำ้ ๕ ประเด็น (๒๗ เรอ่ื ง/กจิ กรรม) ดังนี้ (ตารางท่ี ๔-๒) ตารางที่ ๔-๒ ความเชอื่ มโยงแผนการปฏริ ูปประเทศ ๑๑ ดา้ น และแผนแมบ่ ทการบรหิ ารจดั การทรัพยากรนำ้ ๒๐ ปี ประเด็นการปฏริ ูป ความเชอื่ มโยงแผนแม่บทฯนำ้ ๑. การบรหิ ารแผนงานโครงการทสี่ ำคัญตามแผน ด้านท่ี ๖ การบริหารจดั การ • การจดั ทำแผนบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำสอดคลอ้ ง ยทุ ธศาสตร์ การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรน้ำ • การพัฒนาโครงการพัฒนาแหล่งนำ้ ตาม กบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ ยุทธศาสตร์การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรน้ำ ดา้ นที่ ๒ การสร้างความมั่นคงของน้ำภาคการผลิต (กลไกการขับเคลอื่ นโครงการ) (เกษตรและอุตสาหกรรม) • การปรับปรงุ วธิ บี ริหารโครงสรา้ งเชิงซ้อน รว่ มกันอยา่ งเป็นระบบ • การจัดการดา้ นความต้องการ ๒. การบริหารเชงิ พืน้ ท่ี เพ่ือเพิม่ ประสิทธภิ าพ • เพ่มิ ประสิทธภิ าพโครงการแหลง่ นำ้ /ระบบส่งน้ำเดิม ในการบริหารจัดการน้ำ • การจดั หานำ้ ในพื้นทเ่ี กษตรน้ำฝน • การพฒั นาแหล่งเกบ็ กกั นำ้ /ระบบส่งน้ำใหม่ • การบรหิ ารจดั การรว่ มกัน • พฒั นาระบบผนั น้ำและระบบเชอื่ มโยงแหลง่ น้ำ • การถา่ ยโอนภารกิจและความรับผิดชอบ ด้านท่ี ๓ การจดั การนำ้ ท่วมและอทุ กภัย • การบรหิ ารจัดการใช้ประโยชน์ทีด่ ิน • การจดั การพ้ืนทีน่ ้ำท่วม/พนื้ ที่ชะลอน้ำ • สมดุลการใช้น้ำทงั้ ผวิ ดนิ และใตด้ ิน • การบรรเทาอุทกภัยในเชิงพื้นทอี่ ย่างเป็นระบบ • การบรหิ ารจดั การพื้นที่น้ำทว่ มตามฤดูกาล ในระดับลุ่มนำ้ /พื้นที่วกิ ฤติ

๒๙ 29 ประเดน็ การปฏริ ปู ความเชอื่ มโยงแผนแม่บทฯน้ำ ๓. การจดั การระบบเส้นทางน้ำ ดา้ นท่ี ๖ การบริหารจดั การ • การจัดการระบายน้ำ • การจัดทำ ปรบั ปรงุ ทบทวน กฎหมาย ระเบยี บ • การดูแลเสน้ ทางนำ้ ในบริเวณโรงพยาบาล ท่อี ยู่ในพ้ืนที่น้ำท่วม ขอ้ บงั คับด้านทรัพยากรน้ำ • การส่งเสรมิ พัฒนา องค์กรการบริหารจัดการ ๔. ระบบขยายผลแบบอยา่ งความสำเรจ็ นำไปสูก่ ารเปล่ียนแปลงการบรหิ ารจัดการน้ำ ทรพั ยากรน้ำในระดับประเทศ/ระดบั ลุม่ นำ้ • การจดั ทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๕. ความรู้ เทคโนโลยแี ละทรพั ยากรมนุษย์ เพื่อการ • การสนับสนนุ และขับเคล่ือนการบรหิ ารจดั การ บรหิ ารจดั การการขยายผลความสำเรจ็ ดา้ นการ บรหิ ารจดั การนำ้ /ดแู ลรักษาอยา่ งมีส่วนรว่ ม ทรพั ยากรน้ำในระดบั ประเทศ/ลุ่มนำ้ และยัง่ ยนื • การบูรณาการการมสี ่วนร่วมในการบรหิ ารจดั การ ดา้ นท่ี ๓ การจดั การน้ำทว่ มและอทุ กภยั • เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการระบายนำ้ • ป้องกนั นำ้ ท่วมชุมชนเมือง/ผงั นำ้ • การบรรเทาอุทกภยั ในเชงิ พน้ื ทอ่ี ยา่ งเปน็ ระบบ ในระดับลุม่ น้ำ/พ้นื ที่วิกฤติ ดา้ นที่ ๖ การบริหารจดั การ • การจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (แผนป้องกนั และแก้ไขภาวะน้ำแล้งและนำ้ ทว่ ม) ดา้ นที่ ๖ การบรหิ ารจดั การ • แต่งตั้งองค์กรผ้ใู ช้นำ้ และสง่ เสริมการจัดการน้ำชมุ ชน • งานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านการบริหาร จดั การทรัพยากรนำ้ • พฒั นากลไกความร่วมมอื ระหว่างประเทศ ดา้ นทรัพยากรนำ้ (ความรว่ มมือด้านวชิ าการ) ดา้ นท่ี ๖ การบรหิ ารจดั การ • การเพ่มิ ศกั ยภาพการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำ ระดบั ประเทศและลุม่ นำ้ (การใชน้ วัตกรรมหรอื แนวทางใหมใ่ นการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนำ้ ) • งานวจิ ัย เทคโนโลยี และนวตั กรรมการบริหารจดั การ ทรพั ยากรน้ำ • พัฒนาฐานข้อมลู ทรัพยากรนำ้ และข้อมลู อื่นท่เี ก่ียวขอ้ ง (คลังขอ้ มูลนำ้ และระบบโทรมาตร) • การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรน้ำ (พัฒนาระบบเฝา้ ระวังและแจ้งเตือนคณุ ภาพนำ้ จัดทำระบบ Big Data และการเตือนภยั พน้ื ที่ลาดเชงิ เขา) ๔.๓ ความเช่อื มโยงเปา้ หมายการพัฒนาท่ยี ั่งยนื (SDGs) และแผนแมบ่ ทการบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ ๒๐ ปี แผนแมบ่ ทการบริหารจัดการทรพั ยากรน้ำ ๒๐ ปี ไดจ้ ัดทำให้มสี อดคลอ้ งกบั เป้าหมายการพัฒนาทยี่ ่ังยืน เป้าหมายที่ ๖ สร้างหลักประกนั วา่ จะมีการจัดใหม้ นี ้ำและสุขอนามัยสำหรับทกุ คน และมีการบริหารจัดการท่ีย่ังยืน โดยมีความเชื่อมโยง ดังน้ี ตารางที่ ๔ - ๓

30  ๓๐ ตารางท่ี ๔–๓ ความเชอื่ มโยงเปา้ หมายการพัฒนาท่ียั่งยืน และแผนแมบ่ ทการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำ ๒๐ ปี เปา้ ประสงค์ ความเชอื่ มโยงแผนแม่บทฯน้ำ ๖.๑ บรรลุเป้าหมายการให้ทุกคนเขา้ ถึงน้ำด่ืม ดา้ นที่ ๑ การจัดการน้ำอปุ โภคบรโิ ภค ท่ีปลอดภัยและมรี าคาท่สี ามารถซอ้ื หาได้ • พฒั นาน้ำด่ืมให้ได้มาตรฐานและราคา ทเ่ี หมาะสม ๖.๒ บรรลุเป้าหมายการใหท้ ุกคนเข้าถงึ สขุ อนามยั ด้านท่ี ๑ การจดั การน้ำอปุ โภคบรโิ ภค ทพี่ อเพียงและเป็นธรรม • พัฒนาน้ำดื่มให้ได้มาตรฐานและราคา ทเี่ หมาะสม ๖.๓ ยกระดบั คณุ ภาพนำ้ โดยลดมลพษิ ขจดั การท้งิ ขยะ และลดการปล่อยสารเคมีและวสั ดอุ ันตราย ดา้ นที่ ๔ การจดั การคณุ ภาพนำ้ และอนุรักษ์ฟน้ื ฟู ทรัพยากรน้ำ ๖.๔ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการใช้นำ้ ในทกุ ภาคสว่ นและ ดา้ นที่ ๑ การจัดการน้ำอปุ โภคบรโิ ภค สรา้ งหลกั ประกนั วา่ จะมีการใชน้ ำ้ และจดั หานำ้ ทยี่ ่ังยืน • เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการใช้นำ้ ดา้ นที่ ๒ การสรา้ งความม่ันคงนำ้ ภาคการผลติ • การจดั การดา้ นความต้องการ ๖.๕ ดำเนินการบรหิ ารจัดการนำ้ แบบองค์รวม ด้านท่ี ๖ การบรหิ ารจดั การ ในทกุ ระดับ • ส่งเสริม พัฒนา องค์กรการบริหารจดั การ ทรพั ยากรน้ำในระดบั ชาต/ิ ระดบั ลมุ่ น้ำ • การประชาสัมพนั ธ์ และการมีส่วนร่วม ในการบรหิ ารจดั การน้ำ ๖.๖ ปกป้องและฟืน้ ฟูระบบนิเวศท่เี กยี่ วข้องกับ ดา้ นที่ ๔ การจัดการคณุ ภาพน้ำ และอนุรักษ์ฟื้นฟู แหลง่ น้ำ รวมถึงภูเขาป่าไม้ พ้ืนท่ชี ุ่มนำ้ แมน่ ำ้ ทรพั ยากรน้ำ ชัน้ หินอมุ้ นำ้ และทะเลสาบ • การรกั ษาสมดลุ ระบบนเิ วศ • อนรุ ักษ์และฟน้ื ฟูแม่น้ำลำคลองและแหลง่ น้ำ ธรรมชาตทิ ั่วประเทศ ดา้ นท่ี ๕ การอนรุ ักษ์ฟ้ืนฟสู ภาพป่าตน้ นำ้ ท่เี สื่อมโทรม และปอ้ งกันการพังทลายของดิน • การอนรุ ักษ์ฟนื้ ฟูพ้นื ทป่ี า่ ตน้ น้ำท่ีเสื่อมโทรม • การป้องกนั และลดการชะลา้ งพังทลายของดนิ ในพื้นท่ีตน้ นำ้ ๖.a ขยายความร่วมมอื ระหว่างประเทศและ ดา้ นที่ ๖ การบรหิ ารจดั การ สนับสนนุ การเสรมิ สร้างขดี ความสามารถให้แก่ • พฒั นากลไกความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศ ประเทศกำลังพัฒนาในกจิ กรรมและแผนงาน ดา้ นทรัพยากรน้ำ ทีเ่ ก่ยี วข้องกับนำ้ และสขุ อนามัย ๖.b สนบั สนุนและเพ่มิ ความเข้มแข็งในการมสี ่วนรว่ ม ดา้ นท่ี ๖ การบรหิ ารจดั การ ของชุมชนท้องถิน่ ในการพัฒนาการจดั การน้ำและ • การประชาสัมพันธ์ และการมีส่วนรว่ มในการ สขุ อนามัย บรหิ ารจดั การนำ้ • ปรบั ปรุงโครงสร้างองค์กร ทงั้ ระดับชาติ และระดบั ลุ่มนำ้ และระดบั ชุมชน

๓3๑1 ๔.๔ หลกั การและแนวคดิ ในการปรับปรุงแผนแม่บท ในการจดั ทำแผนแมบ่ ทการบริหารจดั การทรัพยากรนำ้ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) เปน็ การปรับปรุง แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๑๒ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๙) โดยประเมินและปรับปรุงแนวทาง การดำเนินงานบางด้านให้เหมาะสมยิ่งขึ้น มีการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ซงึ่ ผลการประเมิน สรุปไดด้ งั น้ี ๑) ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเดิม เป็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ปี ๒๕๕๘-๒๕๖๙ จะต้องขยายเปน็ ปี ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ และปรบั ปรงุ ใหย้ ุทธศาสตร์นำ้ สนับสนุนเปา้ หมาย ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และการปฏิรูปด้านทรัพยากรน้ำ ในประเด็นที่เกี่ยวข้อง เช่น ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว กล่มุ จังหวัด ภมู ิภาค การพฒั นาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ ๒) การกำหนดกิจกรรม แผนงานโครงการ ของหน่วยงานยังไม่สอดคล้อง หรือตอบสนองต่อ เป้าหมายและกรอบเวลา ให้หน่วยงานปรับกิจกรรม แผนงาน โครงการ ให้มีผลสัมฤทธิ์กระทบเป้าหมาย และ กรอบเวลาตามยทุ ธศาสตร์ ซงึ่ ของเดมิ เป็นการกำหนดจากภารกจิ ของหนว่ ยงานเปน็ ส่วนใหญ่ ๓) รวบรวมข้อมูลพื้นฐานไม่ครบถ้วน เพียงพอให้ทราบถึงสถานการณ์ หรือความต้องการ เพื่อนำไปใช้ ในการกำหนดเป้าหมาย โดยให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จ ภายใน ๒-๓ ปี และเตรียมแนวทางในการจัดเก็บข้อมูล เพือ่ การประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิ ๔) หน่วยงานจะตอ้ งจัดทำแผนแมบ่ ท แผนปฏบิ ัติการตามภารกจิ ของหน่วยงาน ทำให้ไมส่ ามารถ กำหนดทศิ ทางยทุ ธศาสตรใ์ นประเดน็ นนั้ ๆ และโครงการท่ีตอ้ งบรู ณาการในพืน้ ท่ีกับหนว่ ยงานอนื่ ๕) เพิ่มกิจกรรมหรือแนวทางใหม่ และกำหนดเจ้าภาพ หน่วยงาน เพื่อกำกับและขับเคลื่อนงาน ทีต่ อ้ งบูรณาการหลายหนว่ ยงานหรือในระดบั พืน้ ที่ ๖) การใชน้ วตั กรรมใหม่ ๆ การวิจัย เพอ่ื ขับเคลอื่ นงานทม่ี ีช่องวา่ ง ยังไม่มแี นวทางทีช่ ดั เจน ๗) การส่ือสารทำความเขา้ ใจเก่ยี วกับยุทธศาสตร์ไมด่ ีพอ ทำให้หน่วยงานมองเป้าหมายไม่เปน็ ไป ในทิศทางเดยี วกนั และไมส่ ามารถเชือ่ มโยงกับห่วงโซผ่ ลลพั ธ์ (Results Chain) ทใ่ี หห้ นว่ ยงานมีเป้าหมายร่วมกัน ๔.๕ แผนแมบ่ ทการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนำ้ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ -๒๕๘๐) ๔.๕.๑ วสิ ัยทศั น์ ได้กำหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาตามแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑- ๒๕๘๐) ไว้ ดังน้ี “ทกุ หม่บู ้านมนี ำ้ สะอาดอุปโภค บริโภค นำ้ เพือ่ การผลิตมั่นคง ความเสยี หายจากอทุ กภัยลดลง คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน บริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน ภายใต้การพัฒนาอย่างสมดุล โดยการ มสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ น” ๔.๕.๒ เปา้ หมายในภาพรวมของแผนแมบ่ ทการบริหารจัดการทรพั ยากรนำ้ ๒๐ ปี ๑) ประชาชนทั้งในเมืองและชนบท มีน้ำอุปโภคและน้ำดื่มเพียงพอ ได้มาตรฐานสากลในราคา ทเ่ี หมาะสม มีการประหยัดน้ำทุกภาคส่วนท้งั ภาคอุตสาหกรรมและครวั เรือน รวมทงั้ มคี วามสามารถในการบริหาร จัดการน้ำระดับชมุ ชม และทอ้ งถ่นิ ๒) สามารถจัดหาน้ำเพื่อการผลิต (เกษตร อุตสาหกรรม) ได้อย่างสมดุลระหว่างศักยภาพกับ ความต้องการ มีการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัด ผลิตภาพสูงขึ้น รวมทั้ง สามารถจัดหาน้ำบรรเทาผลกระทบ จากการขาดแคลนนำ้ ในพน้ื ท่ีเกษตรน้ำฝนให้เพยี งพอตอ่ การดำรงชีพและการทำการเกษตรในฤดูฝน

32 ๓๒ ๓) มีระบบป้องกันน้ำท่วมและอุทกภัยที่มีประสิทธิภาพ ทั้งโครงสร้างและการบริหารจัดการ มผี ังการระบายน้ำทกุ ระดบั การบรหิ ารพน้ื ท่นี ำ้ ทว่ มและพน้ื ท่ชี ะลอนำ้ ๔) การฟื้นฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติ ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน ชุมชนขนาดใหญ่ มีการบำบัดน้ำเสียกอ่ นปล่อยลงสสู่ ่งิ แวดล้อม มกี ารจัดการโดยการป้องกนั และลดนำ้ เสยี ทีต่ ้นทาง ๕) ป่าตน้ น้ำได้รับการฟ้ืนฟู สามารถชะลอการไหลบา่ ของน้ำ มีการใชป้ ระโยชน์จากลุ่มน้ำตามผัง ที่กำหนด มีการอนรุ ักษด์ ินและนำ้ ในพื้นที่ลาดชัน ๖) มีระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ำที่มีธรรมาภิบาล ทันสมัย มีกฎหมาย ระเบียบ เกณฑ์ที่ เกี่ยวข้องกับทรัพยากรน้ำ มีโครงสร้างองค์กรเหมาะสมในการบริหารจัดการน้ำทุกระดับ สามารถบริหารจัดการ ตามแผนยุทธศาสตร์ แผนแม่บท แผนปฏิบัติการ ระบบ และกลไกการจัดสรรน้ำ รวมทั้ง มีระบบฐานข้อมูล ทรพั ยากรมนุษย์ และงานวิจยั เพียงพอในการตัดสินใจและบริหารจดั การ ๔.๕.๓ ประเดน็ ความครอบคลมุ ในการวางแผนแม่บทดา้ นนำ้ ของประเทศ ในการจัดทำแผนแมบ่ ทการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำ ได้กำหนดแนวทางการพฒั นาใหค้ รอบคลุม ตามแนวทางการพัฒนายอ่ ย ท่ีกำหนดไว้ในยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ประกอบด้วย สาระหลัก ดงั นี้ ๑) การจัดการนำ้ เพื่อชุมชนชนบท ได้แก่ การจดั ใหม้ ีน้ำสะอาดใช้ทกุ ครวั เรอื นในชุมชนชนบท ทงั้ ปริมาณ คณุ ภาพ และราคาที่เขา้ ถึงได้ มรี ะบบการจัดการน้ำชมุ ชนทเ่ี หมาะสมกบั การพฒั นามิตเิ ศรษฐกิจ สงั คม และสงิ่ แวดล้อม อยา่ งยง่ั ยนื ๒) การจัดการนำ้ ในเขตเมือง ได้แก่ การจัดให้มีน้ำเพียงพอตอ่ การเจริญเติบโตของเขตเมือง เพือ่ การอยอู่ าศัย การพาณิชย์ และบรกิ าร พร้อมระบบการจดั การนำ้ ในเขตเมอื ง มีระบบแผนผังน้ำ ระบบกระจายน้ำดี ระบบรวบรวมน้ำเสยี ระบบป้องกนั น้ำท่วม และระบายน้ำ ๓) การจดั การนำ้ เพือ่ การพัฒนา ไดแ้ ก่ การพฒั นาน้ำเพือ่ การเกษตร การพัฒนานำ้ เพ่ืออตุ สาหกรรม การเพ่ิมมลู ค่านำ้ และการปรับโครงสรา้ งการใช้น้ำด้านการเกษตร และอุตสาหกรรม ๔) การจัดการน้ำเพื่อสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การจัดการพื้นท่ีต้นน้ำ การพัฒนา ฟื้นฟู แหล่งน้ำธรรรมชาติ การควบคุมปรมิ าณการไหลของน้ำเพื่อรกั ษาระบบนิเวศ การจัดการคุณภาพน้ำ (การลดแหลง่ นำ้ เสยี ทีแ่ หลง่ กำเนิด และพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพระบบบำบัดน้ำเสีย) การจัดการน้ำเสียภาคการเกษตร และการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ ใหค้ รอบคลุมถงึ การไหลลงทะเล ๕) การจดั ระบบการจัดการน้ำในภาวะวิกฤติ ได้แก่ การบริหารจดั การพนื้ ทีเ่ ส่ยี งภัย (การปรบั ตวั หนีภัย การบรหิ ารจดั การพ้นื ท่นี ำ้ ทว่ ม) และการจดั การเชิงโครงสร้าง ๖) การบริหารเชิงลุ่มน้ำอย่างมีธรรมาภิบาล ได้แก่ การวางแผนลุ่มน้ำแบบองค์รวมและบูรณาการ การจัดการให้มีการจัดหา การใช้น้ำที่สมดุล ทันสมัย ทันการณ์ และสร้างความเป็นธรรม โดยมีโครงสร้าง องค์กร การจัดการ กฎระเบียบ การจัดหาและการใช้น้ำอย่างสมดุล มีระบบและกลไกการจัดสรรน้ำ และการพัฒนารูปแบบ การจดั การ ระบบการจดั การน้ำชุมชนทีเ่ หมาะสม มีระบบผังน้ำ การจัดทำแผนตามความสำคัญในพ้ืนที่ การเตรยี ม ความพร้อมขององค์กร เครื่องมือ การจัดการ การสื่อสารและสารสนเทศ การดำเนินการความร่วมมือระหว่าง ประเทศเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เชื่อมโยงประเด็นการพัฒนาด้านอื่นร่วมกัน การศึกษา วิจัย พัฒนา เทคโนโลยี และนวตั กรรม เกีย่ วกับทรพั ยากรน้ำ

๓3๓3 ๔.๕.๔ แผนแม่บทการบริหารจดั การทรพั ยากรน้ำ ๒๐ ปี เพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ข้างต้น ได้กำหนด แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ไว้ ๖ ดา้ น คอื ดา้ นท่ี ๑ การจดั การนำ้ อปุ โภคบริโภค ด้านท่ี ๒ การสร้างความม่ันคงของน้ำภาคการผลติ ด้านที่ ๓ การจดั การน้ำทว่ มและอุทกภยั ดา้ นท่ี ๔ การจัดการคณุ ภาพนำ้ และอนุรักษท์ รพั ยากรน้ำ ดา้ นที่ ๕ การอนรุ กั ษ์ฟ้ืนฟูสภาพป่าต้นนำ้ ทเี่ สือ่ มโทรม และปอ้ งกันการพังทลายของดนิ ดา้ นท่ี ๖ การบรหิ ารจดั การ ดา้ นที่ ๑ การจดั การน้ำอปุ โภคบริโภค หลกั การ : นำ้ เพอ่ื การอปุ โภค บริโภค เปน็ ส่งิ ทจ่ี ำเป็นสำหรบั การดำรงชวี ิตของมนุษย์ ชว่ งท่ีผ่านมารัฐบาล ได้จัดสรรงบประมาณจำนวนมาก เพื่อจัดหาน้ำ อุปโภค บริโภค บริการประชาชนอย่างทั่วถึ ง ทั้งพื้นที่เมือง และชนบท รวมทั้งเพื่อตอบสนองเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ที่สมาชิกของ องค์การสหประชาชาติ กำหนดใน เปา้ หมายที่ ๖ “การเขา้ ถงึ การใช้นำ้ สะอาดและสุขาภิบาลท่ดี ี” ภาพรวมความต้องการนำ้ เพ่ือการอปุ โภคบริโภคมีแนวโน้มเพมิ่ ขึ้นเนื่องจากการขยายตัว ทางเศรษฐกจิ การเพิ่มขน้ึ ของประชากร และพ้ืนที่เศรษฐกจิ พิเศษ โดยคาดการณว์ ่าในปี ๒๕๗๐ จะมีความต้องการมากถึง ๘,๒๖๐ ล้านลูกบาศก์เมตรตอ่ ปี และจากข้อมูลพื้นฐานระดับหม่บู า้ น (กชช. ๒ ค) ปี ๒๕๕๖ พบว่า มีหมู่บ้านที่ไม่มีระบบประปา จำนวน ๗,๔๙๐ หมู่บ้าน มีหมู่บ้าน ที่ประกาศเป็นพื้นที่ภัยแล้งต้องช่วยเหลือเป็นประจำทุกปี และหลายพื้นที่มีค่าใช้จ่ายสูง ในการ จัดหาน้ำ อุปโภค บริโภค ซึ่งแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๑๒ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๘–๒๕๖๙) กำหนดว่าจะดำเนินการให้ครบทุกหมู่บ้านในปี ๒๕๖๐ ซึ่งดำเนินการได้จริง ๗,๒๓๔ หมู่บ้าน ยังเหลือที่จะดำเนินการต่อใน แผนแม่บทการจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) จำนวน ๒๕๖ หมบู่ า้ น กำหนดแล้วเสร็จภายใน ปี ๒๕๖๕ รวมทั้ง ปรับปรงุ ซ่อมแซมระบบประปา หมู่บ้านที่ชำรุดเสียหาย จำนวน 14,534 หมู่บ้าน ให้แล้วเสร็จภายใน ปี ๒๕๘๐ สำหรับในเขตเมือง และพน้ื ท่เี ศรษฐกจิ จะขยายเขตการจ่ายน้ำ เพื่อรองรบั การขยายตัวของเมอื ง การทอ่ งเทย่ี ว และ เขตเศรษฐกิจพิเศษ นอกจากนั้น จะปรับปรุงระบบประปาให้ได้มาตรฐาน ส่งเสริมการประหยัดน้ำ ในภาคครวั เรือน ภาคบริการ และภาคราชการ เปา้ ประสงค์ : จดั หาน้ำสะอาดเพ่อื การอุปโภคบรโิ ภคให้แกช่ ุมชน ครบทุกหมูบ่ า้ น หรอื ทกุ ครวั เรือน ชุมชนเมือง แหล่งท่องเที่ยวสำคัญ และพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ รวมทั้งการจัดหาแหล่งน้ำสำรองในพื้นที่ ซง่ึ ขาดแคลนแหลง่ นำ้ ต้นทนุ พฒั นาน้ำดมื่ ให้ได้มาตรฐาน ในราคาทเ่ี หมาะสม และการประหยัดน้ำ โดยลดการใช้นำ้ ภาคครัวเรอื น ภาคบริการ และภาคราชการ

34 ๓๔ กลยทุ ธ์ : ๑) พัฒนา ขยายเขต และเพิ่มประสิทธิภาพระบบประปาหมู่บ้าน โดยจัดหาแหล่งน้ำ และก่อสร้างระบบ ประปาให้ครอบคลมุ ทุกหมูบ่ า้ นทัว่ ประเทศ และปรับปรุงระบบประปาเดิมที่ชำรุด เพือ่ ให้ใชง้ านได้ ๒) พัฒนาระบบประปาเมือง/พื้นที่เศรษฐกิจ โดยการขยายเขตระบบประปา เพิ่มเขตจ่ายน้ำ สำหรับเมืองหลัก พื้นที่เศรษฐกจิ พิเศษ และแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วที่สำคัญ การจดั หาแหล่งน้ำสำรองในพ้ืนท่ี ซ่งึ ขาดแคลนแหลง่ นำ้ ต้นทนุ และลดการสูญเสยี นำ้ ในระบบทอ่ ส่งจ่ายน้ำประปา ๓) พัฒนาน้ำดื่มให้ได้มาตรฐานและราคาที่เหมาะสม โดยกำหนดมาตรฐานระบบประปาหมู่บ้าน การจำแนกระบบประปา แล้วดำเนินการปรับปรุงให้ได้มาตรฐาน ครบทุกหมู่บ้าน รวมทั้งพัฒนา นำ้ บาดาลเพอ่ื สนับสนนุ นำ้ ดมื่ สะอาดให้โรงเรียน และชมุ ชน ๔) การประหยัดน้ำทุกภาคส่วน โดยส่งเสริมการลดการใช้น้ำในภาคครัวเรือน ภาคบริการ และ ภาคราชการ

๓๕ ตารางที่ ๔-๔ เป้าหมายตามแผนแม่บทด้านที่ ๑ การจดั การน้ำอปุ โภคบรโิ ภค กลยทุ ธ์ /แผนงาน ตวั ชว้ี ดั เป้าหมาย (ปี) หนว่ ยงาน หน่วยงานปฏบิ ตั ิ อำนวยการ หลกั สนับสนุน 20 ปี 61-65 66-70 71-80 ขบั เคลอ่ื น สถ./ ทน./ทบ./ 1. การพัฒนา ขยายเขตและเพม่ิ หม่บู ้านท่ีก่อสร้างระบบประปา 256 256 - - มท. อปท. กปภ./นทพ. ประสทิ ธิภาพระบบประปาหมบู่ ้าน จำนวนครวั เรือน 11,441 11,441 - - สทนช. หมู่บ้านที่ได้รับการเพิ่ม 14,534 5,472 5,157 3,905 ประสิทธิภาพระบบประปา มท. 2. พัฒนาประปาเมือง/พื้นท่ีเศรษฐกจิ 10,070 2,570 2,500 5,000 2.1 การขยายเขต/เพ่มิ เขตจา่ ยน้ำ จำนวนแห่ง/สาขา 1,000,000 280,000 275,000 445,000 กปน./กปภ. ชป./ทน./ทบ. จำนวนครวั เรอื น กปภ. - 2.2 แผนระบบประปาเมอื งหลกั /พ้ืนท่ี จำนวนแห่ง 388 55 103 230 เศรษฐกิจ/แหล่งท่องเท่ยี ว จำนวนครวั เรอื น 4,239,980 789,980 1,150,000 2,300,000 2.3 จดั หาแหล่งนำ้ สำรอง/จัดหาน้ำตน้ ทุน จำนวนแห่ง กปน./กปภ. - 196 59 37 100 ปริมาณน้ำ (ลา้ น ลบ.ม.) 346 72 154 120 2.4 ลดการสูญเสยี นำ้ ในระบบทอ่ ส่งจ่าย ร้อยละการควบคุมการสญู เสีย การสูญเสยี ไม่ - จดั ทำแผน (ปี 65) ไม่เกินร้อยละ ไมเ่ กนิ ร้อยละ กปน./กปภ. - น้ำประปา เกนิ รอ้ ยละ 20 - ไม่เกินร้อยละ 25 23 20 3. พฒั นาน้ำอปุ โภคบริโภคให้ไดม้ าตรฐานและราคาทีเ่ หมาะสม ครบทุกหมู่บา้ น 30 50 3.1 การปรับปรุงระบบประปาหมู่บ้านให้ได้ รอ้ ยละหมู่บา้ นที่ไดร้ ับการ 20 27 45 สถ. ทบ./อน./ มาตรฐาน (SDGs) ปรบั ปรุงให้ไดม้ าตรฐาน 90 18 - สป.ทส./กปภ./ ร้อยละของระบบประปาท่ีผา่ น 4,015 2,911 1,104 - ทน. มาตรฐานประปาดมื่ ได้ 366,700 274,300 92,400 5 3.2 พฒั นานำ้ ดื่มสะอาดที่ได้มาตรฐานและ จำนวนแหง่ 2 ทบ. ศธ. ราคาท่เี หมาะสม ครวั เรือนทีไ่ ด้รับประโยชน์ 10 3 อน. รอ้ ยละการลดลงของผ้ปู ่วย จากนำ้ ดม่ื 4.การประหยดั น้ำทกุ ภาคสว่ น ปริมาณการใช้นำ้ (ลิตร/คน/วัน) ไมเ่ กนิ 215 ไม่เกนิ 234 ไม่เกิน 229 ไม่เกนิ 215 สทนช. กปภ./กปน. ทุกหน่วยงาน/ 4.1 ลดการใช้น้ำภาคครัวเรือน/บรกิ าร 20 ภาคเอกชน 4.2 ลดการใช้น้ำภาคราชการ ร้อยละหน่วยงานรฐั ท่ีลดการ 100 30 50 สทนช. ทกุ หนว่ ยงาน/ ใชน้ ำ้ ไดไ้ ม่น้อยกวา่ ร้อยละ 10 ภาคเอกชน 3355

36 ๓๖ แนวทางการขับเคลอื่ น ๑. แผนงานประปาหมู่บ้านให้ได้มาตรฐานน้ำอุปโภค บริโภค เนื่องจากเป็นภารกิจขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น แต่เป็นงานที่ริเริ่มใหม่ จึงเห็นควรมอบให้กระทรวงมหาดไทยเป็นหน่วยงานประสานและ ขับเคลื่อน และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและกรมทรัพยากรน้ำเป็นหน่วยงานปฏิบัติหลัก ในการกำหนด มาตรฐาน จัดทำรูปแบบมาตรฐาน สนับสนุนท้องถิ่นในการสำรวจ ออกแบบ และจัดทำโครงการนำร่อง พร้อมท้ัง การถา่ ยทอดเทคโนโลยแี ละเพิ่มขดี ความสามารถให้ทอ้ งถน่ิ ดำเนินการไดเ้ องตอ่ ไป ๒. แผนงานประปาเมืองหลัก พื้นที่เศรษฐกิจต่าง ๆ มอบสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติเป็น หน่วยประสานและขบั เคลอ่ื นแผนการพัฒนาในด้านตา่ ง ๆ เพ่ือกำหนดแผนงานโครงการรองรบั ในอนาคต ๓. การประหยัดน้ำภาคครัวเรือนและบริการ ในระยะแรกจะดำเนินการในเขตรับผิดชอบของ การประปานครหลวง และการประปาสว่ นภมู ิภาค โดยเน้นในเขตขาดแคลนน้ำต้นทนุ มีเป้าหมายให้อัตราการใช้น้ำต่อคน ลดลงหรือเหมาะสมกับกิจกรรมของพืน้ ที่นัน้ ๆ

๓3๗7 ดา้ นท่ี ๒ การสร้างความม่นั คงของนำ้ ภาคการผลติ หลักการ : ประเทศไทยมีสัดส่วนในการเก็บกักน้ำต่อน้ำท่าเฉล่ียในระดับสูง เฉพาะในบางลุ่มน้ำ ได้แก่ลุ่มน้ำภาคกลาง และตะวันตกที่มีอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ สำหรับลุ่มน้ำที่เหลือมีการเก็บกัก ในระดับต่ำ จึงมีวิกฤติการณ์น้ำที่เกิดขึ้นเป็นการขาดแคลนน้ำในฤดูแล้งตามวงจรธรรมชาติ แต่ปัจจุบันเกิดจากปริมาณน้ำฝนที่แปรปรวน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประกอบกับความต้องการใช้น้ำที่เพิม่ ขึ้นทำให้เกดิ ความไม่สมดลุ ของปริมาณน้ำ ปัญหาการขาดแคลนนำ้ มีแนวโน้มเกิดบ่อยครั้ง และทวีความรุนแรงมากขึ้น ทำให้เกิดการช่วงชิงทรัพยากรน้ำระหว่าง ชมุ ชนเมอื ง อุตสาหกรรมและชนบท การเข้าถึงทรัพยากรน้ำโดยเสรี ขาดความเป็นธรรม การผลิตภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศ โดยภาคอุตสาหกรรม มีแนวโน้มการขยายตัวค่อนข้างเร็วและต่อเนื่อง มีสัดส่วนในรายได้ประชาชาติค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่ต้ังอยู่ในเขตภาคกลางและภาคตะวันออก และมีแนวโน้มจะขยายตัวมากขึ้นในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ได้แก่ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี และจงั หวัดระยอง ซ่งึ พ้นื ทด่ี ังกล่าว ต้องจัดหาแหล่งน้ำเพ่ิมเติม เพื่อรองรับความเสี่ยงในการขาดแคลนน้ำ ส่วนภาคเกษตรกรรม มีการขยายตัวและมีสัดส่วนในรายได้ประชาชาติค่อนข้างน้อย แต่ก็มีความสำคัญต่อเศรษฐกจิ ภูมิภาค เป็นแหล่งสร้างงานมากกว่าร้อยละ ๓๐ ของแรงงานทั้งประเทศ แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ ยังได้รับผลตอบแทนไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพ รายได้ส่วนใหญ่มาจากผลผลิตพืชที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ยางพารา อ้อยโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปาล์มน้ำมัน และมันสำปะหลัง เป็นต้น ภาคเกษตรกรรมมีความต้องการใช้น้ำสูงถึงร้อยละ ๗๕ ของความต้องการใช้น้ำทั้งหมด ปัญหาการขาดแคลนน้ำขึ้นกับความต้องการของภาคเกษตรกรรม โดยเฉพาะการผลิตข้าว ดังน้ัน จำเป็นต้องเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำและการชลประทาน โดยพจิ ารณาทางเศรษฐศาสตร์ ใช้หลักลดการใชน้ ้ำ การนำน้ำกลับมาใช้ใหม่และการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำ (Water Footprint) ในปี ๒๕๖๐ ประเทศไทยมีพื้นที่ชลประทานทั้งหมด ๓๒.๖๖ ล้านไร่ มีความสามารถ ในการเก็บกักน้ำต้นทุน ๘๑,๘๔๑ ล้านลูกบาศก์เมตร และเพื่อรองรับความต้องการน้ำในอนาคต ซึ่งตามแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปีนั้น ได้กำหนดจะเพิ่มปริมาณน้ำต้นทุน ๑๓,๒๔๓ ล้านลูกบาศก์เมตร และเพ่ิมพ้นื ท่ีระบบส่งน้ำ (ชลประทาน) ๑๗.๙๕ ลา้ นไร่ ส่วนพื้นที่ เกษตรกรรมนอกเขตชลประทาน ประมาณ ๑๐๐ ลา้ นไร่ ซึง่ ส่วนใหญ่อย่ใู นเขตภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เป็นพื้นที่ทำการเกษตรแบบอาศัยน้ำฝน จะพัฒนาให้สามารถเพาะปลูกพืชได้อย่างน้อยปีละ ๑ คร้ัง โดยการฟื้นฟูแหล่งน้ำธรรมชาติ การพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก แหล่งน้ำชุมชน แหล่งน้ำในไร่นา พฒั นาบอ่ บาดาล และการจดั ระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และนำ้ นอกจากการจดั หาแหลง่ เกบ็ กักนำ้ เพ่ิมเติม และพัฒนาพื้นที่ชลประทาน ยังมีแผนในการลดการใช้น้ำภาคเกษตรกรรม โดยส่งเสริมการทำนา แบบเปียกสลับแห้ง การจัดรูปที่ดิน และลดการใช้น้ำภาคอุตสาหกรรมรวมทั้ง ส่งเสริมการเพิ่มผลิต ภาพการใช้น้ำ (Productivity) ทั้งภาคเกษตรกรรมและอตุ สาหกรรม

38 ๓๘ เป้าประสงค์ : พัฒนาแหล่งเก็บกักน้ำและระบบสง่ น้ำใหม่ให้เต็มศักยภาพ พร้อมทั้งการจัดหานำ้ ในพื้นที่เกษตรน้ำฝน เพ่ือขยายโอกาสจากศกั ยภาพโครงการขนาดเล็กและลดความเสี่ยงในพนื้ ทไี่ มม่ ีศกั ยภาพ ลดความเสย่ี ง/ ความเสียหายลง ร้อยละ ๕๐ รวมถึงการเพิ่มผลิตภาพและปรับโครงสร้างการใช้น้ำ โดยดำเนินการ ร่วมกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันและด้านการสร้างโอกาส และ ความเสมอภาคทางสังคมเพ่ือยกระดับผลิตภาพด้านน้ำทั้งระบบ กลยทุ ธ์ : ๑) การจัดการด้านความต้องการ โดยลดการใช้น้ำภาคการเกษตร นำน้ำกลับมาใช้ใหม่ในพื้นท่ี ชลประทาน รวมถึงการลดใช้น้ำ ๒) เพิ่มประสิทธิภาพโครงการแหล่งน้ำและระบบส่งน้ำเดิม โดยปรับปรุงประสิทธิภาพแหล่งน้ำ ระบบสง่ น้ำ และเพิม่ ปรมิ าณนำ้ ตน้ ทุนในแหล่งน้ำเดมิ ๓) การจดั หาน้ำในพ้นื ท่เี กษตรน้ำฝน เพ่ือขยายโอกาสจากศกั ยภาพโครงการขนาดเลก็ และลดความเสี่ยง ในพื้นที่ไม่มีศักยภาพ โดยการอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาแหล่งน้ำและระบบกระจายน้ำ การจัดระบบ การพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอนรุ กั ษด์ นิ และนำ้ สระน้ำในไรน่ า และพัฒนาบ่อบาดาลเพ่อื การเกษตร ๔) พัฒนาแหล่งเก็บกักน้ำ/ระบบส่งน้ำใหม่ ด้วยการพัฒนาแหล่งเก็บกักน้ำ พัฒนาระบบชลประทาน การเพิ่มปริมาณน้ำที่จัดการได้ รวมทั้งการพัฒนาแหล่งน้ำบาดาลขนาดใหญ่ที่มีศักยภาพ โดยคำนงึ ถึงผลกระทบด้านสง่ิ แวดลอ้ ม ๕) พัฒนาระบบผันน้ำและระบบเชื่อมโยงแหล่งน้ำ ลดความขัดแย้งการใช้น้ำภาคการเกษตรและ อตุ สาหกรรม โดยพฒั นาโครงข่ายนำ้ ภายในประเทศ และการผนั นำ้ ระหวา่ งประเทศ ๖) การเพ่มิ ผลิตภาพมูลคา่ ภาคการผลิต โดยการสง่ เสริมดา้ นการเกษตร พนั ธ์ุพชื และการปลูกพืช ให้มี ผลิตภาพสูงมากข้นึ ในพนื้ ทตี่ ้นแบบและขยายผลการดำเนินการไปสพู่ ืน้ ท่ีทไี่ ดร้ บั การพฒั นาแหล่งน้ำ และระบบส่งน้ำแล้วต่อไป โดยดำเนินการร่วมกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน และด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมเพื่อยกระดับผลิตภาพ ดา้ นนำ้ ทัง้ ระบบ ๗) การเพม่ิ นำ้ ตน้ ทนุ โดยปฏบิ ัติการฝนหลวง ให้อา่ งเก็บน้ำและพ้ืนที่เกษตรกรรม

๓๙ ตารางที่ ๔-๕ เปา้ หมายตามแผนแมบ่ ทด้านท่ี ๒ การสร้างความม่ันคงของน้ำภาคการผลติ กลยุทธ์ /แผนงาน ตัวชี้วัด เปา้ หมาย (ปี) หน่วยงาน หน่วยงานปฏบิ ัติ อำนวยการ หลัก สนับสนนุ 20 ปี 61-65 66-70 71-80 ขับเคลื่อน 300,000 ชป. กษ. 1. การจัดการด้านความตอ้ งการ 600,000 150,000 150,000 สทนช. 1.1 ลดการใชน้ ้ำภาคเกษตร พ้นื ท่ดี ำเนินการ (ไร่) 152 38 38 76 และนำนำ้ กลบั มาใชใ้ หม่ ปรมิ าณน้ำที่ประหยัดได้ ในเขตพน้ื ท่ีชลประทาน (ล้าน ลบ.ม./ป)ี 1.2 การลดการใช้นำ้ ปรมิ าณนำ้ ท่ีประหยัดได้ 30 3 4.5 22.5 กรอ./กนอ./ สภา ภาคอุตสาหกรรม ลา้ น ลบ.ม./ปี BOI อุตสาหกรรม 2. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพโครงการแหลง่ นำ้ และระบบส่งนำ้ เดิม 6,356 6,114 167 75 สทนช. ชป./ทน./ มลู นธิ ิปดิ ทอง 2.1 ปรับปรุงประสทิ ธิภาพ ปริมาณนำ้ ใชก้ าร (ล้าน ลบ.ม.) 146 55 60 31 อปท. หลังพระฯ แหล่งนำ้ /ระบบสง่ นำ้ เดิม 507 356 123 28 ชป./ทน./ - 2.2 เพม่ิ ปรมิ าณนำ้ ตน้ ทุน จำนวนแหง่ 12,388 3,722 5,965 ในโครงการแหลง่ น้ำเดมิ ปรมิ าณนำ้ (ล้าน ลบ.ม.) 2,701 อปท. 3. การจดั หานำ้ ในพ้ืนทเ่ี กษตรน้ำฝน 3,271,975 7,136,126 3.1 อนรุ กั ษ์ ฟื้นฟู พฒั นา ปรมิ าณนำ้ ทีเ่ พิม่ ข้ึน (ล้าน ลบ.ม.) สทนช. ทน./สปก./ ปภ. แหลง่ น้ำเพ่ือตอบสนอง อปท. /มลู นิธปิ ดิ ทอง ความต้องการใชน้ ำ้ พืน้ ที่ เกษตรน้ำฝน หลังพระฯ/ 3.2 พฒั นาระบบกระจายนำ้ พ้ืนทร่ี ับประโยชน์ (ไร่) ในพน้ื ทเ่ี กษตรนำ้ ฝน /กองทพั บก* 3.3 พฒั นาแหลง่ นำ้ 13,133,490 2,725,389 ทน./สปก./ - เพื่อการอนรุ ักษ์ดินและน้ำ/ อปท. แหล่งน้ำชุมชน/สระน้ำในไร่นา มลู นิธิปิดทอง พด./สปก./ หลงั พระฯ/ อปท. /กองทัพบก* 39 39

๔๐ กลยุทธ์ /แผนงาน ตวั ช้ีวัด เป้าหมาย (ปี) หนว่ ยงาน หน่วยงานปฏบิ ัติ 40 40 อำนวยการ หลัก สนับสนนุ 20 ปี 61-65 66-70 71-80 ขับเคลอ่ื น พด. อปท. 3,963 2,000 3.3.1 แหลง่ น้ำเพ่ือการ จำนวนแหง่ 112 963 1,000 สทนช. พด./อปท. มลู นิธปิ ิดทอง อนุรกั ษ์ดนิ และน้ำ ปริมาณน้ำ (ล้าน ลบ.ม.) 194 28 28 56 พด./สปก./ หลังพระฯ/ 3.3.2 แหลง่ นำ้ ชมุ ชน จำนวนแห่ง 44 50 100 กองทพั บก* ปริมาณนำ้ ท่เี พมิ่ ขนึ้ (ลา้ น ลบ.ม.) 5 11 3 อปท. ทบ./อปท. - 3.3.3 สระนำ้ ในไร่นา จำนวนแห่ง 382,702 224,314 151,000 7,388 สปก. ปริมาณน้ำทเี่ พ่ิมขึน้ (ลา้ น ลบ.ม.) 497 301 186 10 3.4 พฒั นาน้ำบาดาล ปรมิ าณนำ้ (ล้าน ลบ.ม.) 858 186 249 423 เพอ่ื การเกษตร พ้ืนทร่ี บั ประโยชน์ (ไร่) 4. การพฒั นาแหล่งเกบ็ กกั น้ำ /ระบบส่งน้ำใหม่ 1,555,790 310,670 461,800 783,320 4.1 พฒั นาแหล่งเก็บกักนำ้ / จำนวนแหง่ ชป. ทน./ทบ./ อาคารบงั คับน้ำ/ระบบส่งน้ำ ปริมาณนำ้ (ลา้ น ลบ.ม.) 7,332 2,312 2,591 2,429 มท./สปก./ ใหม่ (เกษตรและอุตสาหกรรม) ปริมาณน้ำที่บรหิ ารจัดการได้ 13,243 1,140 3,609 8,494 กปร. 8,397 713 1,159 6,525 (ล้าน ลบ.ม.) จำนวนพื้นที่มรี ะบบส่งนำ้ (ไร)่ 17,945,232 2,163,003 3,453,933 12,328,296 4.2 พฒั นาแหลง่ น้ำ ปริมาณน้ำ (ลา้ น ลบ.ม.) 196 84 33 79 สทนช./ทบ. ทุกหน่วยงาน ทางเลือกเชน่ พัฒนาแหล่งน้ำ พื้นที่เปา้ หมายดำเนินการ บาดาลขนาดใหญ่ นำนำ้ ทะเล พ้นื ท่ีเศรษฐกจิ พ้ืนทเี่ ศรษฐกิจ พนื้ ที่เศรษฐกจิ พ้ืนท่ีทอ่ งเทยี่ ว มาผลติ เปน็ นำ้ จดื พเิ ศษ และพื้นท่ี พิเศษ ตาก พเิ ศษ สำคัญที่มีการ ทอ่ งเท่ียวสำคญั มกุ ดาหาร นราธิวาส ขยายตัว สระแกว้ ตราด เชียงราย หนองคาย นครพนม สงขลา และ EEC กาญจนบุรี เกาะสมยุ เกาะ ชา้ ง

กลยุทธ์ /แผนงาน ตัวชีว้ ัด เปา้ หมาย (ปี) หน่วยงาน ๔๑ อำนวยการ 20 ปี 61-65 66-70 71-80 ขับเคลือ่ น หนว่ ยงานปฏิบตั ิ 2,596 160 หลกั สนบั สนนุ 5. พัฒนาระบบผันน้ำและ ปริมาณน้ำ (ลา้ น ลบ.ม.) 1,242 422 2,014 สทนช. ชป. พน. ระบบเชื่อมโยงแหลง่ นำ้ พ้นื ทีด่ ำเนินการต้นแบบ และ 482 กษ. 6. การเพม่ิ ผลิตภาพมลู ค่า พน้ื ทขี่ ยายผลไปในพ้นื ที่ทพี่ ัฒนา 6,210 510 250 กสก./กข. มท. ภาคการผลติ แหลง่ น้ำและระบบส่งน้ำ (แปลง) พืน้ ทดี่ ำเนนิ การต้นแบบ และ 98 2,550 1,250 2,410 - พื้นทพ่ี ัฒนาใหม่ พ้นื ทข่ี ยายผลไปในพื้นทีท่ ี่พัฒนา - พื้นทพ่ี ฒั นาเดิม แหล่งนำ้ และระบบส่งน้ำ (ไร่) 90 80 93 98 กษ. ฝล. มท./กษ. 7. เพม่ิ น้ำต้นทุนโดยการ รอ้ ยละพื้นทก่ี ารเกษตรทป่ี ระสบ ปฏิบัติการฝนหลวง ภัยแลง้ ไดร้ บั การช่วยเหลอื ตาม แผนงานปฏิบัตกิ ารฝนหลวง ร้อยละความสำเรจ็ ของการปฏิบัติ 75 80 90 การฝนหลวงเตมิ นำ้ ในเข่อื น ตามทร่ี ้องขอ 41 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook