Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนภาษาไทย ม.2เทอม1

แผนการสอนภาษาไทย ม.2เทอม1

Published by monthakarn5311313505, 2021-04-12 13:16:44

Description: รวมแผนม.2เทอม1

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี ๑๘ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง บทเสภาสามคั คีเสวก แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๘ เรอ่ื ง สมั ผสั กลอน สมั ผสั ใจ เวลาเรยี น ๔ คาบ รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ รายวชิ าภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ผู้สอน นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ ิมงคล กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนมธั ยมวัดสงิ ห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลง ของภาษาและพลังของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทย ไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ ตัวช้วี ัด ท ๔.๑ ม. ๒/๓ แต่งกลอนสุภาพ จดุ ประสงค์การเรียนรูส้ ่ตู ัวช้ีวดั ๑. อธิบายแผนผังกลอนสภุ าพ (K) ๒. อธิบายลักษณะคาสัมผัสของบทร้อยกรอง (K) ๓. เขียนคาสมั ผสั สระและสมั ผัสพยญั ชนะ (P) ๔. เหน็ ความสาคัญของคาสมั ผัสในบทรอ้ ยกรอง (A) สาระสาคัญ (คาชแ้ี จง) การสรุปความร้แู ละการนาข้อคดิ ท่ีไดจ้ ากการอ่านไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จริงจะทาใหก้ ารอ่านวรรณคดี เร่อื งนัน้ ๆ เกดิ ประโยชน์ในการดาเนินชีวติ และร้จู ักแก้ปัญหาทเ่ี กิดข้นึ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (๒ ชม.) ขัน้ นา ๑. ใหน้ กั เรียนอ่านบทรอ้ ยกรองตอ่ ไปนี้ ถงึ บางบอนย้อนคิดถึงเรอื่ งเก่า โบราณเล่าวา่ บอนซ่อนไม่ได้ มนั คนั ยบิ คันยบั จบั หวั ใจ ถ้าพูดออกบอกไดก้ ห็ ายคนั ร้อู ะไรนิ่งอนั้ มันคันปาก ให้นึกอยากพูดยิง่ ทุกสิง่ สรรพ์ ขยายออกบอกใครไดท้ ุกวัน หายอดั อั้นคนั ปากเพราะอยากบอน ๒. ใหน้ กั เรยี นพิจารณาวา่ เป็นบทร้อยกรองประเภทใด (กลอนสภุ าพหรอื กลอน ๘) (นิราศวดั สงิ ห)์

กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๓. ใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั บอกฉันทลกั ษณ์ของกลอนสุภาพจากการสงั เกตบทร้อยกรองดังกล่าว จากนน้ั ช่วยกันเขียนแผนผงั บนกระดาน ๔. ใหน้ กั เรยี นศึกษาความรู้ เรือ่ ง การแตง่ กลอนสภุ าพ แล้วตรวจสอบแผนผงั ทีช่ ว่ ยกนั เขยี น ปรับปรุงแก้ไขให้ถกู ต้อง ๕. ให้นกั เรียนรว่ มกนั สนทนาเกยี่ วกับคาสมั ผสั ของบทร้อยกรองตามพื้นความรู้เดิม แลว้ พิจารณาคา สมั ผสั ในบทร้อยกรองจากนริ าศวดั สิงหป์ ระกอบ ๖. ให้นักเรยี นศึกษาหลกั การแต่งกลอน เรื่อง สมั ผัสนอกและสัมผสั ใน แล้วร่วมกันสรุปความเข้าใจ ๗. ใหน้ กั เรยี นแบง่ เป็น ๒ กลมุ่ แข่งขนั ต่อคาสัมผัสจากคาเรมิ่ ตน้ ทคี่ รูกาหนด (กาหนดการแข่งขนั ๒ รอบ รอบแรกต่อคาสมั ผัสสระ รอบทีส่ องต่อคาสัมผัสพยญั ชนะ) โดยนักเรียนแตล่ ะกล่มุ เข้าแถวตอน ครตู ดิ บัตรคา เร่ิมต้นบน กระดาน เมื่อเรม่ิ จับเวลาให้นักเรียนแต่ละกลุม่ สง่ ตวั แทนออกไปเขยี นคาสมั ผัสกบั คาเรม่ิ ตน้ ครงั้ ละ ๑ คน เมื่อ เขยี น เสรจ็ ใหก้ ลบั ไปต่อท้ายแถว คนต่อไปรบี ออกไปเขียนคาท่สี ัมผสั กบั คนที่ ๑ เปน็ ลักษณะเหมอื นคาคล้องจองต่อ กนั ไป เรื่อย ๆ เมือ่ หมดเวลา (อาจกาหนดประมาณ ๕ นาที ) ชว่ ยกันตรวจสอบความถูกต้อง กลุ่มใดเขยี นคาสัมผสั ได้ มากกวา่ เปน็ ฝา่ ยชนะ วาที รอบแรก ใช้คาเร่ิมตน้ รอบที่ ๒ ใช้คาเร่มิ ต้น พลว้ิ ไหว ๘. ใหน้ กั เรียนอา่ นคาสัมผัสท้ังหมดพร้อมกันอีกคร้ัง ขนั้ สรุป ๙. ใหน้ ักเรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี บทรอ้ ยกรองไทยไพเราะเพราะมคี าสัมผัส ๑๐. ใหน้ ักเรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เห็น โดยครูใช้คาถามทา้ ทาย ดังนี้ นอกจากคาสมั ผสั แลว้ ยงั มสี งิ่ ใดท่ีทาให้กลอนไพเราะ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ( ๒ ชม. ) ๑. ใหน้ ักเรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เห็น โดยครใู ชค้ าถามท้าทาย ดังนี้ คาที่นามาใชแ้ ตง่ กลอนควรมีลักษณะอย่างไร ๒. ให้นกั เรียนอ่านกลอนสภุ าพจากเรื่อง พระอภยั มณี ดงั นี้ ถงึ มว้ ยดนิ สิ้นฟ้ามหาสมุทร ไมส่ ิ้นสดุ ความรักสมัครสมาน แมเ้ กดิ ในใตห้ ล้าสธุ าธาร ขอพบพานพศิ วาสไมค่ ลาดคลา ๓. ให้นกั เรียนสงั เกตการเลือกสรรถอ้ ยคาซึ่งมที ั้งคางา่ ย ๆ และคาศัพท์ทีส่ ละสลวย การใชค้ างา่ ย เพอื่ ให้กระชบั ชัดเจน และลงจังหวะของกลอนพอดี ส่วนคาศัพท์ท่ีสละสลวยทาให้ลีลากลอนไพเราะออ่ นหวานความ กลมกลืนของการใชถ้ ้อยคาเหล่านีแ้ สดงถงึ ฝีมือของกวดี ว้ ย

๔. ใหน้ ักเรยี นสังเกตเสียงวรรณยกุ ต์ของคาทา้ ยวรรค ได้แก่ สมุทร (เสยี งเอก) สมาน (เสยี งจัตวา) ธาร (เสียงสามัญ) คลา (เสยี งสามญั ) ๕. ให้นกั เรยี นศึกษาความรู้ เร่ือง หลักการแต่งกลอน แลว้ ร่วมกนั สรปุ ความเข้าใจ ๖. ให้นักเรียนเลอื กคาไปเติมในกลอนสภุ าพให้ถูกต้องเหมาะสม จากน้ันร่วมกันตรวจสอบความ ถูกต้อง ๗. ใหน้ ักเรียนชว่ ยกันต่อจกิ ซอวก์ ลอน โดยรับบตั รคาทีค่ รูแจกให้คนละ ๑ ใบ ดงั น้ี ลูก แม่ มิเคย มั่นหมาย ภยนั ตราย ทา้ ทาย บางหน ยงั งานชีวติ มอื บนั ดาล ผืนใหม่ ประคอง เคย ดู มา แหละ ของ นอ้ ยน้อย ซอ้ื ขาย แต่ เฆยี่ นตี เดียวกนั ให้ นี้ บ้าง สู้ทน ถักทอ ยงั มอื น้แี หละ ทรมาน์ ใน คิด แข่ง แค่นี้ ผ้าไหม พ้น ค่าแรง ยงั มือ ท่ี ลกู หมายเหตุ มีบตั รคาทใี่ ช้คาซา้ กัน บตั รคาทง้ั หมดสามารถต่อเปน็ กลอนได้ ดังน้ี มือน้อยนอ้ ยของแมด่ ูแค่น้ี เคยเฆี่ยนตลี กู บ้างในบางหน แตม่ ือเดยี วกนั นีแ้ หละสู้ทน ประคองลกู ให้พ้นภยนั ตราย แหละมือนท้ี บ่ี นั ดาลงานชีวติ มิเคยคิดคา่ แรงแขง่ ซ้ือขาย ยังถกั ทอ ทรมานย์ งั ท้าทาย ยังมัน่ หมายผ้าไหมผืนใหมม่ า ไหมแท้ท่ีแม่ทอ : ไพวรนิ ทร์ ขาวงาม ๘. ให้นกั เรยี นนาคาต่อไปนเี้ รียงเปน็ กลอนสุภาพ ๑ บท ทุกคนร่วมกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง เกียรติ ประวตั ศิ าสตร์ วชิ าการ อายุคน คณุ ธรรม นานนบั คณุ ความดี ปรากฏ กลบั เพ่ิมหนา้ เพม่ิ ตารา เพิ่มขน้ึ งามงด น้นั ควร กาหนด นา (ประวัตศิ าสตรน์ านนับกลับเพิ่มหน้า วิชาการเพม่ิ ตาราเกียรตปิ รากฏ อายคุ นเพิ่มขึน้ นน้ั ควรงามงด คณุ ธรรมนากาหนดคุณความด)ี ๙. ใหน้ ักเรยี นทาช้ินงาน เรอ่ื ง การแตง่ กลอนสภุ าพ ครปู ระเมนิ ผลงานของนักเรียนเป็นรายบคุ คล แลว้ คัดเลือกผลงานยอดเย่ยี มมาจดั แสดงบนป้ายนเิ ทศ

๑๐. ใหน้ กั เรียนและครูรว่ มกันสรปุ ความรู้ ดังน้ี ๑๐.๑ การแต่งบทร้อยกรองต้องมีฉนั ทลักษณ์ถกู ต้อง ไพเราะทัง้ รสคาและรสความ สอื่ การเรยี นรู้ ๑. แผนผงั กลอนสภุ าพ ๒. ใบความรู้ เร่อื ง คาสมั ผสั ของบทร้อยกรอง ๓. Power Point ฝกึ แต่งกลอนกันเถอะ ๔. บัตรคา / แถบประโยค ๕. บทร้อยกรอง ๖. ชน้ิ งาน เร่อื ง การแต่งกลอนสภุ าพ ๗. กระดาษสาหรบั แต่งกลอน การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยม(A) ทกั ษะและกระบวนการ(P) - สังเกตการณเ์ ขยี นแผนผงั กลอนสภุ าพ ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเปน็ ๑. ประเมนิ ทักษะการอ่าน และการแสดงความคิดเหน็ รายบคุ คลในดา้ นความสนใจและ ๒. ประเมินทกั ษะการเขียน - ตรวจผลการทากจิ กรรม ตั้งใจเรยี น ๓. ประเมินทักษะการคดิ วเิ คราะห์ และ การแตง่ กลอน เร่ืองคา มคี วามรับผิดชอบในการทากิจกรรม สงั เคราะห์ สรรหาคามาเขียน นาความรู้ที่ สัมผัสของบทร้อยกรอง ความมรี ะเบยี บวนิ ัยในการทางาน ได้รบั จากบทเรียนไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาวัน ๒. ประเมินความภาคภูมใิ จในวัฒนธรรม ๔. ประเมนิ ทักษะกระบวนการกลุม่ ทางภาษา ข้อเสนอแนะ ครูควรจัดปา้ ยนิเทศเพื่อทากจิ กรรม “ต่อใหด้ มี รี างวลั ” โดยครูจะติดวรรคแรกของกลอนสภุ าพแลว้ ให้ นักเรียนแตง่ ต่อให้ครบตามท่ีกาหนด จัดกจิ กรรมสัปดาหล์ ะ ๑ คร้ัง แล้วมอบรางวัลแกน่ ักเรียนท่ีแตง่ ได้ไพเราะ และถูกต้องที่สดุ

การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) การประเมินกิจกรรมนใี้ ห้ผู้สอนพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เรอื่ ง การแต่งกลอนสุภาพ ระดับคะแนน ๓ ๒ ๑ เกณฑ์ ๔ การประเมนิ ฉันทลกั ษณ์ถูกต้อง ฉนั ทลักษณถ์ ูกต้อง ฉนั ทลกั ษณ์ถูกตอ้ ง เนอ้ื หาลึกซ้ึงกินใจ เน้ือหาดี เน้ือหาสมั พันธ์ การแต่งกลอนสภุ าพ ฉันทลกั ษณ์ถูกต้อง สื่อความหมาย ส่อื ความหมาย กบั หัวขอ้ เนือ้ หาลกึ ซ้ึงกนิ ใจ สอดคล้องกันทั้งบท สอดคลอ้ งกนั ทั้งบท แต่บางวรรค แตล่ ะวรรค มสี มั ผสั ในบางแหง่ ไม่สอื่ ความหมาย สื่อความหมายชดั เจน เลอื กใชค้ าไพเราะ มสี ัมผัสในหลายแหง่

แบบฝึกทักษะการเขียน เรื่อง การแตง่ กลอนสุภาพ หัวข้อ ผลกระทบต่อการแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ช่ือ…………...………………………………………..ชน้ั …………………เลขท…ี่ …………. ได้……………. คะแนน คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน คาช้ีแจง : ให้นกั เรยี นแตง่ กลอนสุภาพ ๒ บท ในหัวข้อ “ผลกระทบต่อการแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙” ______________________________ ___________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑๙ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑๙ เรื่อง เขียนรายงานเพ่มิ ฐานความรู้ เวลาเรียน ๔ คาบ รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ รายวชิ าภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ผสู้ อน นางสาวมณฑกาญจน์ ศิรมิ งคล กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรยี นมัธยมวัดสิงห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียน เรือ่ งราวในรูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นควา้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ตัวชวี้ ัด ท ๒.๑ ม. ๒/๕ เขยี นรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ ท ๒.๑ ม. ๒/๘ มมี ารยาทในการเขียน จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้สู่ตวั ช้ีวัด ๑. บอกสว่ นประกอบของการเขียนรายงานจากการศึกษาค้นควา้ (K) ๒. วางแผนการเขยี นรายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ (P) ๓. เขยี นรายงานจากการศึกษาคน้ คว้า (P) ๔. เหน็ ความสาคัญของการเขียนรายงานจากการศกึ ษาคน้ ควา้ และมมี ารยาทในการเขยี น (A) สาระสาคัญ (คาชแ้ี จง) การเขียนรายงานเป็นการนาเสนอข้อมูล ความรู้ท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าโดยเรียบเรียงอย่างมีระบบมหี ลักฐาน อ้างอิงชดั เจน เพ่ือเผยแพร่ความรู้ใหน้ ่าเช่ือถือและเกดิ ประโยชน์ต่อผอู้ ่าน การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (๒ ชม.) ขนั้ นา ๑. ให้นักเรียนช่วยกนั บอกรูปแบบการเผยแพรค่ วามรทู้ ่ีนักเรียนรจู้ ัก (ตัวอย่างคาตอบ การจัดปา้ ย นเิ ทศ การจดั นิทรรศการ การทาแผ่นพับ ใบปลิว สมดุ เล่มเลก็ การเขียนรายงาน) กจิ กรรมการเรียนรู้ ๒. ใหน้ ักเรียนรว่ มกนั สนทนาเก่ียวกบั ส่วนประกอบในการเขียนรายงานตามทีน่ ักเรยี นเคยมีประสบการณ์ ๓. ให้นกั เรยี นศกึ ษาตัวอย่างรายงานของรุ่นพี่ที่ครูเตรยี มไว้ (เปน็ ตัวอย่างการเขียนรายงานทดี่ )ี สังเกตสว่ นประกอบวา่ เหมือนหรอื แตกต่างจากท่ีนักเรียนบอกหรือไม่ มสี ว่ นใดที่นา่ สนใจเพิ่มเติม ๔. ใหน้ ักเรยี นศึกษาความรู้ เร่ือง การเขียนรายงานจากการศกึ ษาค้นควา้ แลว้ ร่วมกันสรุป

ความเข้าใจเป็นแผนภาพความคิด ส่วนประกอบของการเขียนรายงาน จากการศึกษาค้นควา้ สว่ นนา ส่วนเนื้อเรื่อง สว่ นท้าย - ปกนอก - บทที่ ๑ - บรรณานกุ รม - ใบรองปก - บทที่ ๒ - ภาคผนวก - ปกใน - บทท่ี ๓ - คานา - บทท่ี ๔ - สารบัญ - บทที่ ๕ ขนั้ ตอนในการเขยี นรายงานจากการศึกษาคน้ คว้า เรยี บเรียงเน้ือหาและจัดทา ขน้ั ตอนท่ี ๕ เป็นรายงานทส่ี มบรู ณ์ ขัน้ ตอนท่ี ๔ ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล ขนั้ ตอนที่ ๓ วางโครงเรอื่ ง ขัน้ ตอนที่ ๒ กาหนดขอบเขตหรือหัวข้อเรื่อง ข้นั ตอนที่ ๑ กาหนดขอบเขตหรือหัวข้อเร่อื ง ๕. ให้นกั เรียนร่วมกนั เสนอความคดิ เก่ยี วกับสิ่งท่ีทาให้รายงานมีความนา่ สนใจและน่าเช่ือถือ ๖. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลมุ่ ๑๐ กล่มุ สง่ ตัวแทนออกมาจบั ฉลาก ศึกษาคน้ ควา้ การช่าง ๑๐ หมู่ ของไทย จากแหล่งการเรยี นรู้ต่าง ๆ ทง้ั สื่อสิ่งพมิ พ์ สอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์ และภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น เพ่ือนาข้อมลู ท่ีไดม้ า เขยี นรายงาน การช่าง ๑๐ หมขู่ องไทย ได้แก่ ๔. ชา่ งสลกั ๕. ชา่ งหลอ่ ๑. ชา่ งเขียน ๒. ชา่ งปัน้ ๓. ช่างแกะ ๙. ชา่ งบุ ๑๐. ชา่ งปนู ๖. ช่างกลงึ ๗. ชา่ งหนุ่ ๘. ช่างรัก

๗. เมอ่ื แต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมาจบั ฉลากเรือ่ งแลว้ ใหน้ ักเรียนประชุมกลมุ่ เพ่ือวางแผนการทางาน เขียน รายชือ่ สมาชิก หนา้ ที่ท่ีแตล่ ะคนได้รบั มอบหมายจากกลุ่ม และโครงเรอ่ื งของรายงานมาส่งครู ๘. ครูอธิบายให้นกั เรยี นเขา้ ใจวา่ นักเรยี นสามารถเปล่ียนแปลงหรอื เพิ่มเตมิ หัวข้อในโครงเร่อื งได้ ถ้าพบ ขอ้ มูลท่นี ่าสนใจในระหว่างการศึกษาค้นคว้า ๙. ใหน้ ักเรยี นและครรู ่วมกันกาหนดวนั ทจี่ ะนาเสนอผลงาน (พูดรายงาน) ขน้ั สรปุ ๑๐. ใหน้ กั เรยี นและครรู ว่ มกันสรุปความรู้ ดังนี้  การเขียนรายงานเปน็ การนาเสนอข้อมลู ความรู้ท่ีได้จากการศกึ ษาค้นคว้าโดยเรียบเรียงอย่างมรี ะบบ มี หลักฐานอา้ งอิงชดั เจนเพ่ือเผยแพร่ความรู้ใหน้ า่ เช่อื ถือและเกดิ ประโยชน์ตอ่ ผู้อ่าน ๑๑. ใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครใู ช้คาถามทา้ ทาย ดงั น้ี  การทารายงานเป็นการฝึกความสามารถในเรื่องใดบา้ ง สอื่ การเรียนรู้ ๑. ตัวอยา่ งรายงาน ๒. ใบความรู้ เรอื่ ง หลักการเขยี นรายงาน ๓. Power Point หลักการเขยี นรายงาน ๔. ฉลาก ๕. ชิ้นงาน รายงานจากการศึกษาค้นควา้ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ดา้ นสมรรถนะ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยม(A) ทกั ษะและกระบวนการ(P) - สังเกตการณเ์ ขยี นรายงาน ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็น ๑. ประเมินทักษะการอ่าน จากการศึกษาค้นคว้า รายบุคคลในดา้ นความสนใจและ ๒. ประเมนิ ทักษะการเขยี น และการแสดงความคิดเหน็ ตั้งใจเรยี น ๓. ประเมินทักษะการคดิ วเิ คราะห์ และ - ตรวจผลการทากิจกรรม มีความรบั ผดิ ชอบในการทากิจกรรม สังเคราะห์ สรรหาคามาเขียน นาความรทู้ ่ี การเขยี นรายงาน ความมีระเบียบวินัยในการทางาน ไดร้ ับจากบทเรยี นไปปรับใช้ในชวี ิตประจาวนั ๒. ประเมินความภาคภมู ใิ จในวฒั นธรรม ๔. ประเมินทักษะกระบวนการกลุ่ม ทางภาษา ข้อเสนอแนะ ให้นกั เรยี นประชุมกลุ่มเพอ่ื วางแผนการทางาน เรียนร้กู ารทางานร่วมกัน ร้จู ักตนเองและผู้อ่นื สามารถ ปรับตัวเข้ากับสว่ นรวมได้ มีจิตอาสา และรับผดิ ชอบในหน้าท่ขี องตนเอง

การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) การประเมินกจิ กรรมนใ้ี ห้ผูส้ อนพิจารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) เรอ่ื ง การเขียนรายงาน ระดับคะแนน เกณฑ์ ๔ ๓ ๒ ๑ การประเมิน มสี ว่ นประกอบ ของรายงาน การเขยี นรายงาน มีสว่ นประกอบ มีส่วนประกอบ มสี ว่ นประกอบของ ครบถ้วน นาเสนอข้อมูล ของรายงานครบถ้วน ของรายงานครบถ้วน รายงานครบถ้วน ยังไม่ละเอยี ด มขี ้อมลู บางสว่ น นาเสนอข้อมูลละเอยี ด นาเสนอข้อมูลละเอียด นาเสนอข้อมลู ไมส่ ัมพันธ์กบั หัวข้อ การเรยี บเรยี งเนอ้ื หา ชดั เจน และหลากหลาย ชัดเจน และหลากหลาย ไมล่ ะเอียดมากนัก และการจัดวางหัวข้อ ยงั สับสน ทกุ ข้อมลู เชื่อมโยง ทกุ ข้อมลู เช่ือมโยง แต่กเ็ ชื่อมโยง มีภาพประกอบ เพยี งเล็กน้อย สัมพนั ธ์กบั หวั ข้อ สัมพนั ธก์ ับหัวข้อ สมั พันธก์ บั หวั ข้อ เรียบเรียงเน้อื หา เรียบเรยี งเนอื้ หา และเรียบเรียงเนื้อหา ตามลาดับและ ตามลาดับ ตามลาดบั ตอ่ เนอ่ื งกันดี จัดรปู แบบ การจดั วางหวั ขอ้ ชดั เจน ส่วนการจัดวางหวั ข้อ การนาเสนอนา่ สนใจ ทาให้เข้าใจง่าย ยังสับสนเล็กน้อย เรยี งลาดับหัวขอ้ ชดั เจน และเปน็ ระเบียบ และมภี าพประกอบ เข้าใจง่าย มี มีภาพประกอบหลาย พอสมควร ภาพประกอบสวยงาม ภาพ ช่วยเพม่ิ และอยู่ในตาแหนง่ ที่ ความนา่ สนใจ เหมาะสมทกุ ภาพ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล คาชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ ลงในช่อง ทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดับ ชือ่ -สกลุ ความตง้ั ใจ ความ การตรงตอ่ ความสะอาด ผลสาเรจ็ รวม ท่ี ของผรู้ ับการประเมนิ ในการทางาน รับผิดชอบ เวลา เรยี บรอ้ ย ของงาน ๒๐ คะแนน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑ ประเมิน ลงช่ือ .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๔ คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง ให้ ๑ คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ๑๘ - ๒๐ ดีมาก ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมนอ้ ยครัง้ ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรงุ

แบบประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คาชแี้ จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ ลงในชอ่ ง ทต่ี รงกับระดบั คะแนน คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อันพงึ ประสงค์ ๔๓๒๑ ด้าน ๑. รกั ชาติ ๑.๑ ยืนตรงเมื่อไดย้ นิ เพลงชาติร้องเพลงชาตไิ ด้และอธิบายความหมายของเพลงชาติ ศาสน์ ๑.๒ ปฏิบัติตนตามสิทธิและหนา้ ท่ีของนักเรยี น กษัตริย์ ๑.๓ ใหค้ วามรว่ มมือ รว่ มใจ ในการทางานกบั สมาชกิ ในโรงเรยี น ๑.๔ เขา้ ร่วมกิจกรรมและมสี ว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรียนและชมุ ชน ๑.๕ เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถอื ปฏิบัตติ นตามหลักของศาสนา ๑.๖ เขา้ ร่วมกจิ กรรมและมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกับสถาบนั พระมหากษตั ริย์ ตามท่โี รงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ๒. ซอ่ื สตั ย์ ๒.๑ ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี ูกตอ้ ง และเปน็ จริง สจุ รติ ๒.๒ ปฏบิ ัติในสง่ิ ที่ถกู ต้อง ละอาย และเกรงกลวั ทีจ่ ะทาความผดิ ทาตามสัญญาท่ตี นให้ ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรอื ผู้ปกครอง และครู ๒.๓ ปฏิบตั ติ อ่ ผ้อู ่นื ด้วยความซอ่ื ตรง ไมห่ าประโยชน์ในทางที่ไมถ่ ูกต้อง ๓. มีวินยั ๓.๑ ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของครอบครัว รบั ผดิ ชอบ และโรงเรยี น ตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ งๆ ในชีวติ ประจาวนั และ รบั ผดิ ชอบในการทางาน ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรยี นรตู้ า่ งๆ ๔.๒ มีการจดบนั ทึกความรู้อย่างเป็นระบบ ๔.๓ สรุปความรูไ้ ด้อยา่ งมเี หตุผล ๕. อยู่อยา่ ง ๕.๑ ใชท้ รพั ยส์ นิ ของตนเอง เชน่ สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุ้มค่า และเกบ็ พอเพยี ง รกั ษาดูแลอยา่ งดี และใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม ๕.๒ ใชท้ รัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยดั คุ้มค่า และเก็บรักษาดแู ลอยา่ งดี ๕.๓ ปฏบิ ัติตนและตดั สนิ ใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล ๕.๔ ไม่เอาเปรยี บผ้อู ่ืนและไม่ทาให้ผู้อ่ืนเดือดร้อนพร้อมใหอ้ ภยั เม่ือผอู้ ่ืนกระทาผิดพลาด

คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อนั พึงประสงค์ ๔๓๒๑ ด้าน ๕.๕ วางแผนการเรียน การทางานและการใชช้ วี ิตประจาวันบนพืน้ ฐานของความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสาร ๕.๖ ร้เู ท่าทันการเปลย่ี นแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรบั และปรบั ตวั อยู่ ร่วมกับผอู้ ืน่ ได้อย่างมีความสุข ๖. มงุ่ มน่ั ในการ ๖.๑ มีความต้ังใจและพยายามในการทางานท่ีได้รบั มอบหมาย ทางาน ๖.๒ มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แท้ต่ออปุ สรรคเพ่ือใหง้ านสาเรจ็ ๗. รักความเปน็ ๗.๑ มจี ติ สานึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย ไทย ๗.๒ เหน็ คุณค่าและปฏบิ ตั ิตนตามวฒั นธรรมไทย ๘. มจี ิต ๘.๑ ร้จู กั ช่วยพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง และครูทางาน สาธารณะ ๘.๒ อาสาทางาน ชว่ ยคิด ช่วยทา และแบ่งปันสง่ิ ของให้ผูอ้ ืน่ ๘.๓ ดแู ล รกั ษาทรัพย์สมบตั ิของห้องเรียน โรงเรียน ชมุ ชน ๘.๔ เขา้ รว่ มกจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน ลงชอื่ .................................................... ผู้ ประเมนิ ................ /................ /................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให้ ๒ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๙๑ – ๑๐๘ ดมี าก ๗๓ – ๙๐ ดี ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ต่ากว่า ๕๔ ปรับปรุง

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒๐ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง บทเสภาสามคั คีเสวก แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒๐ เรอ่ื ง พูดรายงานขยายฐานความรู้ เวลาเรียน ๒ คาบ รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ รายวชิ าภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ผสู้ อน นางสาวมณฑกาญจน์ ศิรมิ งคล กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย โรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สกึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ ตัวช้วี ัด ท ๓.๑ ม. ๒/๕ พดู รายงานเร่ืองหรอื ประเดน็ ที่ศกึ ษาคน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการสนทนา ท ๓.๑ ม. ๒/๖ มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด จุดประสงค์การเรยี นรสู้ ู่ตวั ช้ีวัด ๑. บอกขอ้ ควรปฏิบตั ใิ นการพดู รายงานท่ีดี (K) ๒. พดู รายงานจากการศกึ ษาคน้ ควา้ (P) ๓. เหน็ ความสาคัญของการพดู รายงานจากการศึกษาค้นคว้าและมีมารยาทในการพูด (A) สาระสาคญั (คาชแี้ จง) การพูดรายงานเป็นการพดู ที่ได้จากการศึกษาผ่านการจดั เรียงลาดบั ข้อมูลมาเป็นอยา่ งดี จึงทาให้เห็นถึง ความสามารถในการศึกษาคน้ คว้าและข้อมลู ท่พี ูดเป็นประโยชน์ตอ่ ผู้ฟัง การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (๒ ชม.) ข้ันนา ๑. ให้นักเรียนร่วมกนั สนทนาเก่ยี วกับลลี าการพูดของบุคคลท่ีนักเรียนชืน่ ชม เช่น พธิ ีกร ผปู้ ระกาศ ขา่ ว นักจัดรายการวิทยุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ๒. ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันบอกลกั ษณะการพดู ทีด่ ี (ตัวอย่างคาตอบ เสียงดงั ชัดเจน นา้ เสียงน่าฟงั ออกเสียงคาถูกต้อง บุคลกิ ภาพดี แต่งกายสภุ าพถกู กาลเทศะ ) ๓. ใหน้ ักเรียนออกมาพดู รายงานจากการศึกษาค้นควา้ ทีละกลมุ่ ใชเ้ วลากลมุ่ ละประมาณ ๕ นาที เมือ่ จบ การพูดรายงานของแต่ละกลุ่มใหผ้ ูฟ้ งั ซักถามขอ้ สงสัย ๔. ให้นักเรียนร่วมกนั วจิ ารณ์และประเมินการพดู ซ่งึ กันและกนั บอกข้อดี ข้อบกพร่องของแต่ละกล่มุ ครูให้ กาลังใจและชมเชยในความพยายามของนกั เรียนทกุ คน

๕. ให้นกั เรียนศึกษาความรู้ เรื่อง การพูดรายงาน แลว้ ร่วมกันสรุปข้อควรปฏบิ ตั ใิ นการพูดรายงานทด่ี ี ข้นั สรปุ ๖. ให้นักเรยี นและครูรว่ มกันสรุปความรู้ ดงั นี้  การพูดรายงานเป็นการพดู ท่ีไดจ้ ากการศึกษาผา่ นการจดั เรียงลาดับข้อมูลมาเป็นอย่างดีจงึ ทาใหเ้ หน็ ถงึ ความสามารถในการศึกษาคน้ คว้าและขอ้ มลู ทพ่ี ูดเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้ฟงั ๗. ให้นักเรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดงั นี้  นกั เรียนจะนาทักษะการพดู รายงานไปใช้ในชวี ติ ประจาวันไดอ้ ย่างไรบ้าง ๘. ครมู อบหมายใหน้ ักเรียนสืบค้นข้อมลู ที่สนใจเก่ยี วกบั พระราชประวัติพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ - เจ้าอยหู่ ัว บทเสภาสามคั คีเสวกตอนอ่ืน ๆ หรือการขับเสภา จากแหล่งข้อมลู สารสนเทศ แลว้ บนั ทึกชื่อเว็บไซต์และ รายละเอียดลงในบตั รข้อมลู เพ่อื นามาแลกเปล่ียนความรใู้ นช่วั โมงต่อไป ส่ือการเรยี นรู้ ๑. สอ่ื ประกอบการพูดรายงาน ๒. ใบความรู้ เรอ่ื ง หลกั การพูดนาเสนอ ๓. Power Point รายงานการศึกษาค้นควา้ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ด้านสมรรถนะ มคี ุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม(A) ทักษะและกระบวนการ(P) - สงั เกตการการพดู นาเสนอรายงานจาก ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเปน็ ๑. ประเมินทกั ษะการพดู การศกึ ษาคน้ คว้า รายบุคคลในดา้ นความสนใจและ ๒. ประเมนิ ทกั ษะการเขียน และการแสดงความคิดเหน็ ตัง้ ใจเรยี น ๓. ประเมนิ ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ และ - ตรวจผลการทากิจกรรม มีความรับผดิ ชอบในการทากิจกรรม สงั เคราะห์ สรรหาคามาเขียนและพดู นา ความมีระเบียบวินัยในการทางาน ความรู้ท่ไี ด้รับจากบทเรียนไปปรับใช้ใน ๒. ประเมินพฤติกรรมการพูด ชวี ิตประจาวนั ๔. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ข้อเสนอแนะ นักเรยี นได้ร่วมกนั วิจารณ์และประเมินการพดู เขา้ ใจข้อดีและข้อบกพร่องของตนเองและผู้อนื่ เปน็ พน้ื ฐานในการพัฒนาตนเอง

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) การประเมินกจิ กรรมนใี้ หผ้ ้สู อนพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เรอ่ื ง การพดู รายงาน ระดบั คะแนน เกณฑ์ ๔๓ ๒ ๑ การประเมนิ นาเสนอข้อมลู นาเสนอข้อมลู นาเสนอข้อมูล นาเสนอข้อมลู เป็นลาดับ เป็นลาดบั เปน็ ลาดับ เป็นลาดบั การพูดรายงาน มีความมนั่ ใจ แสดงถึง มคี วามม่นั ใจ แสดงถงึ แตก่ ารพดู ติดขดั บา้ ง แต่เปน็ ลักษณะของการ การเตรียมตวั การเตรียมตวั เพราะความตนื่ เตน้ อา่ นตามเอกสาร มาเป็นอย่างดี มาเป็นอยา่ งดี ข้อมลู ท่นี าเสนอน่าสนใจ ที่นาออกไปดว้ ย ข้อมลู ที่ ขอ้ มูลทนี่ าเสนอนา่ สนใจ ขอ้ มูลทนี่ าเสนอ มสี ่อื ประกอบ นาเสนอน่าสนใจ ใช้สือ่ ประกอบเหมาะสม นา่ สนใจ แต่ต้องปรับปรุงรูปแบบ ไม่มชี ่อื ประกอบ เสยี งดังชดั เจน ใชส้ ่อื ประกอบ ใหน้ า่ สนใจขึ้น ออกเสียงคาถกู ต้อง เหมาะสม ความดังของเสยี ง น้าเสียงนา่ ฟัง เสยี งดังชดั เจน ยงั ไมเ่ หมาะสม บุคลกิ ภาพในการพดู ดี น้าเสยี งน่าฟัง ออกเสียงคาบางคา บคุ ลกิ ภาพในการพดู ดี ไมช่ ัดเจน แตต่ ้องพัฒนา ต้องปรบั ปรงุ บุคลิกภาพ เรือ่ งการออกเสยี ง ในการพูด คาบางคาให้ถูกต้อง ให้เป็นธรรมชาติ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล คาชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ ลงในช่อง ทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดับ ชือ่ -สกลุ ความตง้ั ใจ ความ การตรงตอ่ ความสะอาด ผลสาเรจ็ รวม ท่ี ของผรู้ ับการประเมนิ ในการทางาน รับผิดชอบ เวลา เรยี บรอ้ ย ของงาน ๒๐ คะแนน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑ ประเมิน ลงช่ือ .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๔ คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง ให้ ๑ คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ๑๘ - ๒๐ ดีมาก ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมนอ้ ยครัง้ ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรงุ

แบบประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คาชแี้ จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ ลงในชอ่ ง ทต่ี รงกับระดบั คะแนน คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อันพงึ ประสงค์ ๔๓๒๑ ด้าน ๑. รกั ชาติ ๑.๑ ยืนตรงเมื่อไดย้ นิ เพลงชาติร้องเพลงชาตไิ ด้และอธิบายความหมายของเพลงชาติ ศาสน์ ๑.๒ ปฏิบัติตนตามสิทธิและหนา้ ท่ีของนักเรยี น กษัตริย์ ๑.๓ ใหค้ วามรว่ มมือ รว่ มใจ ในการทางานกบั สมาชกิ ในโรงเรยี น ๑.๔ เขา้ ร่วมกิจกรรมและมสี ว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรียนและชมุ ชน ๑.๕ เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถอื ปฏิบัตติ นตามหลักของศาสนา ๑.๖ เขา้ ร่วมกจิ กรรมและมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกับสถาบนั พระมหากษตั ริย์ ตามท่โี รงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ๒. ซอ่ื สตั ย์ ๒.๑ ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี ูกตอ้ ง และเปน็ จริง สจุ รติ ๒.๒ ปฏบิ ัติในสง่ิ ที่ถกู ต้อง ละอาย และเกรงกลวั ทีจ่ ะทาความผดิ ทาตามสัญญาท่ตี นให้ ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรอื ผู้ปกครอง และครู ๒.๓ ปฏิบตั ติ อ่ ผ้อู ่นื ด้วยความซอ่ื ตรง ไมห่ าประโยชน์ในทางที่ไมถ่ ูกต้อง ๓. มีวินยั ๓.๑ ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของครอบครัว รบั ผดิ ชอบ และโรงเรยี น ตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ งๆ ในชีวติ ประจาวนั และ รบั ผดิ ชอบในการทางาน ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรยี นรตู้ า่ งๆ ๔.๒ มีการจดบนั ทึกความรู้อย่างเป็นระบบ ๔.๓ สรุปความรูไ้ ด้อยา่ งมเี หตุผล ๕. อยู่อยา่ ง ๕.๑ ใชท้ รพั ยส์ นิ ของตนเอง เชน่ สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุ้มค่า และเกบ็ พอเพยี ง รกั ษาดูแลอยา่ งดี และใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม ๕.๒ ใชท้ รัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยดั คุ้มค่า และเก็บรักษาดแู ลอยา่ งดี ๕.๓ ปฏบิ ัติตนและตดั สนิ ใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล ๕.๔ ไม่เอาเปรยี บผ้อู ่ืนและไม่ทาให้ผู้อ่ืนเดือดร้อนพร้อมใหอ้ ภยั เม่ือผอู้ ่ืนกระทาผิดพลาด

คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อนั พึงประสงค์ ๔๓๒๑ ด้าน ๕.๕ วางแผนการเรียน การทางานและการใชช้ วี ิตประจาวันบนพืน้ ฐานของความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสาร ๕.๖ ร้เู ท่าทันการเปลย่ี นแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรบั และปรบั ตวั อยู่ ร่วมกับผอู้ ืน่ ได้อย่างมีความสุข ๖. มงุ่ มน่ั ในการ ๖.๑ มีความต้ังใจและพยายามในการทางานท่ีได้รบั มอบหมาย ทางาน ๖.๒ มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แท้ต่ออปุ สรรคเพ่ือใหง้ านสาเรจ็ ๗. รักความเปน็ ๗.๑ มจี ติ สานึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย ไทย ๗.๒ เหน็ คุณค่าและปฏบิ ตั ิตนตามวฒั นธรรมไทย ๘. มจี ิต ๘.๑ ร้จู กั ช่วยพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง และครูทางาน สาธารณะ ๘.๒ อาสาทางาน ชว่ ยคิด ช่วยทา และแบ่งปันสง่ิ ของให้ผูอ้ ืน่ ๘.๓ ดแู ล รกั ษาทรัพย์สมบตั ิของห้องเรียน โรงเรียน ชมุ ชน ๘.๔ เขา้ รว่ มกจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน ลงชอื่ .................................................... ผู้ ประเมนิ ................ /................ /................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให้ ๒ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๙๑ – ๑๐๘ ดมี าก ๗๓ – ๙๐ ดี ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ต่ากว่า ๕๔ ปรับปรุง

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๒๑ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๓ เรอ่ื ง ศลิ าจารึก หลักท่ี ๑ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๒๑ เร่อื ง ลายสอื ไทย เวลาเรียน ๒ คาบ รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ รายวชิ าภาษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ผสู้ อน นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ มิ งคล กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรยี นมัธยมวัดสงิ ห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรูแ้ ละความคดิ เพื่อนาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ัญหาในการดาเนินชีวติ และมีนิสยั รักการอ่าน ตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ม. ๒/๑ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง ท ๑.๑ ม. ๒/๒ จบั ใจความสาคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอยี ดจากเร่อื งท่ีอ่าน ท ๑.๑ ม. ๒/๘ มมี ารยาทในการอ่าน จดุ ประสงค์การเรียนรูส้ ูต่ ัวชี้วัด ๑. อธบิ ายแบบอักษรและการเขยี นคาในศิลาจารกึ หลักที่ ๑ (K) ๒. อ่านออกเสียงศิลาจารึก หลักท่ี ๑ (P) ๓. เขยี นแบบอกั ษรในสมยั พ่อขุนรามคาแหงมหาราช (P) ๔. เหน็ ความสาคัญและตระหนกั ในคุณคา่ ของตัวอักษรไทย (A) สาระสาคัญ (คาชแี้ จง) การศึกษาท่ีมาของเรื่องศิลาจารกึ หลักที่ ๑ แบบอกั ษรและการเขียนคาในสมัยพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช อยา่ งถูกต้อง ทาให้เหน็ ความสาคญั และเกดิ ความตระหนักในคุณค่าของตวั อักษรไทย การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (๒ ชม.) ขน้ั นา ๑. ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั สนทนา โดยครูใช้คาถาม ดังน้ี  ศลิ าจารกึ ในความคดิ ของนักเรยี นมลี ักษณะอย่างไร  ศิลาจารึกนาไปใช้ทาอะไร  เมือ่ กล่าวถึงศิลาจารึก นกั เรียนจะนึกถึงสิง่ ใดบา้ ง กิจกรรมการเรยี นรู้ ๒. ใหน้ กั เรียนอา่ นบทนาเร่ืองและทีม่ าของศิลาจารึก หลักที่ ๑ จากนนั้ ให้สรปุ สาระสาคัญ ครูอธิบาย เพมิ่ เติมและตอบข้อซักถามของนกั เรียน ๓. ให้นกั เรยี นศึกษาเนื้อเร่ืองยอ่ ศิลาจารกึ หลักที่ ๑ แลว้ ร่วมกันตอบคาถาม ตอ่ ไปน้ี  ศิลาจารึกพ่อขนุ รามคาแหงมีกตี่ อน ( ๓ ตอน )

 แตล่ ะตอนมีเน้อื หาเกี่ยวกับอะไร (ตอนที่ ๑ กล่าวถงึ พระราชประวตั ิของพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ตอนที่ ๒ กลา่ วถึงเหตกุ ารณ์บ้านเมืองและความเจริญร่งุ เรอื งในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ตอนที่ ๓ กลา่ วถึงพระราชกรณยี กิจและพระเกียรติคุณของพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช)  ตอนใดทมี่ ีผ้สู นั นิษฐานวา่ พระองค์ทรงพระราชนพิ นธด์ ว้ ยพระองค์เอง และสังเกตจากอะไร (ตอนที่ ๑ สังเกตจากการใชส้ รรพนามแทนพระองค์ว่า “กู”)  พระแทน่ มนังคศลิ าบาตรใชส้ าหรับทาอะไร (ใช้สาหรบั ประทบั ว่าราชการและใหพ้ ระสงฆ์ใชเ้ ปน็ ธรรมาสน์แสดงธรรม) ๔. ใหน้ ักเรยี นสังเกตการเขยี นคาในสมยั พ่อขนุ รามคาแหงมหาราชและฝึกอ่านด้วยตนเอง จากแถบ ข้อความทค่ี รตู ิดบนกระดาน ๕. ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาความรเู้ ร่ืองแบบอกั ษรและการเขยี นคาในสมัยพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช จากใบความรู้ ๖. ใหน้ ักเรยี นฝกึ อา่ นจาลองอกั ษรจารึกพ่อขุนรามคาแหง ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันตรวจสอบความ ถกู ต้อง ๗. ให้นกั เรียนจับคูเ่ ขียนแสดงความร้สู ึกทม่ี ีต่อเพ่ือนด้วยแบบอกั ษรพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช แลว้ นามาแลกเปลยี่ นกนั อ่าน จากน้นั ครสู ุ่มตัวแทนนักเรยี น ๘-๑๐ คู่ ออกมาอ่านหนา้ ช้ันเรยี น ครูและนกั เรยี น ร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นสรุป ๘. ใหน้ ักเรยี นและครูรว่ มกันสรปุ ความรู้ ดงั นี้  การศึกษาท่ีมาของเร่ือง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ แบบอักษร และการเขียนคาในสมัยพ่อขุนรามคาแหง- มหาราชอย่างถูกต้อง ทาให้เห็นความสาคัญและเกิดความตระหนกั ในคณุ ค่าของตวั อักษรไทย ๙. ให้นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยครใู ชค้ าถามท้าทาย ดังน้ี รปู แบบการเขียนคาทีเ่ ขยี นและอ่านงา่ ยควรเป็นอย่างไร ใหน้ ักเรียนศึกษาความร้เู รือ่ งแบบอักษรและการเขียนคาในสมยั พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช ด้วยตนเอง แลว้ ฝึกเขียนให้ถูกต้อง ครชู ่วยแนะนาการเขียนอย่างใกล้ชิด และชมเชยนักเรยี นทม่ี ีความต้ังใจใน การทากิจกรรม สอ่ื การเรยี นรู้ ๑. แถบข้อความ ๒. ใบความรู้ เร่อื ง แบบอกั ษรและการเขียนคาในสมยั พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ๓. Power Point แบบอกั ษรและการเขยี นคาในสมัยพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดา้ นสมรรถนะ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยม(A) ทักษะและกระบวนการ(P) - สงั เกตการการเขียนแบบ ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็น ๑. ประเมินทกั ษะการพดู อกั ษรและการเขยี นคาใน รายบุคคลในด้านความสนใจและ ๒. ประเมินทกั ษะการเขยี น สมยั พอ่ ขุนรามคาแหง ตัง้ ใจเรยี น ๓. ประเมินทักษะการคิดวเิ คราะห์ และ มหาราชและ มีความรับผดิ ชอบในการทากิจกรรม สังเคราะห์ สรรหาคามาเขียนและพูด นา การแสดงความคิดเห็น ความมรี ะเบียบวินยั ในการทางาน ความรู้ทไ่ี ด้รบั จากบทเรียนไปปรบั ใช้ใน - ตรวจผลการทากิจกรรม ๒. ประเมินพฤติกรรมการพูด ชีวิตประจาวัน ๔. ประเมนิ ทักษะกระบวนการกลุ่ม

ใบความรู้ เร่ือง แบบอักษรและการเขยี นคาในสมัยพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช แบบอกั ษรพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช Thai Letters of King RamKamhaeng the Great พยัญชนะ CONSONANTS (กรมศิลปากร ๒๕๓๓ : ๕๑)  การเขยี นคาในปัจจุบันและในสมยั พ่อขนุ รามคาแหง

๑. คาท่ีมตี ัวสะกด นา ง = นาง ทอ ง = ทอง ลกั ษณะทเี่ ปน็ ขอ้ สังเกต คือ พยญั ชนะตน้ และสระจะเขียนตดิ กนั เขยี นตวั สะกดแยกออกไป ตวั อยา่ ง กา (กา) ทา น (ทาน) ๒. คาทใ่ี ช้สระ อิ อี อื อุ อู ลิีูักื หกกษปณนนะนที่เปน็ ====ข้อสังเกตหปกกนิูนนื คี ือ เขยี นสระ อิ อี อื อุ อู ไว้ข้างหนา้ ติดกับพยญั ชนะต้น ๓. คาท่ตี ต้อัวงอใชย้ไา่ มงห้ ันอื าคกานศ(คืน) ี ม (ม)ี ู ด (ดู) อ นน = อนั ข บบ = ขับ หน งง = หนงั ลกั ษณะท่เี ป็นขอ้ สังเกต คอื ใช้การซ้อนพยัญชนะตัวสะกดแทนการใช้ไมห้ ันอากาศ ตวั อย่าง ห นน (หนั ) จ กก (จกั ) ว งง (วัง) ๔. คาที่ประสมสระ ออ และสระ ออื พ่ = พ่อ ถ่ = ถอ่ ลกั ษณะทีเ่ ปน็ ข้อสงั เกต คือ สระออ และสระอือ จะไม่ปรากฏรูป อ ตวั อยา่ ง ล่ (ล่อ) ื ถ (ถือ) ื ช่ (ช่ือ) ๕. คาทป่ี ระสมสระ เอือ ื ม่อ อ = เมื่อ ื ผอ อ = เผือ ลืกัื งษมอณอนะงทีเ่ ป็น==ข้อสังเกตเมเงอื อืคงนอื สระเออื ใชร้ ูป ื _ อ อ เมื่อเป็นคาทีไ่ ม่มตี ัวสะกด ถ้ามี ตวั สะกด ใชร้ ูป ื _อ ช่อ อ (เชื่อ) สอ ง (เสือง)ื รอ น (เรือน) ตวั อย่าง เอียื ื ๖. คาทป่ี ระสมสระ ี สย ย = เสยี ี มย ย = เมีย เดยี ว ดย ว =

ตย ม = เตียม ลกั ษณะทเ่ี ปน็ ข้อสงั เกต คือ สระเอยี ใช้รูป ี _ ย ย เมื่อเป็นคาทไ่ี มม่ ตี ัวสะกด ถา้ มี ตวั สะกด ใช้รูป _ย ๗. คาทีม่ ตีรวัปู อวยร่ารงณยุกต์โีท ยย ย (เยยี ) วย ง (เวียง) ู ผ๋ = ผู้ แพ๋ = แพ้ ลกั ษณะที่เปน็ ขอ้ สงั เกต คือ รปู วรรณยกุ ต์โท ใช้ ตัวอย่าง ค๋า (คา้ ) ช๋าง (ช้าง) ี น๋ (น้)ี แผนภูมกิ าเนดิ ตวั อักษรพ่อขุนรามคาแหง อกั ษรฟนิ ีเซีย อักษรพราหมณี อกั ษรฝรงั่ ต่าง ๆ อนิ เดียฝา่ ยเหนือ อนิ เดียฝา่ ยใต้ ขอมโบราณ มอญโบราณ ขอมจารึก ขอมหวัด อักษรไทยเดิม อักษรพมา่ อกั ษรขอมต่าง ๆ อักษรพ่อขนุ ราม อักษรเงี้ยว เบญจมาศ ยูถนันท์

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ ลงในช่อง ทีต่ รงกับระดับคะแนน ลาดับ ชอื่ -สกลุ ความตัง้ ใจ ความ การตรงต่อเวลา ความสะอาด ผลสาเรจ็ ของ รวม ที่ ของผู้รับการ ในการทางาน รับผิดชอบ เรยี บร้อย งาน ๒๐ คะแนน ประเมิน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑ ประเมนิ ลงชื่อ .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ ๔ คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ให้ ๓ คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครง้ั ให้ ๑ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ๑๘ - ๒๐ ดีมาก ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมน้อยครง้ั ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรงุ

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ ลงในช่อง คณุ ลักษณะ ท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงค์ ระดบั คะแนน ด้าน รายการประเมิน ๔๓๒๑ ๑. รกั ชาติ ๑.๑ ยืนตรงเมื่อไดย้ นิ เพลงชาตริ ้องเพลงชาตไิ ด้และอธิบายความหมายของเพลงชาติ ศาสน์ ๑.๒ ปฏบิ ัตติ นตามสิทธแิ ละหน้าท่ีของนักเรยี น กษตั ริย์ ๑.๓ ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการทางานกบั สมาชกิ ในโรงเรียน ๑.๔ เข้ารว่ มกจิ กรรมและมสี ว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรมทีส่ รา้ งความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนและชุมชน ๑.๕ เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถอื ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ของศาสนา ๑.๖ เข้ารว่ มกจิ กรรมและมสี ว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมท่เี ก่ยี วกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ตามที่โรงเรียนและชมุ ชนจดั ข้ึน ๒. ซื่อสัตย์ ๒.๑ ให้ข้อมลู ที่ถูกต้อง และเปน็ จริง สุจริต ๒.๒ ปฏบิ ตั ิในสง่ิ ทถี่ กู ต้อง ละอาย และเกรงกลวั ทจ่ี ะทาความผดิ ทาตามสญั ญาทีต่ นให้ ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรอื ผ้ปู กครอง และครู ๒.๓ ปฏิบตั ิตอ่ ผูอ้ นื่ ด้วยความซอ่ื ตรง ไมห่ าประโยชนใ์ นทางท่ีไมถ่ ูกต้อง ๓. มวี นิ ัย ๓.๑ ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคบั ของครอบครัว รบั ผิดชอบ และโรงเรียน ตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตา่ งๆ ในชวี ิตประจาวนั และ รบั ผดิ ชอบในการทางาน ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรยี นรูต้ า่ งๆ ๔.๒ มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ ๔.๓ สรุปความรูไ้ ด้อย่างมเี หตุผล

๕. อยู่อยา่ ง ๕.๑ ใชท้ รัพย์สินของตนเอง เช่น สงิ่ ของ เครอื่ งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด ค้มุ ค่า และเกบ็ พอเพยี ง รักษาดแู ลอย่างดี และใชเ้ วลาอย่างเหมาะสม ๕.๒ ใชท้ รัพยากรของส่วนรวมอยา่ งประหยดั คุ้มคา่ และเก็บรกั ษาดแู ลอยา่ งดี ๕.๓ ปฏิบัตติ นและตดั สนิ ใจด้วยความรอบคอบ มเี หตุผล ๕.๔ ไม่เอาเปรยี บผ้อู ื่นและไม่ทาให้ผู้อื่นเดือดร้อนพร้อมใหอ้ ภัยเม่อื ผอู้ น่ื กระทาผิดพลาด คณุ ลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพึงประสงค์ ๔๓๒๑ ด้าน ๕.๕ วางแผนการเรียน การทางานและการใช้ชวี ิตประจาวันบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมลู ข่าวสาร ๕.๖ รเู้ ทา่ ทันการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และสภาพแวดลอ้ ม ยอมรบั และปรับตวั อยู่ รว่ มกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งมีความสุข ๖. มุ่งมน่ั ในการ ๖.๑ มีความต้ังใจและพยายามในการทางานที่ได้รบั มอบหมาย ทางาน ๖.๒ มีความอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออปุ สรรคเพ่ือให้งานสาเร็จ ๗. รักความเปน็ ๗.๑ มจี ติ สานึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย ไทย ๗.๒ เหน็ คณุ คา่ และปฏิบัตติ นตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจิต ๘.๑ ร้จู ักช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครทู างาน สาธารณะ ๘.๒ อาสาทางาน ชว่ ยคดิ ชว่ ยทา และแบง่ ปนั ส่งิ ของใหผ้ ้อู น่ื ๘.๓ ดแู ล รกั ษาทรัพยส์ มบตั ิของห้องเรียน โรงเรยี น ชุมชน ๘.๔ เขา้ รว่ มกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน

ลงช่ือ ..........................................ผ้ปู ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ให้ ๔ คะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ ๓ คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยคร้งั ให้ ๑ คะแนน ๙๑ – ๑๐๘ ดีมาก ๗๓ – ๙๐ ดี ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ต่ากว่า ๕๔ ปรบั ปรงุ








Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook