Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Annual Report PSDG2020

Annual Report PSDG2020

Published by Namtip.S, 2021-03-01 03:35:59

Description: รายงานประจำปี 2563 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

Search

Read the Text Version

รายงานประจาปี กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ Annual Report 2020 (Public Sector Development Group, Department of Medical Sciences.)

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นหน่วยงานที่จัดต้ังข้ึนตาม กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2552 เปน็ หนว่ ยงานหลักในการสนบั สนนุ การพัฒนาระบบราชการของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ให้เกิด การเปล่ียนแปลงในด้านการพัฒนาระบบบริหารราชการ ตลอดจนกากับดูแล ติดตามประเมินผล การพัฒนาระบบราชการให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีคุณภาพ และเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างยั่งยืน สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์การพฒั นาระบบราชการของประเทศไทย โดยมี หน่วยงานในสังกัดกรมฯ ร่วมให้การสนับสนุนการขับเคล่ือนการพัฒนาระบบราชการ ให้สอดคล้องกับทิศทางของ กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กลมุ่ พัฒนาระบบบรหิ ารได้ดาเนนิ โครงการตามภารกิจหลกั ของหน่วยงาน จานวน 5 โครงการ ซง่ึ เปน็ โครงการทีข่ บั เคล่ือนการพฒั นาระบบราชการในระดบั กรม ได้แก่ การจดั ทาคารบั รอง การปฏิบัติราชการกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 การตดิ ตามและประเมินผลการ ปฏิบัติราชการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การจัดทาคารับรองการปฏิบัติ ราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ซึ่งเป็นโครงการที่มุ่งเน้น การปฏิบัติราชการให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุ้มค่า ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ลดภารกิจและยุบเลิก หนว่ ยงานทไ่ี มจ่ าเป็น อานวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน มีผู้รับผิดชอบต่อผล ของงาน ตามนัยของพระราชบัญญตั ิระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 และตาม พระราชกฤษฎกี าว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธกี ารบรหิ ารกิจการบา้ นเมอื งทด่ี ี พ.ศ. 2546 ท่ีกาหนดมาตรการกากับ ติดตาม และประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการเพือ่ ตอบสนองต่อพระราชบัญญัตขิ ้างต้น และภารกิจสนับสนุนระบบ คุณภาพ ISO 9001 ของกรมฯ รายงานประจาปี พ.ศ. 2563 ของกลุม่ พฒั นาระบบบริหาร ได้รวบรวมสรุปผลการดาเนินงาน พัฒนาระบบบริหารราชการของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และหน่วยงานภายในสังกัด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ภายใตค้ วามมงุ่ มั่นต้งั ใจในการปฏบิ ตั ิภารกิจอย่างเต็มกาลังความสามารถ ของผู้บริหารหน่วยงานและเจ้าหน้าท่ีกลุ่มพัฒนาระบบบริหารทุกคน หวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานฉบับน้ี จะเป็นข้อมูลและบทเรียนรู้ในการพัฒนาระบบบริหารราชการภายในกรมให้เป็นองค์การที่เข้มแข็ง มีผลการปฏิบัติราชการท่มี ีคุณภาพ ประสทิ ธภิ าพ ประสิทธิผล สามารถยกระดบั องค์การสู่ความเป็นเลิศ และ เป็นทย่ี อมรับของทุกภาคสว่ นตอ่ ไป (นางอนงค์ เขอ่ื นแกว้ ) หัวหนา้ กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร 1

สารบญั สารจากผบู้ ริหาร หน้า ความเปน็ มาของกลุ่มพฒั นาระบบบริหาร 1 3 วิสยั ทัศน์ และภารกจิ หลัก 3 4 วัฒนธรรม และคา่ นยิ ม 5 6 โครงสร้างและอัตรากาลงั กลมุ่ พัฒนาระบบบรหิ าร 7 บุคลากรกลุม่ พฒั นาระบบบริหาร 9 งบประมาณ 10 ผลงานตามภารกจิ หลกั 12 ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัตริ าชการ 16 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 17 โครงการที่ 1 การจดั ทาคารับรองการปฏิบตั ิราชการ กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 25 28 โครงการท่ี 2 การติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบัติ ราชการกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ 31 36 โครงการที่ 3 การจัดทาคารับรองการปฏิบตั ิราชการของ 39 หนว่ ยงานในสังกัดกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 43 47 โครงการท่ี 4 การตดิ ตามและประเมินผลการปฏิบัติ 48 ราชการตามคารับรองการปฏิบัตริ าชการของหน่วยงาน ในสงั กัดกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ 55 โครงการท่ี 5 การพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั 60 63 ผลการดาเนนิ งานตามคารับรองการปฏบิ ัตริ าชการ 65 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 75 การสารวจความพึงพอใจของผ้รู บั บริการ การปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ การดาเนนิ การตามระบบบริหารคุณภาพ การพัฒนาบุคลากร ผลงานเด่นท่ีสาคญั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ผลการปฏิบตั ริ าชการตามข้อตกลงการปฏิบตั ิราชการ ของอธิบดีกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ (Performance Agreement : PA) การขบั เคลื่อนงานพฒั นาองคก์ ารเพื่อขอรับสมคั ร รางวัลเลศิ รฐั การพัฒนาโครงสร้าง การดาเนนิ การตาม พ.ร.บ. อานวยความสะดวก 2558 ภาพกจิ กรรม คณะผ้จู ัดทา

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร เป็นหน่วยงานท่ีจัดต้ังข้ึนตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2552 เป็นหน่วยงานหลักในการสนับสนุนการพัฒนาระบบราชการของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ให้เกิดการเปล่ียนแปลงในด้านการพัฒนา ระบบบริหารราชการ ตลอดจนกากับดูแล ติดตามประเมินผลการพัฒนาระบบราชการ เพื่อบรรลุผลสัมฤทธิ์ เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีคุณภาพ และเกิดผลเป็นรูปธรรมอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการของประเทศไทย โดยมี หน่วยงานในสังกัดกรมฯ ใหก้ ารสนับสนุนการขับเคล่ือนการพัฒนาระบบราชการ ใหส้ อดคล้องกบั ทิศทางของกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ อานาจหน้าท่ี ดงั น้ี 4. ประสานงานรว่ มกับหรือสนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงาน ของหน่วยงานอืน่ ท่เี ก่ยี วข้อง หรอื ทไี่ ด้รับมอบหมาย 3. ประสานและดาเนนิ การเกีย่ วกับการพฒั นาระบบ ราชการร่วมกับหนว่ ยงานกลางตา่ ง ๆ และ หน่วยงานในสังกดั กรม 1. เสนอแนะให้คาปรึกษาแก่อธิบดี 2. ตดิ ตามประเมนิ ผล และจดั ทารายงานเกีย่ วกับการพัฒนา กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ระบบราชการไทย เกี่ยวกับยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย วสิ ยั ทศั น์ (Vision) ภารกจิ หลกั (Mission) เปน็ หน่วยงานหลักในการสนับสนนุ การพฒั นา 1. จดั ทาคารบั รองและตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏิบตั ิ ระบบราชการของกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ราชการกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ให้เกิดผลเป็นรปู ธรรมและยงั่ ยนื 2. จดั ทาคารบั รองและติดตามประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิ ราชการของหน่วยงานในสงั กัด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3. การพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ (PMQA) 4. การพฒั นาโครงสร้าง 3

วัฒนธรรม “ ม่งุ ผลสมั ฤทธิ์ มคี วามรับผิดชอบ ทางานเป็นทีม ” คา่ นิยม “ DMSc เปดิ ใจ ใฝร่ ู้ คู่คุณธรรม นาหลักวชิ าการ มาตรฐานสากล ” D Discovery นาความรู้มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทางาน ใฝร่ ู้ ได้อยา่ งเหมาะสม M Moral ปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความซ่ือสัตย์ สจุ ริต คคู่ ุณธรรม มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ S Sciences/Standards ทางานอย่างมมี าตรฐานตามหลักวิชาการ นาหลกั วิชาการ/ตามมาตรฐานสากล ยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อ่นื C Changeเปดิ ใจรับการเปล่ียนแปลง อย่างสร้างสรรค์ ทางานเป็นทมี 4

รองอธบิ ดี 1 อธิบดี รองอธิบดี 3 รองอธบิ ดี 2 กลุม่ พัฒนาระบบบริหาร 9 หัวหนา้ กล่มุ 1 นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชานาญการพเิ ศษ (ขรก.) งานจัดทาคารบั รองและประเมินผล 1 งานจัดทาคารับรองและประเมนิ ผล 2 การปฏิบัติราชการระดบั กรม การปฏิบตั ิราชการระดบั หน่วยงาน นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏิบัตกิ าร นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏิบตั กิ าร (ขรก.) - 1 (ขรก.) – 2 งานพฒั นาคุณภาพ 2 งานพัฒนาโครงสรา้ ง 1 การบริหารจัดการภาครฐั นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏิบตั กิ าร นักวิเคราะห์นโยบายและแผน (พรก.) - 1 (ขรก.) - 1 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน (พกส.) - ว่าง งานบรหิ ารทั่วไป 2 นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน (พกส.) - 1 นักจดั การงานทวั่ ไป (พกส.) - 1 บคุ ลากรของกลุ่มพฒั นาระบบบริหาร รวมทงั้ หมด จานวน 9 คน ประกอบด้วย 1. ขา้ ราชการ จานวน 5 คน จาแนกตาแหนง่ ดังน้ี 1.1 นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ (หัวหนา้ กล่มุ ) 1 คน 1.2 นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏิบัตกิ าร 4 คน 2. พนักงานราชการ จานวน 1 คน ตาแหน่ง นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน 3. พนกั งานกระทรวงสาธารณสขุ จานวน 2 คน จาแนกตาแหน่ง ดงั น้ี 5 3.1 ตาแหน่ง นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน 1 คน 3.2 ตาแหน่ง นกั จัดการงานท่วั ไป 1 คน หมายเหตุ: พนักงานกระทรวงสาธารณสขุ อตั รากาลงั จานวน 3 อตั รา, วา่ ง 1 อัตรา

นางอนงค์ เข่ือนแกว้ หวั หนา้ กล่มุ พฒั นาระบบบริหาร เบอรภ์ ายใน 98449 น.ส. ทชั ชา สงิ หทะแสน น.ส. อชริ า เหล่าศภุ วณิชย์ น.ส. นาทิพย์ สรพมิ พ์ นายสรุ ิยมิตร พุ่มโพธ์ิงาม นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏิบตั ิการ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏิบัตกิ าร นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบตั ิการ เบอร์ภายใน 98446 เบอรภ์ ายใน 98472 เบอร์ภายใน 98446 เบอร์ภายใน 98447 น.ส. นงรกั ษ์ กิจไธสง น.ส. นารีรัตน์ มาทอง น.ส. ชญานิศ มะวรคนอง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน นักจดั การงานทว่ั ไป เบอร์ภายใน 98471 เบอรภ์ ายใน 98472 เบอรภ์ ายใน 98448 6

ก ลุ่มพฒั นาระบบบรหิ าร มีแผนงาน/โครงการ ทังสิน 5 แผนงาน/โครงการ และไดร้ บั จัดสรรงบประมาณ จานวน 904,616.52 บาท (เกา้ แสนสพ่ี นั หกร้อยสิบหกบาทห้าสิบสองสตางค์) ผลการเบิกจา่ ย ทังสิน 904,616.52 บาท (เกา้ แสนสพ่ี ันหกรอ้ ยสิบหกบาทหา้ สบิ สองสตางค์) คิดเป็นร้อยละ 100 ดงั นี ร้อยละของเงนิ งบประมาณรายโครงการ ผลการดาเนินงานและการเบิกจา่ ยงบประมาณ โครงการ 1 โครงการ 5 โครงการ 1 1.66 % โครงการ 2 100 % 100 % 4.42 % โครงการ 3 3.87 % โครงการ 5 47.22 % โครงการ 4 โครงการ 4 โครงการ 2 42.83 % 100 % 100 % โครงการ 3 100 % แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม รอ้ ยละ การเบิกจ่ายงบประมาณ คิดเปน็ ผลการดาเนนิ งาน (%) แผน (บาท) ผล (บาท) คงเหลอื (บาท) 1.66 1. การจดั ทาคารบั รองการปฏิบตั ริ าชการ 100 15,000 15,000 0 4.42 กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 3.87 2. การติดตามและประเมินผล 100 40,000 40,000 0 42.83 การปฏิบัติราชการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 47.22 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 100 3. การจัดทาคารับรองการปฏิบัตริ าชการของ 100 35,000 35,000 0 หนว่ ยงานในสังกดั กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 100 387,416.52 387,416.52 0 100 4. การตดิ ตามประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการ 427,200 427,200 0 ของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ร้อยละเฉลี่ย 100 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 904,616.52 904,616.52 0 5. การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 รวม 7 คดิ เปน็ ร้อยละการเบกิ จา่ ยงบประมาณ รอ้ ยละ 100



ผลการดาเนินการ ตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 9

การจัดทาคารบั รอง โครงการที่ 1 การปฏิบตั ริ าชการกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 การจัดทาคารับรองการปฏิบัติราชการเป็นเคร่ืองมือการบริหารราชการสมัยใหม่ที่จะช่วยให้ส่วนราชการปฏิบัติราชการตามแนวทางการบริหารกิจการ บ้านเมอื งทดี่ ี (Good Governance) ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 บัญญัติว่า “การบริหารราชการต้องเป็นไป เพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลด ภารกิจและยุบเลิกหนว่ ยงานทไ่ี มจ่ าเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอานาจตัดสินใจ การอานวยความสะดวก และการตอบสนอง ความตอ้ งการของประชาชน มีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน” และตามนัยของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 หมวดที่ 3 “การบริหารราชการเพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ\" มาตรา 12 กาหนดมาตรการกากับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทาความตกลงเป็น ลายลักษณ์อักษร หรือโดยวิธีการอ่ืนใด อาจกาหนดมาตรการให้มีการจัดทาคารับรองในการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement) ข้ึนเพ่ือเป็นมาตรการ สาคัญในการกากับการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และในทุกปีผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุข จะมีการจัดทาข้อตกลงการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement : PA) และลงนามคารับรองการปฏิบัติราชการร่วมกันเป็นลายลักษณ์อักษร เพ่ือเป็นคาม่ันสัญญาว่าจะกากับ ติดตามผลการปฏิบัติราชการให้เป็นไป อย่างมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผล บรรลุเปา้ หมายทกี่ าหนดไว้ กอ่ ให้เกิดผลสัมฤทธ์ติ ่อภารกิจของรัฐ กล่มุ พัฒนาระบบบริหาร มภี ารกจิ หลกั สาคญั ในการจัดทาคารับรองการปฏิบัติราชการของหัวหน้าส่วนราชการ จึงได้ดาเนินการศึกษาแนวทางการ ประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ เข้าร่วมประชุมเพื่อพิจารณาแผนงานรองรับข้อตกลงการปฏิบัติราชการของผู้บริหารกระทรวงสาธารณ สุข ประสานแจ้งให้หน่วยงานเจ้าภาพจัดทารายละเอียดตัวชี้วัดของอธิบดี จัดทากรอบการประเมินผลของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รวบรวมข้อมูลตัวช้ี วัด จากเจ้าภาพหน่วยงานและพิจารณาคัดเลือกตัวชี้วัดโดยผ่านกลไกของคณะกรรมการจัดทา คารับรองการปฏิบัติราชการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประกอบด้วย 6 ตัวชี้วัด (ตัวชี้วัด Function Base 4 ตัวชี้วัด และ Agenda Base 2 ตัวชี้วัด) และมีการลงนามคารับรองการปฏิบัติราชการเม่ือวันท่ี 6 พฤศจิกายน 2562 โดยอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ ได้ลงนามคารับรองกับ นพ.พิศิษฐ์ ศรีประเสริฐ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข หัวหนา้ กลุ่มภารกิจดา้ นสนับสนุนบริการสุขภาพ ความเช่ือมโยงของ PA กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กับ PA กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ 20 ปี (ดา้ นสาธารณสุข) ยุทธศาสตร์ 20 ปี นโยบายรฐั มนตรี กระทรวง สนับสนนุ PA ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ (ดา้ นสาธารณสุข) “กญั ชาเสรีทางการแพทย์” ยุทธศาสตร์กรม บริการเป็นเลศิ (Service Excellence) บริหารเป็นเลศิ ดว้ ยธรรมาภบิ าล บริการเป็นเลศิ (Service Excellence) (Governance Excellence) พัฒนาขดี สมรรถนะ และความทนั สมัย ในการ ตอบสนองต่อปัญหา ทางการแพทย์และสาธารณสขุ สรา้ งความเปน็ เลศิ พฒั นาขดี สมรรถนะ และความทันสมัย ดา้ นการวจิ ยั พัฒนาและ ในการตอบสนองต่อปญั หา ทางการแพทย์ นวัตกรรม และสาธารณสุข ตัวชี้วดั กรม การพัฒนาระบบ การพฒั นาระบบ การพัฒนาศกั ยภาพ จานวนนวัตกรรมและ การพฒั นามอโนกราฟ 6 ห้องปฏบิ ัตกิ ารถอด เฝ้าระวงั เชอ้ื ดือ้ ห้องปฏบิ ัตกิ าร เทคโนโลยสี ขุ ภาพท่ี ผลติ ภัณฑ์กัญชา ยาต้านจลุ ชีพ คิดคน้ ใหม่หรือที่พัฒนา ความสาเรจ็ ของการ รหสั พนั ธกุ รรม เครอื ขา่ ยตรวจวเิ คราะห์ เพื่อควบคุมคุณภาพ พฒั นาการพฒั นาชุด ชั้นสูงเพื่อแกป้ ัญหา เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ต่อยอด ผลติ ภณั ฑ์ยากัญชา ตรวจวัดปริมาณสาร (COVID-19) ดว้ ยวธิ ี THC ในกญั ชา (พชื วณั โรค ของประเทศ กัญชาและผลติ ภณั ฑ์ Realtime RT PCR กญั ชา) 10

ตามมตคิ ณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เร่ือง การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติราชการ โดยได้มอบหมายให้สานักงาน ก.พ.ร. เป็นหน่วยงานหลักในการจัดทาแบบประเมินประสิทธิภาพสาหรับส่วนราชการใน 5 องคป์ ระกอบ ได้แก่ 1) Function Base 2) Agenda Base 3) Area Base 4) Innovation Base และ 5) Potential Base กาหนดให้ส่วน ราชการรายงานผล 1 รอบ (12 เดือน) ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2562 เกดิ สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ซ่ึงส่งผลกระทบต่อ การดาเนินงานของส่วนราชการ โดยเฉพาะกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ซ่ึงเป็นหน่วยงานหลักในการตรวจวิเคราะห์เพ่ือยืนยันผู้ติดเชื้อไวรัส โคโรนาสายพันธใุ์ หม่ 2019 (COVID-19) เพือ่ ให้ได้ผลการตรวจทร่ี วดเรว็ และส่งให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องนาไปควบคุมการแพร่ระบาดของโรค ได้อย่างทันท่วงที กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จึงมีภาระงานท่ีเพ่ิมขึ้น เน่ืองจากต้องระดมสรรพกาลังและบุคลากรเป็นจานวนมากไป ปฏบิ ตั งิ านดงั กล่าว ทาใหไ้ ม่สามารถดาเนินกิจกรรมตามตัวชี้วัดการประเมินส่วนราชการฯ ในบางกิจกรรมได้ และสานักงาน ก.พ.ร. ได้เสนอ เร่อื ง การปรบั แนวทางการประเมินสว่ นราชการตอ่ คณะรัฐมนตรี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพ่ือรองรับสถานการณ์การระบาดของโรค ติดเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่ 2019 (COVID-19) และคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันท่ี 17 มีนาคม 2563 และสานักงาน ก.พ.ร. ได้ แจ้งส่วนราชการสามารถเสนอปรับแนวทางการประเมินส่วนราชการในตัวชี้วัดตามภารกิจปกติท่ีคาดว่าถูกกระทบจากวิกฤตของโรค COVID-19 เพ่ือลดภาระในการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายของตัวช้ีวัด และสามารถระดมทรัพยากรเพื่อแก้วิกฤติของการแพร่ระบาดของ โรค COVID-19 ได้อย่างรวดเร็วและทันสถานการณ์ พร้อมท้ังสามารถเสนอตัวชี้วัดใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา สายพนั ธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ในส่วนการประเมินผลชว่ งปลายปงี บประมาณ สานักงาน ก.พ.ร. จะไม่มีการประเมินผลคะแนน แต่ให้ส่วน ราชการรายงานผลการตดิ ตาม (Monitoring) เทา่ นัน้ ดังนั้น กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร จึงได้จัดทาร่างรายละเอียดตัวช้ีวัดโดยประสานกับเจ้าภาพตัวช้ีวัด และพิจารณาความเหมาะสม ตัวช้ีวัดผ่านกลไกของคณะกรรมการจัดทาคารับรองการปฏิบัติราชการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เสนอให้สานักงาน ก .พ.ร. เสนอต่อ คณะอนุกรรมการพฒั นาระบบราชการ (อ.ก.พ.ร.) พิจารณาความเหมาะสม ซึง่ ตวั ชวี้ ัดการปฏิบัตริ าชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบตั ริ าชการ (มปป.) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มี จานวน 6 ตวั ชวี้ ดั ดงั น้ี ตัวชว้ี ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการ (มปป.) กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ และเจ้าภาพหลกั ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 01 : Function Base 04 : Agenda Base การพฒั นาระบบหอ้ งปฏิบตั ิการถอด จานวนนวัตกรรมและเทคโนโลยีสขุ ภาพทคี่ ดิ ค้น รหสั พันธุกรรมชนั้ สูงเพอ่ื แก้ปญั หาวณั โรค (จสน.) ใหม่หรือที่พัฒนาต่อยอด (ผน./จสน.) 02 : Function Base มปป. 05 : Agenda Base การพฒั นาระบบเฝ้าระวงั เชื้อด้อื ยาตา้ นจลุ ชพี (สวส.) การพัฒนามอโนกราฟผลติ ภณั ฑ์กญั ชา เพื่อควบคุมคุณภาพผลติ ภัณฑ์ยากญั ชา 03 : Function Base ของประเทศ (สยวส.) การพฒั นาศักยภาพหอ้ งปฏิบตั กิ ารเครือขา่ ย ตรวจวิเคราะห์เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 05 : Innovation Base ดว้ ยวิธี Realtime RT PCR (สวส./ผน./จสน.) การพัฒนานวัตกรรม : การพัฒนาชดุ ตรวจวดั ปริมาณสาร THC ในกัญชา (พืชกัญชาและผลิตภัณฑ์กญั ชา) (ศวก.ท่ี 1 เชียงใหม)่ 11

การตดิ ตามและประเมินผล โครงการท่ี 2 การปฏบิ ตั ริ าชการกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นการดาเนินการกากับ ติดตาม ความกา้ วหนา้ และประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA) ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ตามที่หัวหน้าส่วนราชการได้ลงนามคารับรองไว้) ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กาหนดการติดตามความก้าวหน้าผลการดาเนินงาน (Small Success) รอบ 3, 6, 9 และ 12 เดือน โดยให้รายงานผลการดาเนินงานฯ ภายในวันท่ี 10 ของเดือนถัดไปหลังส้ินสุดแต่ละไตรมาส นอกจากนี้ ยังกากับ ติดตาม ความก้าวหน้า และประเมินผลการปฏิบัติราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (มปป.) ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สามารถดาเนนิ การบรรลุตามค่าเป้าหมายทกี่ าหนดทุกรอบการประเมนิ ดังน้ัน กลุ่มพัฒนาระบบบริหารในฐานะที่เป็นหน่วยงานหลักในการกากับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการของอธิบดี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จึงได้ดาเนินการจัดทาคู่มือประเมินผล จานวน 2 เล่ม ได้แก่ 1. คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามข้อตกลง การปฏบิ ัตริ าชการ (Performance Agreement: PA) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และ 2. ค่มู อื การตดิ ตามและประเมินผลตามมาตรการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการและการประเมินผู้บริหารองค์การ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพ่ือให้หน่วยงานเจ้าภาพ ตัวช้ีวัดได้นาไปใช้เป็นแนวทางประกอบการดาเนินงานตามคารับรองฯ เพ่ือให้บังเกิดผลสาเร็จ รายงานผลได้อย่างถูกต้อง ตลอดจนการจัดเตรีย ม เอกสารหลักฐานอ้างอิงให้ครบถ้วนสมบูรณ์ และสอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินผลท่ีกาหนดไว้ สาหรับการติดตามความก้าวหน้าตัวชี้วัดของ กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ (ตัวช้ีวัด PA และตัวช้ีวัด มปป.) อธิบดีมีนโยบายในการกากับติดตามผลทุกเดือน จึงมอบหมายให้กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ติดตามความก้าวหน้าจากหน่วยงานเจ้าภาพตัวช้ีวัด พร้อมกับสรุปและวิเคราะห์ผลการดาเนินการเพ่ือนาเสนอในที่ประชุมกรมประจาเดือนทุกเดื อน โดยสรุปผลการตดิ ตาม ดังนี้ กลุ่มพัฒนาระบบบริหารได้ดาเนินการประสาน ติดตามผลการดาเนินงานจากเจ้าภาพตัวช้ีวัด PA และตัวช้ีวัด มปป. ได้แก่ 1 กองการแพทย์จีโนมิกส์และสนับสนุนนวัตกรรม, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข, กองแผนงานและวิชาการ, สานัก วิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย,์ สานักยาและวัตถุเสพตดิ และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 1 เชียงใหม่ รายงานผลให้กลุ่ม พัฒนาระบบบริหารได้ครบถ้วนทุกครั้งที่มีการติดตามและตรงตามระยะเวลาที่กาหนด กรณีท่ีมีเหตุภารกิจเร่งด่วน ท่ีอาจกระทบต่อการส่งรายงานผลจะประสานแจ้งกล่มุ พัฒนาระบบบรหิ ารไวก้ อ่ นลว่ งหนา้ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ได้รวบรวม ตรวจสอบ วิเคราะห์ผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการ 2 (Performance Agreement: PA) จานวน 6 ตัวชี้วัด บรรลุเป้าหมายตามมาตรการ/เป้าหมายการประเมินผล Small Success (PA) ทุกตัวช้ีวัด สาหรับตัวช้ีวัดการปฏิบัติราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (มปป.) มีจานวน 6 ตวั ชีว้ ดั บรรลุเป้าหมายขั้นสูง จานวน 5 ตัวช้ีวัด และสรุปผลประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ (รอ้ ยละ 83.33) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร จัดทารายงานผลการปฏิบัติราชการตามข้อตกลงการปฏิบัติราชการ (Performance 3 Agreement: PA) ในภาพรวมของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ส่งสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขรายไตรมาส (รอบ 3, 6, 9 และ 12 เดือน) ไดค้ รบถ้วนและตรงตามระยะเวลาทก่ี าหนด สาหรับรายงานผลการประเมินส่วนราชการตาม มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการ (มปป.) ไดจ้ ดั ทาสรุปรายงานประเมินผลและรายงานผลให้สานักงาน ก.พ.ร. ผ่านระบบออนไลน์ (e-SAR) ไดต้ รงตามระยะเวลาท่กี าหนดเชน่ กนั 12

สรุปผลการวเิ คราะห์ การจัดทาคารบั รองและตดิ ตามประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทาคารบั รองการปฏบิ ัติราชการ ความไม่ต่อเน่ืองของการดาเนินการตัวช้ีวัด หน่วยงานส่ง (ร่าง) ข้อเสนอตัวชีวัด ขาดข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ เน่ืองจาก ก า รป รั บ เ ปล่ี ย นผู้ แ ท น เข้ า ร่ ว มป ระ ชุ ม อาจด้วยเหตุผลบางประการ เช่น หน่วยงาน ให้กลุ่มพัฒนาระบบบริหารล่าช้า เป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์ระดับ พิจารณาความเหมาะสมตัวชีวัด หรือส่งผู้ เจ้าภาพท่ีไม่ได้รับงบประมาณ หรือได้รับ ส่งรายละเอียดมาไม่ครบ และขาด กระทรวงที่ถ่ายทอดมายังกรมไม่ชัดเจน แทนที่ไม่สามารถตัดสนิ ใจตอ่ การดาเนินงาน งบประมาณไม่เพียงพอ, เป้าหมายความสาเร็จท่ี ข้อมูลผลผลติ /ผลลัพธ์ได้ดาเนนิ การ การกาหนดเป้าหมาย/ผลลัพธ์ให้สอด ตามตัวชีวัดได้ ทาให้ต้องใช้ระยะเวลาเพิ่มขึน กาหนดไวไ้ มช่ ัดเจน ไมม่ คี ณุ ภาพส่งผลให้วัด ได้แล้วในปีงบประมาณท่ีผา่ นมา รับกับแผนฯ ระดับกระทรวงจึงทาได้ ในการกลบั ไปสื่อสารภายในหน่วยงานและ ได้ยาก และ/หรือดาเนินการได้บรรลุเป้าหมายได้ ตอ้ งใช้เวลาในการประสานตดิ ตาม ยาก บางตัวชีวัดไม่มีข้อมูลแผนงาน/ เกิดการสอ่ื สารท่ีคลาดเคลื่อน ส่งผลให้การ ก่อนระยะเวลาของโครงการท่ีกาหนดไว้แล้ว ขอข้อมูลหลายครงั โครงการเน่ืองจากเปน็ ตัวชวี ัดใหม่ ป รั บ แ ก้ ไ ข แ ล ะ จั ด ท า ร า ย ล ะ เ อี ย ด ตั ว ชี วั ด ไม่ดาเนินการตอ่ ในระยะยาว (KPI Template) ไม่เป็นไปตามมติท่ีประชุม จึงต้องประสานพดู คุยเพอ่ื ทาความเข้าใจใหม่ อีกหลายครัง ปัญหาอุปสรรคในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ หนว่ ยงานเจ้าภาพตวั ชวี ดั (ผู้รับผิดชอบหลกั หรือผทู้ ไ่ี ด้รับมอบหมาย) ไมท่ าความเข้าใจ หนว่ ยงานเจา้ ภาพตวั ชีวดั (ผู้รบั ผิดชอบหลกั หรือผูท้ ี่ไดร้ ับมอบหมาย) รายงานผล รายละเอียดตัวชีวดั และเกณฑก์ ารประเมินผลให้ละเอยี ดถ่ีถ้วนจึงมคี วามเขา้ ใจค่าเป้าหมาย การประเมินล่าช้า ทาให้กลุ่มพัฒนาระบบบริหารมีระยะเวลาในการตรวจสอบและ ทค่ี ลาดเคล่ือน สง่ ผลใหก้ ารดาเนินการตวั ชวี ัดและการแนบหลกั ฐานประกอบการประเมิน วเิ คราะห์ผลการประเมินน้อย อาจเกิดความเส่ียงในการส่งรายงานในภาพรวมกรม ไมส่ อดคลอ้ งกบั คา่ เป้าหมายเมอ่ื ถงึ รอบการประเมิน (มีความเสี่ยงทีจ่ ะไมบ่ รรลุเป้าหมาย ไม่ทันตามระยะเวลาท่ีกาหนด ตามทีต่ ังไว้) ผู้รับผิดชอบหลัก/ผู้รับผดิ ชอบ ไมเ่ ขา้ ใจรปู แบบการประเมนิ ผลท่จี ะตอ้ งเปรยี บเทียบ การแนบหลักฐานอ้างอิงที่ไม่ชัดเจน การระบุรหัสหลักฐานแต่ไม่เป็นไปตามคู่มือ ผลการดาเนนิ การกับเป้าหมายท่กี าหนดไวใ้ นแตล่ ะรอบ ทาใหผ้ ลการประเมิน การประเมนิ ผลฯ ซ่ึงตอ้ งระบุทังในแบบฟอรม์ รายงานผลการปฏบิ ัตริ าชการและใน คลาดเคล่ือน เอกสาร/หลักฐาน (มุมบนซ้าย/ขวา หรือตรงกลาง) การรายงานและแนบเอกสาร หลักฐานซากับรอบก่อนหน้า ทาให้เกิดอุปสรรคในการตรวจสอบความถูกต้อง 13 ครบถว้ น และทาให้การตรวจในภาพรวมล่าช้าลง รวมถึงการแนบหลักฐานอ้างอิง ในระบบ KPI Reporter ไมค่ รบหรอื ไม่สอดคล้องกบั ผลการดาเนนิ งาน (คะแนนประเมินตนเองสูงกวา่ ผลการดาเนนิ การท่ีไดจ้ รงิ )

สรุปผลการวเิ คราะห์ การจัดทาคารบั รองและติดตามประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการ ของกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ปจั จยั ทจี่ ะทาใหก้ รมสามารถ จัดทาคารับรองการปฏิบัตริ าชการไดเ้ รว็ ขน้ึ การกาหนดตัวชีวัด ผู้รับผิดชอบ การกาหนดตัวชีวัดตามยุทธศาสตร์ ก า ร ก า ห น ด ตั ว ชี วั ด ก า ร ป ฏิ บั ติ มกี ารจัดสรรงบประมาณลงสู่ ห รื อ ผู้ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล ภ า ย ใ ต้ แ ผ น ง า น / โ ค ร ง ก า ร ที่ มี ราชการ ตัวชวี ดั ตามแผนยทุ ธศาสตร์ หน่วยงานตงั แตต่ น้ ปีงบประมาณ ครอบคลุมประเด็นท่ีเกี่ยวข้อง และ/ กาหนดค่าเป้าหมายในแต่ละโครงการ และตั วชี วั ดการพั ฒนาองค์ การ หรือประเด็นท่ีมีความสอดคล้อง ไว้อยา่ งชัดเจนทังระยะสนั และระยะยาว (PMQA) ควรเป็นตัวเดียวกัน และ เ ช่ื อ ม โ ย ง กั บ ห น่ ว ย ง า น อ่ื น ๆ สามารถนาค่าเป้าหมายเหล่านันมา มีการวดั ผลลัพธ์อยา่ งต่อเน่ือง ใหค้ รบถ้วนทงั หมด จะสง่ ผลให้การ กาหนดเปน็ คา่ เป้าหมายของตัวชวี ดั ได้ กาหนดตวั ชวี ัดทาไดง้ ่ายขึน ปจั จยั ทจี่ ะทาใหส้ ามารถ ติดตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการไดอ้ ย่างครบถว้ น 1 23 4 แจ้งเตือนขอให้หน่วยงานเจ้าภาพ ให้ข้อเสนอแนะกับหน่วยงานเจ้าภาพ ประสานสอบ ถามหน่ วยงานเจ้ าภาพ ตรวจสอบหลักฐานเอกสารที่หน่วยงาน ตัว ชีวั ดรา ยงา นผ ล โดยในรอ บ ตั วชี วั ดถึ งแ นวทา งท่ี จะสา มา รถ ตวั ชีวัดทุกครังกรณีท่ีเกิดข้อสงสัยจาก เจ้าภาพตัวชีวัดได้จัดส่งมาพร้อม ประเมินผล (Small Success) จะมี ดาเนินการได้อย่างบรรลุเป้าหมายตาม ตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูลซึ่งพบว่า กับรายงานผล กรณีดาเนินการไม่ การแจ้งผ่านหนังสือราชการ และ รอบการประเมิน และจัดทาข้อมูลการ หน่วยงานรายงานผลไม่ชัดเจน ไม่ได้ ครบถ้ วนจะแจ้ งหน่ วยงานเจ้ าภาพ อีเมล์ โดยแนบเอกสารรายละเอียด รา ยง า นผ ลท่ี ถู ก ต้ อ งให้ ห น่ ว ยงา น ประเมินการบรรลุเป้าหมาย หลักฐาน ตัวชวี ัดให้เรง่ ดาเนนิ การ ตั ว ชี วั ด แ ล ะ เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล เจ้าภาพตัวชีวัดเพื่อนาไปใช้เป็นไฟล์ ประกอบการประเมินผลไม่ครบถ้วน หรือ (Small Success) พรอ้ มแบบฟอรม์ ไป ต้นฉบบั ในการรายงานผลรอบตอ่ ไป การประเมินตนเองไม่สอดคล้องกับผล ด้ ว ย ทุ ก ค รั ง ( ทั ง เ อ ก ส า ร แ ล ะ การดาเนินการ ไฟล์ข้อมูล) สาหรับในรอบที่มีการ ติดตามความกา้ วหน้าจะส่งอีเมล์แจ้ง เตือนขอให้หน่วยงานเจ้าภาพตัวชีวัด รายงานผลผ่านชอ่ งทางอีเมล์ 14

สรปุ ผลการวิเคราะห์ การจดั ทาคารบั รองและติดตามประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรงุ ในปี 2564 1 การกาหนดตัวชวี้ ัดเปน็ ตัวช้ีวดั ต่อเนื่องเพื่อประโยชนใ์ นการพัฒนา โดยเปรียบเทียบกับผล 2 การดาเนินงานที่ผา่ นมาอยา่ งนอ้ ย 3 ปี ซึ่งจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาสมรรถนะองคก์ าร 3 และการขอรบั รางวลั เกณฑค์ ุณภาพบรหิ ารจัดการภาครฐั ยกเว้นตวั ชว้ี ัดที่ตอ่ เน่ืองมา 3 ปี และ 4 บรรลเุ ปา้ หมายแลว้ ไมค่ วรใชเ้ ป็นตัวช้ีวัดอกี 5 กลุ่มพัฒนาระบบบรหิ ารในฐานะหนว่ ยงานหลกั ควรส่ือสารปฏิทินดาเนินการและข่าวสารต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการดาเนินการตัวชี้วัดจากสานักงาน ก.พ.ร. ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบผ่าน 15 ช่องทางต่าง ๆ อย่างต่อเน่ือง เพื่อให้หน่วยงานเจ้าภาพตัวชี้วัดรับรู้ข้อมูลที่ตรงกัน ซ่ึงจะ ส่งผลใหส้ ามารถบริหารจดั การตัวชี้วดั ท่ีรับผดิ ชอบใหบ้ รรลุเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ได้ เจ้าภาพตวั ชีวดั ต้องทาความเข้าใจเกณฑก์ ารประเมนิ ผลใหช้ ดั เจน ดาเนินการตามเกณฑใ์ หถ้ กู ต้อง แนบเอกสารหลกั ฐานประกอบการประเมินไดค้ รบถว้ น ทันระยะเวลาทก่ี าหนด เพอื่ ประโยชนต์ ่อการ บรรลุเปา้ หมายในทุกรอบการประเมิน ผู้บริหารควรกากบั ตดิ ตามและเรง่ รัดดาเนนิ การตามตวั ชีวัดอยา่ งใกล้ชิดเปน็ ระยะ ๆ เพอ่ื ให้ สามารถปรบั ปรุงพัฒนาการปฏบิ ตั งิ านให้บรรลุผลสาเรจ็ ตามเป้าหมายไดอ้ ย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ กรณีท่เี ป็นตวั ชวี ัดกลางท่ีทกุ หนว่ ยงานตอ้ งรว่ มดาเนินการ เจา้ ภาพตัวชวี ัดควรมีการบรหิ ารจดั การทีด่ ีตังแต่สอื่ สารทา ความเขา้ ใจกบั หน่วยงาน การติดตาม สรปุ และรายงานผลใหก้ ล่มุ พัฒนาระบบบริหารใหต้ รงตามระยะเวลาทีก่ าหนดใน แตล่ ะรอบการประเมนิ เพือ่ กลุม่ พฒั นาระบบบรหิ ารจะดมี เี วลาในการตรวจสอบและวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ ในภาพรวมให้ ถกู ต้อง ครบถ้วน สามารถแก้ไขไดท้ นั สถานการณ์ และส่งรายงานผลได้ทนั เวลาตามท่ีผู้ประเมนิ กาหนด

การจัดทาคารับรอง โครงการที่ 3 การปฏบิ ตั ิราชการของหน่วยงานในสังกัด กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 พระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยหลกั เกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ กาหนดให้ส่วน ราชการดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธ์ิของภารกิจ คุณภาพการให้บริการความพึงพอใจของประชาชน ผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ และอาจจัดให้มีการประเมินผลภาพรวมของผู้บังคับบัญชาแต่ละระดับหรือหน่วยงานในส่วนราชการตามท่ีอธิบดี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้จัดทาข้อตกลงการปฏิบัติราชการ (PA) กับปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประกอบกับสานักงาน ก.พ.ร. ได้มีการประเมิน ส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (มปป.) มาอย่างต่อเนื่องทุกปี ซ่ึงกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้มีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดของอธิบดี และตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่มาจากการบูรณาการตัวช้ีวัดของหน่วยงาน กลาง 3 หนว่ ยงาน ได้แก่ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักงบประมาณ และสานักงาน ก.พ.ร. เพื่อให้ได้ตัวชี้วัด ท่ีสะท้อนผลสัมฤทธิ์และเช่ือมโยงสู่เป้าหมายระดับชาติ สามารถนามาติดตามประเมินผลการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และตัวช้ีวัดภารกิจหลัก ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รวมถึงนโยบายสาคัญของผู้บริหาร โดยจัดทาข้อตกลงการปฏิบัติราชการ (IPA) ระหว่างอธิบดีกับรองอธิบดี, ระหว่าง รองอธิบดี (ตามคาส่ังการมอบอานาจให้กากับดูแลหน่วยงาน) กับหัวหน้าหน่วยงาน (ผู้อานวยการสานัก/กอง) และหัวหน้าหน่วยงานได้มีการ ถ่ายทอดตัวช้ีวัดท้ังตามคารับรองการปฏิบัติราชการ ตามแผนปฏิบัติราชการ และตามนโยบายของผู้บริหารลงสู่กลุ่มงาน/ฝ่าย และลงสู่ระดับบุคคล โดยผ่านกลไกการพิจารณาของคณะกรรมการจัดทาคารับรองการปฏิบัติราชการของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ทาหน้าท่ี ในการพิจารณาความเหมาะสมตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย น้าหนัก เกณฑ์การให้คะแนนของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สอดคล้อง เชื่อมโยงไปด้วยกันกับตัวชี้วัดข้อตกลงการปฏิบัติราชการของอธิบดี (PA) และตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (มปป.) ได้จัดทาร่างกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ประกอบด้วย 2 มิติ 4 ด้าน ได้แก่ มิติภายนอก (ด้านประสิทธิผล และด้านคุณภาพ) มติ ิภายใน (ดา้ นประสทิ ธิภาพ และดา้ นพฒั นาองคก์ าร) โดยมีหลักการในการกาหนดตวั ชี้วดั ดา้ นประสทิ ธิผลทีห่ น่วยงานเปน็ ผเู้ สนอตวั ชี้วัด ดังน้ี 1) เปน็ ตวั ช้ีวัดท่ถี ่ายทอดมาจากตวั ชว้ี ัด PA ของอธบิ ด/ี ตวั ชี้วัด มปป. ซ่ึงสอดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติ ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข และตวั ชี้วัดของผ้บู ริหารองค์การ 2) เปน็ ภารกจิ หลักของกรม/ของหน่วยงาน 3) มผี ลกระทบต่อประชาชนหรอื ได้รับงบประมาณสูง สว่ นกลาง ศวก. 4) เป็นนโยบายสาคัญของผบู้ รหิ าร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีหนว่ ยงานในสงั กดั 15 หน่วยงาน 15 แห่ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ทีล่ งนามคารับรองการปฏิบัติราชการ ทงั้ หมด 30 หนว่ ยงาน โดยเปน็ หน่วยงานส่วนกลาง จานวน 15 หน่วยงาน และศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 15 หนว่ ยงาน 16

การตดิ ตามและประเมินผล โครงการที่ 4 การปฏบิ ตั ิราชการตามคารับรองการปฏิบัตริ าชการ ของหนว่ ยงานในสังกดั กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ต า ม ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ใ น สั ง กั ด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นการดาเนินการกากับ ติดตามความก้าวหน้า และประเมินผลการ ปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการตามที่หัวหน้าหน่วยงานได้ลงนามคารับรองไว้กับรองอธิบดีที่กากับดูแลหน่วยงาน และกลุ่มพัฒนาระบบบริหารได้กาหนดปฏิทินในการรายงานผลการดาเนินงานฯ ผ่านทางระบบ KPI Reporter แบบรายไตรมาส รอบ 6, 9 และ 12 เดอื น (ยกเว้นไตรมาส 1) กลุ่มพัฒนาระบบบริหารในฐานะท่ีเป็นหน่วยงานหลักในการกากับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการของทุกหน่วยงานที่ลงนามคารับรอง จึงได้ดาเนินการจัดทาคู่มือประเมินผล จานวน 1 เล่ม คือ คู่มือการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อให้หน่วยงาน สามารถดาเนินการตามตัวชี้วัดได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล รายงานผลได้อย่างถูกต้องครบถ้วนตามเวลาท่ีกาหนด และสอดคล้องกับเกณฑ์ การประเมินผลท่ีกาหนดไว้ โดยสรุปผลการติดตามความก้าวหน้าผลการปฏิบัติ ราชการของหนว่ ยงาน รอบ 6, 9 และ 12 เดือน (ไตรมาส 2, 3 และ 4) ดงั นี้ 30 29 รายงานภายในเวลาท่ีกาหนดครบถ้วนทุกตวั ชวี้ ดั และแนบเอกสาร 29 26 ครบถว้ นทกุ ตวั ช้ีวดั 28 27 รายงานภายในเวลาท่กี าหนดครบถ้วนทกุ ตวั ชวี้ ัดแตแ่ นบเอกสารยงั ไม่ 26 ครบถว้ นทกุ ตวั ชีว้ ัด 25 24 23 รายงานภายในเวลาที่กาหนด ไม่ครบถ้วนทกุ ตัวชว้ี ดั แต่แนบเอกสาร ครบถว้ นในตัวชี้วัดที่รายงาน 23 22 รายงานภายในเวลาท่ีกาหนด ไมค่ รบถ้วนทุกตวั ช้วี ดั และแนบเอกสารยงั 21 ไมค่ รบถ้วนในตวั ชีว้ ดั ท่รี ายงาน 20 19 รายงานล่าชา้ กวา่ เวลาท่กี าหนด ครบถ้วนทกุ ตวั ชวี้ ดั และแนบเอกสาร จำหนวนหน่วยงำน 18 ครบถ้วนทกุ ตัวชีว้ ดั 17 16 รายงานล่าชา้ กวา่ เวลาท่กี าหนด ครบถ้วนทุกตัวชีว้ ัด แตแ่ นบเอกสารไม่ 15 ครบถว้ นทุกตวั ชว้ี ัด 14 13 รายงานลา่ ช้ากว่าเวลาท่ีกาหนด ไม่ครบถ้วนทกุ ตวั ช้ีวัด แต่แนบเอกสาร 12 ครบถว้ นในตวั ชว้ี ดั ทีร่ ายงาน 11 10 รายงานล่าชา้ กว่าเวลาที่กาหนด ไมค่ รบถว้ นทุกตวั ชว้ี ดั และแนบเอกสาร 9 ยังไม่ครบถว้ นในตัวช้ีวัดท่ีรายงาน 8 7 หนว่ ยงานที่ไมร่ ายงาน 6 5 4 33 22 11 3 1 รอบ 9 เดอื น 1 2 รอบ 12 เดอื น 1 0 รอบ 6 เดอื น แผนภมู ทิ ี่ 1 แสดงการรายงานผลของหน่วยงานรอบ 6, 9 และ 12 เดือน (ไตรมาส 2, 3 และ 4) 17

จากแผนภูมิท่ี 1 แสดงให้เห็นว่าหน่วยงานรายงานภายในเวลาที่กาหนดครบถ้วนทุกตัวชี้วัดและแนบเอกสารครบถ้วนทุกตัวชี้วัด ในไตรมาส 2 (รอบ 6 เดือน) จานวน 23 หน่วยงาน ไตรมาส 3 (รอบ 9 เดือน) จานวน 26 หน่วยงานและไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน) จานวน 29 หนว่ ยงาน สาหรับหน่วยงานที่รายงานภายในเวลาที่กาหนด ไม่ครบถ้วนทุกตัวช้ีวัดและแนบเอกสารครบถ้วนในตัวชี้วัดท่ีรายงานหรือแนบ เอกสารไม่ครบถ้วน รวมถึงรายงานล่าช้ากว่าเวลาที่กาหนด ไม่ครบถ้วนทุกตัวช้ีวัด และแนบเอกสารยังไม่ครบถ้วนในตัวช้ีวัดที่รายงาน ยงั คงมีบา้ งแต่ไม่มาก คดิ เปน็ ร้อยละ 3-23 (จานวน 1-7 หนว่ ยงาน) ต่อรอบการรายงานเท่านนั้ สรุปผลการตดิ ตามการรายงานผลการปฏิบัตริ าชการของหน่วยงานโดยรวม หน่วยงานส่วนกลาง การคานวณคะแนนตัวช้ีวัด 1.1 หน่วยงานส่วนน้อย (ประมาณร้อยละ 26.67) ยังไม่ถูกต้องหรือไม่สอดคล้องกับ สตู รการคานวณ ซึง่ ตามสูตรการคานวณรอ้ ยละเฉลย่ี ถ่วงนา้ หนักของตัวชวี้ ดั แต่ละโครงการ การแนบเอกสารหลักฐานที่ไม่ชัดเจน การระบุรหัสหลักฐานแต่ไม่เป็นไปตามคู่มือการประเมินผลฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ประมาณร้อยละ 46.67) ซ่ึงต้องระบุท้ังในแบบฟอร์มรายงานผลการปฏิบัติราชการและในเอกสาร/หลักฐาน (มุมบนซ้าย/ขวา หรือตรงกลาง) การเรียงลาดับรหัสหลักฐานท่ีต้องนับรหัสหลักฐานต่อจากรอบ 6 และ 9 เดือน โดยไม่ต้อง เร่ิมต้นใหม่ การรายงานและแนบเอกสารหลักฐานซ้ากับรอบก่อนหน้า หรือไม่รายงานรอบก่อนหน้าแต่เริ่มต้นนับใหม่ในรอบ ล่าสดุ การแนบหลักฐานอ้างอิงในระบบ KPI Reporter ไม่ครบหรือไม่สอดคล้องกับผลการดาเนินงาน (คะแนนประเมินตนเอง สูงกว่าผลการดาเนินการท่ีได้จริง) รวมทั้งมีบางหน่วยงาน (ร้อยละ 6.67) นาไฟล์ท่ีได้รายงานในรอบ 6 และ 9 เดือน ออกจาก KPI Reporter ทาใหเ้ กิดอุปสรรคในการตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ครบถว้ น และทาให้การตรวจในภาพรวมล่าช้าลง บางหน่วยงาน (รอ้ ยละ 20) รายงานผลการดาเนินงาน ค่าคะแนนที่ได้ และค่าคะแนนถ่วงน้าหนัก ไม่ตรงกันท้ังใน Template, ตารางสรุปผลการประเมินฯ และแบบรายงานการประเมินตนเอง (SAR Card) มีการประเมินตนเองไม่สอดคล้องกับผล การดาเนินงาน (คะแนนประเมินตนเองสูงกว่าผลการดาเนินการที่ได้จริง) การคานวณค่าคะแนนท่ีได้และค่าคะแนนถ่วง น้าหนัก ระบุเป็นทศนิยมไม่เป็นไปตามที่กาหนด (4 ตาแหน่ง) เพื่อให้เป็นแนวทางเดียวกันและลดความคลาดเคลื่อน ในการคานวณ รวมถึงการกาหนดสวี งกลมใน SAR Card ไม่สอดคล้องตามผลคะแนนทไี่ ด้ x การแนบเอกสารหลักฐานไม่สมบูรณ์ เน่ืองจากหน่วยงานมีการแนบไฟล์ที่มีขนาดใหญ่มากเกินไป ทาให้ระบบ KPI Reporter ไมร่ องรับ ซ่งึ กลุ่มพฒั นาระบบบรหิ ารได้ตรวจสอบและประสานไปยงั หน่วยงานไดร้ บั ทราบและปรับแกไ้ ขแล้ว 18

สรุปผลการติดตามการรายงานผลการปฏิบตั ริ าชการของหน่วยงานโดยรวม ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ เนอ่ื งจากตัวชว้ี ดั ดา้ นประสิทธผิ ล (ตวั ชวี้ ัดที่ 1.3 การพัฒนาอาเภอศูนย์แจ้งเตือนภัย เฝ้าระวัง และรับเร่ืองร้องเรียนปัญหา ผลติ ภณั ฑ์สุขภาพในชมุ ชน ตัวชี้วัดที่ 1.4 ระดับความสาเร็จของการพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ด้านอาหารสู่ Smart Product และตัวชว้ี ัดที่ 1.5 ระดับความสาเร็จของการพฒั นาคุณภาพและความปลอดภัย และยกระดับ ผลิตภัณฑ์เคร่ืองสาอางผสมสมุนไพรของผู้ประกอบการสู่ Smart Product) เป็นตัวช้ีวัดบูรณาการของกลุ่มศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ ซึ่งหน่วยงานเจ้าภาพตัวชี้วัดได้แจ้งขอเปลี่ยนแปลงเกณฑ์การประเมินผลการดาเนินงานซ่ึงได้รับผลกระทบ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงทาให้หน่วยงานรายงานผลการ ดาเนนิ งานเปน็ N/A ได้ค่าคะแนน 1.0000 เน่อื งจากตอ้ งอา้ งองิ ผลการดาเนนิ งานตามหน่วยงานเจ้าภาพตวั ชี้วดั เน่ืองจากตัวชี้วัดที่ 1.2 ระดับความสาเร็จของการพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการเครือข่ายเพ่ือการเฝ้าระวังเช้ือด้ือยา ต้านจุลชีพ เป็นตัวช้ีวัดร่วมกันของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข (หน่วยงานเจ้าภาพ) และกลุ่มศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ซ่ึงดาเนินการในเขตความรับผิดชอบ ซ่ึงหน่วยงานเจ้าภาพตัวช้ีวัดได้แจ้งขอเปลี่ยนแปลงเกณฑ์การประเมินผล การดาเนินงานซ่ึงได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการ ปรับแนวทางการประเมินในระดับคะแนนที่ 4 และ 5 ให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ จึงทาให้หน่วยงานท่ีรายงานผล ต้องขอยกเลิกเอกสารหลักฐานที่ได้แนบไว้ในรอบการรายงานก่อนหน้า และทาการแนบเอกสารหลักฐานตามเกณฑ์ การประเมนิ ผลท่ีมีการเปล่ียนแปลง การระบุรหัสเอกสารหลักฐานของหน่วยงานบางส่วน (ร้อยละ 26.67) ไม่ถูกต้อง/ครบถ้วน ตามแนวทางที่กาหนดในคู่มือ การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 x บางหน่วยงาน (ร้อยละ 20) แนบเอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วน ขาดความสอดคล้องในแต่ละระดับคะแนน ไม่เป็นไป ตามแนวทางท่ีกาหนดในคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ในสงั กัดกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การคานวณคะแนนตัวชี้วัด 1.1 หน่วยงานส่วนน้อย (ร้อยละ 13.33) ยังไม่ถูกต้องหรือไม่สอดคล้องกับสูตรการคานวณ ซึ่งตามสูตรการคานวณร้อยละเฉล่ียถ่วงน้าหนักของตัวช้ีวัดแต่ละโครงการต้องแยกการคานวณคะแนนถ่วงน้าหนักเป็น รายโครงการ ไมใ่ ชก่ ารนารอ้ ยละทไี่ ดใ้ นภาพรวมมาคานวณตามเกณฑ์การให้คะแนน 19

สรปุ ผลการวิเคราะห์ การจัดทาคารบั รองและตดิ ตามประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการ ของหนว่ ยงานในสังกัดกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ปญั หาและอุปสรรคในการจดั ทาคารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการ xx 0600 WM 0016 ขาดข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ตัวชีวัด หน่ ว ยง า น ส่ ง ( ร่ า ง ) ข้ อเ สน อ ผทู้ ไี่ ด้รับมอบหมายให้เป็นตัวแทน การปรับแก้ไขและจัดทารายละเอียด เน่ืองจากเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์ ตัวชีวัดให้กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร เข้าร่วมประชุมพิจารณาความเหมาะสม ตวั ชีวัด (KPI Template) ระดับหน่วยงาน ของกรมไม่ชัดเจนการกาหนด เป้าหมาย/ ล่าชา้ ส่งรายละเอียดมาไม่ครบ และ ตัวชีวัดไม่สามารถตัดสินใจต่อ ไม่เป็นไปตามขันตอนท่ีกาหนดไว้ใน ผลลัพธใ์ นระดับหนว่ ยงานจึงทาได้ยาก ขาดข้อมูลพืนฐาน 3 ปีย้อนหลัง ก า ร ด า เ นิ น ง า น ต า ม ตั ว ชี วั ด ไ ด้ 0600 WM 0016ตามระบบ ISO 9001 บ า ง ตั ว ชี วั ด ไ ม่ มี ข้ อ มู ล แ ผ น ง า น / ท่ีผ่านมา ทาให้ต้องใช้เวลาในการ การสื่อสารภายในหน่วยงานมี และรายละเอียดตัวชีวดั ทแ่ี กไ้ ขไม่เป็นไปตาม โครงการเน่ืองจากเป็นตัวชีวัดใหม่ หรือ ประสานตดิ ตามขอขอ้ มูลหลายครัง ปั ญหาอุ ปสรรคจึ งเกิ ด ความ มติกรรมการ ทาให้ต้องประสานพูดคุย ยังไม่มีความชัดเจนเรื่องงบประมาณท่ี คลาดเคลอื่ น ในอีกหลายครังเพ่ือทาความเข้าใจ จะได้รับ ใหม่ ปญั หาอปุ สรรคในการตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการ ผ้รู ับผดิ ชอบไมเ่ ขา้ ใจ COVID-19 หนว่ ยงานแนบเอกสาร ไมค่ รบถ้วน ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ ห ลั ก ห รื อ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอื ไวรัสโคโรนา มอบหมายไม่ทาความเข้าใจรายละเอียด 2019 (COVID-19) ทาให้ต้องชะลอการประชุมต่างๆ ก า ร แ น บ เ อ ก ส า ร ห ลั ก ฐ า น ไ ม่ ค ร บ ถ้ ว น ตวั ชีวัดและเกณฑ์การประเมินผลท่ีระบุไว้ ออกไปก่อน จึงเปลี่ยนแนวทาง /วิธีการใหม่โดย ทาให้ผู้ตรวจใช้เวลาค่อนข้างมากในการ ในคู่มือการประเมินผลฯ ทาให้การ ประสานงานผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ตรวจประเมิน และต้องขอเอกสารหลักฐาน ดาเนินการตัวชีวัดคลาดเคล่ือน/หรือไม่ Microsoft Team หรือ Zoom Meeting ส่งผลกระทบ เพ่มิ เติม ครบถ้วน ทาให้การคานวณคะแนน ตอ่ การตรวจประเมนิ ตวั ช้วี ดั ที่ไม่ได้รับความสะดวกมากนัก ตวั ชวี ัดคลาดเคล่อื นตามไปดว้ ย 20

สรปุ ผลการวิเคราะห์ การจัดทาคารับรองและตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานในสังกัดกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 ปจั จยั ท่ีจะทาให้กรมสามารถจัดทาคารับรองการปฏบิ ัติราชการได้เรว็ ข้นึ ดังน้ี มกี ารกาหนดตวั ชวี ดั ผลลพั ธ์กากับไว้ใน จัดทา (ร่าง) รายละเอียดตัวชีวัดตังแต่ ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร แ ก้ ไ ข ( ร่ า ง ) แผนงาน/โครงการให้ชัดเจน และการ ต้นปีงบประมาณ จัดส่งให้กลุ่มพัฒนา รายละเอียดตัวชีวัดตามมติคณะกรรมการ กาหนดตัวชีวัดผลการปฏิบัติราชการ ระบบบริหารตามระยะเวลาที่กาหนด จัดทาคารับรองฯ และจัดส่งรายละเอียดท่ี และตัวชีวัดตามแผนยุทธศาสตร์ของ พ ร้ อ ม กั บ แ น บ เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร แ ก้ ไ ข ใ ห้ ก ลุ่ ม พั ฒ น า ร ะ บ บ บ ริ ห า ร ต า ม หน่วยงาน ควรเป็นตัวเดียวกัน โดยวัด พิ จ า ร ณ า ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ตั ว ชี วั ด ใ ห้ ระยะเวลาทีก่ าหนด ผลลพั ธ์อย่างตอ่ เน่ืองอยา่ งน้อย 3 ปี ครบถว้ น ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 การเสนอตัวช้วี ัดหนว่ ยงาน ผูบ้ ริหารระดับหน่วยงาน คว รเ สน อตั วชี้ วัด ใ ห้ สอ ด ค ล้ อ งกั บแ ผ น งา น / เป็นกลไกสาคัญในการสอื่ สารและสนบั สนุน โครงการสาคัญของกรม แผนปฏิบัติราชการ การจัดทาคารบั รองและติดตามประเมนิ ผล ของหน่วยงาน และงบประมาณทไี่ ดร้ ับ การปฏบิ ัติราชการในหน่วยงานใหม้ ี ประสทิ ธิภาพ ผรู้ ับผิดชอบตัวชี้วัดของหน่วยงาน เจ้าภาพตวั ช้ีวดั บรู ณาการ มคี วามสาคญั ในการขับเคลื่อนคารับรองการ ปฏบิ ตั ริ าชการของหนว่ ยงานให้สาเร็จและ ควรมีก ลไกการส่ือสารแน วทางการ บรรลุเปา้ หมายที่กาหนดไว้ ดาเนินการตามตัวชี้วดั ให้ชดั เจน เน่ืองจาก ส่งผลตอ่ เปา้ หมายความสาเร็จ 21 ของตัวชว้ี ัดในภาพรวม

การตรวจประเมนิ ตัวชว้ี ดั ตามคารับรองการปฏบิ ัตริ าชการของหน่วยงาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 นอกจากการติดตามประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคารับรองการปฏบิ ัตริ าชการของหน่วยงานแล้ว กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร มีกิจกรรมตรวจประเมินตัวชี้วัดตามคารับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานของปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซ่ึงเป็นการตรวจเอกสารหลกั ฐานผลการดาเนินงาน สรุปผลการประเมิน ดังน้ี จานวนตัวชี้วัดท่ีตรวจประเมิน มติ ภิ ายนอก มติ ิภายใน ช่ือตัวชีว้ ดั จานวนตวั ชวี้ ัด รวมจานวน ช่ือตัวชว้ี ดั จานวน รวมจานวน ทตี่ อ้ งตรวจ ตัวชี้วดั ที่ตอ้ งตรวจ ด้านประสิทธผิ ล ด้านประสิทธภิ าพ ตวั ชีว้ ดั ท่ี 1.1 1 29 ตัวชีว้ ัด 3.1 – 3.2 2 ส่วนกลาง = 27 (การเบิกจ่ายงบประมาณ) ศวก. = 30 ตัวช้ีวดั ท่ี 1.2 – 1.. สว่ นกลาง = 45 สว่ นกลาง = 45 รวม = 57 ศวก. = 4 ศวก. = 58 ตวั ชี้วดั ท่ี 4 (ลดการใช้พลงั งาน) ดา้ นคุณภาพ รวม = 50 รวม = 103 1 สว่ นกลาง = 14 ตัวช้ีวัดที่ 2.1 – 2.2 ตัวชวี้ ัดท่ี 5 (งบประมาณที่ ศวก. = 2 (สารวจความพงึ พอใจ) 2 56 ประหยัดได้) รวม = 16 ตัวชว้ี ดั ท่ี 6 (ลดและคดั แยกขยะ) ดา้ นพฒั นาองค์การ 1 29 ตวั ชีว้ ัดที่ 5 (PMQA) ตัวชี้วัดท่ี 7 (KM) 1 28 ตัวชว้ี ัดท่ี 8 (ITA) 1 28 1 28 1 28 รวมทัง้ สิน้ 402 ตัวช้วี ดั ขั้นตอนการตรวจประเมิน 1 การเตรยี มการกอ่ น  การรวบรวมเอกสารหลกั ฐาน การตรวจประเมนิ ผลฯ  การทบทวนและจัดทาคาส่ังแตง่ ต้ังคณะทางานฯ  แผนการตรวจประเมนิ ฯ  การแบ่งกลุ่มคทง. เพื่อตรวจประเมนิ ผลฯ 2 ช่วงการตรวจประเมนิ ผลฯ  คทง. จดั ทา Check Sheet และรว่ มกันทวนสอบ  คทง. ดาเนนิ การตรวจประเมนิ ผลฯ  ก.พ.ร. สรปุ ผลการตรวจประเมนิ ฯ เสนอรองอธบิ ดี  ก.พ.ร. แจ้งผลการตรวจประเมินฯ ในเบือ้ งตน้ แก่หนว่ ยงาน และแจ้งหน่วยงานกรณหี น่วยงานต้องการอุทธรณ์  ก.พ.ร. ทบทวนผลคะแนนและประสานคทง.เพื่อตรวจประเมิน อีกครั้งหลงั การอุทธรณข์ องหน่วยงาน 3 หลังการตรวจประเมินผลฯ  ก.พ.ร. เสนออธบิ ดเี หน็ ชอบผลการตรวจประเมนิ 22  ก.พ.ร. แจง้ ผลคะแนนที่เป็นข้อยุติใหห้ นว่ ยงานรับทราบ

การเปรียบเทยี บผลคะแนนแตล่ ะดา้ น 3 ปี ยอ้ นหลัง (ปี 2560 – 2562) ของหนว่ ยงานในสังกดั กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ (ภาพรวม) 5.0000 4.7013 4.6876 4.3241 4.8207 4.8000 4.6392 4.6703 4.6000 4.4859 4.5891 4.4000 4.5793 4.4709 4.2000 4.0000 3.8286 3.8000 3.5353 3.6000 3.4000 ด้ำนประสิทธิผล ด้ำนคุณภำพ ด้ำนประสิทธภิ ำพ ดำ้ นพฒั นำองค์กำร คะแนนเฉล่ียรำยด้ำน ปี 2561 คะแนนเฉล่ยี รำยด้ำน ปี 2560 คะแนนเฉลี่ยรำยดำ้ น ปี 2562 ขอ้ สงั เกตทพ่ี บจากการตรวจตดิ ตามประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการ 12 การกาหนดตวั ช้ีวดั ควรมอง คะแนนดา้ นคณุ ภาพลดลงจากปี 2561 เชงิ พัฒนาให้ดขี น้ึ กวา่ เดิม เนื่องมาจากมตี ัวชวี้ ัดเพม่ิ ข้นึ คอื 3 ร้อยละงบประมาณทหี่ นว่ ยงานประหยัดได้ 4 หนว่ ยงานส่วนใหญท่ ี่จัดทารายงานผลการปฏิบัติ การประเมินตนเองของบางหนว่ ยงานมีความ ราชการตามคารับรองการปฏิบตั ิราชการ คาดเคล่ือนจากผลงานท่ีแทจ้ ริงซ่ึงมสี าเหตุ 23 ทดี่ ีข้ึนมากกวา่ ปีทผี่ า่ นมา มาจากหลักฐานผลการดาเนนิ งาน ไมส่ อดรบั กับเกณฑ์การประเมนิ ผล ทาใหต้ รวจประเมินงา่ ยขนึ้

ปญั หา/อปุ สรรคในการตรวจประเมิน ดา้ นท่ี 2 หนว่ ยงานทจ่ี ัดทาตวั ชวี้ ัด ด้านท่ี 1 ผตู้ รวจประเมนิ 1. บางหน่วยงานไม่ทาความเข้าใจแนวทางการประเมินผล ท่ีระบุไว้ในคู่มือประเมินผลฯ ทาให้เกิดข้อผิดพลาดในการรายงาน 1. ดว้ ยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา ผลฯ สง่ ผลให้ตวั ชวี ดั ไมบ่ รรลุเป้าหมาย 2019 (COVID-19) ขึนอย่างต่อเนื่อง และเพื่อป้องกันการระบาดและ ปฏิบัติตามมาตรการของภาครัฐ ในการหลีกเลี่ยงหรือเลื่อนการจัด 2. การจัดทารายงานผลการปฏบิ ตั ิราชการตามคารบั รองการ กิจกรรม/โครงการการประชุมออกไปก่อน ส่งผลกระทบต่อการตรวจ ปฏิบัติราชการ บางหน่วยงานแนบเอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วน/ ประเมนิ ทีไ่ มไ่ ดร้ บั ความสะดวก กลุ่มพัฒนาระบบบริหารจึงต้องบริหาร ไม่สอดคล้องกับแนวทางการประเมินผล และไม่ระบุรหัสเอกสาร จัดการสาหรับช่วงเวลาและสถานท่ีสาหรับตรวจประเมินให้เหมาะสม หลักฐานตามคมู่ ือการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการ รวมทังมีการปรึกษา/ประสานงานผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ท่ตี ้องใช้ระยะเวลานานจงึ จะได้ขอ้ สรุป 3. การส่งเอกสารหลักฐานเพิ่มเติม บางหน่วยงานไม่พบ ผู้รบั ผดิ ชอบ/ตดิ ภารกิจ/ปฏิบัติงานภายในที่พัก (Work at home) 2. บางหน่วยงานจัดทารายงานผลการปฏิบัติราชการตาม ตามมาตรการของภาครัฐ และเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานไม่ได้ คารบั รองการปฏิบัตริ าชการ ไม่ระบุรหสั เอกสารหลักฐานตามคมู่ ือการ ประสานเป็นการภายในให้ ทาให้ส่งเอกสารล่าช้าไม่ทันตาม ประเมินผลการปฏิบัติราชการ และแนบเอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วน ระยะเวลาทก่ี าหนด (ภายใน 48 ชวั่ โมง) ผู้ตรวจใช้เวลาค่อนข้างมากในการตรวจและการขอเอกสารหลักฐาน เพม่ิ เติม ดา้ นท่ี 3 เจ้าหน้าทกี่ ลุ่มพฒั นาระบบบริหาร 1. เจ้าหนา้ ท่ีกล่มุ พัฒนาระบบบริหารบางคนมีประสบการณใ์ นการตรวจประเมินนอ้ ยและมีหลายบทบาท 2. การประสานงานขอเอกสารเพ่ิมเติม เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เจ้าหน้าที่ จึงมีการปฏบิ ัตงิ านภายในท่พี ัก (Work at home) ตามมาตรการของภาครฐั ทาใหก้ ารติดต่อประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่กลุ่มพัฒนา ระบบบรหิ ารกับผูต้ รวจประเมิน และหนว่ ยงานท่ีจดั ทาตวั ชวี ัดเกิดความไม่สะดวก ขอ้ เสนอแนะเชงิ พัฒนา SUGGESTION 1. หน่วยงานไม่ควรนาที่ผลการดาเนินการบรรลุเป้าหมายแล้วในปีก่อนหน้ามาเป็นเกณฑ์การประเมินผลระดับ คะแนนท่ี 1 ของปนี ี ควรมกี ารเปลี่ยนตัวชีวดั ใหม่ และมคี วามทา้ ทายกว่าตัวชีวดั เดมิ 24 2. ผู้บริหารระดับหน่วยงานควรให้ความสาคัญในการกากับติดตามให้เจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องนาข้อเสนอแนะท่ีได้ ไปปรับปรุงแก้ไขและสื่อสารภายในหน่วยงานตนเองให้ชัดเจน เพื่อการรายงานผลการปฏิบัติราชการท่ีมีประสิทธิภาพ และ มีความถูกต้องในรอบต่อไป 3. ผลการดาเนินงานจากคณะทางานตรวจประเมนิ ผลฯ ควรมปี ระโยชน์สาหรบั กรมและหน่วยงานที่จะนาไปพัฒนา คุณภาพระบบบริหารจดั การของกรมและหนว่ ยงานใหด้ ีย่งิ ขึน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การพจิ ารณาความดีความชอบ 4. การรายงานผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ปี 2562 รอบ 9 และ 12 เดือน ในตัวชีวัดการเบิกจ่าย งบประมาณเหน็ ควรใชข้ ้อมลู GFMIS จากเจ้าภาพตวั ชวี ดั (ฝา่ ยคลัง) แทนการให้หนว่ ยงานรายงาน 5. เจ้าภาพตัวชีวัดที่บรู ณาการรว่ มกนั หลายหน่วยงาน ควรมกี ารสือ่ สารและชีแจง้ รายละเอียดตัวชีวัดและแนวทางการ ประเมินผลฯ ให้มีความชัดเจนทังรายละเอียด การคิดคานวณคะแนน และมีรูปแบบการรายงานให้เป็นไปในแนวทาง เดียวกนั 6. ผู้รับผิดชอบตัวชีวัดของหน่วยงานควรศึกษาเกณฑ์การประเมินผลและแนวทางประเมินผลให้ละเอียด และ ชัดเจน เพื่อจัดทาผลการดาเนินงานและรายงานได้อย่างครบถ้วนและถูกต้อง นอกจากนี หากมีการเปล่ียนแปลง ผู้รับผิดชอบตัวชีวัดควรมีการถ่ายทอดข้อมูลในการจัดทารายงานให้กับผู้รับผิดชอบใหม่ เพ่ือจะได้รายงานได้อย่าง ถูกตอ้ ง และหากประสานขอเอกสารเพม่ิ เติมสามารถจัดสง่ รายงานเพมิ่ เติมไดถ้ ูกตอ้ ง 7. หากมีการแต่งตังคณะกรรมการพิจารณาตัวชีวัดในปี 2564 ขอให้คณะตรวจประเมินมีส่วนร่วมในการให้ ข้อเสนอแนะการพิจารณาตัวชีวัดที่หน่วยงานเสนอมาเพื่อให้ได้ตัวชีวัดท่ีมีคุณภาพ สะท้อนผลลัพธ์ที่ชัดเจน มีความ ท้าทายมากยง่ิ ขนึ และการตรวจประเมินปี 2564 ของคณะตรวจประเมินเกิดความชัดเจนตังแต่ตน้

การพฒั นาคุณภาพ โครงการที่ 5 การบริหารจดั การภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) เป็นเครื่องมือ ในการบริหารจัดการของหนว่ ยงานภาครัฐ เพ่อื ยกระดบั การปฏิบัตงิ านของภาครัฐให้สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 และพัฒนาองค์การให้มีมาตรฐานเทียบเท่าสากลสู่การเป็นหน่วยงานที่มีขีด สมรรถนะสูง (High Performance Organization : HPO) กลุม่ พัฒนาระบบบริหารในฐานะหน่วยงานหลกั ในการพัฒนาระบบราชการ ทาหน้าทข่ี ับเคลอื่ นการพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั ของกรมให้เปน็ ไปตามเกณฑค์ ณุ ภาพ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กลุ่มพัฒนาระบบบริหารได้ดาเนินการขับเคลื่อนงานการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ดงั นี้ 1. ทบทวนคาส่ังคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐและคณะทางานดาเนินการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ของปี 2563 ซึ่งดาเนินการอย่างต่อเน่ืองทุกปี โดยกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ทาหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐและคณะทางานดาเนินการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หมวด 1 การนาองค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม และหมวด 6 กระบวนการคุณภาพและนวตั กรรม 2. ประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด 1 หมวด 6 และจัดทาข้อมูลลักษณะสาคัญองค์การกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (Organization Profile One Page),ลักษณะสาคัญองค์การกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (ฉบบั สมบรู ณ์) 3. การรวบรวมข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับการดาเนินการ PMQA เพื่อสมัครขอรับ รางวัล PMQA ได้แก่ ลักษณะสาคัญองค์การ ผลการประเมินตนเองตามเกณฑ์ คุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั หมวด 1 – 6, ข้อมลู ตัวช้วี ดั ผลลัพธ์ หมวด 7 4. พิจารณาข้อมูลผลการประเมินตนเองแต่ละหมวด และคัดเลือกผลงานสาหรับสมัครขอรับรางวัลเสนอผู้บริหารอนุมัติ และ สมัครขอรับรางวลั PMQA ในระบบออนไลน์ ในรอบที่ 1 ไดแ้ ก่ หมวด 2 การวางแผนยทุ ธศาสตร์และการส่ือสารเพ่ือนาไปสู่การปฏิบัติ หมวด 3 การมงุ่ เนน้ ผู้รบั บริการและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย และหมวด 4 การวเิ คราะหผ์ ลการดาเนินงานขององค์การและการจดั การความรู้ 5. เขียนรายงานข้อมูลผลการดาเนินการพัฒนาองค์การ (Application Report) หมวด 2, หมวด 3 และ หมวด 4 และรวบรวม ข้อมูลผลการดาเนินการพัฒนาองค์การทุกหมวดส่งสานักงาน ก.พ.ร. ทางระบบออนไลน์ โดยผลการประเมินรอบที่ 2 กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยผ์ า่ นการประเมนิ หมวด 4 6. รับการตรวจประเมิน ณ พื้นที่ (Site Visit) โดยเตรียมความพร้อมทั้งด้านข้อมูลนาเสนอ, บุคลากร, ผู้นาเสนอ, บุคลากรผู้ให้ ข้อมลู , สถานท่ี และนิทรรศการผลงานของกรม นอกจากน้ี กลุ่มพัฒนาระบบบริหารได้จัดโครงการให้ความรู้ในการพัฒนาระบบราชการให้แก่บุคลากรในสังกัด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้แก่ โครงการอบรมให้ความรู้แนวทางการดาเนินงานตามเกณฑ์ประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐ ในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0), การจัดทารายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 และ โครงการ ประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการการพัฒนาองคก์ าร กรมวิทยาศาสตร์การแพทยต์ ามเกณฑ์คณุ ภาพการบริหารจัดการภาครฐั ปี พ.ศ. 2563 25

สรปุ ผลการวเิ คราะห์ การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 ปัญหาและอุปสรรคในการขับเคล่ือนงาน PMQA PMQA เป็นเกณฑท์ ่ีมีความซบั ซอ้ นและเขา้ ใจยาก การนาไปดาเนนิ การในหนว่ ยงาน จึงไมเ่ ป็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน กรมมขี ้อมลู จานวนมาก แต่ยังไม่ใช่สารสนเทศที่พรอ้ มใช้งานได้ทันที ขาดการจัดเกบ็ ขอ้ มลู ตัวชี้วดั ผลลพั ธ์ และการดาเนินงาน ในแต่ละปีขาดความตอ่ เน่ือง แนวทางการขับเคลื่อนงาน PMQA ใหป้ ระสบความสาเรจ็ วางระบบการบรหิ ารจดั การองค์การตามเกณฑ์ PMQA ให้มี ความสอดคลอ้ งและเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั ท่ัวทง้ั องค์การ บคุ ลากร 3 กลุ่มหลกั ได้แก่ ผู้บริหาร, ผรู้ บั ผดิ ชอบ และผู้ปฏิบัติ ผู้บรหิ ารต้องให้ความสาคญั และสื่อสารไปยงั บุคลากรอยา่ งชัดเจนถึง เปา้ หมายที่กรมจะไปใหถ้ งึ ผ้รู บั ผิดชอบในการดาเนนิ การ เชน่ คณะทางานหมวดต่างๆ ต้องพรอ้ มเรียนรู้ ทาความเขา้ ใจดว้ ยความมงุ่ ม่ันต้งั ใจ และรบั ผิดชอบอยา่ งเตม็ ที่ตอ่ งานท่ีได้รบั มอบหมาย ผู้ปฏิบัติ จะตอ้ งพร้อมรับการเปล่ียนแปลง และใหค้ วามร่วมมืออยา่ งเต็มที่ กรณี ไม่เหน็ ด้วยสามารถให้ข้อโต้แย้งอย่างสร้างสรรค์ได้ การเรียนรู้ PMQA ไปพรอ้ มกับการปฏิบตั ิงานจริง และ 26 ปรบั ปรุงงานอยา่ งต่อเน่ือง จะชว่ ยใหเ้ ข้าใจ PMQA ไดเ้ ร็วขึ้น

สรปุ ผลการวเิ คราห์ภาพรวม ตามแผนปฏิบตั ิราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กล่มุ พฒั นาระบบบรหิ าร ปญั หาอปุ สรรค ข้อเสนอแนะในการพัฒนา เ น่ื อ ง จ า ก ส ถ า น ก า ร ณ์ ก า ร แ พ ร่ ร ะ บ า ด ข อ ง โ ร ค ติ ด เ ชื อ ควรนาผลการดาเนินงานในปีท่ีผ่านมามาทบทวน ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซ่ึงทางภาครัฐและผู้บริหาร เพื่อ เป็ นฐ าน ข้อ มูล ใน กา รวา งแ ผน จัด ทา แผ นง าน / กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้มีมาตรการในการป้องกัน โครงการในปีถัดไป และควรดาเนินการวางแผนการ สถานการณ์โรคระบาดดังกล่าว โดยขอความร่วมมือ จดั ทาโครงการ/งบประมาณทีจ่ ะของบประมาณตังแต่ ในการหลีกเล่ียง หรือเลื่อนการจัดกิจกรรม/โครงการ ช่วงปลายปีของปีงบประมาณท่ผี า่ นมา เพื่อลดการแพร่เชือตามหลักการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) จนกว่าสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ โรคจะคลี่คลายนัน จึงส่งผลให้การดาเนินงานบางกิจกรรม ของกลุ่มพัฒนาระบบบริหารไม่สามารถดาเนินการได้ตาม แผนงาน/โครงการท่ีกาหนดไว้ 27



การปฏิบัตริ าชการตามคารับรองการปฏบิ ัตริ าชการของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กลุม่ พฒั นาระบบบรหิ ารได้มีการลงนามคารบั รองการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ระหว่างหัวหน้า หน่วยงาน กับรองอธิบดีท่ีได้รับมอบหมายให้กากับดูแลหน่วยงาน (นพ.สมชาย แสงกิจพร) กากับดูแลกลุ่มพัฒนาระบบ บริหาร ระหวา่ งวนั ที่ 1 ตลุ าคม 2562 – 30 กันยายน 2563 ผลการปฏบิ ัติราชการตามคารบั รองการปฏิบัตริ าชการของกลมุ่ พัฒนาระบบบรหิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เกณฑ์กำรให้คะแนน ผลกำรดำเนินงำน ตัวชีว้ ดั ผลกำรปฏบิ ัติรำชกำร หนว่ ยวดั นำ้ หนัก 1 2 3 4 5 ผลกำร คำ่ คะแนน ค่ำคะแนน (รอ้ ยละ) ดำเนนิ งำน ทไี่ ด้ ถว่ ง น้ำหนกั มิตภิ ำยนอก : กำรประเมนิ ประสิทธิผล/คณุ ภำพกำรให้บรกิ ำร (นำ้ หนกั : ร้อยละ 75) 4.8667 3.6500 1. ด้ำนประสทิ ธิผล (นำ้ หนัก : ร้อยละ 65) 5.0000 3.2500 1.1 ระดับความสาเร็จของร้อยละเฉล่ียถ่วง ร้อยละ 15 60 70 80 90 100 5.00 5.0000 0.7500 4 นา้ หนักการดาเนนิ การตามแผนปฏบิ ัติราชการ 4 4 ของหน่วยงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 80 1.2 ระดบั ความสาเรจ็ ของการจดั ทาคารบั รอง ระดับ 20 1 2 3 80 5 5.00 5.0000 1.0000 และตดิ ตามประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการของ 4 กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 1.3 ระดบั ความสาเร็จของการจดั ทาคารับรอง ระดับ 15 1 2 3 5 5.00 5.0000 0.7500 การปฏิบัตริ าชการของหนว่ ยงานในสังกัด กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 1.4 ระดับความสาเร็จของการสารวจความพึง ระดบั 15 1 2 3 5 5.00 5.0000 0.7200 พอใจผรู้ บั บรกิ ารของหน่วยงานในสังกัด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2563 2. ด้ำนคุณภำพ (นำ้ หนัก : รอ้ ยละ 10) 4.0000 0.4000 2. ความพึงพอใจผู้รับบริการ 10 85 85.85 5.0000 0.1250 85 89.57 5.0000 0.1250 2.1 รอ้ ยละของระดับความพึงพอใจผรู้ ับบริการ ร้อยละ 2.5 65 70 75 5 5.00 5.0000 0.2500 รอบท่ี 1 2.1 ร้อยละของระดับความพึงพอใจผู้รับบริการ ร้อยละ 2.5 65 70 75 รอบท่ี 2 2.2 ระดบั ความสาเรจ็ ของการปรบั ปรุงคณุ ภาพ ระดบั 5 1 2 3 การใหบ้ รกิ าร 29

ผลการปฏบิ ัติราชการตามคารับรองการปฏบิ ตั ิราชการของกลุ่มพัฒนาระบบบรหิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (ต่อ) เกณฑ์กำรใหค้ ะแนน ผลกำรดำเนนิ งำน ตัวชว้ี ดั ผลกำรปฏิบัตริ ำชกำร หนว่ ยวัด นำ้ หนัก 1 2 3 4 5 ผลกำร คำ่ คะแนน คำ่ คะแนน (ร้อยละ) ดำเนนิ งำน ทไ่ี ด้ ถว่ ง น้ำหนกั มติ ภิ ำยใน กำรประเมนิ ประสิทธิภำพ/กำรพฒั นำองคก์ ำร (น้ำหนกั : รอ้ ยละ 25) 3.5600 0.8900 1.ดำ้ นประสทิ ธิภำพ (น้ำหนัก : รอ้ ยละ 10) 3.4000 0.3400 3. กำรเบกิ จำ่ ยเงนิ งบประมำณ ร้อยละ 10 3.1 ร้อยละความสาเรจ็ ของการเบกิ จ่ายเงนิ ร้อยละ 5 งบประมาณรายจ่ายภาพรวม 3.1.1 รอ้ ยละความสาเรจ็ ของการเบกิ จา่ ยเงิน รอ้ ยละ 2.5 73 75 77 79 81 67.50 1.0000 0.0250 100 100.00 5.0000 0.1250 งบประมาณรายจ่ายภาพรวม ไตรมาส 3 3.1.2 ร้อยละความสาเร็จของการเบกิ จา่ ยเงนิ ร้อยละ 2.5 92 94 96 98 งบประมาณรายจา่ ยภาพรวม ไตรมาส 4 3.2 ร้อยละความสาเร็จของการเบิกจ่ายเงนิ 5 5.00 5.0000 0.1000 งบประมาณรายจ่ายลงทุน (ไม่มตี ัวช้วี ัดนี้) 5 3.00 3.0000 0.0900 4. ระดบั ความสาเร็จของการลดการใช้พลงั งาน ระดบั 2 1 2 3 4 5.0000 0.7500 ของหน่วยงาน 5 5.00 5.0000 0.3000 5. ระดับความสาเร็จของการลดและคดั แยกขยะ ระดับ 3 1 2 3 4 5 5.00 5.0000 0.2000 มลู ฝอยในหนว่ ยงาน 2. ด้ำนกำรพัฒนำองคก์ ำร (นำ้ หนัก : ร้อยละ 15) 6. ระดับความสาเรจ็ ของการดาเนินการพัฒนา ระดบั 6 1 2 3 4 คุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั 7. ระดับความสาเร็จของการจดั การความรู้ ระดับ 4 1 2 3 4 8. ระดบั คุณธรรมและความโปรง่ ใสการ ระดับ 5 ดาเนินงานของหน่วยงาน 8.1 การประเมนิ ตนเองตามแบบตรวจการ ระดับ 2 75 - 80 - 85 - 90 - 95 - 100 N/A 1.0000 0.0200 เปิดเผยขอ้ มูลสาธารณะ (Open Data Integrity ระดบั 79.99 84.99 89.99 94.99 1.0000 0.0150 and Transparency Assessment : OIT) ระดับ 1.0000 0.0150 1.5 75 - 80 - 85 - 90 - 95 - 100 N/A 8.2 การสอื่ สารเพอ่ื สรา้ งการรับรูข้ องผ้มู สี ่วนได้ 79.99 84.99 89.99 94.99 4.8400 สว่ นเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment : IIT) 1.5 75 - 80 - 85 - 90 - 95 - 100 N/A 79.99 84.99 89.99 94.99 8.3 การวัดการรับร้ขู องผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment : EIT) รวม 100 30



การสารวจความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 มาตรา 3/1 บัญญัติว่า “การบริหารราชการต้อง เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลด ข้ันตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจ และยุบเลิกหน่วยงานท่ีไม่จาเป็นการกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถ่ิน การกระจาย อานาจการตัดสินใจ การอานวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน มีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน ” กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จึงกาหนดให้การสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเป็นตัวช้ีวัดตามคารับรองการปฏิบัติราชการและ ตัวชีว้ ัดตามวัตถุประสงคค์ ณุ ภาพ ISO 9001:2015 ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มพัฒนาระบบบริหารได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบในการดาเนินการเก่ียวกับการสารวจ ความพึงพอใจในภาพรวมของกรม (กาหนดช่วงเวลาในการสารวจปีละ 2 ครั้ง) ต้ังแต่การออกแบบฟอร์มการสารวจ การทบทวนแบบ สารวจให้มคี วามเหมาะสม กาหนดรายละเอยี ดการสารวจ และสรุปผลการสารวจความพงึ พอใจในภาพรวม มสี รุปผลการสารวจดังน้ี ผลการสารวจความพงึ พอใจกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ 100 88.79 89.58 89.18 80 60 40 20 2563 รอบที่ 1 รอบท่ี 2 เฉล่ีย ค่าเฉลี่ยรอ้ ยละความพงึ พอใจภาพรวม (หนว่ ยงานส่วนกลาง) ส่วนกลาง 100 91.35 84.8 94.24 88.57 86.73 90.85 87.04 83.11 90.54 91.71 85.1 84.26 87.71 85.02 95 90 79.71 85 80 75 70 คำ่ เฉลยี่ รอ้ ยละควำมพงึ พอใจภำพรวม (ศนู ย์วทิ ยำศำสตร์กำรแพทย์) 100.00 89.65 91.56 89.68 94.17 92.00 92.75 90.79 92.29 94.03 95.47 95.00 89.96 90.28 90.57 89.53 90.00 85.00 82.05 80.00 75.00 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ 32

สรปุ ผลการสารวจความพงึ พอใจของหน่วยงานในสังกัดกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รอบท่ี 1 และรอบท่ี 2 ดงั น้ี ลำดบั หน่วยงำน ผลสำรวจ รอบท่ี 1 ผลสำรวจ รอบที่ 2 ผลคะแนนเฉลย่ี (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) 1 สถาบนั วจิ ัยวิทยาศาสตรส์ าธารณสุข 91.3540 2 สถาบันวิจยั สมนุ ไพร 91.2000 91.5080 84.7950 3 สถาบนั ชวี วตั ถุ 86.3100 83.2800 94.2380 4 สานักเคร่ืองสาอางและวัตถุอนั ตราย 93.1900 95.2860 88.5720 5 สานกั คณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร 87.7300 89.4140 86.7280 6 สานกั ยาและวตั ถุเสพติด 85.2560 88.2000 90.8500 7 สานกั รังสแี ละเครอื่ งมือแพทย์ 91.0700 90.6300 87.0420 8 สานักมาตรฐานห้องปฏบิ ัตกิ าร 85.2200 88.8640 83.1135 9 สถาบันชวี วทิ ยาศาสตร์ทางการแพทย์ 83.3050 82.9220 90.5370 10 กองการแพทยจ์ โี นมิกส์และสนบั สนุนนวัตกรรม 89.6900 91.3840 91.7125 11 สานักงานเลขานกุ ารกรม 92.8950 90.5300 79.7133 12 กองแผนงานและวิชาการ 79.0225 80.4040 85.1030 13 กล่มุ ตรวจสอบภายใน 83.1500 87.0560 84.2590 14 กลมุ่ พัฒนาระบบบรหิ าร 81.8900 86.6280 87.7120 85.8500 89.5740 85.0150 15 ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศ 85.0600 84.9700 89.9590 16 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 1 เชียงใหม่ 89.7700 90.1480 90.2750 17 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 1/1 เชียงราย 91.5620 88.9880 90.5744 18 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 2 พษิ ณุโลก 89.7567 91.3920 89.5269 19 ศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 3 นครสวรรค์ 89.5718 89.4820 82.0540 20 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 4 สระบรุ ี 76.1500 87.9580 89.6530 21 ศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 5 สมุทรสงคราม 89.1000 90.2060 91.5600 22 ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 6 ชลบุรี 90.1100 93.0100 89.6780 23 ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 7 ขอนแก่น 92.3500 87.0060 94.1720 24 ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 8 อดุ รธานี 93.4900 94.8540 91.9980 25 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 9 นครราชสมี า 91.8100 92.1860 92.7488 26 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อบุ ลราชธานี 92.6655 92.8320 90.7850 27 ศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 11 สุราษฎรธ์ านี 89.4540 92.1160 92.2852 28 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11/1 ภเู กต็ 96.5803 87.9900 94.0260 29 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 12 สงขลา 94.2520 93.8000 95.4740 30 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 12/1 ตรัง 96.2800 94.6680 89.1838 33 คำ่ เฉลย่ี รอ้ ยละควำมพึงพอใจภำพรวม 88.7914 89.5762

ขอ้ เสนอแนะ เพื่อปรับปรงุ คณุ ภาพการให้บริการในภาพรวมของกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ดา้ น รอบที่ 1 รอบท่ี 2 กระบวนการ/ขัน้ ตอน ในการใช้ระบบรายงานผลแบบออนไลน์ พัฒนาเทคโนโลยีที่ใช้ในการให้บริการ เช่น การให้บริการ ข้ันตอนการรายงานไม่เป็นระบบเท่าไหร่ บางครั้งมี การสมัครใช้งาน การสบื คน้ ขอ้ มูลย้อนหลัง การตรวจสอบ ใบรายงานแต่ในระบบไม่ลง บางครั้งลงในระบบแต่ สถานะตัวอย่าง และการออกรายงานในรูปแบบ ไมม่ ใี บรายงาน ไฟล์ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือให้ผู้รับบริการสามารถ ใช้งานระบบท่ีกรมฯ พฒั นาขึ้นได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ควรแจ้งรายงานผลการวิเคราะห์ทาง e-mail ลว่ งหนา้ ก่อนทจ่ี ะสง่ เอกสารฉบบั จริงมา เพ่ือให้ทราบ ควรปรับปรุงเรื่องการจัดส่งแบบสอบถาม ผลเร็วขึ้น, การติดต่อ-สอบถาม ประสานงานเรื่อง ความพึงพอใจผู้รับบริการ โดยนาเทคโนโลยีมาใช้ใน การส่งตรวจสามารถส่ือสารหรือให้คาตอบชัดเจน, การจดั ทาแบบสอบถามออนไลน์ พร้อมกับจัดทา QR เพิ่มการติดตอ่ สอบถามทาง line หรอื ชอ่ งทางอน่ื ๆ Code เพ่อื ความสะดวกในการตอบแบบสอบถาม ขอความรว่ มมอื เร่งรดั ผลการทดสอบปัสสาวะ ถึงกรมฯ จะมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการ ผู้ต้องหาในข้อหายาเสพติดและเน้นผู้ขับรถเสพฯ ให้ ให้บริการ แต่บางงานบริการควรมีการสนับสนุน พนักงานสอบสวน เนื่องจากจาเป็นต้องสรุปสานวน หน่วยงานราชการ เช่น การวางบิลตามระเบียบพัสดุ ส่งอัยการฯ และการเงิน การเปดิ รบั สมคั รสมาชิกทดสอบความชานาญ ควรเปิดให้สมัครทุกรายการทดสอบได้ในคราว เดียวกัน และแต่ละรายการทดสอบควรสมัครได้ มากกว่า 1 ครั้ง/ปี เจา้ หน้าท่ีท่ีใหบ้ รกิ าร  ควรมีการจัดอบรมสาหรับเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่ให้คาแนะนาและข้อคิดเห็น ณ จุดรับตัวอยา่ ง โดยตรงได้ทาความเข้าใจกับโปรแกรม NAP เนื่องจาก ได้ดี พูดจาไพเราะ ยิ้มแย้มแจ่มใส มีความเป็นกันเอง บางหน่วยงานยังลงข้อมลู ขอรหสั ส่งตรวจยังไม่เป็น น่ารัก เต็มใจให้บริการ ช่วยประสานงาน สื่อสารและ อธิบายข้อมูลได้ครบถ้วนเข้าใจดี และยังให้ความช่วยเหลือ ควรจัดอบรมเพื่อทบทวนการปฏิบัติงานของ ในการแกป้ ัญหาเฉพาะหน้าให้กบั ผูร้ บั บรกิ ารได้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ท้ั ง ใ น ส่ ว น ที่ ท า ไ ด้ ดี แ ล ะ ใ น ส่ ว น ที่ ค ว ร ปรบั ปรุงปลี ะครง้ั  ควรเพ่ิมเจ้าหน้าท่ีที่ให้บริการ/เจ้าหน้าท่ี ประชาสัมพันธ์ และในเวลาพักเท่ียงควรมีการจัดเวร แจ้งปัญหากับหัวหน้างานเม่ือเจ้าหน้าท่ีพบ ในการใหบ้ รกิ าร เพอ่ื อานวยความสะดวกให้ผู้รับบริการ กรณีที่มีผู้ใช้บริการข้ามข้ันตอนและมีการตรวจสอบ และลดระยะเวลาในการรอควิ นาน การบรหิ ารงานของหัวหน้างานเพ่ือพัฒนาการบริการ และลดปัญหาต่าง ๆ ควรจัดให้มีผู้ประสาน/รับเรื่อง/ติดตามเร่ือง ควรมีมากกว่า 1 ท่านและสามารถดาเนินการได้เท่าเทียมกัน/ ไมเ่ ฉพาะรบั เรือ่ งแลว้ ส่งใหผ้ ปู้ ระสานงานหลกั เท่าน้นั 34

ข้อเสนอแนะ เพื่อปรบั ปรงุ คณุ ภาพการให้บริการในภาพรวมของกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ (ต่อ) ด้าน รอบท่ี 1 รอบที่ 2 คุณภาพของการใหบ้ รกิ าร ควรปรับปรุงเร่อื งระยะเวลาแจ้งผลการตรวจสอบ ดาเนินการตรวจวิเคราะห์ให้รวดเร็วขึ้นและส่ง ตรวจวิเคราะห์ ให้เร็วขึ้นจากเดิม โดยอยากให้อยู่ภายใน 15 วันทาการ รายงานผลการตรวจวเิ คราะห์ให้ทนั ตามกาหนดระยะเวลา เพ่ือสามารถนาผลการทดสอบไปใช้ประเมินได้อย่าง ข้อมูลขา่ วสาร รวดเรว็ ควรปรับปรุงภาชนะที่ใช้งาน เนื่องจากปี 2563 พบว่ามีการบรรจุตัวอย่าง PT น้า (BQSF WA28 63) ส่งิ อานวยความสะดวก ค ว ร มี ล ด ป ริ ม า ณ ตั ว อ ย่ า ง ท่ี ใ ช้ ใ น ก า ร ต ร ว จ ในภาชนะทไี่ มเ่ หมาะสมมกี ารร่ัวซึม จนทาให้ต้องมีการส่ง 35 วิเคราะห์ เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถลดค่าใจจ่าย ตวั อย่างซา้ ถงึ 3 ครั้ง แต่ปัญหาดังกล่าวก็ยังมีอยู่และทาง ในการส่งตัวอยา่ งจากปริมาณท่ีลดลง Lab ต้องรับตวั อย่างนน้ั เขา้ ระบบเพ่อื ทดสอบจนแลว้ เสรจ็ ในรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ควรเพิ่มวิธี ขอให้ทวนสอบการลงข้อมูลการรายงานให้ถูกต้อง วเิ คราะห์ที่ระบุมากกว่า 1 วธิ ที ดสอบ และครบถ้วนทุกคร้ังก่อนแจ้งผู้รับบริการ เพ่ือลดความ ผิดพลาดจากการบันทึกข้อมูลและการออกเอกสารการ ข้อมูลที่ได้รับมาจากการใช้อุปกรณ์แผ่นวัดรังสี รายงานผล OSL แต่ละอันมีค่าความไวต่อรังสีไม่เท่ากัน ทาให้ขาด ความน่าเช่ือถือ OSL เมื่อแจ้งกับเจ้าหน้าที่ทุก ๆ 3 เดือน ควรจัดทารายละเอียดค่ามาตรฐานในการตรวจ กไ็ มส่ ามารถแก้ไขได้ วิเคราะห์แต่ละชนิดให้กับโรงพยาบาลชุมชน เพื่อใช้ สาหรับการอ้างอิงในการส่งตรวจและช้ีแจงต่อผู้บริหาร ควรเปิดให้บริการตรวจวิเคราะห์ Dioxins ตามเดิม ญาติผปู้ ว่ ย และผู้ที่เก่ียวขอ้ งทราบ โดยการปรับปรุงเคร่ืองมือตรวจวิเคราะห์ให้สามารถ กลบั มาใช้งานไดป้ กติ ค ว ร เ พ่ิ ม ร า ย ก า ร ต ร ว จ วิ เ ค ร า ะ ห์ ใ ห้ มี ค ว า ม หลากหลาย ครอบคลุมธุรกิจทกุ ประเภทมากย่ิงขนึ้ ควรเพิ่มผลการตรวจวิเคราะห์ให้ครบ 20 พารามิเตอร์ ตามเกณฑ์ คุณภาพนา้ ประปาดื่มได้ การร่วมมือกับเครือข่ายสภาวิชาชีพต่าง ๆ ในการ การติดต่อ ประสานงานทางโทรศัพท์ของ เผยแพร่กิจกรรมหรือกฎหมายเกี่ยวกับการ X-ray เพื่อ หน่วยงานส่วนใหญ่ติดต่อไม่ได้หรือติดต่อได้ค่อนข้างยาก ความเข้าใจที่มากข้ึน ควรมกี ารแจง้ เบอรโ์ ทรศพั ท์ทต่ี ดิ ต่อไดโ้ ดยตรงและ การติดต่อประสานงานทางโทรศัพท์ติดต่อได้ยาก เป็นปัจจุบันผ่านทางเว็บไซต์ หรือจัดทาสมุดเบอร์ เน่ืองจากขาดเบอร์โทรติดต่อภายใน ทาให้การติดต่อ โทรศัพท์ติดต่อเจ้าหน้าภายในหน่วยงานให้ผู้รับบริการ ยุ่งยาก ควรมีการส่งเอกสารหรือแผ่นพับข้อมูลข่าวสาร ทราบเพือ่ ความสะดวกรวดเรว็ ในการดาเนินการ เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานและประชาชนท่ีต้องเข้า มาตดิ ตอ่ ราชการ จดั ตั้ง Line Group สาหรับแจง้ ผลการตรวจพิสจู น์ หากมีการตรวจพิสูจน์เสร็จจะได้ไปรับผลโดยเร็ว และ การเผยแพร่ กฎหมาย ระเบียบ ประกาศท่ีกรม หากมปี ัญหาจะได้ดาเนินการแกไ้ ขไดท้ ัน เกี่ยวข้อง ผ่านส่ือที่เข้าใจง่ายทางออนไลน์ เช่น YouTube Facebook Twitter เป็นตน้ ปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ให้สามารถเข้าถึงและดาวน์ โหลดแบบฟอร์มไดง้ า่ ย ควรจัดทาป้ายประชาสัมพันธ์สถานท่ีบริการของ การบริหารจดั การพนื้ ทแ่ี ละอาคารสถานท่ี เช่น พนื้ ท่ี กรมฯ ทเี่ ปดิ ใหม่ เพอื่ ความสะดวกในการเดินทางเพื่อเข้า จอดรถคับแคบไม่เพียงพอกับผู้มารับบริการ ห้องน้าอยู่ รบั บรกิ าร ห่างไกลจากตัวอาคารเดินทางไม่สะดวก ป้ายบอกทางไม่ ชดั เจน สถานที่จอดรถมีค่อนข้างน้อย ควรจัดสถานที่จอด รถให้เพียงพอสาหรับผู้มารับบริการในการส่งตัวอย่าง ควรพัฒนาระบบรายงานข้อมูลระหว่าง อย. และผล หรอื ติดตอ่ งานธุรการ วิเคราะห์ท่ีได้ควรมีการอัพเดทอัตโนมัติ เชื่อมต่อกับระบบ ของ อย.อัตโนมตั ิ ก า ร จั ด ท า ป้ า ย อ ธิ บ า ย ข้ั น ต อ น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ควรจัดให้อยู่ในบริเวณที่สามารถเห็นได้ทันทีเมื่อเข้า ควรมศี นู ย์กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรอื มีที่ฝากส่ง ติดต่อขอรับบริการ เพื่อทาให้ทราบข้ันตอนในการ หรือจุดศูนย์กลางรับฝากส่งตัวอย่างกระจายอยู่ทุกจังหวัด ให้บริการท่ีชัดเจนและสามารถเข้ารับบริการได้ถูกต้อง เพ่ืออานวยความสะดวกในการนาส่งตัวอย่างและลด ตามข้นั ตอน คา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทาง ในกรณีที่มีเหตุการณ์ไม่คาดคิดท่ีส่งผลให้การออก ใบเสร็จรับเงินล่าชา้ กว่าท่กี าหนด ควรแจง้ ให้ทราบด้วยเพ่ือ ดาเนินการแก้ไขปญั หาในหน่วยงานตอ่ ไป

การปรบั ปรุงคณุ ภาพ การให้บริการ

การปรบั ปรงุ คุณภาพการให้บริการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ดาเนินการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการมาอย่างต่อเนื่อง และถูกบรรจุไว้ในคารับรองการปฏิบัติ ราชการของหน่วยงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ในมิติภายนอก ด้านคุณภาพการให้บริการ และเช่นเดียวกันในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ทุกหน่วยงานต้องดาเนินการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการโดยการนาผลการสารวจความพึงพอใจผู้รับบริการในปี พ .ศ. 2562 พร้อมปัญหา/ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นของผู้รับบริการท่ีได้จากการสารวจความพึงพอใจ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หรือประเด็นท่ียัง ไม่ได้รับการปรับปรุงแก้ไขในปี พ.ศ. 2562 และ/หรือปรับปรุงแก้ไขแล้วแต่ยังไม่สาเร็จตามแผนต้องดาเนินการต่อเนื่อง รวมถึงการนา ข้อมูลความไม่พึงพอใจ หรือจากช่องทางอ่ืน ๆ เช่น ข้อร้องเรียน, การประชุมร่วมกับผู้รับบริการ, กล่องรับฟังความคิดเห็น, อีเมล์มาใช้ เป็นข้อมลู นาเขา้ ในการจัดทาแผนปรับปรุงคุณภาพการใหบ้ ริการในปีปัจจุบัน เพ่ือให้การปรบั ปรุงและพฒั นาการปฏิบัตงิ านใหด้ ียง่ิ ขนึ้ จากการติดตามผลการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของหน่วยงานพบว่า ผลกำรปรับปรุงคุณภำพกำรให้บริกำรของ 4หนว่ ยงำนในภำพรวมของกรม มปี ระเด็นกำรปรบั ปรงุ แบง่ ไดเ้ ปน็ ด้ำน ดังน้ี 1. ดา้ นขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน เช่น การปรบั ปรงุ กระบวนการ/ข้นั ตอนการใหบ้ รกิ าร จดั ทาผงั ข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน (Flowchart) 2. ด้านบคุ ลากร เชน่ พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรในดา้ นทเ่ี ปน็ ความต้องการของผรู้ ับบริการ จา้ งเหมาบรกิ ารบคุ คลเพิ่มในกรณีขาดแคลน 3. ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ เช่น การพัฒนาโปรแกรม/ระบบการให้บริการของแต่ละหน่วยงานเพ่ืออานวยความสะดวกให้กับผู้รับบริการ การพัฒนา Application ในมือถือ ตลอดจนการส่ือสารการให้บริการของหน่วยงานผ่านเว็บไซต์ที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจบุ ัน และบางหน่วยงานไดป้ รบั ปรงุ เวบ็ ไซตใ์ ห้ไดม้ าตรฐานเวบ็ ไซต์ของหน่วยงานภาครัฐ 4. ดา้ นสิ่งอานวยความสะดวก เช่น พัฒนาระบบรับส่งตัวอย่าง (Logistic) จากโรงพยาบาลถึงห้องปฏิบัติการให้ได้มาตรฐาน เพ่ิมช่องทางประชาสัมพันธ์ ของหน่วยงานไม่ว่าจะเป็นการจัดกิจกรรมศูนย์ฯ วิทย์เคลื่อนท่ี หรือการเป็นวิทยากร การให้ความรู้แก่ผู้รับบริการ ประชาชนทางผา่ น Line @ ฯลฯ 37

ผลการดาเนนิ การปรับปรงุ การใหบ้ ริการในภาพรวมของกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ 1 ด้านข้นั ตอน/กระบวนการ ทบทวนและปรับปรุงกระบวนการ/ข้ันตอนการให้บริการต้ังแต่ 2 ด้านบุคลากร รับตัวอยา่ ง ตลอดจนถงึ การส่งผลตรวจวเิ คราะหใ์ ห้ผู้รับบริการ เพ่อื ให้ผู้รับบรกิ ารไดร้ บั บริการทีส่ ะดวก รวดเรว็ มากยงิ่ ข้ึน ปรับเปลี่ยนเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย โดยจัดจ้างผู้ท่ีมี มารยาทในการบรกิ ารที่ดี ทบทวนขั้นตอนการปฏิบัติงานและจัดทาผังข้ันตอนการ พัฒนาศักยภาพบุคลากรของหน่วยงานด้านตรวจวิเคราะห์ ปฏบิ ตั ิงาน (Flowchart) ในการให้บริการ และประชาสัมพันธ์ ตัวอย่างอาหาร เพ่ือเพ่ิมการเปิดให้บริการที่ตรงตามความ ใหผ้ ูร้ ับบรกิ ารทราบเพื่อเพม่ิ ความเขา้ ใจในการรบั บรกิ าร ตอ้ งการของผ้รู ับบริการอยา่ งมีคณุ ภาพ จา้ งเหมาบรกิ ารบุคคลเพิ่มในกรณีขาดแคลน เช่น การตรวจ ก า ร ป รั บ ป รุ ง คุ ณ ภ า พ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ตั ว อ ย่ า ง ใ ห้ มี เครือ่ งเอกซเรย์ เพือ่ ลดระยะเวลารอคอยของผรู้ ับบริการ ประสทิ ธภิ าพ สาหรับการให้บริการ 3 ดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ 4 ด้านสิ่งอานวยความสะดวก -พัฒนาระบบการรายงานผลการตรวจวเิ คราะห์ โดยใชร้ ะบบ E-report - พัฒนาระบบสารสนเทศเพอื่ รองรับการคียข์ อ้ มูลและการสง่ ตัวอย่าง และนาร่อง - พฒั นาระบบการรบั ส่งตัวอยา่ งจากโรงพยาบาลจนถึงหอ้ งปฏิบัติการโดยรว่ มกับ ทดสอบระบบการคยี ์ข้อมลู บริษทั ไปรษณีย์ไทยดิสทรบิ ิวช่ัน จากดั - พัฒนาระบบการยนื่ ขอใบรบั รองรนุ่ การผลิตชวี วัตถุ และตอบกลับหนังสอื รับรองรุ่ง - ขยายขอบข่ายการใหบ้ ริการตรวจวิเคราะห์ให้ครอบคลุมความต้องการของ การผลติ โดยใชร้ ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ผรู้ บั บริการและกระแสสงั คม - พฒั นาระบบเว็บไซตแ์ ละระบบฐานขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ตารายาของประเทศไทย - ปรับปรุงค่มู อื การใหบ้ ริการประชาชนและการเผยแพร่ใหผ้ ูร้ บั บริการทราบ (Thai Pharmacopoeia) และตารามาตรฐานยาสมุนไพรไทย (Thai Herbal - จดั สถานทีส่ าหรับจอดรถใหเ้ ปน็ ระเบียบ และติดป้ายท่ีจอดรถสาหรับลูกค้า Pharmacopoeia) - จัดทาปา้ ยบอกทางเขา้ หนว่ ยงาน - พฒั นา Application ตารายาของประเทศไทย (Thai Pharmacopoeia) บนมอื ถือ - จัดหาอุปกรณ์เพือ่ ความสะดวกและปลอดภยั ในงานรบั ตัวอยา่ ง - พฒั นาระบบสารสนเทศงานรบั ตวั อย่างและการจัดการฐานข้อมูล - ปรับปรุงรปู แบบ - ปรับปรุงระบบ WIFI ของหนว่ ยงานโดยจัดหาอุปกรณท์ ่รี องรับสญั ญาณกบั ระบบ Website ของหนว่ ยงานให้มคี วามเปน็ ปัจจบุ นั และได้มาตรฐานเวบ็ ไซต์ของหน่วยงาน 5G ภาครัฐ - เพม่ิ ชอ่ งทางประชาสมั พนั ธ์งานของศนู ยฯ์ โดยวิธกี ารลงพืน้ ท่ี (เชน่ ศนู ยฯ์ วิทย์ - จดั ทาฐานข้อมูลเครอื่ งเอกซเรย์เพ่อื ใหผ้ ู้รับบรกิ ารสามารถติดตามสถานะการตรวจ เคลอ่ื นท่ี การเปน็ วทิ ยากร เป็นต้น) ได้ - จดั ทาแบบฟอรม์ เพ่อื ผรู้ ับบริการสามารถใหด้ าวน์โหลดเอกสารหนา้ เวบ็ ไซตข์ อง - พัฒนาโปรแกรมการขอรบั รองในระบบออนไลน์ หน่วยงาน (ใบนาส่งตัวอย่าง/ใบสมัครงาน) ในรปู แบบ Microsoft Word - พฒั นาระบบสารสนเทศการใหบ้ รกิ ารโปรแกรมทดสอบความชานาญดา้ นชนั สตู ร - จดั ทาแผนท่ีการเดนิ ทางมายงั ศนู ย์ฯ ด้วย Google Map บน Website - จดั ทาแผนผังแสดงข้นั ตอนการปฏิบัติงานรับตัวอย่างโดยละเอียด ชัดเจนกาหนด - ปรับปรงุ ระบบโทรศพั ท์และระบบอินเตอร์เนต็ ภายในหน่วยงาน ให้มีความพร้อมใช้ ระยะเวลาแตล่ ะกระบวนงาน งาน - จดั ทาส่อื Infographic ใหส้ ื่อสาร และเข้าใจง่ายและส่งผา่ นทาง Social Media - พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โปรแกรม NS119 ให้บริการรายงานผลการ - เปดิ โอกาสรบั ฟงั ความคิดเหน็ /ขอ้ ร้องเรยี น จากผรู้ ับบริการโดยตรง (จัดประชมุ วิเคราะห์ดว้ ย Web Report Online ลกู คา้ สมั พนั ธ์) - จัดทาระบบการนัดหมายการออกตรวจเครื่องเอกซเรยภ์ ายใน 1 เดอื นและใหม้ ีการ - เพ่มิ ช่องทางในการสื่อสาร ให้ความรู้แกผ่ รู้ บั บรกิ ารประชาชนทางผา่ น Line @ แจง้ นดั หมายภายใน 1 วนั นับจากรบั คาขอใชบ้ รกิ ารเข้าระบบรับตวั อย่าง - จดั ทาโปรแกรมการชาระเงินค่าบรกิ ารตรวจวิเคราะห์น้าและน้าแข็ง ผ่านทาง Bill 38 payment/Internet Banking

การดาเนนิ การ ตามระบบบรหิ ารคณุ ภาพ

การดาเนินการตามระบบบริหารคณุ ภาพของกลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร และการสนับสนนุ ขอ้ มลู รองรบั การตรวจตดิ ตาม (Surveillance Visit) ISO9001: 2015 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มพัฒนาระบบบริหารได้ดาเนินการตามระบบบริหารคุณภาพ ISO9001 : 2015 ให้สอดคล้องกับกรมมาอย่างต่อเนื่องทุกปี ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ได้จัดทานโยบายระบบบริหารคณุ ภาพตามมาตรฐาน ISO9001:2015มีวัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ใช้ในการบริหารจัดการงานภายในหน่วยงาน และประกันคุณภาพการปฏิบัติงาน (กระบวนการ ต่าง ๆ) ของกลุ่มพัฒนาระบบบริหารเพื่อให้ผู้รับบริการ (หน่วยงานภายใน เช่น ผอ./กพว. เป็นต้น) เกิดความม่ันใจว่าได้รับบริการท่ีมีคุณภาพ และสามารถตรวจสอบได้ในทุก ขัน้ ตอนของปฏบิ ัตงิ าน และไดม้ กี ารกาหนดตัวชวี้ ดั ตามวตั ถุประสงค์คณุ ภาพไว้ในนโยบายระบบบริหารคุณภาพ จานวน 5 มิติ ได้แก่ 1. ผลิตภัณฑ์และกระบวนการ 2. การ ใหค้ วามสาคัญกับผ้รู บั บริการ 3. การใหค้ วามสาคญั กบั บคุ ลากร 4. ภาวะผู้นาและการบริหารจัดการที่ดี และ 5. การเงนิ การตลาด ประกอบดว้ ยตัวชี้วดั 5 มติ ิ ดังนี้ มติ ทิ ่ี 1 มติ ทิ ่ี 3 การให้ มิติที่ 5 การเงนิ ผลิตภัณฑแ์ ละ ความสาคญั กบั การตลาด กระบวนการ มติ ทิ ่ี 2 การให้ บคุ ลากร (ประสทิ ธผิ ล : เป้ำหมำยตำม ความสาคญั กับ ตวั ช้วี ดั ตำมแผนปฏิบัตริ ำชกำร มติ ทิ ี่ 4 ภาวะผูน้ า (ประสทิ ธิภำพ : ร้อยละของ ผรู้ บั บรกิ าร และการบริหาร กำรเบิกจ่ำยงบประมำณ จดั การท่ีดี ประจำปมี ำกกวำ่ ร้อยละ 85) มำกกวำ่ ร้อยละ 96) คณุ ภำพ : ร้อยละ (กำรพฒั นำ : บุคลำกรไดร้ บั (กำรพัฒนำ : ผลกำรประเมนิ คณุ ธรรม ระดับควำมพงึ พอใจ ผู้รบั บรกิ ำรมำกกวำ่ กำรพัฒนำศักยภำพตำม และควำมโปร่งใสมำกกว่ำร้อยละ 80 ร้อยละ 87) แผนพฒั นำบุคลำกร ประสิทธผิ ล : มีกำรดำเนนิ งำน มำกกวำ่ รอ้ ยละ 90) สอดคล้องกับระบบบริหำรคณุ ภำพ ISO 9001 : 2015 และกำรบรหิ ำร 40 บริหำรจดั กำรภำครฐั PMQA)

จัดทาแผนดาเนินการตามระบบบรหิ ารคุณภาพ ISO9001 : 2015 และแผนตรวจตดิ ตามคุณภาพภายใน (Internal Audit) รวมทง้ั จัดทาแบบประเมิน ตนเองของกลุ่มพัฒนาระบบบริหารตามมาตรฐาน ISO9001 : 2015 ซ่ึงเป็นกิจกรรมหนึ่งตามข้อกาหนดของระบบบริหารคุณภาพที่ใช้ในการติดตาม ตรวจสอบ และทวนสอบผลการดาเนินการให้เป็นไปตามขอ้ กาหนด ซ่งึ กรณีทตี่ รวจตดิ ตามคณุ ภาพภายในแล้วพบว่าไม่สอดคล้องหรือไม่เป็นไปตามข้อกาหนด จะต้องปฏบิ ตั ิการแกไ้ ขอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพตามเวลาทีก่ าหนด คือ ภายใน 30 วนั และจากผลการติดตามในปี 2563 เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2563 กลุ่มพัฒนา ระบบบริหารพบความไม่สอดคลอ้ ง (Nonconformity) 2 ประเดน็ และพบข้อสังเกต (Observation) 3 ประเด็น ซ่งึ ดาเนนิ การแกไ้ ขเรียบรอ้ ยแล้ว ดงั นี้ 1 การสารวจความพงึ พอใจ หาความต้องการและตามความคาดหวังของผ้บู ริหารระดับสูง (OBS) 2 จัดทาแผนเพ่อื บรรลุวัตถปุ ระสงค์คุณภาพ (WC) 3 จดั ทาแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล (OBS) 4 ปรบั ปรงุ และทบทวนผลของการประชุมทบทวนโดยฝ่ายบริหารใหส้ อดคล้องตามข้อกาหนด ข้อ 9.3.9 (NC) 5 จดั ทาแผนปรบั ปรงุ คุณภาพการใหบ้ ริการ (OBS) นอกจากน้ี กลุ่มพัฒนาระบบบริหารยังได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทาบริบทองค์กรของกรม การสารวจและสรุปผลความพึงพอใจ ผรู้ ับบริการของหน่วยงานในสงั กดั กรมวิทยาศาสตร์การแพทยเ์ พอื่ ตอบวัตถุประสงคค์ ุณภาพ ในฐานะหน่วยงานรับผิดชอบหลักในข้อกาหนด 4.1 การทาความ เข้าใจเกีย่ วกับองคก์ ร และบริบทขององค์กร และขอ้ กาหนด 4.2 การทาความเข้าใจความต้องการ และความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้เข้ามาร่วมกรม ดาเนินการขับเคล่ือนระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015 โดยการสนับสนุนข้อมูลรองรับการตรวจติดตาม (Surveillance Visit) ISO9001 : 2015 จากบริษัท United Registrar of Systems (Thailand) Co.,Ltd. ตั้งแต่ขอการรับรองระบบบริหารคุณภาพครั้งแรกเม่ือปี 2559 เร่ือยมาจนปัจจุบัน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มพัฒนาระบบบริหารได้สนับสนุนข้อมูลตามข้อกาหนด 4.1 และ 4.2 เพ่ือรองรับการตรวจประเมินรายปี Surveillance Audit (SA) โดยจัดทาข้อมูลบริบทองค์กร (ลักษณะสาคัญองค์การ : Organization Profile) ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จานวน 1 ฉบับ (1 Page) และ ลักษณะสาคัญองค์การฉบับสมบูรณ์ จานวน 1 เล่ม มีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงได้ รวบรวม สรุป และวิเคราะห์ข้อมูลผลสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผลการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของทุกหน่วยงานในสังกัด กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ทัง้ น้ีได้เข้าร่วมการตรวจประเมินรายปี เม่ือวันที่ 6 สิงหาคม 2563 โดยผลการตรวจประเมินตามข้อกาหนด 4.1 และ 4.2 ไม่พบ ข้อบกพรอ่ งหลัก 41

ผลการดาเนนิ งานตามแผนพัฒนาระบบบรหิ ารคณุ ภาพ ISO 9001 : 2015 ของกล่มุ พฒั นาระบบบริหาร ประจาปีงบประมาณ 2563 เป้าหมายตามมแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระดบั ความพงึ พอใจผรู้ ับบรกิ าร ประจาปมี ากกว่า ร้อยละ 85 มากกว่า รอ้ ยละ 87 ดาเนินการไดร้ ้อยละ 100 ร้อยละ 87.72 บคุ ลากรได้รบั การพัฒนาศักยภาพ ผลการประเมนิ คณุ ธรรมและ ตามแผนพฒั นาบุคลากร ความโปรง่ ใสมากกวา่ รอ้ ยละ 80 มากกวา่ รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละ 100 ดาเนินการไดร้ ้อยละ 100 รอ้ ยละของการเบิกจ่าย การดาเนินงานสอดคล้องกบั ระบบ งบประมาณมากกวา่ ร้อยละ 96 บริหารคณุ ภาพ ISO 9001 : 2015 และการบริหารบริหารจดั การภาครัฐ รอ้ ยละ 100 PMQA  รับการตรวจประเมนิ เดือน ก.ค.2563 และแกไ้ ข Obs เมือ่ เดือน ส.ค.2563  ร่วมบูรณาการ ISO9001 & PMQA และสนบั สนนุ ข้อมูล รองรับการตรวจ Surveillance Visit ISO9001:2015 ของ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 42

การพฒั นาบคุ ลากร

การพัฒนาบุคลากรของกล่มุ พฒั นาระบบบรหิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามท่ีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้มีการพัฒนาบุคลากร ดั ง นั้ น เ พ่ื อ ใ ห้ ส อ ด รั บ กั บ แ ผ น พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร บ น พ้ื น ฐ า น ข อ ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ เ ชิ ง ส ม ร ร ถ น ะ ข อ ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และกลุ่มพัฒนาระบบบริหารเห็นว่า กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งเป็นไปตามแนวทางของ การพฒั นาสมรรถนะของบุคลากรภายในหน่วยงาน มีความสาคัญ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 และ ต่อการปฏบิ ัติงานตามภารกิจให้สัมฤทธ์ิผล จึงได้จัดทาแผนพัฒนา ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ แ น ว ท า ง ก า ร ก า ห น ด ค ว า ม รู้ บุคลากรของกลุ่มพัฒนาระบบบริหารข้ึน โดยมุ่งเน้นการพัฒนา ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะท่ีจาเป็นสาหรับตาแหน่ง สมรรถนะ 3 วิธีการพัฒนา ได้แก่ 1. การเรียนรู้การทางานจาก ข้าราชการพลเรือนสามัญ ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ผู้บังคับบัญชา เพ่ือนร่วมงาน 2. การเรียนรู้ด้วยตนเอง 3. การ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้จัดทาแผนการพัฒนาบุคลากร ฝึกอบรม/สัมมนา เพื่อให้บุคลากรได้พัฒนาสมรรถนะ ทักษะ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ขึ้น เพื่อเป็นการสนับสนุนหน่วยงาน ความรู้ความสามารถของตนเองสาหรับการปฏิบัติงานตามภารกิจ ภายในท่ีมีความประสงค์จะดาเนินการจัดฝึกอบรมสัมมนาเพ่ือ ของหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความเหมาะสมกับการ พัฒนาบุคคลากร โดยมีเง่ือนไขในการพัฒนาบุคลากรในภาพรวม ปฏิบัติงานในตาแหน่ง และเป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่ พัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ บคุ ลากรสร้างความก้าวหนา้ (Career Path) ในสายงานตอ่ ไป ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 พัฒนาบุคลากรตามสายงานความ จ า เ ป็ น แ ล ะ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ต า ม พ้ื น ฐ า น การปฏบิ ัตงิ าน หลกั สูตรในการพฒั นาบคุ ลากรรายบุคคลทจ่ี าเป็นในการปฏบิ ัติงาน ลาดบั หลกั สูตรท่ีจาเปน็ ในการปฏิบตั งิ าน รายละเอียดหลักสูตรการพัฒนา 1 หลกั สูตรเพ่ือการพัฒนาความรู้ ความสามารถ 1. หลักสูตรการพัฒนาที่เก่ียวข้องกับการปฏิบัติงาน ได้แก่ การบริหารแผนงาน/โครงการ การบริหาร ทีจ่ าเปน็ สาหรบั การปฏิบัตงิ าน ทรพั ยากรบุคคล การควบคมุ ภายในและการบรหิ ารจัดการความเสีย่ ง การใช้โปรแกรมการรายงานผลตัวช้ีวัด ระบบ KPI Reporter และระบบตดิ ตามแผนงาน/งบประมาณ (DOC) โปรแกรมระบบสารสนเทศทรัพยากร บคุ คล (DPIS) 2. หลกั สตู รเร่ืองกฎหมาย และกฎระเบียบของทางราชการเช่น ระเบียบพัสดุ การจัดซ้ือจัดจ้าง การเงินและ งบประมาณ ระเบียบงานสารบรรณ 2 หลกั สตู รเพื่อพัฒนาทักษะ/สมรรถนะ 1. หลักสูตรการพฒั นาทีเ่ กยี่ วข้องกบั ความรู้ ความสามารถและสมรรถนะท่ีจาเป็นสาหรบั ตาแหน่ง 1) ทกั ษะ 4 ทกั ษะ ไดแ้ ก่ การใชค้ อมพิวเตอร์ การใช้ภาษาอังกฤษ การคานวณ และการจดั การขอ้ มูล 2) สมรรถนะหลัก ได้แก่ การมุ่งผลสัมฤทธ์ิ บริการท่ีดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ การยึดม่ัน ในความถกู ต้องชอบธรรม และจรยิ ธรรม และการทางานเป็นทีม 3) สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ การมองภาพองค์รวม การดาเนนิ การเชิงรุก 2. หลักสูตรการพัฒนาท่ีเก่ียวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเกี่ยวข้องกับสานักงาน /นวัตกรรมการเรียนรู้ ท่ีสนบั สนุนการปฏิบัติงาน 3. หลักสูตรการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาแผนและติดตามประเมินผล เทคนิค/จิตวิทยาการโน้มน้าว การเจรจาต่อรอง การติดต่อประสานงานการให้คาปรึกษาแนะนาการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาระบบ ราชการ การประยุกตใ์ ช้เครอ่ื งมอื พัฒนาองค์การ เทคนคิ การบรหิ ารเชิงยทุ ธศาสตร์ 44

สรปุ ชื่อหลกั สูตร/หัวข้อการอบรมตามแผนการพัฒนาบุคลากรรายบุคคลรายบุคคลของกลุ่มพฒั นาระบบบรหิ าร ดาเนินการได้ร้อยละ 100 ดงั นี หวั ข้อทีจ่ ะพัฒนำ หลกั สูตร/หวั ข้อกำรอบรม วนั ทีอ่ บรม 1. การตดิ ตามและประเมินผลการ  ประชุมชีแ้ จงเกณฑ์การประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการของ  17 ธันวาคม 2562 ปฏบิ ัตริ าชการ หนว่ ยงานในสังกัดกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563  9 กันยายน 2563 2. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ  ประชุมชีแ้ จงแนวทางการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการ ภาครฐั ปฏิบตั ิราชการของสว่ นราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 3. การนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปประยกุ ต์ใช้ในองคก์ ร  อบรมให้ความร้แู นวทางการประเมินสถานะของหนว่ ยงานตามเกณฑ์ PMQA 4.0 และการ  19 พฤศจิกายน 2562 4. การแลกเปล่ยี นเรียนรปู้ ระสบการณ์ ด้านพัฒนาระบบราชการ จดั ทารายงานผลการดาเนนิ การพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0  ประชุมชีแ้ จงเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั ประจาปี พ.ศ.2562  17 มกราคม 2563  ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาองค์การกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ตามเกณฑ์คุณภาพ  12 กมุ ภาพันธ์ 2563 การบริหารจดั การภาครฐั ปี พ.ศ. 2562”  ประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการสง่ เสริมหนว่ ยงานในสงั กดั สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ  19 – 20 ธันวาคม 2562 จัดทาผลงานสง่ สมคั รรบั รางวัลเลศิ รัฐ สาขาบรกิ ารภาครัฐ และสาขาการบรหิ ารราชการแบบ มสี ว่ นรว่ ม ประจาปี พ.ศ. 2563  ประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการ “การเตรยี มความพรอ้ มสาหรบั รับการตรวจประเมนิ รางวลั คุณภาพ  10 และ 16 การบริหารจดั การภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : การวดั วเิ คราะหแ์ ละการจดั การความรู้” กรกฎาคม 2563  ประชมุ ชี้แจงการทบทวนและปรบั ปรงุ แผนดาเนนิ ธุรกจิ อยา่ งต่อเนื่องสาหรบั การบริหาร  12 มิถนุ ายน 2563 ความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Plan)  โครงการพฒั นาบุคลากรเพอ่ื รองรับการปรับเปล่ียนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจทิ ลั ในหลกั สูตร  25 - 26 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการหลกั สตู ร RESTful API with PHP  ประชุมแนวทางการจัดเก็บค่าธรรมเนยี มในการอนุมตั ิ อนุญาต ของทางราชการ  22 มกราคม 2563  โครงการแลกเปล่ียนเรียนรู้ เรอื่ ง การสร้างแรงบนั ดาลใจในการทางานในยคุ Thailand 4.0  4 กุมภาพนั ธ์ 2563  อบรมเสริมความรเู้ กย่ี วกับการพัฒนาสรู่ ะบบราชการ 4.0 รนุ่ ที่ 5  6 กมุ ภาพนั ธ์ 2563  ประชมุ ชแี้ จงเกีย่ วกบั การปรบั ปรงุ ฐานขอ้ มูลค่มู ือสาหรับประชาชน และการพฒั นารูปแบบ  9 กรกฎาคม 2563 คู่มือสาหรบั ประชาชนใหเ้ ปน็ Infographic  สมั มนา “บริการภาครัฐ…ยคุ New Normal”  31 กรกฎาคม 2563  ประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนาการจดั ทาแผนการจดั การความรู้หนว่ ยงานภายในสงั กัด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์  ประชมุ เชิงปฏิบตั ิการจัดทาแผนกลยุทธใ์ นการบรหิ าร การเปลี่ยนแปลงเพอื่ รองรับ  11 มิถนุ ายน 2563 สถานการณก์ ารแพร่ระบาดไวรสั โคโรนา 2019 กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ (Strategies to manage change in current novel coronavirus 2019 (COVID-19) outbreak in  17 มิถนุ ายน 2563 Thailand) ครัง้ ท่ี 1  สัมมนาให้ความรูแ้ ละถ่ายทอดประสบการณเ์ พ่ือสนับสนุนการทางานของกลมุ่ พฒั นาระบบบริหาร  19 สิงหาคม 2563  สมั มนาเผยแพร่ผลการดาเนินการเปิดโอกาสให้ภาคส่วนอน่ื เขา้ มามสี ่วนรว่ มในการพฒั นา  3 กนั ยายน 2563 บริการสาธารณะ  ประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรเพือ่ การขบั เคลือ่ นระบบราชการกระทรวง  11 กันยายน 2563 สาธารณสุขภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนาสายพนั ธใ์ุ หม่ 2019 (COVID-19)  ประชุมเชิงปฏบิ ัติการเกย่ี วกับการขับเคล่อื นการใหบ้ ริการหรอื การทางานบนระบบ  24 กนั ยายน 2563 อิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Service) ของส่วนราชการ 45

สรุปช่อื หลกั สูตร/หวั ข้อกำรอบรมตำมแผนกำรพัฒนำบุคลำกรรำยบุคคลรำยบุคคลของกลุ่มพัฒนำระบบบรหิ ำร (ตอ่ ) หวั ขอ้ ท่จี ะพัฒนำ หลักสตู ร/หัวข้อกำรอบรม วนั ทอ่ี บรม 5. กฎหมาย และกฎระเบยี บของทาง  สมั มนา “4 ปี กฎหมายอานวยความสะดวกส่บู รกิ ารภาครัฐไทยในยคุ ดิจิทัล”  18 ธนั วาคม 2562 ราชการ  11 – 12 กมุ ภาพันธ์ 2563  อบรมเรื่องแนวทางการปอ้ งกันความเสีย่ งด้านการจัดซื้อจัดจา้ ง การบริการพสั ดุ 6. ระบบบริหารคุณภาพ ISO9001  3 มนี าคม 2563 และการเบิกจ่ายเงิน 7. โปรแกรมสารสนเทศทใ่ี ช้ในการปฏบิ ัติงาน  25 - 26 พฤศจกิ ายน 2562  โครงการพฒั นาบคุ ลากรเพอื่ สนบั สนนุ ภารกิจของกรม เร่อื ง ระเบียบ  26 พฤศจิกายน 2562 8. การจัดทาแผนระดบั องคก์ ารและระดับ หน่วยงาน และการกากับตดิ ตามและ กระทรวงการคลังวา่ ด้วยการจดั ซอ้ื จดั จ้างและบริหารพสั ดุ พ.ศ. 2560  26 ธนั วาคม 2562 ประเมินผล 9. การส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม สาหรับนกั พัสดมุ ือใหม่  19 มถิ นุ ายน 2563  3 - 5 สงิ หาคม 2563 10. การพฒั นาความรู้ ความสามารถ และ  ประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการเพ่อื พฒั นาระบบการจัดการความเสย่ี งและควบคุมภายใน ทักษะทีจ่ าเป็นสาหรบั การปฏบิ ัตงิ าน  23 ธนั วาคม 2562 และ เพิ่มเตมิ ผา่ นการเรียนรู้ด้วยตนเอง  สมั มนาวชิ าการกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ครัง้ ท่ี 1/2563 เร่อื ง นโยบาย 28 มกราคม 2563 (เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคโควิด-19) แผนงานท่ีสนับสนนุ นโยบายแนวทางบรหิ ารจดั การ และ Ethics and Safety  14-15 กันยายน 2563  27 - 29 พฤศจิกายน 2562 Considerations  24 ธนั วาคม 2562  โครงการชแ้ี จงแนวทางการกากับตดิ ตามผลการดาเนินงานแผนงานโครงการ  20 ธนั วาคม 2562  14 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ตามแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปแี ละการใช้งานโปรแกรมระบบติดตาม  9 กรกฎาคม 2563 แผนงาน/งบประมาณ (ระบบ DOC) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563  24 กมุ ภาพนั ธ์ 2563  อบรมการใชง้ านระบบสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารงานเชิงยทุ ธศาสตร์ และ ตดิ ตามตวั ชี้วัดสาคญั กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ (M-SiiS)  8 สงิ หาคม 2563  โครงการพฒั นาบคุ ลากรเพอ่ื รองรับการปรบั เปลีย่ นภาครัฐส่กู ารเปน็ รัฐบาล  8 สงิ หาคม 2563 ดจิ ติ อล หลกั สูตรอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการการใชง้ านระบบบริหารจัดการครุภณั ฑ์  8 สิงหาคม 2563 (AMS)  กันยายน 2563  ประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่อื การส่อื สารและถา่ ยทอดแผนกลยุทธ์  เมษายน – กันยายน 2563 กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์สัญจร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563  ประชมุ ประเมินผลการดาเนนิ งานโครงการตามแผนยุทธศาสตร์ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563  การสมั มนาเชิงปฏิบัติการสร้างวิทยากรผู้นาการเปลยี่ นแปลงส่สู ั่งคมที่ไม่ทนตอ่ การทจุ ริตการขบั เคลอื่ นกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์สู่การเป็นองค์กรคุณธรรม  สมั มนาบุคลากรกรมวิทยฯ์ ไมท่ นต่อการทุจรติ  โครงการขบั เคล่ือนกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยส์ ่กู ารเป็นองคก์ รคุณธรรม (Moral DMSC) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563  สมั มนาเชิงปฏิบตั กิ ารทบทวนประมวลจรยิ ธรรมสาหรับบุคลากร  โครงการแลกเปลีย่ นเรียนร้โู ครงการพระราชดารใิ นพระบาทสมเดจ็ พระ เจ้าอยูห่ ัวรชั กาลท่ี 9  โครงการสัมมนาช้ีแจงเกณฑก์ ารประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการ ดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) ประจาปงี บประมาณ 2563  อบรมการสร้างความเข้าใจกรอบธรรมาภิบาลขอ้ มูล  อบรมความรพู้ นื้ ฐานเพือ่ การวิเคราะหข์ ้อมูลสาหรับขา้ ราชการและบุคลากร ภาครัฐทุกระดับ  อบรมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) สาหรบั บุคลากรภาครฐั ทุกระดบั  อบรมหนงั สอื ราชการ และหนงั สอื ติดตอ่ ราชการ  อบรม Data Visualization 46

ผลงานเด่นท่ีสาคญั

ผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามข้อตกลงการปฏบิ ัตริ าชการของอธิบดี กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามท่ีกระทรวงสาธารณสุขได้กาหนดให้ผู้บริหารของกระทรวงสาธารณสุขทุกกรมจัดทาข้อตกลงการปฏิบัติราชการอย่างต่อเน่ืองทุกปี เพื่อใช้เป็น มาตรการสาคัญในการกากับ ติดตาม และประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ก่อให้เกิด ผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐและให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ จงึ ได้มกี ารจัดทาข้อตกลงการปฏิบตั ิราชการ(Performance Agreement : PA) ของหวั หนา้ ส่วนราชการและได้มีการลงนามคารับรองการปฏิบัติราชการ ตามขอ้ ตกลงการปฏิบัตริ าชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ระหวา่ งอธบิ ดกี รมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์และรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข หัวหน้ากลุ่มภารกิจ สนบั สนนุ งานบริการสุขภาพ เมื่อวันท่ี 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 กาหนดการติดตามความก้าวหน้าผลการดาเนินงาน (Small Success) รอบ 3, 6, 9 และ 12 เดือน และตาม มติคณะรฐั มนตรีเม่อื วนั ท่ี 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เรือ่ ง การประเมินสว่ นราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ โดยได้มอบหมายให้ สานกั งาน ก.พ.ร. เปน็ หน่วยงานหลักในการจัดทาแบบประเมินประสิทธิภาพสาหรับส่วนราชการใน 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) Function Base 2) Agenda Base 3) Area Base 4) Innovation Base และ 5) Potential Base กาหนดใหส้ ว่ นราชการรายงานผล 1 รอบ (12 เดือน) ในชว่ งปลายปี พ.ศ. 2562 เกดิ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนาสายพันธใ์ุ หม่ 2019 (COVID-19) ซ่ึงส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานของ ส่วนราชการ โดยเฉพาะกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการตรวจวิเคราะห์เพื่อยืนยันผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) เพื่อให้ได้ ผลการตรวจท่ีรวดเร็วและส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนาไปควบคุมการแพร่ระบาดของโรคได้อย่างทันท่วงที กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จึงมีภาระงานท่ีเพ่ิมขึ้น เนื่องจากต้องระดมสรรพกาลงั และบุคลากรเปน็ จานวนมากไปปฏิบัตงิ านดงั กลา่ ว ทาให้ไม่สามารถดาเนินกิจกรรมตามตัวช้ีวัดการประเมินส่วนราชการฯ ในบางกิจกรรมได้ และสานักงาน ก.พ.ร. ได้เสนอเรือ่ ง การปรับแนวทางการประเมนิ สว่ นราชการต่อคณะรฐั มนตรี ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 เพื่อรองรบั สถานการณ์การระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) และคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเม่ือวันท่ี 17 มีนาคม 2563 และสานักงาน ก.พ.ร. ได้แจ้งส่วนราชการ สามารถเสนอปรบั แนวทางการประเมินส่วนราชการในตัวช้ีวัดตามภารกิจปกติที่คาดว่าถูกกระทบจากวิกฤตของโรค COVID-19 เพ่ือลดภาระในการดาเนินงานให้ บรรลุเป้าหมายของตวั ชวี้ ดั และสามารถระดมทรัพยากรเพ่ือแก้วิกฤติของการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ได้อยา่ งรวดเร็วและทนั สถานการณ์ พร้อมท้ังสามารถ เสนอตัวช้ีวัดใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ในส่วนการประเมินผลช่วงปลายปีงบประมาณ สานกั งาน ก.พ.ร. จะไมม่ กี ารประเมนิ ผลคะแนน แตใ่ หส้ ว่ นราชการรายงานผลการตดิ ตาม (Monitoring) เท่านน้ั สรปุ ตัวชว้ี ัดผลการปฏบิ ัติราชการระดับกรม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วยตัวช้ีวัดการปฏิบัติราชการ ตามคารับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA) จานวน 6 ตัวชี้วัด และตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการตามมาตรการปรับปรุง ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัตริ าชการ (มปป.) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มจี านวน 6 ตวั ช้ีวดั ดังน้ี ตวั ชี้วัด ประเภทตวั ช้ีวัด 1. การพัฒนาระบบหอ้ งปฏิบตั ิการถอดรหัสพนั ธกุ รรมชนั สงู PA ประเมนิ ส่วนราชการ เพ่ือแก้ปัญหาวัณโรค   (Function Base) (Function Base) 2. การพฒั นาระบบเฝา้ ระวงั เชือดอื ยาตา้ นจลุ ชพี   (Function Base) (Function Base) 3. การพฒั นาศักยภาพหอ้ งปฏิบตั ิการเครือขา่ ยตรวจวิเคราะหเ์ ชือไวรสั โคโรนา   2019 (COVID-19) ด้วยวธิ ี Realtime RT PCR (Function Base) (Function Base) 4. จานวนนวตั กรรมและเทคโนโลยสี ขุ ภาพท่คี ดิ ค้นใหมห่ รอื ทีพ่ ัฒนาต่อยอด   (Function Base) (Function Base) 5. การพัฒนามอโนกราฟผลติ ภัณฑก์ ัญชาเพอ่ื ควบคมุ คุณภาพผลติ ภณั ฑย์ ากญั ชา   48 ของประเทศ (Agenda Base) (Agenda Base) 6. ความสาเร็จของการพัฒนาชุดตรวจวัดปรมิ าณสาร THC ในกญั ชา   (Agenda Base) (Innovation Base)

49