142 2. สงั คมไทยยดึ มั่นในพระพทุ ธศาสนา วดั มีความสัมพันธก บั ชมุ ชนมากในอดีต วัด เปน แหลงการศกึ ษาของฆราวาสและภิกษุ สามเณร เปน สถานที่อบรมขัดเกลาจิตใจ โดยใชธรรมะ เปนเคร่ืองช้ีนําในการดําเนิน ชวี ติ โดยมีพระภกิ ษุ เปน ผอู บรมส่งั สอนพุทธศาสนกิ ชนใหเปนคนดี มศี ีลธรรม 3. สังคมไทยเปน สังคมเกษตร อาชีพเกษตรกรรม เปนอาชีพที่เปนพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ ซ่ึงในปจจุบันมีการนํา เทคโนโลยีมาใชใ นการเกษตรมากขน้ึ ทาํ ใหมกี ารพัฒนาเปนเกษตรกรรมอุตสาหกรรม จากพื้นฐานการมีอาชีพเกษตรกรรม ทําใหคนไทยรักความเปนอยูที่เรียบงาย ไมท ะเยอทะยานเกนิ ฐานะ มจี ติ ใจออนโยนเอื้อเฟอ เผื่อแผ
143 4. สงั คมไทยใหก ารเคารพผูอาวโุ ส การแสดงความเคารพ การใหเกยี รตผิ อู าวโุ ส มผี ลตอ การแสดงออกของคนในสังคม ใน ดา นกริ ยิ าวาจา ความเคารพ และความเกรงใจ ทาํ ใหเ ดก็ ๆ หรอื ผนู อ ย รูจักออ นนอม ถอ มตนตอผใู หญ 5. สงั คมไทยเปน สงั คมระบบเครือญาติ สังคมไทย เปนสังคมท่ีอยูรวมกันเปนครอบครัวขนาดใหญ มีความสัมพันธกันอยาง ใกลชดิ ทําใหมีความผูกพัน และหวงใยในทุกขสุขของกันและกัน อุปการะเกื้อกูลกัน ซง่ึ สมาชกิ ในครอบครวั ทกุ คน ถือเปน หนาท่ีท่ีตอ งประพฤติปฏิบตั ิตอกนั
144 6. สังคมไทยมีการเปลีย่ นแปลงอยา งรวดเร็ว เนอ่ื งจากมีการเปดรบั วฒั นธรรมตา งชาติเขา มามาก และระบบเศรษฐกิจเปนแบบทนุ นิยม โดยเฉพาะเมืองใหญ เชน กรุงเทพฯ เชียงใหม ภูเก็ต เปนตน แตในชนบทจะมี การเปล่ียนแปลงชากวา เมอื งใหญ ทําใหมขี นบธรรมเนียมประเพณีท่ีดีงามคงอยู
145 หากเราสามารถใชชีวิตโดยการประยุกตใ ชห ลักการของระบอบประชาธปิ ไตย ท้ัง 5 หลกั ใหเ ขา กบั สภาพสังคมและวิถีชีวิตไทยไดอยางสมดุล เชื่อวาสังคมไทย จะสามารถอยูรวมกันไดอยางสันติมี สทิ ธิเสรีภาพ และความอบอุนในรูปแบบของวิถีชีวิตได โดยมีแนวทางของการเปนพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย โดยพจิ ารณาจากบทบาทหนา ท่ขี องตนเองที่มีตอสว นเกย่ี วขอ ง ดังนี้ 1. บทบาทหนา ท่ีและความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง ไดแก 1.1 ยดึ มั่นในคุณธรรมและศีลธรรม 1.2 พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของตนเองใหม คี วามรู ฉลาดทนั โลก ทันเหตุการณ 1.3 ประกอบอาชีพที่ซื่อสตั ยด วยความขยันหมนั่ เพยี ร 1.4 สนใจตดิ ตามขา วความเปนไปในทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม 2. บทบาทหนา ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบตอครอบครวั 2.1 ทาํ หนาท่สี มาชกิ ในครอบครวั ใหสมบรู ณ 2.2 ชว ยกิจกรรมงานตา ง ๆ ในครอบครวั อยา งเต็มใจ 2.3 ชว ยกันดูแลประหยัดคาใชจ ายในครอบครวั 2.4 รบั ฟง และแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นซึ่งกนั และกนั ในครอบครัว 2.5 ไมท ําใหส มาชิกในครอบครวั รูสกึ วาถูกทอดท้ิง 3. บทบาทหนา ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบตอ สังคมและประเทศชาติ 3.1 ดานเศรษฐกจิ 1) ประกอบอาชีพที่เกดิ ผลดีทางเศรษฐกจิ ตอชมุ ชนและประเทศชาติ 2) เสยี ภาษีอากรใหแ กร ฐั อยางถกู ตอ ง 3) ประหยดั การใชจ า ย 3.2 ดานการเมือง 1) สนใจตดิ ตามขา วคราวความเปน ไปทางดา นการเมืองในประเทศ 2) สนบั สนนุ การปกครองระบอบประชาธิปไตย 3) เขา รวมในกิจกรรมตา ง ๆ ทม่ี อี ยูในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 4) เคารพสิทธแิ ละเสรภี าพของบุคคลอน่ื 5) สนใจตดิ ตามความเปน ไปและปญ หาทางดา นสงั คมของชุมชน 3.3 ดานสงั คม 1) ยึดมัน่ ในระเบยี บวนิ ยั และปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายของบา นเมือง 2) ยอมรบั ความแตกตา งในดา นบุคคล 3) มีความรูสกึ เปนสว นหน่ึงของสังคมและประเทศชาติ
146 4) ใหค วามชว ยเหลอื ในการทํางานเพ่ือสังคม หากแตล ะบคุ คลสามารถปฏบิ ตั ติ ามบทบาทหนาทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบไดอยางครบถวนกไ็ ด ชือ่ วา เปน “พลเมอื งดตี ามวถิ ีประชาธปิ ไตย” กจิ กรรมที่ 12 1. ใหผ ูเรียนวิเคราะหและเขยี นบอกลักษณะสาํ คัญของสงั คมในปจจุบัน โดยเปรยี บเทียบกับ ลักษณะของสังคมไทยตามท่ีมีผูวิเคราะหไวแลว เพ่ือพิจารณาวามีลักษณะใดบางท่ี เปล่ยี นแปลงหรอื สญู หายไปแลว และลักษณะใดบางท่ียังคงอยูพรอมกับบอกความรูสึกของ ผเู รียนที่มีตอสภาพสงั คมในปจจุบนั …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ผูเรียนวิเคราะหบทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบของผูเรียนที่ปฏิบัติตอสมาชิกใน ครอบครัววา เปนไปตามหลักการของระบอบประชาธิปไตยหรือไม บทบาทหนาที่ดังกลาวมี เรือ่ งใดบางที่ควรสงเสรมิ และมเี รือ่ งใดบางทีค่ วรละท้ิง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ในฐานะทผ่ี เู รียนเปน หนวยหนึ่งของสังคมและประเทศผเู รยี นจะปฏิบตั ติ นอยา งไร จึงจะไดชอื่ วา เปน พลเมอื งดขี องประเทศท่ีมกี ารปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท รง เปนประมขุ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
147 บทท่ี 5 สทิ ธมิ นษุ ยชน สาระสาํ คญั มนุษยทุกคน เกิดมามีเกียรติศักดิ์ศรีเทาเทียมกัน ยอมจะไดรับความคุมครองจากรัฐตาม มาตรฐานเดียวกันกับประเทศอ่ืน ๆ ซ่ึงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได บญั ญตั สิ ิทธมิ นุษยชนขน้ั พื้นฐานไว เพอื่ ปกปองคมุ ครองประชาชนทุกคนมิใหถ กู ละเมิดสิทธิและรักษา สิทธขิ องตนได ผลการเรยี นรูท่ีคาดหวงั 1. อธิบายที่มาของแนวคดิ เรื่องสิทธิมนุษยชนได 2. อธบิ ายหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนสากลได 3. ยกตัวอยา งแนวทางในการคุม ครองตนเองและผูอ่ืนตามหลกั สทิ ธิมนุษยชนได ขอบขายเนือ้ หา เรือ่ งท่ี 1 กําเนดิ และหลกั สิทธมิ นษุ ยชน เรื่องที่ 2 การคมุ ครองตนเองและผูอ่ืนตามหลักสิทธิมนษุ ยชน สอื่ ประกอบการเรียนรู 1. คอมพวิ เตอรอ นิ เทอรเ นต็ 2. เอกสารสทิ ธมิ นษุ ยชนสากล 3. บทความทางวิชาการ
148
149 เรือ่ งที่ 1 กําเนดิ และหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน (Human Rights) 1.1 ความเปนมาของสิทธิมนุษยชน สิทธมิ นุษยชน คอื อะไร ไดม ผี ใู หค วามหมายของสิทธมิ นษุ ยชนไววา หมายถึง สทิ ธิตา ง ๆ ที่แสดงถึงคุณคาแหงความ เปน มนษุ ย หากสทิ ธิมนุษยชน หมายถึง สิทธิตาง ๆ ท่ีแสดงถึงคุณคาความเปนมนุษยแลวแตในสภาพ ขอ เทจ็ จรงิ ทางสังคมมนุษยกลับมิไดรับสิทธิหรือการปฏิบัติท่ีแสดงถึงคุณคาความเปนมนุษย จึงเกิด พฒั นาการในเรอื่ งสทิ ธมิ นุษยชนขน้ึ ความตื่นตวั ในเรือ่ ง สิทธมิ นุษยชน โดยเฉพาะในประเทศท่ีปกครองในระบอบประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชนมีที่มาอยางไร วไล ณ ปอมเพชร. http:/www.action4change.com/ เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2553 ไดศึกษาคนควาและเรยี บเรยี งถึงความเปนมาของสิทธิมนษุ ยชน ไวว า สิทธิมนุษยชน ไดม ีพฒั นาการมาจาก ความพยายามของมนุษยที่จะใหศักดิ์ศรีของมนุษยชน ไดรบั การเคารพ และจากการตอสู เพ่ือเสรภี าพ และความเสมอภาคท่ีเกิดข้ึนในดินแดนตาง ๆ ทั่วโลก แนวความคิดเรื่องสิทธิมนุษยชน เกิดจากบรรดานักคิดที่มาจากหลากหลายประเพณีทางวัฒนธรรม และศาสนา ตอมาผูบริหารประเทศและนักกฎหมายตางก็มีบทบาทในการสงเสริมแนวความคิด ดังกลาว และรางข้ึนเปนเอกสารที่ใชปกปองสิทธิของบุคคลและคอย ๆ กลายเปนบทบัญญัติและ รัฐธรรมนญู ของชาติตาง ๆ ในชวงปลายสงครามโลกคร้ังที่ 2 มีการดําเนินการจัดต้ังองคการสหประชาชาติขึ้นบรรดา ผนู ําของประเทศสมาชกิ ดง้ั เดมิ 50 ประเทศไดรวมลงนามในกฎบัตรสหประชาชาติ (The Charter of the United Nations) เมือ่ วนั ท่ี 26 มถิ นุ ายน ค.ศ. 1945 (พ.ศ. 2488) ซ่งึ ประกาศเปาหมายหลักของ องคการสหประชาชาติ ซึ่งไดถือกําเนิดข้ึนอยางเปนทางการ ในวันท่ี 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945 (พ.ศ. 2488) วา “เพ่ือปกปองคนรุนตอไปจากภยั พบิ ัตสิ งคราม และเพ่อื ยืนยนั ความศรัทธาในสิทธิมนุษยชน ข้ันพ้ืนฐานในศักด์ิศรีและคุณคาของมนุษยและในสิทธิอันเทาเทียมกันของบุรุษและสตรี” มาตรา 1 ของกฎบัตรสหประชาชาติ ระบวุ า จดุ มงุ หมายประการหน่งึ ของสหประชาชาติ คือ “เพ่ือบรรลุความ รว มมือระหวางชาติ ในการสงเสริมและสนบั สนุนใหมกี ารเคารพสิทธิมนุษยชนและเสรภี าพขัน้ พื้นฐาน สาํ หรบั มนษุ ยทกุ คน โดยไมค ํานึงถงึ เช้อื ชาติ เพศ ภาษา หรอื ศาสนา”
150 ดวยเหตุท่ีกฎบัตรสหประชาชาติ เปนสนธิสัญญาท่ีบรรดาประเทศสมาชิกองคการ สหประชาชาตริ วมลงนาม จงึ ถอื วา มีขอผูกพันทางกฎหมายทีบ่ รรดาสมาชกิ จะตอ งปฏิบัติตามรวมถึง การสงเสริมสิทธิมนุษยชนและการรวมมือกับสหประชาชาติตลอดจนนานาประเทศ เพ่ือใหบรรลุ วัตถุประสงคท่ีบัญญัติไวในกฎบัตร อยางไรก็ตาม กฎบัตรสหประชาชาติมิไดมีรายละเอียดเกี่ยวกับ สทิ ธมิ นษุ ยชนโดยตรงหรอื กลไกท่ีจะชว ยใหประเทศสมาชกิ ปกปอ งสทิ ธิมนุษยชน คร้นั ป ค.ศ.1945 (พ.ศ. 2488) องคการสหประชาชาติ ไดจัดต้งั คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน (Committee on Hunan Rights) ข้ึน มีหนาที่รางกฎเกณฑระหวางประเทศเกี่ยวกับเร่ืองสิทธิมนุษยชน จึงเกิดปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิ มนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ซ่ึงสหประชาชาตไิ ดมีมติรับรอง เมื่อวันท่ี 10 ธนั วาคม ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) ปฏิญญาสากลวา ดวยสิทธมิ นุษยชน ซ่ึงบรรดาประเทศสมาชิกองคการสหประชาชาติไดรวม รับรอง เมื่อ ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) ถือเปนมาตรฐานในการปฏิบัติตอกันของมวลมนุษย และของ บรรดานานาชาติ ถงึ แมว าปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนษุ ยชน จะมไิ ดม ผี ลบังคับทางกฎหมายเชนเดียวกับ สนธสิ ญั ญา อนสุ ญั ญา หรือขอตกลงระหวางประเทศ แตปฏิญญาสากลฉบับนี้ นับวามีพลังสําคัญทาง ศลี ธรรม จริยธรรม และมอี ทิ ธิพลทางการเมืองไปท่ัวโลก และถือเปนหลักเกณฑสําคัญในการปฏิบัติ เก่ียวกบั สิทธิมนุษยชนท่บี รรดาประเทศทว่ั โลกยอมรบั ขอ ความในปฏญิ ญาสากลวา ดว ยสทิ ธมิ นุษยชน เปน พ้ืนฐานในการดาํ เนนิ งานขององคการสหประชาชาติ และมีอิทธิพลสําคัญตอการรางรัฐธรรมนูญ ของบรรดาประเทศท่ีมกี ารรา งรฐั ธรรมนญู ในเวลาตอ มา โดยเฉพาะอยางยงิ่ บรรดาประเทศอาณานคิ ม ไดอางปฏญิ ญาสากลวาดวยสิทธิมนษุ ยชน ในการประกาศอสิ รภาพ ชวง ค.ศ. 1950 ถึง 1960 (พ.ศ. 2493 - 2503) และหลายประเทศนําขอความในปฏิญญาสากลมาใชในการรางรัฐธรรมนูญของตน รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ก็มีขอความที่สอดคลองกับปฏิญญาสากลฯ เชน ใน มาตรา 4 วา : “ศักด์ิศรคี วามเปน มนษุ ยส ิทธิและเสรีภาพของบคุ คลยอมไดร บั ความคุมครอง” เมือ่ สหประชาชาติ มีมติรบั รองปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน องคการสหประชาชาติ ประกอบดวย ประเทศสมาชิกเพียง 58 ประเทศ จากน้ันมาจํานวนประเทศสมาชิกเพิ่มข้ึน จนมี จํานวนเกินกวาสามเทาของสมาชิกเดิม อทิ ธิพลของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ขยายมากขึ้น จนเปนท่ียอมรับในระดับสากล และเปนท่ีอางอิงถึงเม่ือมีปญหาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศ ท้ังหลายทั่วโลก เมื่อพิจารณาดูมาตราตาง ๆ ของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน จะเห็นวา มาตราแรกแสดงถงึ ความเปนสากลของสทิ ธิมนษุ ยชน โดยกลา วถงึ ความเทาเทียมกันของศักดิ์ศรีและ สิทธิของมนษุ ยทุกคน ปรากฏในคําปรารภ ซึ่งเร่ิมดวยขอความที่เนนการยอมรับ“ศักด์ิศรีประจําตัว และสทิ ธิซ่ึงเทา เทยี มกนั และไมอาจโอนใหแ กกันไดของสมาชิกทงั้ มวล ของครอบครัวมนษุ ย”
151 สิทธิทร่ี ะบุไวในปฏญิ ญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนจําแนกออกไดอยางกวาง ๆ 2 ประเภท คอื ประเภทแรก เกย่ี วกับสทิ ธขิ องพลเมอื งและสิทธิทางการเมือง ซึ่งรวมถึงสิทธิในชีวิตเสรีภาพและ ความมนั่ คงของบุคคล อิสรภาพจากความเปน ทาสและการถูกทรมาน ความเสมอภาคในทางกฎหมาย การคมุ ครองเมือ่ ถกู จับกกั ขัง หรือเนรเทศ สิทธทิ ี่จะไดรับการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม การมีสวนรวม ทางการเมอื ง สทิ ธิในการสมรส และการตั้งครอบครัว เสรีภาพขั้นพ้ืนฐานในทางความคิด มโนธรรม และศาสนา การแสดงความคิดเห็น และการแสดงออก เสรีภาพในการชมุ นุม และเขารวมสมาคม อยางสนั ติสิทธิ ในการมสี วนในรฐั บาลของประเทศตน โดยทางตรงหรือโดยการสงผูแทน ที่ไดรับการ เลอื กตั้งอยางเสรี สวนสทิ ธิ ประเภทที่สอง คอื สทิ ธิทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งครอบคลุม ถงึ สทิ ธิในการทาํ งานการ ไดร บั คาตอบแทนเทา กันสําหรับงานท่ีเทากัน สิทธิในการกอต้ังและเขารวม สหภาพแรงงาน สทิ ธใิ นมาตรฐานการครองชีพที่เหมาะสม สิทธใิ นการศึกษา และสิทธิในการเขารวม ใชชวี ติ ทางวัฒนธรรมอยา งเสรี ลักษณะเฉพาะของสิทธิมนุษยชนท่ีระบุไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน มี ดังตอไปนี้ 1. เปน สทิ ธิทตี่ ิดตวั มากบั มนษุ ย (Inherent) เมอื่ คนเกิดมาจะมสี ิทธิมนุษยชนติดตัวมาดวย เพราะมคี วามเปน มนษุ ย ดังนน้ั สิทธิมนษุ ยชน จงึ เปน สทิ ธิท่ตี ดิ ตัวแตล ะคนมา ไมมีการให หรือซอ้ื หรือสืบทอดมา 2. เปนสทิ ธทิ เี่ ปนสากล (Universal) คอื เปนสิทธขิ องมนุษยท กุ คนเหมอื นกัน ไมว า จะมี เชื้อชาติ เพศ หรอื นับถือศาสนาใด ไมวาจะเปนผูที่มาจากพ้ืนฐานทางสังคมหรือการเมือง อยางใด มนุษยทกุ คนเกิดมามีอิสรเสรี มคี วามเทา เทียมกนั ในศักดิศ์ รีและสิทธิ 3. เปนสิทธิที่ไมอาจถายโอนใหแกกันได (Inalienable) คือ ไมมีใครจะมาแยงชิงเอา สทิ ธมิ นษุ ยชนไปจากบุคคลใดบุคคลหนึ่งได ถึงแมวากฎหมายของประเทศจะไมยอม รับรองสิทธิมนษุ ยชน หรือแมว าจะละเมิดสิทธมิ นษุ ยชนก็ตาม ประชาชนของประเทศนนั้ ก็ยังมีสิทธิมนุษยชนอยู ตัวอยาง เชน ในสมัยคาทาส ทาสทุกคนมีสิทธิมนุษยชน ถึงแมวาสทิ ธิเหลาน้ันจะถกู ละเมดิ ก็ตาม 4. เปนสิทธิที่ไมถูกแยกออกจากกัน (Indivisible) กลาวคือ เพ่ือที่จะมีชีวิตอยูอยางมี ศักดิ์ศรี มนุษยทุกคนยอมมีสิทธิที่จะมีเสรีภาพ มีความมั่นคง และมีมาตรฐานการ ดาํ รงชีวติ ท่ีเหมาะสมกับความเปน มนษุ ย ดงั นัน้ สิทธิตา ง ๆ ของมนษุ ยชนจะตอ งไมถูก แยกออกจากกนั
152 ตอมา หลักการของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ไดมีการแปลเจตนาและขยาย ขอความใหละเอียดยิ่งข้ึนดวยการรางเปนกติการะหวางประเทศท่ีมีผลบังคับทางกฎหมายและ สหประชาชาติ มีมติรบั รอง เมอ่ื วนั ที่ 16 ธนั วาคม ค.ศ. 1966 (พ.ศ. 2509) คอื กตกิ าระหวางประเทศ วาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) การทีส่ หประชาชาติ มีมตริ ับรองกติการะหวางประเทศดงั กลา วนี้ ทําใหบรรดานานา ประเทศสมาชกิ ขององคการสหประชาชาติไมเ พยี งแตเหน็ ชอบดว ยกับสิทธติ า ง ๆ ทีร่ ะบุไวในปฏิญญา สากลวาดวยสิทธิมนุษยชน แตยังถือเปนมาตรการในการปฏิบัติตามดวย หมายความวา บรรดา ประเทศที่ใหสตั ยาบรรณ (Ratify) หรือ รับรองกติการะหวางประเทศดังกลาว จะตองปฏิบัติตาม ขอความในกติการะหวางประเทศ มีขอผูกพันท่ีจะตองเคารพ และปฏิบัติตามเง่ือนไขของกติกา ระหวางประเทศ และรวมไปถึงตองสงรายงานการปฏิบัติตามกติการะหวางประเทศใหแก สหประชาชาติเปนประจาํ ดว ย เม่อื กตกิ าระหวางประเทศท้งั สองฉบบั มีผลในการบังคับใช ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) ไดเขาเปนภาคีจนปจ จบุ นั นับได 134 ประเทศ นอกจากกติการะหวางประเทศทั้งสองฉบับที่กลาวมาแลวน้ียังมีอนุสัญญา (Conventions) คําประกาศ (Declarations) ขอเสนอแนะ (Recommendations) ท่ีเกี่ยวกับรายละเอียดของสิทธิ มนษุ ยชนตามเจตนารมณของปฏิญญาสากลวา ดวยสทิ ธิมนษุ ยชนและกตกิ าระหวา งประเทศท้ังสองฉบับ คําประกาศและขอเสนอแนะ คือ เปนมาตรฐานสากลสําหรับบรรดาประเทศสมาชิกขององคการ สหประชาชาติ แตไมมีผลผูกพันทางกฎหมายเชนเดียวกับอนุสัญญา ซึ่งมีผลบังคับใหประเทศที่เปน ภาคีของอนสุ ัญญาตองปฏบิ ตั ติ าม ตัวอยา งของอนุสญั ญาวา ดว ยสทิ ธมิ นุษยชน เชน อนุสญั ญาวาดวย สิทธิเด็ก (Convention on The Rights of the Child) อนุสญั ญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติ สตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of all Forms of Discrimination Against Women) อนสุ ญั ญาวา ดว ยสทิ ธิเดก็ มีผลบงั คบั ใชเ ม่ือวันท่ี 2 กันยายน ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2523) ท่ีไดมี มติรับรองของสมชั ชาสหประชาชาติ เมื่อวันท่ี 20 พฤศจกิ ายน ค.ศ. 1987 (พ.ศ. 2520) ปจจุบันน้ีประเทศ สมาชกิ องคก ารสหประชาชาตกิ วา 180 ประเทศ ใหสัตยาบรรณรับรองอนสุ ญั ญาดงั กลาว และบรรดา ประเทศภาคีของอนุสัญญาวา ดวยสิทธิเด็กตางก็หาวิถีทางท่ีจะปฏิบัติตามขอผูกมัดของอนุสัญญา โดย ถอื วา เดก็ เปนผูทจี่ ะตอ งไดรับการดูแลปกปอง และเนนถึงความสําคัญของชีวติ ครอบครวั ของเดก็ ดว ย (โปรดดรู ายละเอียดในอนุสัญญาวาดว ยสิทธิเดก็ ในภาคผนวก) อนสุ ญั ญาวาดวยการขจัด การเลอื กปฏิบัติตอสตรีในทกุ รปู แบบ ไดร บั การรบั รองจากสมัชชา สหประชาชาติ เมอ่ื วนั ท่ี 18 ธนั วาคม ค.ศ. 1979 (พ.ศ. 2522) และมผี ลบังคับใชในวันท่ี 2 กันยายน ค.ศ. 1987 (พ.ศ. 2530) ในปจจุบันประเทศภาคีของอนุสัญญาดังกลาวนับไดกวา 150 ประเทศจุดประสงคของ อนุสัญญาฉบับนี้ คือ ความเสมอภาคระหวางชายและหญิง และเพ่ือปองกันการเลือกปฏิบัติตอสตรี
153 โดยเฉพาะอยางยิ่ง การเลือกปฏิบัติในรูปแบบของการบังคับใหแตงงาน ความรุนแรงในครอบครัว โอกาสในการศกึ ษา การดแู ลดานสาธารณสขุ ตลอดจนการเลอื กปฏบิ ตั ิในสถานทีท่ าํ งาน ทก่ี ลา วมาทั้งหมดนี้ เปน ความเปน มาของสิทธมิ นษุ ยชนสากล ความเปน “สากล” เร่มิ เห็นได ชัดเจนจากปฏญิ ญาสากลวาดวยสทิ ธมิ นษุ ยชน ซึ่งเปนมาตรฐานระดับนานาชาติท่เี กย่ี วกบั การปกปอ ง ศกั ดศ์ิ รี และสทิ ธมิ นษุ ยชน ตอ มาจึงเกิดกตกิ าสญั ญาระหวา งชาติ ตลอดจน อนสุ ัญญาฉบับตา ง ๆ ซ่งึ มี ขอผูกพันในทางกฎหมายที่จะตองปฏิบัติตามบทบัญญัติในกติการะหวางประเทศ และอนุสัญญา ทแ่ี ตล ะประเทศไดเ ขารวมเปน ภาคี ความเปน “สากล” ของปฏญิ ญาสากลวา ดว ยสิทธิมนุษยชน แสดงไวอ ยา งชัดเจนในปฏญิ ญา ขอท่ี 1 ซึ่งเนน ถงึ ความเทา เทียมกนั ของศักดศ์ิ รี และสทิ ธขิ องมนุษยทุกคน และในขอที่ 2 ซ่ึงกลาวถึง ความชอบธรรมของมนุษยทุกคนในสิทธิและเสรีภาพท่ีระบุไวในปฏิญญาสากล โดยไมมีการจําแนก ความแตกตา งในเร่ืองใดทัง้ สน้ิ สหประชาชาตแิ ละองคกรตา ง ๆ ในระบบของสหประชาชาติ เชน ยูเนสโก และยูนิเซฟ เปนตน ไดหาวิถีทางท่ีจะใหบรรดาประเทศสมาชิกปฏิบัติตามมาตรฐานสากลแหงสิทธิมนุษยชน แตความ พยายามตาง ๆ ยอมไรผล ถาปราศจากความรวมมือของแตละประเทศ สําหรับประเทศไทยสิทธิ มนษุ ยชน หมายความถึง ศักดศ์ิ รคี วามเปน มนุษย ความเสมอภาค เสรีภาพ และอิสรภาพในชีวิตและ รางกาย ซึ่งเปนสิทธิตามธรรมชาติของมนุษยและเปนสิทธิที่ไดรับการรับรอง หรือคุมครองตาม บทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540) กฎหมายที่เกี่ยวของและตามหลักสากล วาดวยสิทธมิ นษุ ยชน ตลอดจนแนวปฏิบตั ขิ องกฎหมายระหวา งประเทศ และขอตกลงระหวา งประเทศ ท่ปี ระเทศไทยมพี นั ธกรณี ทจี่ ะตองปฏิบตั ติ าม แตกระน้ันก็ตามสทิ ธิมนษุ ยชน ก็ยงั มีการละเมิดกนั อยู โดยทั่วไปในสงั คมไทย และถาหากไมหาทางปองกันและแกไข แนวโนมของการละเมิดก็จะทวีความ รนุ แรงขนึ้ ยากแกการแกไข และยังทําลายชือ่ เสียง เกียรตภิ มู ิ และภาพพจนข องประเทศดวย อยา งไร- กต็ าม ถาคนไทยเขาใจความหมายของสทิ ธิมนษุ ยชนอยางถูกตอง ถาเรายอมรับวา มนษุ ยทุกคนเกิดมา มเี สรภี าพ และมคี วามเสมอภาคในศักดิศ์ รีและสิทธิ และถามกี ารปฏบิ ัติตอกนั ดว ยความรักและเคารพ ในศักดศ์ิ รีของกันและกันฉันทพี่นอง คนในสังคมไทยท่ีมีความแตกตางหลากหลาย ก็จะสามารถอยู รว มกนั ไดอ ยา งสนั ตสิ ุข ปราศจากการเบยี ดเบยี น และละเมิดสิทธขิ องกันและกัน 1.2 พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย นพนิธิ สุริยะ http://gotoknow.org/blog/works-of-archannop/51974 ไดศึกษาพัฒนาการ ของสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ไวว า ภายหลงั การเปลีย่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาสูระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตย เมื่อ พ.ศ. 2475 มีรัฐธรรมนูญฉบบั แรก คือ พระราชบญั ญัติธรรมนูญการ
154 ปกครองแผนดนิ สยามชัว่ คราว พ.ศ. 2475 แมธรรมนูญการปกครองฉบับแรกของไทย จะมิไดกลาวถึง หรอื รับรองสิทธิเสรีภาพ ตลอดจนสทิ ธมิ นษุ ยชนเลย แตจากคําประกาศของคณะราษฎรทป่ี ระกาศวา 1. ตองรักษาความเปนเอกราชทั้งหลาย ไดแก เอกราชในทางการเมือง การศาล การเศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศใหม่ันคง 2. ตองรกั ษาความปลอดภัยภายในประเทศใหการประทษุ รา ยตอกันลดนอ ยลงใหม าก 3. ตองบาํ รุงความสขุ สมบูรณในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหมจะจัดหางานใหทุกคนทํา และจะตอ งวางโครงการเศรษฐกจิ แหง ชาติ ไมละเลยใหราษฎรอดอยาก 4. ตองใหราษฎรมสี ิทธเิ สมอภาค 5. ตองใหราษฎรมอี สิ รภาพ มคี วามเปน อสิ ระ เมอื่ เสรภี าพนไ้ี มข ัดหลกั ดงั กลา วขา งตน การไดนําหลักการของสิทธิมนุษยชนไปใชในทางปฏิบัติ และระบุรับรองใหราษฎรมีสิทธิ เสมอภาคกนั แสดงใหเหน็ การตระหนกั ถึงความสําคัญของเร่ืองดังกลาว จึงวิเคราะหไดวา เปาหมาย ของการเปล่ยี นแปลงการปกครองไปสรู ะบอบประชาธปิ ไตยโดยคณะราษฎร เปนจุดเร่ิมตนของความ เคลื่อนไหวในดานสทิ ธิมนุษยชนในประเทศไทยอยางชัดเจน และเปนรปู ธรรมครั้งแรก รัฐธรรมนูญฉบบั ท่ี 2 ของไทย คอื รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 ไดปรากฏ บทบัญญตั ิที่ใหการรับรองสิทธิเสรภี าพแกป ระชาชนชาวไทยไวใ นหมวดท่ี 2 วา ดว ยสทิ ธแิ ละหนา ที่ของ ชนชาวสยาม ซ่งึ มีสาระสําคญั ใหก ารรับรองหลกั ความเสมอหนา กันในกฎหมาย เสรีภาพในการนับถือ ศาสนา เสรภี าพในรางกาย เคหสถาน ทรัพยส ิน การพดู การเขียน การโฆษณา การศึกษาอบรม การ ประชุม การตั้งสมาคม และการอาชีพ โดยบทบัญญัติดังกลาว ถือเปนการใหค วามรับรองสิทธิและ เสรภี าพของประชาชนอยางเปนทางการในรฐั ธรรมนญู เปนคร้ังแรก ขณะเดียวกันนั้น สยามประเทศไดมีการปรับปรุงแกไขกฎหมายและระบบกระบวนการ ยุตธิ รรม เพื่อใหท ดั เทียมนานาอารยประเทศ และเปนทีย่ อมรับของรฐั ตา งชาติดวย ความมงุ หมายทจี่ ะ เรยี กรองเอกราชทางการศาลกลับคืนมาเปนของไทย แนวความคิดในการคุมครองสิทธมิ นุษยชนจึง ปรากฏอยใู นกฎหมายหลายฉบับ อีกท้ังมีความพยายามสรางกลไกคุมครองสิทธิมนุษยชนไวโดยตรง และโดยออมผานทางสถาบันตุลาการดวย โดยเฉพาะอยางย่ิงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา พ.ศ. 2477 มบี ทบญั ญตั ิทใ่ี หก ารรับรองและคุมครองสิทธิของผูตองหาและจําเลยในคดีอาญา ซ่ึงแตกตา งจากระบบจารีตนครบาลท่ีมีมาแตเ ดมิ อยา งสน้ิ เชงิ ตอมา วนั ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 มีการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2489 เปน รัฐธรรมนญู ฉบับท่ี 3 และเปน ครั้งแรกที่มีการบญั ญตั ริ บั รองสทิ ธขิ องประชาชนในการเสนอ เรอ่ื งราวรองทกุ ข และเสรีภาพในการจัดต้งั คณะพรรคการเมืองในรัฐธรรมนูญ สวนเสรีภาพในการประชุม โดยเปด เผย ในรัฐธรรมนญู ฉบับกอ นไดเ ปล่ียนเปน เสรภี าพในการชุมนุมสาธารณะ
155 ในระหวางท่ีรัฐธรรมนูญ ฉบับท่ี 4 มีผลใชบังคับป พ.ศ. 2490 ปรากฏกระแสที่สําคัญ คือ เกิดการรวมตวั ของกรรมกร ในชื่อวา “สหอาชวี ะกรรมกรแหงประเทศไทย” ซึง่ เปนการรวมตวั กนั ของ กรรมกรจากกจิ การสาขาตา ง ๆ เชน โรงเลื่อย โรงสี รถไฟ เปนตน เนื่องจากกรรมกรเหลานี้ถูกกดขี่ คาจางแรงงานอยางมาก อันเปนผลมาจากการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมอยา งรวดเร็ว ภายหลัง สงครามโลกครัง้ ท่ี 2 กระแสความเคลอื่ นไหวที่เกิดขึ้น เปน การรวมตัวกนั เพอ่ื เรยี กรอ งตอสังคมและรฐั ใหสนองความตอ งการท่ีจาํ เปน ของตน ทาํ ใหสงั คมตระหนักถงึ สทิ ธเิ สรีภาพและสิทธิมนุษยชนอันเปน การแสดงออกถึงการคุมครองสทิ ธิมนุษยชนอีกรปู แบบหนง่ึ ที่เกิดจากการกระทําของเอกชนดวย ใน ป พ.ศ. 2491 สหประชาชาติ ไดประกาศใชปฏญิ ญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948 อันเปน ชวงเวลาทปี่ ระเทศไทยกาํ ลังรา งรฐั ธรรมนญู ฉบับท่ี 5 รัฐธรรมนูญฉบับท่ี 5 คอื รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492 จงึ ไดร ับอทิ ธิพลจากการประกาศใชป ฏิญญาสากลของสหประชาชาติมี บทบัญญัตทิ ใ่ี หก ารรับรองสิทธิและเสรีภาพเปนจาํ นวนมาก และละเอยี ดกวารัฐธรรมฉบับกอ น ๆ หลกั การในปฏิญญาสากลวา ดว ยสิทธิมนษุ ยชน ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) ท่ีไดร ับการบรรจุลง ไวใ นรัฐธรรมนูญฉบบั ท่ี 5 นอกเหนือจากสทิ ธทิ ่เี คยรับรองไวในรัฐธรรมนูญฉบับกอน ๆ ไดแก หลักการ ไดร ับความคมุ ครองอยา งเสมอภาคกนั ตามรัฐธรรมนญู ท้งั นี้ ไมวา บุคคลน้ันจะมีกําเนิดหรือนบั ถือ ศาสนาแตกตา งกันกต็ าม (มาตรา 26) สิทธิของประชาชนที่ไมถ ูกเกณฑแ รงงาน ท้ังน้ี เวน แตในกรณีที่ เปนการปองกนั ภยั พบิ ตั สิ าธารณะ ซ่งึ เกิดขน้ึ โดยฉกุ เฉนิ เฉพาะเวลาที่ประเทศอยูในภาวะการรบ หรือ ภาวะสงคราม หรือในสถานการณฉุกเฉินเทาน้ัน (มาตรา 32) เสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทาง ไปรษณียห รือทางอ่นื ท่ชี อบดว ยกฎหมาย (มาตรา 40) เสรีภาพในการเลอื กถน่ิ ทีอ่ ยู และการประกอบ อาชพี (มาตรา 41) สิทธิของบคุ คลทีจ่ ะไดรับความคุมครองในครอบครัวของตน (มาตรา43) ตลอดจน การใหก ารรบั รองแกบ คุ คล ซ่งึ เปนทหาร ตํารวจ ขาราชการประจําอ่ืน และพนักงานเทศบาลท่ีจะมี สทิ ธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ เหมือนดังพลเมืองคนอ่ืน ๆ (มาตรา 42) ปรากฏการณท่ีสําคัญอีก ประการ คือ มกี ารนําเอาสิทธใิ นกระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญามาบญั ญัตริ บั รองไวในรฐั ธรรมนญู เชน หลักท่วี า “บุคคลจะไมตองรบั โทษทางอาญา เวนแตจะไดกระทําการอนั กฎหมายซง่ึ ใช อยูในเวลาที่กระทํานั้น บัญญตั ิเปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษท่ีจะลงแก บุคคลน้ันจะหนักกวาโทษทีก่ ําหนดไวในกฎหมายซึ่งใชอยใู นเวลาที่กระทําความผิด มิได” (มาตรา 29) ซึง่ เปนหลกั พนื้ ฐานทส่ี ําคญั ในการดําเนินคดีอาญาและไดรับการ บญั ญัติในรัฐธรรมนูญฉบบั ตอมาจนถงึ ปจจุบนั หลักความคมุ ครองผูตอ งหาและจําเลยทีจ่ ะไดรบั การสนั นิษฐานไวก อ นวา ไมม คี วามผิด กอนที่จะมีคําพิพากษาอันถึงท่ีสุด รวมถึงสิทธิที่จะไดรับการพิจารณาในการประกัน และการเรยี กหลักประกนั พอสมควรแกก รณีดว ย (มาตรา 30) และ
156 สิทธิที่จะไมถ ูกจับกมุ คุมขงั หรือตรวจคน ตวั บคุ คลไมวา กรณีใด ๆ เวนแตจ ะมีกฎหมาย บัญญตั ไิ วใ หส ามารถกระทาํ ได (มาตรา 31) นอกจากน้แี ลว การกาํ หนดแนวนโยบายแหงรฐั ไวใ นหมวด 5 อนั เปน หมวดที่วาดวยแนวทาง สําหรับการตรากฎหมายและการบรหิ ารราชการตามนโยบาย ซึง่ แมจ ะไมก อใหเกิดสิทธิในการฟองรองรัฐ หากรฐั ไมปฏิบัติตาม แตกเ็ ปนการกําหนดหนาที่แกรัฐ ซ่ึงมีความเก่ียวพันกับการสงเสริมและพัฒนา หลักสทิ ธมิ นษุ ยชนในรัฐธรรมนญู ฉบับตอ ๆ มา ในทางปฏบิ ัติสทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศไทยไดรับการรับรองคุมครองอยางจริงจังเพยี งใดน้ัน ขึน้ อยูกบั สถานการณบานเมืองสภาพเศรษฐกิจสังคม ตลอดจนทัศนคติของผูปกครอง เจาหนาท่ีรัฐ และประชาชน ผูเปนเจาของสิทธนิ ั่นเอง เพราะตอ มาธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พ.ศ. 2502 รฐั ธรรมนูญฉบบั ที่ 7 ไมป รากฏบทบญั ญัตริ ับรองสิทธิเสรภี าพแตอ ยางใด และการประกาศใชธ รรมนูญ การปกครองราชอาณาจักร พุทธศกั ราช 2515 เมอ่ื วันที่ 15 ธนั วาคม 2515 ชวงรัฐบาลเผด็จการไมมี บทบัญญตั ิมาตราใดท่ใี หก ารรับรองสทิ ธิและเสรภี าพแกป ระชาชนชาวไทยเลย จนกระท่งั ภายหลังเกิด เหตุการณเ รียกรองประชาธิปไตยโดยนิสติ นักศึกษา เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2516 จึงมีการประกาศใช รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517 เมื่อวันท่ี 7 ตุลาคม 2517 ซึ่งไดรับการยอมรับวาเปน รฐั ธรรมนูญฉบับที่ดีท่ีสุดและเปนประชาธิปไตยมากที่สุด มีบทบัญญัติคลายคลึงกับรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 และมีการวางหลักการใหมในการใหความคุม ครองสิทธิและ เสรีภาพของประชาชนมากยิ่งขึ้น ทั้งในดานท่ีมีการจํากัดอํานาจรัฐท่ีจะเขามาแทรกแซงอันมี ผลกระทบตอสิทธิและเสรภี าพของประชาชน และในดานการเพ่ิมหนาที่ใหแกรัฐในการใหบริการแก ประชาชนใหมีคณุ ภาพชีวิตทด่ี ขี ้นึ เชน ชายและหญงิ มีสิทธิเทาเทียมกัน (มาตรา 28) สิทธิทางการเมือง ในการใชสิทธเิ ลือกต้ังและสทิ ธอิ อกเสียงประชามติ (มาตรา 29) สทิ ธทิ ี่จะไมถกู ปด โรงพมิ พหรอื หามทํา การพิมพเวนแตม คี ําพพิ ากษาถงึ ทสี่ ุดใหป ดโรงพิมพหรอื หามทําการพิมพ (มาตรา 40) เสรีภาพในทาง วิชาการ (มาตรา 42) การกําหนดใหพรรคการเมือง ตองแสดงท่ีมาของรายไดและการใชจายโดย เปด เผย (มาตรา 45) และเสรีภาพในการเดินทางภายในราชอาณาจักร (มาตรา 47) นอกจากน้ีแลว สิทธิในทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของผูตองหาและจําเลยยังไดรับการบัญญัติรับรองไวใน รัฐธรรมนญู ฉบับน้ีดว ย ไดแก สทิ ธิทจี่ ะไดรบั การสอบสวนหรือพจิ ารณาคดีดวยความรวดเร็วและเปน ธรรมสทิ ธิท่ีจะไดร บั การชวยเหลอื จากรฐั ในการจัดหาทนายความ (มาตรา 34) สิทธิที่จะไมใหถอยคํา เปนปฏิปกษตอตนเอง อันจะทําใหตนถูกฟองเปนคดีอาญาและถอยคําของบุคคลที่เกิดจากการถูก ทรมาน ขูเ ขญ็ หรือใชก ําลังบังคับหรอื การกระทําใด ๆ ทท่ี ําใหถ อ ยคําน้ันเปน ไปโดยไมสมัครใจ ไมอ าจ
157 รบั ฟง เปน พยานหลกั ฐานได (มาตรา35) และสิทธิที่จะไดคาทดแทนหากปรากฏในภายหลังวาบุคคล นัน้ มไิ ดเปน ผกู ระทําความผิด (มาตรา 36) เม่ือวันที่ 22 ตุลาคม 2519 ประเทศไทยไดประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519 เปนรฐั ธรรมนูญฉบับที่ 11 ซ่ึงมีบทบัญญัติรับรองสิทธิและเสรีภาพไวเพียงมาตราเดียว คือ มาตรา 8 ซ่ึงบัญญัติวา “บุคคลมีสิทธิและเสรีภาพภายใตบทบัญญัติแหงกฎหมาย” นับวาเปน บทบัญญัติที่ใหสิทธิเสรีภาพกวางขวางมาก แตไมมีการกําหนดวาเปนสิทธิเสรีภาพชนิดใด ตอมา เม่ือวันที่ 9 พฤศจิกายน 2520 มีการประกาศใชร ัฐธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ.2520 เปน รฐั ธรรมนูญฉบบั ท่ี 12 ซงึ่ ไมม บี ทบัญญตั ิใดเลยทีใ่ หก ารรับรองสิทธิและเสรภี าพแกป ระชาชน รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2521 ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญฉบับท่ี 13 ประกาศใช เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2521 นําบทบัญญัติที่ใหการรับรองสิทธิและเสรีภาพมาบัญญัติไวอ ีกโดยมี สาระสําคัญสวนใหญเหมือนกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 แตตัด บทบัญญตั เิ กยี่ วกับการรับรองความเสมอภาคของชายและหญิง เสรภี าพในทางวิชาการ และเสรีภาพ ในการประกอบอาชพี ออกไป ภายหลังจากหัวหนารักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ ไดกระทําการยึด และควบคุมการ ปกครองประเทศไวเ ปนผลสําเรจ็ เมื่อวันท่ี 23 กุมภาพนั ธ 2534 และประกาศยกเลิก รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2521 แลวไดป ระกาศใช ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2524 แทนโดยใหไว เมื่อวันท่ี 1 มีนาคม 2534 ซ่ึงไมปรากฏมีบทบัญญัติใดเลยที่ใหการรับรองสิทธิ เสรีภาพแกประชาชน ตอมาในป พ.ศ. 2538 ไดมีการแกไขเพ่ิมเติม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 โดยเพมิ่ หมวดท่ี 3 วา ดวยสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย ตามทปี่ ระกาศไวใ นรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทยแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 เม่ือวันที่ 10กุมภาพันธ 2538 ซ่ึง นําเอาบทบัญญัติท่ีใหการรับรองสิทธิเสรีภาพที่เคยบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2517 มาบัญญัติไวอ กี ครง้ั แตไ ดตัดเสรีภาพในทางวชิ าการออกและเพมิ่ บทบญั ญตั ริ บั รอง สทิ ธิในการไดร ับบริการทางสาธารณสขุ ทไ่ี ดมาตรฐาน (มาตรา 41) สิทธใิ นการเสนอเรอ่ื งราวรองทุกข (มาตรา 48) และสิทธิในการรบั ทราบขอมูลหรือขา วสารหนว ยงานราชการ (มาตรา 48 ทวิ) ตลอดระยะเวลาของการพฒั นาแนวความคดิ เก่ยี วกับสทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศไทย แมจะถูก ขัดขวางโดยปญหาการเมืองการปกครองเปนบางเวลา แตการคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยทางออม ปรากฏใหเห็นผานทางกลไกของรัฐ เชน กรณีที่ฝายนิติบัญญัติพิจารณาและออกกฎหมายท่ีไมเปน การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนจนเกินไป การตรวจสอบการทํางานของฝายบริหารโดย ฝายนิตบิ ญั ญัติ การตรวจสอบการทํางานของเจา หนาท่ีฝายปกครองโดยฝายบริหาร เพอ่ื มิใหเจาหนาท่ี ใชอาํ นาจในทางทมี่ ิชอบดวยกฎหมายและเปนการละเมิดสทิ ธขิ องประชาชน การพิจารณาพพิ ากษาคดี
158 ขององคกรตุลาการโดยยึดหลักกฎหมาย เพ่ืออํานวยความยุติธรรมแกประชาชนเหลาน้ี นับวาเปน กลไกการคุม ครองสิทธิมนุษยชน แมจะมิไดมคี วามมุงหมายใหเ ปนผลโดยตรงก็ตาม การดําเนินการขององคกรรัฐ เพื่อคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยตรงปรากฏขึ้นพรอมกับการจัดต้ัง สาํ นักงานคุมครองสทิ ธเิ สรภี าพและผลประโยชนข องประชาชน (สคช.) สังกดั กรมอยั การ เม่ือ พ.ศ. 2525 ซ่ึงปจจุบันไดเปล่ียนช่อื เปน “สํานักงานคุมครองสิทธิและชวยเหลือทาง กฎหมายแกประชาชน (สคช.)” แตการดําเนินงานขององคกรมีขอบเขตจํากัด สืบเน่ืองจากกรอบ อํานาจหนา ท่ขี องพนกั งานอัยการตามกฎหมายตา ง ๆ สว นการดําเนนิ งานขององคก รพัฒนาเอกชนเพ่งิ มีการกอตัวขึ้นอยางเปนทางการภายหลังเกิดเหตุการณวิปโยค 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม2519 องคกรแรกท่ีถูกกอตงั้ เมือ่ พ.ศ. 2519 คอื สหภาพเพื่อสิทธิเสรภี าพของประชาชน และในปเดียวกันน้ัน ก็มกี ารกอตัง้ “กลมุ ประสานงานศาสนาเพ่อื สังคม” (กศส.) หลงั จากนั้นก็มีการรวมตวั กันของบคุ คลทง้ั ในรปู องคกรสมาคม มลู นิธิ คณะกรรมการ คณะทํางาน กลมุ ศูนย สถาบนั ตาง ๆ เพ่ือทําหนาที่ในการ สงเสริมและคุมครองสิทธิเสรีภาพ ตลอดจนสิทธิมนุษยชนในแงตาง ๆ แกประชาชน เชน สิทธิของ จําเลยหรือสิทธิทางการเมือง เปนตน ผูตองหาในกระบวนการยุติธรรมสิทธิของเกษตรกร สิทธิเด็ก สทิ ธิสตรี สทิ ธผิ ใู ชแ รงงานและสทิ ธจิ ากการกาํ เนดิ และความเปน มาของสิทธิมนษุ ยชนในตา งประเทศ และประเทศไทยจนถงึ ปจจบุ ัน สามารถแบง พฒั นาการในเรอ่ื งสิทธิมนุษยชน ไดเปน 3 ระยะ ไดแก ระยะทหี่ นงึ่ ระยะแหง การเรมิ่ ตน เปน ยคุ ที่สภาพทางสงั คม มีการกดข่ีขมเหง ไมเคารพ ตอศักดิ์ศรีประจําตัวของมนุษย มีการเอารัดเอาเปรียบแกงแยง และไมมีกฎหมายหรือกฎเกณฑที่ ชัดเจนในการใหห ลกั ประกันเรอ่ื ง สทิ ธิแกป ระชาชน ระยะที่สอง ระยะแหงการเรียนรู เปนชวงที่ผูคนในสังคมเรียกรองถามหาสิทธิและ เสรภี าพ มีความขัดแยง ระหวางผูป กครองกับกลุม คนในประเทศ มีการตอสูในระยะน้ี เร่ิมมีกฎหมาย หรือกลไกในการคุมครองสิทธิมนุษยชน ผูคนเริ่มเรียนรูถึงสิทธิของตนเอง โดยชวงทายของระยะน้ี ผคู นใหค วามสาํ คัญของสิทธติ นเอง แตอาจละเลย หรือมกี ารละเมดิ สทิ ธแิ ละเสรภี าพของผูอน่ื บา ง ระยะท่ีสาม ระยะแหง การเคารพสทิ ธิมนุษยชน เปนชวงท่ีประชาชนมีการรวมกลุมกัน เพื่อเหตผุ ลในการปกปองและพิทักษสิทธิมนุษยชน มีการรณรงคใหตระหนักถึงการเคารพสิทธิของ ผูอ่ืนการใชอํานาจหรือใชสิทธิ มีการคํานึงถึงสิทธิเสรีภาพของประชาชน การใชสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนเปน ไปอยา งกวางขวาง
159 เร่ืองที่ 2 การคุม ครองตนเองและผอู ืน่ ตามหลักสิทธมิ นุษยชน หากจะกลา วถงึ การคมุ ครองตนเองและผูอืน่ ตามหลกั สทิ ธมิ นุษยชนคําถาม คือ การคุมครอง สทิ ธิมนุษยชนควรเร่มิ จากที่ไหน? หากเราจะหาคําตอบจากกวา งไปหาแคบ ไดแก รัฐบาล สังคม สถานท่ที าํ งาน ครอบครวั และ ปจเจกบคุ คล หากเราจะหาคําตอบจากแคบขยายไปกวางก็ตองเริ่มจากปจเจกบุคคล ครอบครัว สถานท่ี ทาํ งาน สงั คม และรัฐบาล หมายความวา การสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนควรเร่ิมตนกับทุก ๆ ภาคสวน โดยเฉพาะอยางย่งิ การปลกู ฝงมโนธรรมสํานกึ ในแตละปจเจกชน หลกั การพ้นื ฐานในเรอ่ื งสิทธมิ นุษยชนมีดงั น้ี 1. สิทธมิ นษุ ยชนเปน สิทธติ ามธรรมชาตทิ ่มี มี าตั้งแตเกดิ 2. สิทธมิ นุษยชนเปน สทิ ธิซ่ึงเสมอกนั ของมนุษยทุกคน 3. สิทธมิ นุษยชนเปนสิทธขิ ั้นพ้นื ฐานท่ีไมอ าจโอนใหแกกันได 4. สทิ ธมิ นษุ ยชนเปน สิทธขิ น้ั พน้ื ฐานที่ไมอ าจแบงแยกได
160 จากหลกั การพืน้ ฐานในเรือ่ ง สทิ ธมิ นุษยชน เราจึงมองเหน็ เปา หมายของการดําเนินการเรื่อง สิทธมิ นษุ ยชนวา เปา หมายน้ันกค็ อื เพื่อใหม วลมนุษยชาตมิ อี ิสรภาพไดร บั ความเปน ธรรมและอาศยั อยู รว มกันอยา งสันติ หากมนษุ ยท ุกคนจะไดรบั การคุมครองตามสิทธมิ นุษยชน จะตอ งมีเสรีภาพในชวี ติ เร่ืองใดบา ง จึงจะไดรับสิทธิตาง ๆ ตามหลักการพ้ืนฐานของสิทธิมนุษยชน เสรีภาพที่มนุษยทุกคนตองไดรับ เพ่อื ใหไดร บั สิทธติ า ง ๆ ตามหลักการพ้นื ฐานของสทิ ธมิ นษุ ยชน คือ 1. เสรีภาพในการแสดงออก 2. เสรภี าพในความเชอื่ 3. เสรีภาพจากความหวาดกลวั และอสิ รภาพทพี่ ึงปรารถนา การละเมดิ สทิ ธิมนษุ ยชนในประเทศไทย ตัวอยาง การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศไทยท่เี กดิ ขึ้น เชน 1. การละเมิดสทิ ธมิ นุษยชนจากภาคเอกชน/ประชาชน ไดแก การประทุษรายตอชีวิต รางกาย เสรภี าพอนามยั ทรัพยส นิ รวมถึงการเอารัดเอาเปรียบอยางไมเปนธรรมจาก ผูที่มสี ถานภาพทางสงั คมหรือทางเศรษฐกจิ ท่ีดีกวา เปนตน 2. การละเมิดสิทธิมนุษยชนจากภาครัฐ เชน การใชอํานาจท่ไี มเปนธรรมหรือการใช อํานาจโดยมีทัศนคติเชิงอํานาจนิยม ไมวาจะเปนการละเมิดทางนโยบายของรัฐ การออกกฎหมาย หรือบริหารราชการท่ีมีผลกระทบตอสิทธิเสรีภาพรวมตลอดถึงวิถี ชวี ิตของชุมชน เปนตน แนวทางการคมุ ครองตนเองและผอู น่ื จากการถูกละเมดิ สิทธิมนุษยชน 1. ไมเปนผูก ระทาํ ความรนุ แรงใด ๆ ตอ บคุ คลอน่ื 2. ไมยอมใหบ คุ คลอ่นื กระทําความรุนแรงตอ ตนเอง 3. ไมเ พิกเฉยเมื่อพบเห็นการละเมิดสทิ ธิตอบคุ คลอ่นื ควรแจง เจา หนาทท่ี ่ีเกยี่ วขอ งหรือให ความชว ยเหลอื ตามสมควรในสว นทีท่ าํ ได 4. มกี ารรวมกลมุ ในภาคประชาชนอยา งเปนระบบ และจัดตงั้ เปน องคก รมูลนิธิ ฯลฯ เพ่ือ ปกปอ งคุม ครองผูออนแอกวาในสงั คม เพื่อใหเ กดิ พลังในการตรวจสอบเรียกรองใหรัฐ มกี ารจดั ทํากฎหมายทเ่ี กดิ ประโยชนตอ สวนรวม 5. รณรงคใ หม ีการเหน็ คณุ คา และความสาํ คญั ของการปกปองและสง เสริมสิทธิมนุษยชน
161 กิจกรรมท่ี 13 1. ใหศ กึ ษาและสรุปความเปนมาของสิทธิมนษุ ยชนในประเทศไทย …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………....................................................................... 2. ใหหาตัวอยา งการถกู ละเมดิ สทิ ธิมนษุ ยชนกรณบี ุคคลถูกละเมดิ จากเอกชนและ แนวทางในการแกไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………...................................................................... 3. ใหหาตัวอยา งการถูกละเมดิ สิทธิมนษุ ยชนกรณบี ุคคลถูกละเมดิ จากภาครฐั และ แนวทางการแกไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………..............................................................................
162 บทที่ 6 การมสี ว นรว มในการปองกันและปราบปรามการทุจริต สังคมไทยใหความสําคัญกับ เรื่อง คุณธรรม จริยธรรม ความดี ความซื่อสัตย สุจริต มาตง้ั แตสมัยโบราณถงึ กบั มีคําพงั เพยวา “ซื่อกนิ ไมห มด คดกนิ ไมน าน” ไวส อนลกู หลานมาจนทุกวนั น้ี และเน่ืองจากเรามีศาสนาเปนท่ียึดเหนี่ยว กาํ กับจิตใจใหต้ังม่ันอยูในความดี ความงาม ความซื่อสัตย ไมค ดโกงใหผ ูอืน่ เดอื ดรอ น จงึ มีคาํ สอนทีถ่ า ยทอดกันมาหลายช่วั อายคุ น เชน “ทําดีไดดี ทําชั่วไดชัว่ ” “คนดีตกนํา้ ไมไหล ตกไฟไมไหม” ความเชือ่ เชนนม้ี ีอยูในหมูคนทุกระดับในสังคมตั้งแตพระมหากษัตริย ขาราชการ และ ไพรฟา ประชาชน มพี ธิ กี รรมทางการปกครองท่ีสะทอนใหเห็นถึงคานิยมในความดีและ คนดตี องมีความซือ่ สตั ยทยี่ ังคงเช่อื มันอยใู นกลมุ ของขา ราชการระดับสําคัญ ๆ อยูคือ พิธีดื่มน้ําพิพัฒนสัตยา สาบานตนตอ พระมหากษัตริย และสิง่ ศักดสิ์ ิทธ์ิ ซง่ึ ปจจุบันยังมีใหเ หน็ อยู อยา งไรก็ตาม กระแสโลภาภิวัตนท่ีกําลังเกิดข้ึนท่ัวโลก รวมทั้งการไหลบาของสังคม และวัฒนธรรมนานาชาติท่ไี มส ามารถหยุดย้งั ได ประชาชนคนไทยโดยเฉพาะเยาวชนและผูใชแรงงาน ตา งถูกชกั นาํ ใหหลงใหลการเปน นกั บรโิ ภคนยิ ม วัตถุนิยม ตดิ ยึดอยกู ับความสุขจากเงินทอง ความฟุมเฟอย ฟุงเฟอ สุรุยสุราย ความมีหนามีตาในสังคม ยกยองคนรวยมากกวาคนดี ไมใหความสําคัญกับ ครอบครัวและสายใยผกู พนั ในครอบครวั เหมือนเดมิ กลา วกนั วา เดก็ ๆ สมัยนี้จะเลือกไหว เลือกนับถือ คนรวย คนมีอาํ นาจวาสนา มียศ มีตาํ แหนงมากกวาคนจน คนดีที่เปนผูเฒาผูแกท่ีเปนหลักของชุมชน เหมือนเดิมแลว ความเอื้อเฟอเผ่ือแผ ความเมตตาอารี ความชวยเหลือเกื้อกูล สมัครสมานสามัคคี พ่ึงพาอาศัยกันระหวางผูคนในชุมชน เกือบไมมีปรากฏใหเห็นมีการแขงขันชิงดีชิงเดนกันรุนแรง ท้ังการเรียน การทํางาน การดํารงชีวิตทวีมากข้ึน กอใหเกิดการทุจริต เลนพรรคเลนพวก อยาง กวา งขวาง แพรหลายไปทกุ ระดบั ทกุ วงการ พฤติกรรมท่ีทุจริตไมถูกตองบางครั้งมองเปนเร่ืองท่ีเปนประโยชนแกบานเมืองและ ไดรับการยกยอง เชน ผูมีอํานาจออกกฎหมายหรือจัดทําโครงการที่เปนประโยชนแกสังคม ประเทศชาติ แตเ บื้องหลังมีพฤติกรรมท่ีแอบซอนผลประโยชนใหตนเอง ญาตพิ ่ีนอง หรือครอบครัว หรือพรรคพวกมากกวา ที่เรียกกันวา มีผลประโยชนทับซอน มองผิวเผินเปนเร่ืองท่ีดียอมรับไดแต จริง ๆ แลวเปนการทุจริต ประพฤติมิชอบท่ีบานเมืองประสบความเสียหายอยางยิ่ง มีการเปดเผย ผลการศกึ ษาขององคก รความโปรงใสระหวางประเทศในป 2555 วา ประเทศไทยมีการทุจริตโกงกิน เปนอันดับท่ี 88 จากการสํารวจ 176 ประเทศทั่วโลก โดยหลนมาจากอันดับท่ี 80 ในการจัดลําดับ ครั้งกอน ติดกลุมเดียวกับประเทศดอยพัฒนาในแอฟริกา เชน มาลาวี มอร็อคโก แซมเบีย และ สวาซีแลนด และเช่ือวาอนั ดับการทุจรติ คอรรัปชนั่ ระดบั โลกของไทยจะหลน ลงตอ ไปอีกอยางตอเนื่อง สวนผลการสํารวจความเหน็ คนไทยท่ัวประเทศของสํานักโพลลห ลายแหง ในป พ.ศ. 2555 พบขอมูลท่ี
163 นาตกใจอยางย่ิงในทํานองเดียวกัน คือ ประชาชนกวารอยละ 79 - 58 ยอมรับไดถารัฐบาลทุจริต คอรรัปชนั่ แตข อใหตนเองไดป ระโยชนดว ย ทง้ั น้ี ประชาชนดงั กลา วเนน กลมุ เดก็ และเยาวชนมากที่สดุ รองลงมา คือ กลุมนักเรียน นักศึกษา พอคานักธุรกิจ พนักงานบริษัทเอกชน เกษตรกร ขาราชการ พนักงานรฐั วิสาหกจิ และกลมุ แมบานเกษียณอายรุ าชการ ตามลําดับ ผลการสาํ รวจวิจยั ดังกลาวนี้ จะเห็นไดวา คานิยมในความดีในปจจุบันเปล่ียนไปมาก เปน คานยิ มทมี่ ีใหเห็นในทกุ แหงของสังคมไทย ตง้ั แตในครอบครัว ในชุมชนรา นคา ในหมูนักการเมือง ขาราชการ แมกระทั่งในหองเรียนและสถานศึกษา จะเปนปญหาสังคมท่ีหย่ังรากลึกลงไปทุกทีใน สงั คมไทย ฉะน้นั จงึ เปน เร่ืองทเ่ี ราจะตองรเู ทาทนั มจี ิตสํานกึ และมีสวนรวมที่จะชวยกันปองกันแกไข ขจัดปญหาทุจริตคอรรัปชั่นเหลาน้ีใหหมดไป ตามแนวทางท่ีสํานักงานปองกันและปราบปราม การทจุ ริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) ไดกําหนดเปนมาตรการในการแกไขปญหาในภาพรวมท่ีเนนการมีสวนรวม ของประชาชนในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต ซึง่ หมายถงึ การใหประชาชนเขาไปมีบทบาท ในฐานะที่เปนสวนหน่ึงของผูดําเนินการดวย โดยการวางระบบใหประชาชนกลาคิดกลาทําในส่ิงที่ ถกู ตอ ง กลาตดั สินใจในกรอบของการเคารพสทิ ธ์ขิ องผูอ ่นื และสงเสริมใหทาํ งานเปนรูปแบบเครือขาย เช่ือมโยงกันทั้งระดับบุคคลและระดับองคกรโดยมีฐานะเทาเทียมกัน ถักทอรอยเรียงกันดวย วตั ถุประสงคเดียวกนั เพ่อื เพมิ่ พลงั และความมน่ั ใจในการมสี ว นรว มของประชาชนในการปองกันและ ปราบปรามการทุจริตใหหมดไป มาตรการดงั กลาวพอสรปุ ได ดังนี้ 1. วธิ สี รา งความตระหนักใหประชาชนมสี วนรวมในการตอ ตานการทจุ รติ การใหป ระชาชนมสี วนรวมกับสํานักงาน ป.ป.ช. ในการตอตานการทุจริตโดยวิธีการ สรางความตระหนกั อาจพิจารณาไดดังน้ี 1.1 ปลูกจติ สาํ นกึ คานยิ ม คณุ ธรรมจริยธรรมและสรางวินัยแกทุกภาคสวน โดยการ สงเสริมการดําเนินชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สงเสริมการปฏิบตั ิตามหลักคุณธรรม จรยิ ธรรมและวินัย ใชการศึกษาเปน เครอ่ื งมอื ในการปอ งกันเสรมิ สรางความรู ทกั ษะ ทศั นคติ ปลูกฝง จิตสํานึกใหนักเรียน นักศึกษา เยาวชน และประชาชนอยางตอเน่ือง รวมทั้งผลักดันคานิยม การปอ งกันการทจุ ริต ความซอื่ สัตยสจุ รติ รังเกียจการทุจรติ เปนคานยิ มแหง ชาติ 1.2 รวมมือในการสรา งการมสี ว นรว มและเครอื ขา ยปองกันและปราบปรามการทุจริต ในทุกภาคสว นโดย 1) การประชาสัมพันธตอตา นการทจุ รติ ประพฤติมชิ อบทกุ รปู แบบ 2) เสรมิ สรา งกระบวนการมสี ว นรวมของประชาชนทกุ ภาคสว น 3) เสรมิ สรา งความเขม แข็งของเครือขา ยใหมขี วญั และกาํ ลังใจในการทาํ งาน
164 1.3 สง เสริมความเปน อสิ ระ และสรางประสิทธิภาพใหแกองคกรท่ีมีหนาที่ตรวจสอบ การทุจริต โดยเฉพาะสํานักงาน ป.ป.ช. ใหปราศจากการแทรกแซงของอิทธิพลจากภาคการเมือง ภาคราชการ และภาคธุรกิจ และถวงดลุ อาํ นาจภาครฐั ทเ่ี กย่ี วของทกุ ระดับ เปดโอกาสใหประชาชนเขาถึง ขอ เทจ็ จรงิ อยางทันการณ 1.4 สงเสริมการสรางมาตรฐาน จรรยาบรรณวิชาชีพแกบุคลากรของหนวยงาน ท่ีมี หนาท่ีตรวจสอบการทุจรติ รวมท้ังการเสริมสรางความรูทักษะและจริยธรรมแกบุคลากร รวมท้ัง เสริมสรางขวัญกําลังใจและการบริหารงานบุคลากร การสรางความรวมมือดานวิชาการกับองคกร ตา งประเทศดวย 2. สรา งความเขาใจท่ีถกู ตอ งใหก ับประชาชนและหนวยงานเครอื ขายเก่ยี วกบั กฎหมายท่เี กี่ยวของ ในการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต คณะกรรมการ ป.ป.ช. ตองรับเปน หนาท่ีในการดําเนินงานรวมกับหนว ยงานเครือขาย ในการสงเสริมใหประชาชนชาวไทยมีความรู ความเขา ใจที่ถูกตองในเรื่องกฎหมาย ระเบียบ และ มาตรการตา ง ๆ ทจ่ี ะเปนประโยชนในการรวมมือกนั ปองกันพฤติกรรมการทุจริตคอรรัปช่ันรูปแบบ ตาง ๆ ตามท่ีกําหนดไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย กําหนดใหรัฐตองมีหนาที่สงเสริม สนับสนนุ การมสี ว นรว มของประชาชนในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับ ในรูปแบบองคกร ทางวิชาชพี โดยเฉพาะขอ กฎหมายท่เี กี่ยวขอ งในการปฏิบัตงิ าน เพอื่ ปองกนั ปญหาการทจุ รติ คอรรปั ชน่ั ท่ีผูปฏิบัติงานและเครือขายภาคประชาชนควรทราบ เชน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 87 (3) ที่กําหนดใหมีการสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของ ประชาชนในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับ และพระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวาดว ย การปองกันและปราบปรามการทุจริต พุทธศกั ราช 2542 (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2554 มาตรา 19 (13) วาดวยการเสรมิ สรางทศั นคติและคานยิ มเกี่ยวกบั ความซื่อสัตยสุจริต รวมทั้งดําเนินการใหประชาชน หรือกลมุ บคุ คลมสี ว นรว มในการปองกันและปราบปรามการทุจรติ ทัง้ นี้ มรี ายละเอยี ดทส่ี ามารถศกึ ษา คน ควาไดจาก www.nacc.go.th (เว็บไซตของ ป.ป.ช.) 3. การกระตนุ จติ สาํ นึกการมีสว นรวมในการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต เพ่ือใหผเู รียนเกิด ความเขาใจ ตระหนัก และมีจิตสํานึกในการมีสวนรวมท่ีจะปองกัน การทุจริตประพฤติมิชอบในชุมชน และสังคม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จงึ ไดก าํ หนดแนวทางการเรียนรู ในรูปแบบกรณีศึกษา ใหผูเรียนไดฝก ทักษะการคิด วิเคราะห การมีสวนรวมในการแกปญหาการทุจรติ รูปแบบตาง ๆ ดวยเจตนาที่จะให ผเู รยี นสามารถนาํ ไปเปน แนวทางในการปฏิบัติ เพื่อประโยชนตอ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม
165 จนเกิดการพฒั นาจติ สาํ นกึ ในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ ได กิจกรรมทั้งหมด ประกอบดวย 6 กรณีศึกษา ไดแก 1. เร่ือง “เศรษฐใี หม” หรือ “แมครวั ” 2. เรื่อง “การตรวจรบั สงเดช” 3. เรอื่ ง “เรือ่ งเลา ของโดเรมอนที่ยังไมเ คยเลา” 4. เรื่อง “สายนําจบั เท็จ” 5. เรื่อง “อะไรอยใู นกลอ งไม” 6. เรอื่ ง “รถปลูกสะระแหน” ทั้งนี้ผเู รียนและผูสอนจะตอ งรวมมอื กนั นําขอมลู ทั้งดาน วชิ าการ ระเบียบ กฎหมาย ทไ่ี ดม กี ารสรุปรวบรวมไวในเอกสาร คูมือการจดั กิจกรรมการเรยี นรู เรื่อง การมีสว นรวมของประชาชน ในการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต รวมกบั ขอ มูลปญหาความตอ งการสภาพแวดลอม ของชุมชน ทองถ่นิ และคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ท่ีตนเองมอี ยมู าตดั สนิ ใจแกป ญหาตา ง ๆ ใหล ลุ วงไปไดอยางเหมาะสม ตอ ไป
166 กรณศี กึ ษาเรือ่ งที่ 1 เร่ือง “เศรษฐีใหม” หรือ “แมครวั ” วตั ถปุ ระสงค 1. ระบปุ ญ หาการทจุ รติ จากการใชอํานาจหนาทใี่ นทางทไี่ มถ กู ตอ ง 2. บอกคณุ ธรรมในการปฏบิ ัติงานได 3. เกิดจติ สํานึกในการปองการการทจุ ริต เนอื้ หาสาระ 1. คณุ ธรรมในการทํางานเพ่อื ปองกนั หรอื หลีกเลยี่ งการทจุ ริต 2. สาํ นกึ ดานความซือ่ สตั ยตอ การปฏบิ ัตงิ าน กรณีศึกษา เจาหนาท่ี ป.ป.ช. ช่ือ คุณสืบ ไดไปตรวจดูบัญชีท่ี ป.ป.ช. จัดไวใหประชาชนเขามา ตรวจสอบ บญั ชที รัพยส ินของนักการเมอื งทแ่ี สดงตอ ป.ป.ช. คุณสืบเปดดบู ญั ชตี าง ๆ ของนักการเมืองพบวา หุนของนักการเมอื ง ระดับหัวหนา พรรครายหน่ึงในบริษัทยักษใหญที่เปนของนักการเมืองผูน้ันเอง ทําไม จึงมีหนุ อยูไมมาก แตผ ถู ือหุนรายใหญของบริษัท คือ คุณสมศรี ซึ่งเปนแมครัวบานนักการเมืองใหญ รายนั้น คุณสบื เรมิ่ ไดเ คาของการถือหนุ แทนนกั การเมือง จงึ ไดทาํ การปลอมตัวเขาไปเพื่อหาหลักฐาน และพบวา คุณสมศรี เปน ผูถือหนุ รายใหญข องบรษิ ัทนักการเมอื งทค่ี ณุ สมศรเี ปนแมครัว ประเดน็ 1. จากเนื้อหาเรื่อง “เศรษฐีใหม” หรือ “แมครัว” การกระทําของนางสมศรีขัดตอ กฎหมายวาดว ยการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ หรือไม เพราะเหตใุ ด 2. จากเนื้อหาเรอ่ื ง “เศรษฐใี หม” หรอื “แมค รวั ” การกระทําของนายจา งของนางสมศรี สะทอนถงึ การขัดตอ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม อยา งไร ใบความรู - เรอ่ื งความซือ่ ตรงกับความซ่อื สตั ย
167 ใบงาน 1. ใหผ เู รียนศกึ ษากรณศี กึ ษา 2. แบงกลุมอภิปรายตามประเด็นที่กาํ หนด 3. ใหต ัวแทนกลุมออกมานาํ เสนอผลของการอภปิ รายกลุม 4. ใหผูสอนและผเู รียนรวมกนั สรปุ แนวคดิ ท่ไี ดจ ากผลการอภิปรายกลมุ 5. ใหผ เู รียนรว มกันวางแผนและจัดทํากจิ กรรมการเรียนรูต อ เนื่องพรอมสรุปรายงานผล กิจกรรมเรียนรูตอเนือ่ ง ผูเรียนรวมกันจัดทํากิจกรรม/โครงการ เพื่อสงเสริมการปองกันและปราบปราม การทจุ รติ พรอ มจัดทาํ สรปุ รายงานผล เสนอผสู อน สือ่ และแหลง การเรียนรู - Internet - ส่อื สง่ิ พิมพ/ วารสาร/หนงั สอื พมิ พ
168 กรณศี ึกษาเรือ่ งที่ 1 เรอ่ื ง “เศรษฐใี หม” หรือ “แมค รวั ” กฎหมาย ป.ป.ช. กาํ หนดใหนักการเมืองตั้งแต นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ส.ส. ส.ว. รวมทง้ั เจาหนา ทขี่ องรฐั ทีม่ ีตาํ แหนง สงู ตอ งย่ืนบญั ชีแสดงรายการทรพั ยส นิ และหน้ีสิน ตอ ป.ป.ช. เม่อื เขาดํารงตําแหนงและพนจากตําแหนง เพ่ือตรวจสอบวามีทรัพยสินอะไรเพิ่มขึ้นผิดปกติหรือไม หลังจากยน่ื บญั ชแี ลว ป.ป.ช. ตอ งเปดเผยบัญชฯี ของนกั การเมืองตอสาธารณะ เจา หนาที่ ป.ป.ช. ช่อื คณุ สืบ ไดไปตรวจดูบญั ชฯี ที่ ป.ป.ช. จัดไวใหประชาชนเขามา ตรวจสอบ คุณสืบเปดดูบัญชีฯ ตาง ๆ ของนักการเมืองแลวก็มาสะดุดสงสัยและต้ังขอสังเกตวา หุนของนักการเมืองระดับหัวหนาพรรครายหน่ึงในบริษัทยักษใหญท ี่เปนของนักการเมืองผูนั้นเอง ทําไมจงึ มีหุน อยูไ มมาก แลว หุนท่ีเหลอื เปน ของใคร เมอ่ื คณุ สบื ต้ังขอสังเกตแลว จงึ คนหาความจริงโดยคณุ สืบเริ่มจากการไปคนหารายชื่อ ผูถือหุนในบริษัทยักษใหญดังกลาว จึงพบวามีผูถือหุนรายใหญของบริษัท คือ คุณสมศรี แสดงวา คุณสมศรตี อ งเปน “เศรษฐีใหม” แน ๆ เพราะไมเ คยไดย ินชอ่ื ติดอนั ดับเศรษฐเี มอื งไทยมากอ น คุณสืบ จึงไปตรวจสอบจากทะเบียนราษฎรของกระทรวงมหาดไทย ซ่ึงจะมีชื่อของคนไทยทุกคนที่มี บัตรประจําตัวประชาชนในทะเบียนราษฎรจะมีขอมูลบุคคลวา ชื่อ – สกุลใด เคยเปลี่ยนช่ือ สกุล อยา งไร อายเุ ทา ใด หนา ตาเปน อยา งไร บดิ ามารดาชอ่ื อะไร พรอมที่อยอู าศัย คุณสืบ ทราบวา คุณสมศรีน้นั มบี านพักอยูในจดั หวัดภาคอีสาน คุณสืบจงึ เก็บสมั ภาระ เดินทางไปจังหวัดภาคอีสาน เพ่ือไปหาคุณสมศรี เมื่อไปถึงบานเลขท่ีตามท่ีปรากฏในทะเบียนราษฎร คุณสืบไดพบกับบานไมเกา ๆ หลังหน่ึง ตั้งอยูนอกเขตอําเภอเมืองเล็กนอย คุณสืบคิดอยูในใจวา “เศรษฐใี หม” เปน คนสมถะ มีบา นหลังเล็ก ๆ พออยูอาศัย ไมฟงุ เฟอ เหมือนเศรษฐีคนอ่ืน จึงไดเขาไป เคาะประตบู าน ปรากฏวา มคี ณุ ยายคนหนึง่ เดินออกมาเปดประตู คณุ สืบอางวา รูจักกบั คุณสมศรีจะ มาหาคุณสมศรี ไดรับคําตอบจากคุณยายวาคุณสมศรีไปทํางานอยูกรุงเทพฯ คณุ สืบจึงถามคุณยายวา คุณสมศรี ทาํ งานทไ่ี หน จะตดิ ตอ ไดอ ยางไร คณุ ยายจึงใหหมายเลขโทรศัพท แตไ มไ ดบ อกวาทํางานทีไ่ หน เม่อื คุณสืบ ไดร บั แลว ก็ขอลาและขอบคุณคณุ ยายตามมารยาทสงั คมไทย จากนนั้ คณุ สืบจึงเดินทางกลบั กรงุ เทพฯ และไดโทรศัพทไ ปตามหมายเลขทค่ี ุณยายใหไว โดยขอพูดกับคุณสมศรี คนรบั สายตอบวา คณุ สมศรไี ปจายกบั ขาวท่ตี ลาด คณุ สืบยงั คิดในใจวา เด๋ียวน้ี เศรษฐีใหมไ ปจา ยกบั ขา วทตี่ ลาดเอง จงึ ไดบ อกกับคนรบั โทรศัพทวา วันน้คี ุณสมศรอี อกไปจา ยกบั ขาวเอง เลยหรอื ผูรบั โทรศพั ทจ งึ ตอบวา ไปจายกับขาวทกุ วนั เพราะเปน แมค รวั
169 คณุ สบื เร่มิ ไดเ คาของการถอื หุนแทนนกั การเมือง แตเ พอื่ ความชัดเจนในเรอื่ งนี้ คุณสืบ จึงไดปลอมตวั ไปทบี่ า นหลงั ดงั กลาว เพ่อื หาขอ มูลใหแ นช ดั วา เปน บา นของนกั การเมอื งเจาของบริษัท ยักษใ หญจริงหรอื ไม โดยคุณสืบไดหาขอ มลู มากอนวา คุณสมศรีจะไปจา ยกบั ขา วในเวลาบาย ๆ จึงได วางแผนเขา ไปเวลาประมาณบายสองโมง และจากการท่ีคุณสบื ปลอมตัวเขาไป จึงมีหลักฐานยืนยันไดวา คณุ สมศรี เปนแมครวั บา นนักการเมอื งใหญรายนจ้ี ริง และเปนคุณสมศรรี ายเดยี วกบั ที่เปนผถู อื หนุ รายใหญ ของบริษทั นกั การเมืองทคี่ ุณสมศรีเปน แมครัว คณุ สมศรีจงึ เปลย่ี นฐานะใหมจ ากเศรษฐีใหม กลายเปน แมค รวั ซะแลว ประเด็น 1.จากกรณีศึกษาเร่ือง “เศรษฐีใหมหรือแมครัว” การกระทําของนางสมศรีขัดตอ กฎหมายวาดวยการปองกนั และปราบปรามการทุจริตหรอื ไม เพราะเหตใุ ด 2. จากกรณีศึกษาเร่ือง “เศรษฐีใหมหรือแมครัว” การกระทําของนายจางของ นางสมศรีสะทอนถึงการขัดตอ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม อยา งไร
170 ใบความรู “ซื่อตรง” กบั “ซื่อสัตย” ความหมายของคําสองคํา คือ “ซ่ือตรง” กับ “ซ่ือสัตย” ตามพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑติ ยสถาน ป 2542 ไดก ลา วไว คือ “ซ่ือตรง” แปลวา ประพฤติตรง ไมเอนเอง ไมคดโกง ใหสังเกตคําวา ประพฤติ ประพฤติ คอื วาจา และการกระทํา ถา ทางพระ จะหมายถึง วจกี รรม กายกรรม “ซ่ือสัตย” หมายถึง ประพฤติตรงและจริงใจ ไมคิดคดทรยศ ไมคดโกง และ ไมห ลอกลวงเหมือนกับคําวา คุณธรรม จริยธรรม คําวา จริยธรรม บอกแตเพียงความประพฤติ คือ คําพดู และการกระทํา แตถาพดู ถงึ คุณธรรมตองรวมใจดวย สรุปไดว า ซ่ือตรง คือ ส่ิงทป่ี ระพฤตอิ อกมาใหป รากฏ แลวสังคมตัดสนิ วา ตรงหรือไมตรง แตถา ซือ่ สัตย นอกจากจะประพฤตติ รงแลว ยังตองพัฒนาที่จติ ใจ มคี วามจริงใจดว ย สุภาษิตสะทอนความซือ่ ตรง สุภาษิต เรื่อง ความซื่อตรงและความซื่อสัตย ซึ่งความจริงคนไทย ไต ลาว ซ่ึงเปน คนกลุมเดียวกัน และมีจํานวนกวารอยลานคนยกยอง เร่ือง ความซื่อตรงและความซื่อสัตย มาเปน ความดอี นั ดบั หน่งึ โดยสุภาษติ โบราณจากสถานทตี่ า ง ๆ มีดังนี้ คอื กบั ขาวอรอยเพราะเกลือ (The meal is good, thanks to the salt) คนดีเพราะซือ่ สตั ย (A man is good due to his honesty) สวนดี ตองรูวธิ ปี ลูก ซื่อ กนิ ไมหมด ลกู ดี ตองรูวธิ ีสอน คด กนิ ไมนาน
171 สมัยกอนในปม น้ํามันสามทหาร ทตี่ วั ถงั น้ํามันจะมีปายวา “ซ่ือกินไมหมด คดกินไมนาน” ซ่ึงเม่ือกอนคําน้ีมีเยอะ แตปจจุบันหายไปที่หายไปไมใช เพราะสามทหารหมดไป แตอาจหายไป เพราะคนไทยไมเ ชือ่ คา นิยมน้แี ลว คานิยมอาจเปล่ยี นแปลงไปเปน “ซอ่ื ไมม ีกนิ แตคดมีกินจนเหลือกิน” กเ็ ปน ได แตหากพิจารณาแบบยาว ๆ แลวจะเหน็ วา ซ่ือกินไมห มดหรอก แตค ดกินไมน าน น่ันแหละที่ เปน จรงิ
172 กรณศี ึกษาเรือ่ งท่ี 2 เร่อื ง การตรวจรับสง เดช วัตถปุ ระสงค 1. บอกคณุ ธรรมในการปฏบิ ตั ิงานได 2. มีสว นรว มในการปองกันการทุจริตในหนวยงาน 3. เกดิ จิตสาํ นกึ ในการปองการการทจุ รติ เนื้อหาสาระ 1. ชอ งทางการสงเร่อื งรองเรยี นการทุจรติ 2. คุณธรรม จริยธรรม ของผปู ฏบิ ัติงาน กรณศี ึกษา จากการไตส วนขอเท็จจรงิ ของ ป.ป.ช. ไดความวา เมื่อป พ.ศ. 2545 องคการบริหาร สวนตําบลแหงหนึ่ง ไดสอบราคาจางเหมากอสรางอาคารอเนกประสงคคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ช้ัน วงเงิน 1,904,000 บาท โดยมีนาย ก ผูถกู กลาวหา เมอื่ ครง้ั ดํารงตาํ แหนงนายกองคก ารบริหารสว นตําบล เปน ประธานกรรมการตรวจการจา ง ในการดาํ เนินการกอ สรา งปรากฏวา ผูรับจางกอสรางไมถูกตองตาม แบบรปู รายการที่องคก ารบริหารสวนตาํ บลกาํ หนดหลายรายการ เปนเหตุใหหัวหนาสวนโยธาในฐานะ ผูควบคุมงาน ทาํ บันทกึ เสนอผูถูกกลาวหาในฐานะประธานกรรมการตรวจการจาง แจงใหผ ูรับจางแกไขให ถูกตอง ตอมาผูรับจางไดเขามาดําเนินการแกไขงานแลว แตก็ยังไมถูกตองตามแบบรูปรายการที่ กําหนดอีก หัวหนาสวนโยธาในฐานะผูควบคุมงานและคณะกรรมการตรวจการจาง จึงไดมีบันทึก เสนอผูถกู กลา วหาอกี ครง้ั เพื่อแจงใหผูรบั จางดําเนินการแกไขโดยดวน แตปรากฏวาผูถกู กลา วหาไดมี คาํ สง่ั อนุมัติเบกิ จา ยเงินใหแกผ รู บั จา งทาํ ใหองคก ารบริหารสวนตําบลตองเบิกจายเงินคาจางกอสราง ใหแ กผ รู ับจา งไปโดยท่ีงานยังไมเสร็จสมบูรณเ ปนเหตุใหท างราชการไดร ับความเสียหาย
173 ประเด็น จากกรณีศึกษา เร่ือง ตรวจรับสงเดช นายก อบต. กระทําความผิดในเร่ืองใด และ สงผลตอ คณุ ธรรมในการบรหิ ารงานอยางไร ใบความรู - ชอ งทางการสง เรื่องรองเรียนการทจุ ริต ใบงาน 1. ใหผูเรียนศกึ ษากรณีศกึ ษา 2. แบงกลมุ อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ ตามประเด็นทีก่ ําหนดให 3. ใหผ สู อนและผูเ รยี นสรุปแนวคดิ ทไี่ ดจ ากการอภปิ รายกลุมรว มกนั กจิ กรรมการเรยี นรูอ ยา งตอ เน่ือง - ใหผเู รียนรวมกนั จัดทํากิจกรรม/โครงการในการรณรงคการปองกันและปราบปราม การทจุ ริตในชมุ ชน พรอ มจัดทําสรปุ รายงานเสนอผูสอน สอื่ /แหลง คน ควา - หนังสือพมิ พ/ วารสาร - ส่ือ Internet - สํานักงาน ป.ป.ช.
174 ใบความรู ชองทางการสงเรอื่ งรอ งเรยี นการทจุ ริต หากพบเห็นเจาหนาท่ีของรัฐกระทําความผิดทุจริตตอหนาที่ กระทําความผิดตอ ตาํ แหนง หนา ท่ี หรอื กระทาํ ความผดิ ตอ ตําแหนงหนา ท่ใี นความยุติธรรม รํ่ารวยผิดปกติ หรือมีทรัพยสิน เพม่ิ ขึน้ ผิดปกติ สามารถทําหนงั สือรองเรยี นตอ สํานักงาน ป.ป.ช. ตามหลักเกณฑต อไปน้ี 1. มีหนังสือ “เรียน เลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช.” หรือ “ตู ปณ. 100 เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300” หรือเขารองทุกขกลาวโทษตอพนักงานสอบสวน ณ สถานีตํารวจในเขตอํานาจ สอบสวน โดยพนกั งานสอบสวนจะสง เรื่องไปยงั สาํ นักงาน ป.ป.ช. เพ่ือดําเนินการตอ ไป 2. ใหมีรายละเอียดการรองเรียน ดงั น้ี (1) ชอ่ื – สกุล ท่อี ยู และหมายเลขโทรศัพทของผกู ลาวหา (2) ชือ่ – สกลุ ตาํ แหนง สังกดั ของผูถกู กลา วหา (ตอ งเปน เจา หนาทีข่ องรัฐ หรือ พน จากตําแหนง ไมเกิน 5 ป) (3) ระบขุ อ กลา วหาการกระทําความผิดฐานทุจริตตอ หนา ที่ การกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการหรือ ตําแหนงหนา ที่ในการยตุ ิธรรม ราํ่ รวยจนผดิ ปกติ หรือมที รัพยสนิ เพิม่ ข้นึ ผิดปกติ (4) บรรยายการกระทาํ ความผดิ อยา งละเอยี ดตามหัวขอ ดังน้ี - กรณีกลาวหากระทําความผิดฐานทุจรติ ตอหนาท่ีกระทําความผิดตอตําแหนงหนาท่ีราชการ หรือ กระทําความผดิ ตอ ตําแหนง หนาทใี่ นการยุตธิ รรม ก. การกระทาํ ความผิดเกดิ ข้ึนเมื่อใด ข. มขี น้ั ตอนหรอื รายละเอียดการกระทาํ ความผดิ อยางไร ค. มีพยานบคุ คลรูเห็นเหตกุ ารณห รือไม ง. ในเรื่องนี้ไดรองเรียนตอหนวยงานใด หรือยื่นฟองตอ ศาลใด เมื่อใด และผลเปนประการใด - กรณกี ลาวหาวารํ่ารวยผิดปกตหิ รือมีทรัพยส นิ เพ่ิมขนึ้ ผิดปกติ ก. ฐานะเดมิ ของผูกลาวหาและภริยาหรือสามี รวมทงั้ บิดามารดาของทงั้ สองฝายเปนอยา งไร ข. ผูถกู กลาวหา และภรยิ าหรอื สามี มอี าชีพอ่ืน ๆ หรอื ไม ถา มอี าชีพอ่ืนแลวมรี ายไดมากนอ ยเพยี งใด ค. ทรัพยส นิ ทจ่ี ะแสดงใหเ ห็นวาร่าํ รวยผดิ ปกติฯ อะไรบาง
175 3. ลงลายมือชื่อ และเขียนช่ือ – สกุล ดวยตัวบรรจง พรอมแจงท่ีอยขู องผูกลาวหาใหชัดเจน หากตองการใหสํานักงาน ป.ป.ช. ปกปดช่ือ – สกุล และที่อยูใหระบุชัดเจนดวย สวนกรณีที่ไมเปดเผย ชื่อ – สกุลจรงิ ถือวาเปน บัตรสนเทห ใหสงแบบไปรษณยี ตอบรับ (เพอ่ื จะไดรบั ทราบวา หนงั สือรองเรียน สงถึง ป.ป.ช. แลว) เพราะสํานักงาน ป.ป.ช. จะติดตอกับผูรองเรียนโดยตรงกับผูรองเรียนที่แจง ชื่อ – สกลุ และทอี่ ยเู ทา นัน้ 4. สายดวน Call Center 1205 5. สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด มีอํานาจหนาที่ในการสงเสริมการปองกันและปราบปราม การทุจริต โดยประสานความรวมมือกับประชาชนและสวนราชการเพื่อเผยแพรความรูแกประชาชน การเสริมสรางทัศนคติและคานิยมในความซ่ือสัตยสุจริต การสงเสริมใหประชาชนหรือกลุมบคุ คล ทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามการทุจริต รวมท้ังการเสนอมาตรการ ความเห็นหรือขอเสนอแนะตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อประโยชนในการปองกันและปราบปราม การทุจรติ นอกจากน้กี รรมการปองกนั และปราบปรามการทุจริตประจําจังหวัด ยังไดแบงเบาภาระงาน ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เชน การตรวจสอบขอเท็จจรงิ เพ่ือเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. พจิ ารณาตอไป การตรวจสอบความถูกตองและความมีอยูจริง รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของทรัพยสินและหนี้สินที่ ผูม ีหนา ท่ยี น่ื บญั ชีไดย่ืนตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. ท้ังน้ี การดําเนินการดังกลาว คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะเปนผกู ําหนดหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารใหก รรมการ ป.ป.ช. ประจําจังหวัดดาํ เนนิ การ อนง่ึ กรรมการ ป.ป.ช. ประจําจงั หวดั มีหนาท่ีย่นื บัญชแี สดงรายการทรัพยส ินและหนี้สิน ตอ คณะกรรมการ ป.ป.ช. และอาจถูกตรวจสอบโดยประชาชนได กลาวคือ ประชาชนผูมีสิทธ์ิเลือกต้ัง จาํ นวนไมนอยกวาหาพันคน สามารถเขาชื่อรองเรียนขอตอคณะกรรมการ ป.ป.ช วากรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจริตประจําจงั หวัด ผใู ดขาดความเท่ียงธรรม จงใจฝา ฝนรัฐธรรมนูญ หรอื กฎหมาย หรือมีพฤติการณท่ีเปนการเสื่อมเสียแกเกียรติศักด์ิของการดํารงตําแหนงอยางรายแรง ซ่ึงหากมี การกลาวหาดงั กลาวแลว คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจกําหนดใหกรรมการ ป.ป.ช. ประจําจังหวัดผูนั้น ยตุ กิ ารปฏิบัติหนาที่ไวก อ นกไ็ ด
176 กรณศี กึ ษาเรือ่ งที่ 3 เรอื่ งเลา ของโดเรมอนทยี่ งั ไมเคยเลา วัตถุประสงค 1. บอกแนวทางในการเสรมิ สรางคุณธรรมได 2. ใชค ณุ ธรรมในการปฏิบตั ติ นปอ งกันการทุจริตได 3. เกดิ จติ สาํ นึกในการปอ งการการทจุ รติ เนอ้ื หาสาระ 1. คุณธรรมในการทํางานเพ่ือปองกนั หรอื หลกี เลยี่ งการทจุ ริต 2. การมสี วนรวมของประชาชน กรณีศกึ ษา โนบิตะและเพ่ือน ๆ ไดใชของวิเศษของโดเรมอนในการสรางประเทศใหมใน โลกอนาคตและไดอาสาเปนนักการเมืองฝายบริหาร ไจแอนท เปนเจาหนาท่ีของรัฐ ซูเนะโอะ เปน บริษทั เอกชน สวนชิซกู ะ เปนฝายตรวจสอบ โดเรมอน เปนฝายสนับสนุนในทุก ๆ เรื่อง ในประเทศ ของโลกใหม มีการบริหารกิจการบานเมืองเหมือนโลกมนุษย มีการเก็บภาษี เพ่ือนําไปสราง สาธารณูปโภค ไฟฟา นํา้ ประปา ถนนหนทาง โรงพยาบาล โรงเรียน เวลาผานไป โนบิตะ กลายเปน นักการเมืองที่ลงทุนทาํ การซื้อเสียง เพื่อใหป ระชากรเลอื กตนเองมาบรหิ ารประเทศ เม่อื ไดอํานาจรัฐก็ จับมอื กับไจแอน ททเ่ี ปน เจา หนา ทร่ี ัฐออกนโยบายตาง ๆ เอื้อประโยชนใหกับซูเนะโอะที่เปนนักธุรกิจ และมีผลประโยชนรวมกัน เรียกการกระทําของคนทั้งสามวา “การทุจริตเชิงนโยบาย” สวน ชิชูกะ ทําอะไรสามคนนัน้ ไมไดเ ลย เพราะถกู จํากดั ทงั้ บทบาทและอาํ นาจหนา ที่ ประเด็น จากเนือ้ หาเรื่อง “เร่ืองเลาของโดเรมอ นทย่ี งั ไมเ คยเลา ” หากผูเ รียนเปนโนบิตะซึ่งเปน ผูบริหารประเทศ ผูเรียนจะทาํ การบริหารประเทศอยางไร เพื่อใหประชากรในประเทศสามารถอยู รว มกันไดอ ยางมีความสุข
177 ใบงาน 1. ใหผเู รยี นศึกษากรณีศกึ ษา 2. แบงกลมุ อภปิ รายแสดงความคิดเห็นตามประเดน็ ท่ีกําหนดให 3. ใหผ สู อนและผเู รยี นรว มกันศึกษาหาขอมลู ประกอบการอภปิ รายหาเหตผุ ล 4. ใหผ ูสอนและผเู รยี นสรุปแนวคดิ ทีไ่ ดจากการอภปิ รายรว มกัน 5. ใหผ ูเ รียนรว มทาํ กจิ กรรมการเรียนรตู อเนอ่ื งพรอ มสรุปรายงานผล กจิ กรรมการเรียนรตู อเนอ่ื ง ใหผูเรียนรว มกันจดั ทํากิจกรรม/โครงการในการปองกันและปราบปรามการทุจริตใน ชุมชน พรอมจัดทาํ สรปุ รายงานเสนอผูสอน สอ่ื และแหลงการเรยี นรู - Internet - บทความตาง ๆ - หนงั สือพมิ พ
178 กรณศี กึ ษาเรื่องที่ 3 เรอื่ งเลาของโดเรมอนทย่ี ังไมเ คยเลา ถาพูดถึงการตูนท่ีเปนท่ีรูจักของผูคนมากมายบนโลกนี้ คงไมมีใครท่ีไมรูจักเจาแมว หุนยนตท ชี่ ่อื วา “โดเรมอ น” ซึง่ เปน การต นู ท่ลี ูกของผมชอบมาก ตองดูกอ นนอนทกุ คนื และดวยเหตุนี้ จึงทาํ ใหผมรบั รเู ร่ืองราวของโดเรมอนไปโดยปริยายแบบไมทนั ต้ังตวั กอนนอนในคืนหน่ึงลูกของผมก็ยงั คงดูโดเรมอนเหมอื นเชนเคย ในคืนฝนตกฟารอง โครมคราม ผมหนังอานหนังสือเก่ยี วกับการทุจรติ เชิงนโยบายไปพราง ๆ เพราะเรอ่ื งนก้ี าํ ลังฮติ แตห ูก็ ไดยินเรื่องทก่ี ําลังฉายอยูจับใจความไดคราว ๆ วา โนบิตะไดคะแนนสอบเทากับศูนย คุณครูฝาก กระดาษคําตอบทไ่ี ดคะแนนไปใหคุณแมดู ระหวางเดนิ ทางกลบั บานพรอ มไจแอนท ซูเนโอะ และซิชูกะ โนบติ ะก็มีความคิดวาจะเก็บกระดาษคาํ ถามไปซอนในโลกอนาคต ซ่งึ เพอ่ื น ๆ ทุกคนเห็นดดี วย จึงได ไปปรกึ ษา (เชงิ บังคับ) กับโดเรมอน แลวไฟฟาก็เกิดดับขึ้นมากะทันหันท้ังบาน เม่ือไมมีอะไรดู ลูกก็ อา งวา นอนไมหลับ รบเราใหผ มเลาเรอื่ งโดเรมอนทก่ี ําลังฉายอยกู อนไฟดบั ใหจ บ ผมจึงแตงเร่ืองตอ ไป เลยวา เร่ืองมีอยูวา เม่ือโดเรมอนไดรับคําปรึกษาแกมบังคับก็เสนอใหทุกคนเขาประตูกาลเวลา นั่งไทมแมชชีนไปสูโลกอนาคต ซึ่งเปนดาวดวงหน่ึงท่ีมีสภาพแวดลอมคลายโลก แตกตางตรงไมมี ส่ิงมีชีวิตอยูเลย เม่ือไปถึงทุกคนเกิดความประทับใจ จึงคิดสรางประเทศขึ้นบนโลกใหมนี้ ตางลง ความเหน็ วา หัวใจของการอยรู วมกนั คอื การมหี ลักเกณฑ แมบทท่ีทุกคนตองเคารพเพื่อความสงบสุข ของสังคม ต้ังชื่อหลักเกณฑแมบทนี้วา “รัฐธรรมนูญ” หลักของรัฐธรรมนูญมีอยูไมก่ีประการ แตประการทส่ี ําคัญท่ีสดุ ทีท่ ุกคนจําข้ึนใจ คอื บคุ คลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา และเพ่ือ ไมใหเกิดความสับสนในการสรางโลกใหม โนบิตะรับอาสาเปนนักการเมืองฝายบริหาร ไจแอนทเปน เจาหนาที่ของรัฐ ซูเนโอะเปนบริษัทเอกชน สวนซิชูกะเปนฝายตรวจสอบ การสรางประเทศใหมของ ฝา ยตาง ๆ โดเรมอนทําหนา ทส่ี นบั สนุนในทุก ๆ เรื่อง วิธีที่งายและเร็วท่ีสุดก็คือ หยิบของวิเศษออก จากกระเปาหนาทอ ง ครง้ั นกี้ ห็ ยบิ เคร่ืองถา ยสําเนาประชากรออกมา ปรากฏวาท้ังโนบิตะ และเพื่อน ๆ ตางเอารูปสงิ สาราสตั วม าเขา เคร่ืองถายสําเนาประชากร ผลออกมาปรากฏวา สิงสาราสัตวเหลานั้น เมื่อฟกออกจากไขก็เดิน 2 ขา และพดู ไดเ หมือนคน มกี ารขยายเผาพันธุ โดยการใชเครื่องถายสําเนา ประชากร โดเรมอนกําชับทุกคนวาอยาไปยุงกับปุม Reset ท่ีอยูดานหลังของเคร่ือง มิฉะนั้นจะเกิด ความหายนะ ในประเทศของโลกใหมมกี ารบรหิ ารกิจการบา นเมืองเหมือนโลกมนุษย มีการเก็บภาษี เพือ่ นาํ ไปสรางสาธารณปู โภค ไฟฟา นาํ้ ประปา ถนนหนทาง โรงพยาบาล โรงเรยี น เวลาผา นไปนิสยั ของแตละคนก็เปล่ยี นไป โนบิตะทเ่ี ปน นกั การเมืองก็ลงทุนทําการซื้อเสียง เพ่อื ใหป ระชากรเลอื กตนเองมาบรหิ ารประเทศ เมือ่ ไดอํานาจรัฐกจ็ บั มือกบั ไจแอน ททีเ่ ปนเจาหนาที่รัฐ
179 ออกนโยบายตาง ๆ เอื้อประโยชนใหกับซูเนโอะท่ีเปนนักธุรกิจ และมีผลประโยชนรวมกัน เรียกการ กระทําของคนทั้งสามวา “การทุจริตเชิงนโยบาย” สวนซิชูกะทําอะไรสามคนนั้นไมไดเลย เพราะ ถูกจํากดั ทัง้ บทบาทและอาํ นาจหนาท่ี ลูกผมยงั ไมหลบั แทรกคาํ ถามขน้ึ วา “พอครับทําไมเคาไมโ กงกันตรง ๆ เลยละครบั ” “คอื พวกนักการเมอื งพวกนีเ้ คา กลวั ถูกจบั ไดวา ทุจรติ และเคา ยงั มีจติ สํานกึ อยบู า ง” ผมตอบ “แลว พวกไมมีจติ สาํ นกึ ละพอ เปน แบบไหน” “พวกไมมีจิตสํานึกก็พวกเจาหนาที่ของรัฐที่ใชอํานาจหนาท่ีกําหนดหลักเกณฑตาง ๆ เพื่อ เอือ้ ประโยชนใ หแ กต นเองและพรรคพวกโดยไมส นวาประชากรผเู สยี ภาษีเคาจะคิดยังไง” ผมตอบลูก ไปใหคลายสงสยั แลวโลกใบใหมที่โนปตะกับเพื่อน ๆ สรางข้ึนก็มีคนไรจิตสํานึกเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ ประชากรเกิดการตอตานและนําไปสูความรุนแรง เพราะทนการกระทําของเจาหนาท่ีท่ีไรจิตสํานึก ไมได โดเรมอนเองทนไมไหวจึงกดปุม Reset เคร่ืองถายสําเนาประชากรแลวทุกอยางก็หายไปใน พริบตา แลวโดเรมอนพาโนบิตะกับเพื่อน ๆ กลับมาในโลกปจจุบัน จากนั้นโนบิตะก็ตัดสินใจนํา กระดาษคาํ ตอบของตนกลบั ไปใหแ มตามครูส่งั “สนุกจังเลยพอ” ผมย้ิมแลวบอกใหลูกเขานอน ลูกหลับไปนานแลว ผมยังไดยินแต เสยี งเลานิทานของตวั เองอยา งแจมชัดในมโนสํานึกในตอนที่วา “บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคล เพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องสถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม จะกระทาํ มไิ ด บุคคลยอ มมสี ิทธิเสมอกันในการรับการศกึ ษา” ประเด็น จากเนื้อหาเรอื่ ง “เรือ่ งเลา ของโดเรมอนท่ยี ังไมเ คยเลา ” หากผูเรียนเปนโนบิตะซึ่งเปน ผูบริหารประเทศ ผูเรียนจะทาํ การบริหารประเทศอยางไร เพ่ือใหประชากรในประเทศสามารถอยู รว มกนั ไดอยา งมคี วามสุข
180 กรณศี ึกษาเรอ่ื งท่ี 4 เรือ่ ง สายนาํ จบั เท็จ วัตถุประสงค 1. อธิบายคณุ ธรรมในการปฏิบัติงานได 2. วเิ คราะหวิธีการปองกันการทจุ ริตในการปฏิบตั ิงานได 3. มีจติ สาํ นกึ ในการปอ งกันปญหาการทุจริต เนือ้ หาสาระ 1. กฎหมายทเ่ี ก่ียวของกบั การปฏิบตั ิหนาที่ 2. คณุ ธรรมในการทํางานเพื่อปองกนั หรือหลีกเลี่ยงการทุจรติ กรณีศกึ ษา สายนําจบั หมายถงึ ผูทแี่ จงขอ มูลในการกระทําความผิดตอเจาหนาที่ผูมีอํานาจ เพื่อ ดําเนินการจับกุมและการมีคดีสายสืบนําจับ...เท็จ หมายถึง ไมมีสายนําจับตัวจริงเปนการสราง หลกั ฐานเท็จขึ้นมาเปนสายสืบ การจายเงินสนิ บนและเงินรางวัลแกผ ูแจงความนําจับ หรือสายนําจับ รวมท้ังเจาหนาท่ีท่ีทําการจับกุมส่ิงของลักลอบหนีภาษี โดยเจาหนาที่ผูจับกุมจะไดเงินรางวัล 30% ของมูลคาสิ่งของทจี่ ับกุมได แตถ า หากมีผแู จงความนาํ จบั หรอื สายแจง ความนําจับตอ เจา หนาที่ สายที่ แจงนําจับกจ็ ะไดเ งนิ สินบน 30% สว นเจา หนา ทีจ่ ะไดเงินรางวัล 25% ของมลู คาส่ิงของท่จี บั กมุ ไดรวม เปน เงนิ รางวัลที่จะไดเพ่มิ มากขน้ึ เปน 55% (30%+25%) จงึ เปนมลู เหตจุ งู ใจใหจ ัดทาํ หลักฐานใบแจง ความเท็จขึ้นมา โดยอางวามสี ายแจงความไวท ัง้ ๆ ท่ีเปนการจบั กุมตามหนาท่เี ทา น้ัน ประเดน็ จากเน้อื หาเรอื่ ง “สายนําจับเท็จ” ผเู รียนเห็นวา เจาพนักงานผูสรางหลักฐานการนํา จบั เทจ็ ข้ึนมา เพอื่ ผลประโยชนดา นใด และขดตอหลกั คณุ ธรรม จริยธรรมในดา นใด
181 ใบงาน 1. ใหผ ูเรียนศึกษากรณศี ึกษา 2. แบงกลมุ อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ ตามประเดน็ ที่กาํ หนดให 3. ใหผูสอนและผูเรียนรวมกันศกึ ษาหาขอมูลประกอบการอภปิ ราย 4. ใหผ ูส อนและผเู รียนสรปุ แนวคิดทีไ่ ดจากการอภปิ รายรว มกนั 5. ใหผ เู รยี นรวมทาํ กิจกรรมการเรยี นรูต อเนื่อง พรอ มสรุปรายงานผล กิจกรรมการเรยี นรตู อเนื่อง ใหผ ูเรียนทํากิจกรรม/โครงการ นําเสนอแนวทางการปอ งกนั การทุจรติ ในสว นราชการ พรอมจดั ทาํ รายงานเสนอผูส อน สือ่ และแหลงเรียนรู 1. Internet 2. หนงั สือพิมพ/เอกสารวชิ าการ
182 กรณศี ึกษาเรอ่ื งท่ี 4 เร่อื ง “สายนาํ จับ...เท็จ ความนํา สายนําจับ หมายถึง ผูท่ีแจงขอมูลในการกระทําความผิดตอเจาหนาที่ผูมี อํานาจ เพื่อดาํ เนนิ การจับกุม และการมีคดสี ายสบื นําจับ..เท็จ หมายถงึ ไมมสี ายนาํ จับตวั จรงิ เปนการ สรางหลักฐานเท็จข้นึ มาเปน สายสบื การจายเงนิ สนิ บนและเงนิ รางวัลแกผ ูแจง ความนาํ จบั หรือสายนําจับ รวมท้ังเจาหนาท่ีที่ทําการจับกุมส่ิงของลักลอบหนีภาษี โดยเจา หนาที่ผูจับกุมจะไดเงินรางวัล 30% ของมลู คา สิ่งของที่จบั กมุ ได แตถ า หากมีผูแจงความนําจับหรอื สายแจง ความนําจบั ตอ เจาหนา ที่ สายท่ี แจงความนาํ จบั ก็จะไดเงนิ สินบน 30% สว นเจา หนา ท่ีจะไดเงินรางวัล 25% ของมลู คา ส่ิงของทจี่ ับกมุ ได คาํ กลา วหา รองเรียนวา เจาหนา ท่ีจดั ทาํ ใบแจงความนาํ จับทองคําแทง เปนเท็จ ทั้ง ๆ ท่ี เปนการจบั กุมตามอํานาจหนาท่ี มิไดมีสายแจงความนําจับ เพราะเจาหนาท่ีจะไดท้ังเงินสินบนและ รางวัลเพิ่มขึ้นเปนเงิน 55% (30% + 25%) ของมูลคาส่ิงของท่ีจับได โดยในใบแจงความนําจับระบุ รายละเอยี ดวาในเวลา 06.00 น. ของวันท่ี 10 สงิ หาคม 2552 มีสายมาแจงความนําจับตอเจาหนาท่ี ประจําดานชายแดนวาจะมฝี รง่ั นาํ ทองคาํ แทง ผูกมัดดวยผาขาวมาติดกับตัวฝร่ัง รวมทั้งหมด 30 กิโลกรัม ฝรั่งจะน่ังรถยนตแท็กซ่ี หมายเลขทะเบียน 1234 จะมาถึงดานชายแดน เวลา 10.00 น.ของวันที่ 10 สิงหาคม 2552 เรามาดกู ันวาสายที่แจงความนําจับทองคําแทงจํานวน 30 กิโลกรัม จะมีตัวตนจริง หรอื ไม มีขอ สังเกตสาํ หรับคดวี า สายท่ีแจงความนําจับจะไมเปดเผยท่ีอยู จะมีเพียง “ลายพิมพ นว้ิ มอื ” เทา นน้ั การสืบคนไมสามารถคนหาเจาของลายนิ้วมือได จึงตองใชพยานแวดลอม หมายถึง พยานหลักฐานท่ีจะหักลางไดวา ไมมีสายนําจับจริง ในหลักฐานใบแจงความนําจับทราบวามี ผูเก่ียวของ คือ ฝร่ังที่ถูกจับกุม คนขับรถแท็กซ่ี หมายเลขทะเบียน 1234 ผูโดยสารในรถแท็กซ่ี หวั หนา ควิ แท็กซ่ี เจา หนาทที่ ด่ี าํ เนนิ การตรวจคนจับกุม และเจาหนาท่ีผูรับแจงความนําจับ จากการ สอบปากคาํ บคุ คลดงั กลาวขางตนไดขอเท็จจริงวา ฝรั่งที่ถูกจับช่ือ นายโจ ไดเดินทางโดยรถไฟจาก กรงุ เทพฯ ถึงหาดใหญ เวลา 07.00 ของวันที่ 10 สิงหาคม 2552 แลวจึงไปทีค่ ิวรถแท็กซี่หมายเลข ทะเบยี น 1234 ซ่งึ มีนายดีเปน คนขับรถ นอกจากน้นั ยังมีผูโดยสารน่ังไปดวยอีก 2 คน รวมคนขับกับ ฝรงั่ เปน 4 คน หวั หนาคิวแท็กซใ่ี หก ารวา แท็กซที่ ่คี วิ จะออกตามคิวที่จัดไว เม่ือผูโดยสารเต็มคันก็จะ ออกทนั ที แลวควิ แท็กซ่ีคันตอไปก็จะเขามาจอดรอรับผูโดยสารตอไป จะไมมีการจองรถแท็กซ่ีคันไหน ไวก อน เพราะเปนไปตามลําดับท่ีจัดไว เมื่อสายสืบไปท่ีคิวรถก็ไดสอบถามวา ในวันที่ 10 สิงหาคม 2552 มีใครจองรถแท็กซี่หมายเลขทะเบียน 1234 ไวกอนหรือไม ก็ไมปรากฏวามีการจอง เม่ือขอมูลเปน อยางน้.ี .. ก็หมายความวา กอ นเวลา 7.20 น. ของวนั ท่ี 10 สิงหาคม 2552 ไมมีผูใดทราบไดวา นายโจ
183 จะข้นึ รถแท็กซ่ีคนั ใด หมายเลขทะเบียนใด... การท่สี ายไปแจงความนําจบั ในเวลา 06.00 น. ของวันที่ 10 สงิ หาคม 2552 ไมนา จะเปน ไปไดจงึ เปนขอ พริ ธุ ขอ ท่ีหนึ่งแลว เมื่อรถแทก็ ซี่ หมายเลขทะเบียน 1234 ออกจากอาํ เภอหาดใหญ ถงึ อาํ เภอสะเดา ตอง ผา นการตรวจจากดานชายแดนทุกคนั กอ นเดนิ ทางออกนอกประเทศ คนขับรถและผูโ ดยสารไดล งจากรถ เพอ่ื ใหเ จา หนาทต่ี รวจดวู า มีของผดิ กฎหมายลกั ลอบออกนอกประเทศหรอื ไม เจา หนา ทไี่ ดตรวจภายในรถ และกระโปรงทายรถ แตไ มพ บสิง่ ของผดิ กฎหมาย ขณะทคี่ นขบั รถและผโู ดยสารจะเขา ไปในรถแท็กซี่ บังเอิญทีค่ นขบั รถไปชนที่ตัวของนายโจผูโดยสาร จงึ รูส ึกวา มขี องแข็งท่ีบริเวณลําตัวนายโจ จึงไปแจง ใหเจาหนาท่ีตรวจคนตว นายโจ จึงไดพบทองคําแทงผูกติดมากับตัวนายโจ เจาหนาท่ีจึงไดทําการ จับกุมนายโจ และเจาหนาที่ที่รับแจงความนําจับซ่ึงเปนผูถูกกลาวหายอมทราบขอมูลดีวาจะมี การลักลอบนําทองคําแทงออกนอกประเทศกลับไมอยูในท่ีเกิดเหตุ กลับไปน่ังดื่มกาแฟในที่ทําการ ชัน้ บน ประเดน็ ใหผูเรียนศึกษาเรอ่ื ง “สายนาํ จบั เท็จ” แลว ผูเ รยี นเหน็ วา เจาพนักงานผสู รา งหลกั ฐาน การนําจับเท็จขึ้นมาเพ่อื ผลประโยชนดานใด และขดั ตอหลักคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในดา นใด
184 กรณศี กึ ษาเร่อื งที่ 5 เร่อื ง อะไรอยใู นกลอ งไม วัตถปุ ระสงค 1. ระบุปญหาการทุจริตจากการใชอํานาจหนา ท่ีในทางทไี่ มถูกตอ ง 2. บอกคณุ ธรรมในการปฏิบัตติ น เพอ่ื การปอ งกันการทุจริตได 3. เกดิ จิตสาํ นกึ ในการปอ งกันการทุจริต เน้อื หาสาระ 1. ระเบยี บวธิ ีปฏิบตั ิในการนาํ สนิ คา เขาประเทศ 2. คณุ ธรรมในการทาํ งานเพือ่ ปองกัน หรอื หลีกเลีย่ งการทุจริต กรณีศึกษา นายเฮียง (นามสมมติ) เปนพอคาผูมีอิทธิพลในวงการธุรกิจและวงการเมือง ไดพา นักการเมืองและขาราชการช้ันผูใหญ จํานวนประมาณ 12 คน ไปเที่ยงเมืองจีน โดยนายเฮียง เปน ผอู อกคา ใชจายใหท้งั หมด ในวันเดินทางกลบั นายเฮยี ง ไดส ําแดงรายการส่ิงของโดยอา งวาเปนของทผี่ ูเดนิ ทางทั้ง 12 คน นําติดตัวเขา มาแจงวาเปน ไมแ กะสลกั ธรรมดา บรรจุใน 4 ลงั ใหญ เปนวิธีการที่นายเฮียง กระทํา เพอ่ื การลักลอบนาํ สินคามีคา จากเมืองจนี เขาประเทศ และสรางความสนิทสนมคุนเคยและใหส่ิงของ แกเ จาหนาที่ผูตรวจเปน ประจํา คราวนี้นายเฮียง นําส่ิงของมาฝากนายเอ (นามสมมติ) เจาหนาท่ีผูตรวจสินคาและ แจง วา ส่งิ ของเหลานี้เปน ของผูโดยสาร 12 คน ก็เกิดความเกรงใจและยังไดรับของฝากจากนายเฮียง กย็ งิ่ เกรงใจมากขึ้น จึงไดคํานวณและจัดเก็บภาษีเปนเงิน 1,000 บาท นายเฮียงจึงใชใบเสร็จรับเงิน คาภาษีดงั กลา วเปนใบเบิกทาง เพื่อขนสงิ่ ของออกจากลานสนามบิน นายดี (นามสมมติ) ท่ีอยูบริเวณ ดงั กลาวเห็นทา ทางผิดปกตจิ งึ เขาไปสอบถาม นายเฮียงแสดงใบเสร็จรับเงินคาภาษีใหนายดี ตรวจดู แตนายดี เหน็ วาใบเสร็จรับเงินคาภาษีสําหรับส่ิงของ 4 ลังใหญ ทําไมจึงเสียภาษีเพียง 1,000 บาท จึงขอกักของไวตรวจสอบ จากการตรวจสอบพบวา 2 ใน 4 ลัง เปน งาชางแกะสลัก สวนอีก 2 ลัง เปน เคร่ืองลายครามโบราณของแทส มัยราชวงศถัง ประเด็น 1. การทาํ หนาทขี่ องนาย เอ เปน การทุจริตจากการใชอ าํ นาจหนาทห่ี รือไม เพราะเหตุใด และมีผลเสียหายอยา งไร 2. การปฏิบัตติ นของ นายดี สอดคลองกบั หลกั คณุ ธรรมใด เพราะอะไร 3. ทานไดร ับประโยชนอะไรบา ง จากกรณศี ึกษาเรอื่ งนี้
185 ใบงาน 1. ใหผูเรยี นศึกษากรณีศึกษา 2. แบงกลมุ อภปิ ราย ตามประเด็นที่กาํ หนด 3. ใหต วั แทนกลมุ ออกมานาํ เสนอผลของการอภปิ รายกลุม 4. ใหผสู อนและผูเ รยี นรวมกนั สรุปแนวคิด ทไ่ี ดจากผลการอภปิ รายกลุม 5. ใหผ ูเรยี นรวมกนั วางแผนและจดั ทาํ กิจกรรมการเรยี นรตู อเน่ือง พรอ มสรปุ รายงานผล กิจกรรมการเรียนรูตอ เนื่อง ผเู รียนรวมกนั จดั ทํากิจกรรม/โครงการ เพ่อื สงเสรมิ การปองกนั และปราบปรามการทุจรติ พรอ มจดั ทําสรปุ รายงานผลเสนอผสู อน สื่อและแหลง เรยี นรู 1. สือ่ Internet 2. ผรู ู หรือหนว ยงานเกยี่ วกบั ระเบยี บวธิ ปี ฏิบตั ใิ นการนําสินคาเขาประเทศ
186 กรณศี ึกษาเรื่องที่ 6 เร่อื ง รถปลกู สะระแหน วตั ถุประสงค 1. ระบกุ ารทจุ ริตในการใชตําแหนงหนาที่ 2. บอกคุณธรรมในการปฏิบตั งิ านในหนาท่เี พื่อการปอ งกันการทจุ ริตได 3. เกดิ จิตสํานึกในการปอ งกันการทุจริต เน้ือหาสาระ 1. การเสยี ภาษีการนาํ สนิ คาเขา ประเทศ 2. คุณธรรมในการทาํ งานเพือ่ ปอ งกนั หรอื หลีกเลีย่ งการทจุ ริต กรณีศกึ ษา ตามกฎหมายระบุวา ผูที่นําวัตถุดิบเขามาในประเทศเพอื่ ใชผลิตสินคา แลวสงออก ตา งประเทศภายใน 1 ปนับแตว นั ทน่ี าํ วตั ถุดิบเขามา จะสามารถขอรับคนื เงินภาษีนําเขาวัตถุดิบท่ีจายไว ตอนนําวตั ถดุ ิบเขามา เร่ืองมีอยูวา มีผูประกอบธุรกิจรายหนึ่งไดยื่นขอรับคืนเงินภาษีนําเขาวัตถดุ ิบ รวม 6,400,000 บาท ตอหนวยงานราชการที่ไดเก็บภาษีนําเขาวัตถุดิบ โดยจัดทําหลักฐานวาไดสง สนิ คาออกนอกประเทศ น่ันคือ ใบขนสินคาขาออก จํานวน 8 ฉบับ ใบขนสินคาขาออกไดระบวุ ันท่ี ขนสนิ คา ออกและหมายเลขทะเบียนรถบรรทุกท่ีขนสนิ คา ออกนอกประเทศ ซ่ึงผานดา นชายแดนทาง ภาคใตท่ีอยูติดกับประเทศมาเลเซียโดยผานดานชายแดน - ดานในเวลา 15.00 น. และผานดาน ชายแดน - ดานนอก เวลา 13.00 น. ในวันเดียวกนั โดยมีเจา หนาท่ีดา นชายแดนท้งั ดา นในและดานนอก ตรวจสนิ คาและลงชือ่ กาํ กับไวในใบขนสนิ คาขาออก จากการสืบหาขอมูลและหลักฐาน พบวา ไมมีการใชรถบรรทุกรับจางขนสินคาให ผูประกอบธุรกจิ รายน้ี และจากการดูรถที่มีหมายเลขทะเบียนตรงกับรถบรรทุกท่ีระบุในใบขนสินคา ขาออกหรือไม ปรากฏวา เปน รถทมี่ ีหมายเลขทะเบียนตรงกัน แตสภาพความเปนจริง คือ มีตนไมเลื้อย เตม็ ไปหมด ไมสามารถขับเคล่ือนไดแลว จึงเรียกวา “รถปลูกสะระแหน” น่ีเปนที่มาของการจัดทํา เอกสารใบขนสนิ คาขาออกอันเปนเท็จ โดยนําทะเบยี นรถทไ่ี มไ ดใ ชแ ลวมาระบใุ นใบขนสนิ คา ขาออก เม่ือไปถึงดานชายแดน - มาเลเซีย สภาพแวดลอมของดานที่นี่มีองคประกอบหลัก คลายกับดานชายแดนท่ัวไป คือ มีอาคารที่ทําการ มี “ดานใน” คือ ดานท่ีตรวจรถยนตทุกคันที่จะ เดินทางออกนอกประเทศ ถาเปนรถบรรทุกสินคาจะตองดําเนินพิธีการ โดยผูประกอบธุรกิจท่ีจะ ขนสนิ คาออกจะตอ งยืน่ เอกสารใบขนสินคาขาออก โดยมีรายละเอียดหลกั คือ ระบุสินคา หมายเลข ทะเบยี นรถ เจาหนา ท่ที ด่ี านชายแดนจะทําการตรวจสมุ สนิ คาและตรวจสอบหมายเลขทะเบียนรถวา ตรงตามใบขนสินคาขาออกหรือไม ถาถูกตองเจาหนาท่ีจะลงช่ือผานการตรวจพรอมลงวัน เดือน ป
187 เวลา ในใบขนสนิ คา ขาออก เมื่อผานดานน้แี ลวรถจะแลนออกไปที่ชายแดน ซึ่งมีระยะทางหางออกไป ประมาณ 200 - 300 เมตร จะมอี กี ตําแหนง เรยี กวา “ดานนอก” เจาหนาที่ประจาํ ดานนอกจะตรวจ ใบขนสินคาขาออกวาถูกตองหรือไม เจาหนาท่ีดานในไดลงชื่อผานการตรวจมาแลวหรือไม เม่อื ตรวจสอบแลว เจา หนา ที่ประจําดา นนอกจะลงชอ่ื ผานการตรวจและลงวนั เวลา ในใบขนสนิ คา ขาออก อกี ครงั้ หนง่ึ จากน้นั รถจึงแลน ออกจากประเทศไทยไปยังดานชายแดนของประเทศมาเลเซีย จากการตรวจสถานที่พบวา จากดานนอกของไทยไปยังดานชายแดนของประเทศ มาเลเซียจะมีถนนเพียงเสนเดียวแลนตรงไปที่ดานชายแดนประเทศมาเลเซีย โดยทั้งสองจุดนี้มี ระยะหางประมาณ 500 เมตร ตามปกตคิ วรจะใชเวลาแลน นานสกั เทาไร นอกจากนั้นเจาหนาท่ีดานในและดานนอกยืนยันวาเปนลายมือช่ือของตนจริง โดยมี เวลาผานดา นใน เวลา 15.00 น. แตเวลาผานดานนอกลงเวลา 13.00 น. ในใบขนสินคาขาออก ซึ่ง เปน หลักฐานเท็จท่ที าํ ขึน้ อยางลวก ๆ ประเด็น 1. การกระทาํ ของเจา หนา ที่ดานชายแดนกระทําการทุจรติ หรอื ไม และมผี ลกระทบให เกิดความเสยี หายอยางไร 2. จากกรณีศกึ ษาทานคดิ วาเจา หนา ที่ดานชายแดนควรใชหลักธรรมใดในการดํารงชีวิต เพราะอะไร 3. จากการศกึ ษาตามกรณศี ึกษาทา นไดประโยชนอะไรบา ง
188 ใบงาน 1. ใหผูเรยี นศกึ ษากรณศี ึกษา 2. แบง กลุมผเู รียนอภปิ รายตามประเดน็ ท่กี าํ หนด 3. ใหต วั แทนกลมุ ออกมานาํ เสนอผลการอภปิ รายกลมุ 4. ใหผ ูส อนและผูเรยี นรว มกนั สรปุ แนวคดิ ท่ีไดจากผลการอภปิ รายกลมุ 5. ใหผูเรียนวางแผนและจดั ทาํ กจิ กรรมการเรยี นรตู อเนื่องพรอ มสรุปรายงานผล กิจกรรมการเรยี นรตู อเนื่อง ผูเรียนรวมกันจัดทํากิจกรรม/โครงการ เพื่อสงเสริมการปองปราบการทุจริตพรอม จดั ทําสรปุ รายงานผลเสนอผูส อน สือ่ และแหลง เรียนรู 1. สอื่ Internet 2. ผรู ู หรอื หนวยงานเกีย่ วกบั ระเบียบวธิ ปี ฏบิ ตั ิในการจดั เกบ็ ภาษีสินคา เขาประเทศ
189 บรรณานกุ รม การทุจริตคอื อะไร, เขาถึง www.oknation.net วันที่ 19 มีนาคม 2556. การศาสนา, กรม. เอกสารเผยแพรเก่ียวกับองคการศาสนาตาง ๆ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพก รมการ ศาสนา, มปพ. การศกึ ษานอกโรงเรยี น,กรม. ชุดวิชาพัฒนาสงั คมและชุมชน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน . กรงุ เทพฯ : เอกพมิ พไทย จํากัด, มปพ. ____________________ชุดวชิ าพัฒนาสังคมและชมุ ชน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ : เอกพิมพไ ทย จาํ กัด, มปพ. จม่ืนอรดรณุ ารกั ษ (แจม สุนทรเวช). พระราชประเพณี (ตอน 3). กรงุ เทพฯ : องคการการคา ของ คุรสุ ภา, 2514. จักราวธุ คาทว.ี สันติ/สามัคค/ี ปรองดอง/คา นยิ ม 12 ประการ ของ คสช. : เนื้อหาชวยสอน และ จัดกจิ กรรมเพอื่ นคร,ู 2557. (เอกสารอดั สาเนา). ชุลีพร สุสวุ รรณ และสุทธิราภรณ บริสุทธ์ิ. ความรูรอบตัวขนบธรรมเนียมและประเพณีไทย. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พท พิ ยส ทิ ธิ์, 2544. เดอื น คาํ ดี. ศาสนาเบอ้ื งตน . กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2531. มหามกฎุ ราชวิทยาลัยในพระราชูปถัมภ. พระสูตรและอรรถกถาแปลงทุกขกนิกายชาดก เลมท่ี 3 ภาคท่ี 4. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พม หามกฎุ ราชวทิ ยาลัยฒ 2534.
190 ทองสืบ ศุภมารค. พระพทุ ธศาสนาในกัมพูชา. กรุงเทพฯ : สภาวิจยั แหงชาต,ิ 2544. ประยูรศกั ดิ์ ชลายนเดชะ. มุสลิมในประเทศไทย. กรงุ เทพฯ : อมรินทรพ ร้ินต้ิงกรฟุ จํากัด, 2531. ____________________มุสลิมในประเทศไทย. คร้ังที่ 2 กรุงเทพฯ : โครงการหอสมุดกลาง อสิ ลาม, 2546 บรรเทิง พานจิตร. ประเพณี วฒั นธรรมไทยและคติความเชื่อ. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร. 2549. ราชกจิ จานเุ บกษา เลมท่ี 127 ตอนที่ 69 ก. ประกาศวันท่ี 12 พฤศจิกายน 2553. พระราชบัญญัติวฒั นธรรมแหงชาติ พทุ ธศกั ราช 2553. วศนิ อสิ ทสระ. พุทธโอวาทกอนปรินิพพาน. ครง้ั ที่ 4 กรงุ เทพฯ : ศลิ ปะสยามบรรจุภัณฑและ การ พิมพ จาํ กดั , 2548. สมโพธิ ผลเต็ม (น.อ.) ปรชั ญาคมคาํ กลอน 100 เรือ่ งแรก. กรงุ เทพฯ : ทรงสริ วิ รรณ จํากัด, 2545. สชุ ีพ ปญุ ญานภุ าพ. ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง, 2534. สาํ นกั กฎหมาย สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ (ป.ป.ช.). รวมกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ทีเ่ กย่ี วขอ งกับการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต, 2555. _______. “ยทุ ธศาสตรชาติวาดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ ”. สาํ นกั งาน คณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ. _______. กรอบเนือ้ หาสาระ เรอื่ ง การมสี วนรวมของประชาชนในการปองกันและปราบปราม
191 การทุจรติ , 2556. เอกสารอดั สาํ เนา สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริตแหง ชาติ (ป.ป.ช.). รวมพลังเดนิ หนาฝาวกิ ฤตคอรรปั ชัน, เอกสารประชาสัมพนั ธ มปป. _______. โครงการเสริมสรางเครือขา ยประชาชนในการพทิ กั ษสาธารณสมบตั ิ, 2553 (เอกสาร อดั สาํ เนา) เวบ็ ไซต http://www.k-tc.co.th/festival.php สบื คนเม่อื วันท่ี 2 มีนาคม 2553. เวบ็ ไซต http://www.larnbuddhism.com/grammathan/promvihan.html เรื่อง “พรหมวิหาร 4” สบื คนเม่อื วนั ท่ี 2 มีนาคม 2553. เวบ็ ไซต http://www.th.wikipedia.org/wiki เรื่อง “ประวตั พิ ทุ ธศาสนา” จากวิกิพเี ดีย สารานุกรม เสรี สืบคนเม่ือวันท่ี 3 มนี าคม 2553 เว็บไซต http://www.wlc2chaina.com/about_china.html บทความเรื่องประเพณี วัฒนธรรมจีน สืบคนเมือ่ วนั ท่ี 3 มีนาคม 2553. เว็บไซต http://www.e-learning.mfu.ac.th/mflu/16041010/chapter1/Lesson1.htm#13 รวม บทความของพงศเ พ็ญ ศกุนตาภยั . เรื่องรฐั ธรรมนญู และการปกครอง. กรงุ เทพฯ : โรง พมิ พจ ุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534. สืบคน เม่ือวันที่ 3 มนี าคม 2553 เว็บไซต http://www.riis3.royin.go.th/dictionary.asp สบื คน เม่ือวันท่ี 11 กุมภาพนั ธ 2553. เวบ็ ไซต http://www.gotoknow.org/blog/works-of-archannop/51974 บทความของนายนพ นธิ ิ สรุ ิยะ เรื่อง “วิวัฒนาการสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ตอนที่ 2” สืบคนเมื่อวันท่ี 3 มนี าคม 2553.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207