73 หน่วยที่ 3 อปุ กรณท์ ำงำนในระบบนวิ แมติกส์
74 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยที่ 3 หน้าท่ี 1/2 วิชำ นิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครง้ั ท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ช่ือหน่วย อปุ กรณ์ทางานในระบบนวิ แมติกส์ 3/18 ปฏิบัติ 2 คาบ คำชีแ้ จง : 1. แบบทดสอบชดุ นม้ี ที ้งั หมด 10 ข้อ เวลา 10 นาที 2. ให้ทำเครือ่ งหมาย () ลงในขอ้ ท่ีถกู ต้องท่ีสดุ เกณฑก์ ารประเมนิ : ข้อละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน 1. จากรปู คือสญั ลักษณ์ของอุปกรณ์ใด ก. กระบอกสูบทางานทางเดยี ว ข. กระบอกสูบทางานสองทาง ค. กระบอกสบู ทางานสองขา้ ง ง. มอเตอร์ลมแบบหมุนสลับ จ. กระบอกสบู ทางานทางตรง 2. จากรปู คือสัญลักษณข์ องอุปกรณ์ใด ก. กระบอกสูบทางานทางเดยี ว ข. กระบอกสบู ทางานสองข้าง ค. กระบอกสูบทางานสองทาง ง. มอเตอร์ลมแบบหมนุ สลับ จ. กระบอกสบู ทางานทางตรง 3. จากรปู คือสัญลักษณ์ของอุปกรณใ์ ด ก. กระบอกสูบทางานทางเดียว ข. กระบอกสูบทางาสองขา้ ง ค. มอเตอร์ลมแบบหมนุ สองทิศทาง ง. มอเตอรล์ มแบบหมนุ สลับ จ. กระบอกสูบทางานทางตรง 4. ควรเลือกอุปกรณใ์ ดเมื่อต้องการแรงท้ังไปและกลบั ก. กระบอกสูบทางานทางเดยี ว ข. กระบอกสบู ทางานสองทาง ค. กระบอกสูบช่วงชกั หลายตาแหนง่ ง. กระบอกสูบก้านสูบสองขา้ ง จ. มอเตอรล์ มแบบหมนุ สลับ 5. ควรเลอื กใชอ้ ุปกรณ์ใดเมือ่ ต้องการเฉพาะแรงผลักช้นิ งาน ก. กระบอกสูบทางานทางเดียว ข. กระบอกสูบทางานสองทาง ค. กระบอกสบู ช่วงชักหลายตาแหน่ง ง. กระบอกสูบก้านสูบสองขา้ ง จ. มอเตอรล์ มแบบหมนุ สองทศิ ทาง
75 นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) แบบทดสอบก่อนเรียน หน้ำท่ี 2/2 หนว่ ยที่ 3 6. อปุ กรณใ์ ดเหมาะสาหรับงานเปดิ -ปดิ วาล์ว ข. กระบอกสูบทางานสองทาง ก. กระบอกสบู ทางานทางเดยี ว ง. กระบอกสูบช่วงชกั หลายตาแหนง่ ค. กระบอกสูบหมนุ จ. กระบอกสูบก้านสูบสองขา้ ง 7. อปุ กรณ์ทางานข้อใด เหมาะสาหรับทาเป็นประแจถอดนทั ล้อรถยนต์ ก. กระบอกสูบทางานทางเดยี ว ข. กระบอกสบู ทางานสองทาง ค. มอเตอร์ลมแบบหมุนสลับ ง. มอเตอรล์ มแบบหมุนสองทศิ ทาง จ. กระบอกสูบกา้ นสูบสองขา้ ง 8. โครงสรา้ งของมอเตอร์ลมโดยท่ัวไปเป็นแบบใด ข. เฟืองฟนั นอก ก. ลกู สบู ง. กงั หัน ค. เฟืองฟนั ใน จ. ใบพัด 9. อปุ กรณ์ข้อใดควรใช้กบั ลักษณะงานทีต่ อ้ งการแรงบดิ สงู ก. มอเตอรล์ มแบบลูกสูบ ข. มอเตอร์ลมแบบใบพดั เล่ือน ค. กระบอกสูบแบบลูกสบู หมุน ง. กระบอกสบู แบบใบพัดเลื่อน จ. มอเตอร์ลมแบบหมนุ สองทศิ ทาง 10. อุปกรณ์ข้อใดควรใช้กับลกั ษณะงานท่ีตอ้ งกลับทางหมุน ก. มอเตอรล์ มแบบลกู สบู ข. มอเตอรล์ มแบบใบพดั เล่อื น ค. กระบอกสบู แบบลูกสบู หมุน ง. กระบอกสูบแบบใบพดั เล่ือน จ. มอเตอร์ลมแบบหมุนสลับ
76 ใบเน้ือหำ หนว่ ยที่ 3 หน้าท่ี 1/16 วิชำ นิวแมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนคร้งั ท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ชอ่ื หน่วย อุปกรณท์ างานในระบบนิวแมติกส์ 3/18 ปฏบิ ตั ิ 2 คาบ หวั ข้อเรื่อง (Topics) 3.1 อุปกรณ์ท่เี คลอ่ื นท่เี ปน็ เส้นตรง 3.2 อุปกรณ์ที่เคลือ่ นท่ีเป็นเส้นรอบวง แนวคดิ สำคัญ (Main Idea) ระบบนิวแมติกส์ เป็นการเปลี่ยนพลังงานของความดันลมให้เป็นพลังงานกล โดยแสดงผลท่ี อุปกรณ์ทางานในระบบนิวแมตกิ สใ์ นลักษณะหลาย ๆ รูปแบบ แต่ละชนดิ แตกต่างกนั ออกไปเพื่อให้เกิด ความเหมาะสมกับการใช้งานเฉพาะอยา่ งและกอ่ ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพกบั งานผลิต สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) แสดงความรเู้ กีย่ วกบั อปุ กรณ์ทางานในระบบนิวแมตกิ ส์ จดุ ประสงคท์ ัว่ ไป (General Objectives) เพ่ือให้มคี วามรู้แสดงความรู้เกยี่ วกับอปุ กรณท์ างานในระบบนิวแมติกส์ จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม (Behavioral Objectives) 1. บอกลกั ษณะโครงสรา้ งและการทางานของลูกสบู ลมชนิดทางานทางเดียวได้ถกู ตอ้ ง 2. บอกลกั ษณะโครงสรา้ งและการทางานของลูกสบู ลมชนดิ ทางานสองทางได้ถูกตอ้ ง 3. บอกชื่ออุปกรณท์ างานในลกั ษณะหมนุ แกว่งได้ถูกต้อง 4. บอกชื่ออุปกรณ์ทางานในลกั ษณะหมนุ รอบได้ถกู ต้อง
77 นิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์ (30100-0104) ใบเน้ือหำ หน่วยที่ 3 หน้ำที่ 2/16 เนอื้ หำสำระ (Content) อุปกรณ์ทางานในระบบนิวแมติกส์คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานลมอัดให้เป็นพลังงาน กล แล้วนาไปขับเคลื่อนหรือควบคุมเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ ในสมัยก่อน ที่ลูกสูบลมจะเข้ามามี บทบาท ในงาน อตุ สาหกรรมยังใช้กลไกทางกลและทางไฟฟ้า มีความย่งุ ยากในการควบคุม และปัญหา ของช่วงชัก จากดั ดงั น้นั ในอตุ สาหกรรมสมัยใหม่จึงพฒั นาลูกสูบลมมาใช้ในงานจนถึงปจั จุบัน อุปกรณ์ ทางานแบ่งเป็น 2 ประเภท ตามลักษณะการทางานคือ อุปกรณ์ที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง (linear motion) และอปุ กรณท์ ท่ี าใหเ้ กิดการเคลื่อนทใี่ นแนวเสน้ รอบวง (rotary motion) รปู ท่ี 3.1 อุปกรณท์ างานระบบนิวแมตกิ ส์ ท่ีมำ : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบษุ กร มาลา และบษุ กร มาลา (2556 : 55)
อุปกรณท์ ำงำน 78 working element นวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) เคลอ่ื นท่เี ป็นเสน้ ตรง เคลอ่ื นท่เี ป็นเสน้ รอบวง linear motion rotary motion กระบอกสบู ทางเดยี ว กระบอกสบู สองทาง แบบหมนุ แกวง่ แบบหมนุ ตอ่ เน่อื ง oscillating motion single acting cylinder double acting cylinder rotary motion กระบอกสบู ชนดิ แกนหมนุ ชนดิ ถอยกลบั ดว้ ยสปรงิ ชนดิ ท่วั ไป ชนดิ ใบพดั เลือ่ น (rotary cylinder) (return spring) (double acting cylinder) (semi rotary drive) ชนดิ ใบพดั เล่อื น ชนดิ เล่อื นออกดว้ ยสปรงิ ชนดิ มกี า้ นสบู สองขา้ ง ชนิดลกู สบู (sliding vane motor) (return by pressure) (double End Rod Cylinder) (piston motor) ชนิดกลบั ดว้ ย ชนดิ หลายช่วงชกั ใบเนื้อหำ หนว่ ยท่ี 3 หน้ำท่ี 3/16 แรงภายนอก (multi position cylinder) ไม่มกี า้ นสบู (rodless cylinder) อ่ืน ๆ รูปท่ี 3.2 โครงสรา้ งการแบง่ ประเภทและชนดิ ของอปุ กรณท์ างาน
79 นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนื้อหำ หน่วยที่ 3 หนำ้ ท่ี 4/16 3.1 อุปกรณท์ ีเ่ คลอื่ นทเี่ ปน็ เส้นตรง อุปกรณ์ที่เคลื่อนที่เป็นเส้นตรง (linear motion) ในระบบนิวแมติกส์อุปกรณ์ที่เคลื่อนที่เป็น เส้นตรงจะนิยมใช้ลูกสูบลม (pneumatic cylinder) เพราะใช้งานง่ายโครงสร้างไม่ซับซ้อน ลูกสูบ ส า ม า ร ถ แ บ ่ ง ไ ด้ 2 ชนดิ คือ 3.1.1 ลกู สบู ลมชนิดทำงำนทำงเดียว (single–acting cylinder) ตำรำงที่ 3.1 ลูกสูบลมชนิดทางานทางเดยี ว ลักษณะโครงสร้ำง 1. กระบอกสูบ (cylinder barrel) 2. ลูกสบู (piston) 3. กา้ นสบู (piston rod) 4. สปรงิ ดันกลบั (return spring) 5. ซีล (seal) 6. บชู ก้านสบู (bush bearing) 7. รูจ่ายลม (working port) 8. รรู ะบายลม (exhaust port) แบบถอยกลบั ดว้ ยสปรงิ สญั ลกั ษณ์ แบบเล่ือนออกดว้ ยสปรงิ ลมออก ลมเขา้ กำรทำงำนจังหวะกำรเคลือ่ นทีอ่ อก ก้านสูบเคลื่อนที่ออกได้โดยแรงดันของ ลมที่เข้าไปดันหัวลูกสูบ โดยจะต้องเอาชนะแรง ต้านของสปริงและความฝืดภายในกระบอกสูบ จังหวะ เคลอ่ื นท่ีเข้า กา้ นสูบเคลื่อนที่กลบั ด้วยแรงสปรงิ ลมออก ทีม่ ำ : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบษุ กร มาลา และบุษกร มาลา (2556: 57)
80 นิวแมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนื้อหำ หน่วยท่ี 3 หนำ้ ท่ี 5/16 ตำรำงท่ี 3.1 (ตอ่ ) ลูกสูบลมชนดิ ทางานทางเดยี ว ลักษณะกำรใชง้ ำน ใช้กับงานออกแรงทางานในทิศทางเดียว และในจังหวะกลับไม่ควรจะรับแรงใด ๆ รวมถึง งานที่มีระยะชักสั้น ๆ ตัวอย่างของงานเช่น งาน จับยดึ ชน้ิ งาน งานยกของ งานป้อนทศิ ทางเดยี ว รูปร่ำงอุปกรณ์ 1. จะสงั เกตเห็นรปู ้อนลมเพียง 1 รู 2. เมื่อดึงก้านสูบออกหรือดันเข้าแล้ว ปล่อยมอื ลกู สบู จะเคลอ่ื นทกี่ ลบั ดว้ ยแรงสปรงิ 3. มรี ะยะชกั สั้นๆไมเ่ กนิ 100 มม. ท่ีมำ : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบษุ กร มาลา (2556: 58) 3.1.2 ลกู สูบลมชนิดทำงำนสองทำง (double acting cylinder) ตำรำงที่ 3.2 ลูกสบู ลมชนดิ ทางานสองทาง ลักษณะโครงสรำ้ ง 16 3 1 ประกอบด้วย ลูกสูบและก้านสูบ ซึ่ง เคลื่อนที่ไปมาอยู่ภายในกระบอกสูบที่ปิดหัวท้าย โดยใช้ลมอดั ไปอัดเพ่ือทาให้เกิดการเคลื่อนท่ี 1. รปู อ้ นลม (working port) 2. ฝาสบู หวั ท้าย (base & bearing cap) 4 25 3. ลกู สบู (piston) 2 4. กา้ นสบู (piston rod) 5. กระบอกสูบ (cylinder) 6. ซลี (seal) สญั ลกั ษณ์
81 นวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์ (30100-0104) ใบเนื้อหำ หน่วยท่ี 3 หน้ำที่ 6/16 ตำรำงท่ี 3.2 (ต่อ) ลกู สูบลมชนิดทางานสองทาง กำรทำงำน จงั หวะเคลือ่ นที่ออก กา้ นสบู เคลอ่ื นท่อี อกได้โดยแรงดันของ ลมทเี่ ขา้ ไปดนั ดา้ นหัวลูกสบู จังหวะเคลอ่ื นทเ่ี ขำ้ ก้านสูบเคลื่อนทเี่ ข้าได้โดยแรงดนั ของลม ท่เี ขา้ ไปดันลูกสบู ดา้ นกา้ นสูบ ลกั ษณะกำรใช้งำน ใช้กับงานที่ต้องการใช้แรงทั้งจังหวะเลื่อน เขา้ -ออก และงานท่ตี ้องการช่วงชกั ยาว ๆ เช่น 1. งานเปดิ –ปิดประตู 2. งานป้อนเจาะ 3. งานเล่ือนชิน้ งาน รูปรำ่ งอุปกรณ์ 1. จะสังเกตเหน็ รูป้อนลม 2 รู 2. มสี ัญลกั ษณ์บอกชนดิ ของลกู สูบ ท่มี ำ : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบุษกร มาลา (2556: 59)
82 นวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนอ้ื หำ หนว่ ยที่ 3 หนำ้ ท่ี 7/16 ลูกสบู สองทำงยังแบ่งเปน็ ชนิดตำ่ ง ๆ อีกหลำยแบบ เช่น 1. ลูกสูบสองทางชน ิดมีเบาะลมกัน กระแ ทก (cylinder with end position cushioning) ตำรำงท่ี 3.3 ลูกสบู สองทางชนิดมเี บาะลมกนั กระแทก 53 ลกั ษณะโครงสร้ำง 1. กระบอกสูบ (cylinder barrel) 24 1 2. ฝาสบู หัวท้าย (base & bearing cap) 3. ลูกสูบ (piston) 4. ลูกสูบกันกระแทก (cushion piston) 5. สกรปู รบั (adjustable screw) สัญลักษณ์ กำรทำงำน จังหวะแรกที่ก้านสูบเริ่มเคลื่อนที่ลม ระบายด้านตรงข้ามจะไหลออกไดส้ ะดวก ทาให้ กา้ นสบู เคลือ่ นท่ีเรว็ เมอื่ ก้านสูบเคล่อื นทีอ่ อกไป จนเกือบสุดระยะชัก ลูกสูบกันกระแทกจะปิด ช่องระบายลมออก ลมส่วนที่เหลือจะระบาย ออกโดยผ่านทางแคบที่สกรูปรับ ทาให้ก้านสูบ เคลื่อนที่ช้าลง แรงกระแทกระหว่างลูกสูบกับ ฝาสูบจะลดลง ลักษณะกำรใชง้ ำน ใช้กับงานที่ก้านสูบต้องเคลื่อนที่ด้วย ความเร็วสูง เพื่อลดแรงกระแทกระหว่างลูกสูบ กบั ฝาสูบ ทมี่ ำ : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบุษกร มาลา (2556 : 60)
83 นวิ แมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนื้อหำ หน่วยท่ี 3 หน้ำที่ 8/16 2. ลกู สบู ชนดิ กา้ นสบู สองข้าง (cylinder with double sided piston wool) ตำรำงท่ี 3.4 ลูกสบู ชนดิ กา้ นสูบสองขา้ ง ลักษณะโครงสรำ้ ง ลักษณะโครงสร้างเหมือนกับลูกสูบชนิด ทางานสองทางแบบปกติ แต่จะตา่ งกันตรงท่มี ี กา้ นสูบทส่ี ามารถใช้งานไดส้ องขา้ ง สญั ลกั ษณ์ กำรทำงำน ลกั ษณะการทางานเหมือนกบั ลูกสูบชนิด ทางานสองทางแบบปกติ แต่จะต่างกันตรงท่มี ี ก ้ า น ส ู บ ท ี ่ ส า ม า ร ถ ใ ช ้ ง า น ไ ด ้ ส อ ง ข ้ า ง ท า ใ ห้ สามารถนาก้านสบู ไปใชง้ านได้ 2 ขา้ ง ลักษณะกำรใช้งำน ใช้กับงานที่ต้องการใช้ก้านสูบทั้งสอง ข้าง รูปร่ำงอปุ กรณ์ สังเกตรูป้อนลม 2 รู และก้านสูบ โผลอ่ อกมาจากกระบอกสูบทง้ั สองด้าน ทมี่ ำ : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบุษกร มาลา (2556 : 61)
84 นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์ (30100-0104) ใบเน้อื หำ หน่วยท่ี 3 หน้ำที่ 9/16 3. ลูกสบู ชนดิ ช่วงชักหลายตาแหนง่ (multi–position cylinder) ตำรำงท่ี 3.5 ลกู สบู ชนดิ ชว่ งชกั หลายตาแหน่ง ลักษณะโครงสร้ำง ประกอบด้วยลูกสูบทางานสองทาง 2 ตัว ประกอบร่วมกนั ในกระบอกสบู เดียวกัน สัญลักษณ์ กำรทำงำน ป้อนลมเข้ากระบอกสูบตามลูกศร ซึ่งจะ ไดร้ ะยะตามรูปท่ีแสดงไว้ มี 4 ตาแหนง่ ด้วยกนั ลกั ษณะกำรใช้งำน ใ ช ้ ก ั บ ง า น ท ี ่ ต ้ อ ง ก า ร ใ ห ้ ก ร ะ บ อ ก สู บ กระบอกเดียวกันหยดุ ได้หลายตาแหนง่ รูปรำ่ งอปุ กรณ์ สังเกตรูป้อนลม 4 รู และมีก้านสูบ โผล่ออกมาจากกระบอกสบู ทั้งสองด้าน ท่ีมำ : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบษุ กร มาลา (2556 : 62)
85 นวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์ (30100-0104) ใบเนอื้ หำ หน่วยที่ 3 หน้ำท่ี 10/16 4. ลูกสบู สองทางชนดิ ไม่มกี า้ นสูบ (rodless cylinder) ตำรำงที่ 3.6 ลูกสบู สองทางชนดิ ไมม่ ีก้านสูบ 23 ลักษณะโครงสรำ้ ง 11 1. รูปอ้ นลมเข้า–ออก (working port) 2. แทน่ ลกู สบู 3. ลกู สบู (piston) สัญลกั ษณ์ กำรทำงำน กระบอกสูบแบบนี้จะมีลักษณะการ ทางานเหมือนกับกระบอกสูบสองทางแบบ ธรรมดาโดยที่ภายในก้านสูบจะมีแม่เหล็กติด อ ย ู ่ ก ั บ ล ู ก สู บ ที่เคลื่อนที่ได้ เมื่อมีแรงดันลมดันให้แม่เหล็ก เคลื่อนท่ี เส้นแรงแม่เหล็กจะดึงให้ลูกสูบ ภายนอกเคลื่อนที่ตามไปดว้ ย ลกั ษณะกำรใชง้ ำน ใช้กับงานที่ต้องการช่วงชักยาว ซึ่งมี ระยะชักสูงสุดถึง 5 เมตร และความเร็วในการ เคลือ่ นที่ สูงสดุ 40 เซนติเมตร/วินาที รปู รำ่ งอุปกรณ์ ท่ีมำ : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบุษกร มาลา (2556 : 63)
86 นิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ (30100-0104) ใบเนอ้ื หำ หน่วยท่ี 3 หน้ำที่ 11/16 ชนิดของกระบอกสบู สญั ลกั ษณ์ของกระบอกสูบแบบตำ่ ง ๆ ตำรำงท่ี 3.7 สญั ลกั ษณ์ของกระบอกสูบ สญั ลกั ษณ์ กระบอกสูบทางเดียวแบบถอยกลบั ด้วยสปริง กระบอกสูบทางเดยี วแบบเล่ือนออกด้วยสปรงิ กระบอกสูบสองทางแบบท่ัวไป กระบอกสูบสองทางแบบมกี ันกระแทกปรับคา่ ได้ กระบอกสบู สองทางแบบไม่มีก้านสบู กระบอกสูบสองทางแบบมกี ้านสบู สองดา้ น กระบอกสบู สองทางแบบกา้ นสบู คู่ กระบอกสบู สองทางแบบหลายชว่ งชกั ทมี่ ำ : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบษุ กร มาลา (2556 : 64)
87 นิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์ (30100-0104) ใบเนือ้ หำ หน่วยท่ี 3 หน้ำท่ี 12/16 3.2 อุปกรณ์ทเี่ คลอ่ื นทเ่ี ปน็ เส้นรอบวง อปุ กรณท์ ่เี คลือ่ นท่ีเป็นเสน้ รอบวง (rotary motion) แบ่งได้เป็น 2 ชนิด 3.2.1 อปุ กรณท์ ำงำนในลักษณะของกำรหมุนแกว่ง (oscillation motion) 1. แบบลูกสูบหมุน ตำรำงท่ี 3.8 อุปกรณ์หมุนแกว่งแบบลูกสูบหมนุ 16 5 ลักษณะโครงสร้ำง 1. กระบอกสูบ (cylinder barrel) 24 32 2. ฝาสูบหวั ท้าย (base & bearing cap) 3. ลูกสบู (piston) 4. ก้านสบู (piston rod) 5. เฟือง (pinion) 6. เฟอื งสะพาน (rack) สัญลักษณ์ กำรทำงำน จะมีลมดันเข้าไปในกระบอกสูบเพื่อดัน ลูกสูบ ทาให้ก้านสูบที่มีเฟืองสะพานเลื่อนไป หมุนให้เฟืองหมุน ซึ่งสามารถเอาไปใชง้ านต่อได้ โดยจานวนรอบที่เฟืองหมุนไปและหมุนกลับ ข ึ ้ น อ ย ู ่ ก ั บ ค ว า ม ย า ว ช ่ ว ง ช ั ก ข อ ง ก ้ า น สู บ โดยทั่วไปแล้วมุมที่หมุนไปและกลับมีค่า มาตรฐานดังนี้ 45, 90, 290 และ 720 ค่ามุมท่ี หมุนหรือแกว่งนี้ก็สามารถปรับได้ โดยการตั้ง ร ะ ย ะ ช ่ ว ง ช ั ก ด ้ ว ย ส ก รู ปรบั ค่าแรงบิดท่ไี ด้ขึน้ อย่กู บั ความดันของลมอัด ขนาดลกู สบู และอตั ราทด ทีม่ ำ : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบษุ กร มาลา (2556 : 65)
88 นวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์ (30100-0104) ใบเนอื้ หำ หน่วยที่ 3 หนำ้ ท่ี 13/16 ตำรำงท่ี 3.8 (ตอ่ ) อปุ กรณ์หมนุ แกว่งแบบลูกสูบหมนุ ลักษณะกำรใชง้ ำน ใช้กับงานที่ต้องการการเคลื่อนที่ในแนว หมุนแบบไม่ครบรอบ เชน่ การหมนุ ชิน้ งาน งาน ดัดท่อ งานควบคุมวาล์วเลื่อนแบบต่าง ๆ เป็น ต้น รปู ร่ำงอุปกรณ์ 2. แบบใบพดั เล่ือน (Semi – Rotary Drive) ตำรำงที่ 3.9 อุปกรณห์ มนุ แกว่งแบบใบพดั เล่อื น ลักษณะโครงสรำ้ ง 1 1. ใบพัด 2. รลู มเขา้ –ออก 2 สัญลักษณ์ กำรทำงำน เมื่อป้อนลมเข้าทางด้านหมายเลข 2 แรงดันลมจะดันให้ใบพัดเคลื่อนที่ทวนเข็ม นาฬิกา ผลอันนี้จะทาให้เพลาของมอเตอร์แบบ แกว่งนี้เคลื่อนที่ตามไปด้วย ส่วนรู 1 จะเป็นรู 1 2 1 2 ระบายลม ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา จะต้อง ปอ้ นลมเข้ารู 1 สว่ น รู 2 จะเป็นรูระบายลม
89 ทม่ี ำ : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบษุ กร มาลา (2556 : 66) นิวแมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์ (30100-0104) ใบเนอ้ื หำ หน่วยท่ี 3 หนำ้ ท่ี 14/16 ตำรำงท่ี 3.9 (ตอ่ ) อปุ กรณ์หมนุ แกวง่ แบบใบพดั เลอ่ื น รูปร่ำงอปุ กรณ์ 3.2.2 อุปกรณ์ทำงำนในลักษณะหมุนรอบ (rotary motion) อุปกรณ์หมุนรอบก็คือ มอเตอรล์ มน่ันเอง สามารถแบ่งออกเปน็ 2 ชนิดดว้ ยกนั คือ 1. มอเตอร์ลมแบบลูกสูบ (piston motor) ตำรำงที่ 3.10 มอเตอร์ลมแบบลกู สูบ ลกั ษณะโครงสร้ำง ลูกสูบจะวางอยู่ในแนวรัศมีของเพลา โดย ก้านสูบจะผลักข้อเหวี่ยงทาให้เพลาเกิดการ เคล่ือนที่ตามลักษณะโครงสรา้ ง สัญลักษณ์ กำรทำงำน การจ่ายลมหมุนเวียนตามลาดับเพื่อไปดัน ให้ลูกสูบเคลื่อนที่ แล้วก้านสูบจะไปผลักให้ข้อ เหวี่ยง ทาให้เพลาหมุนแบบต่อเนื่อง กาลังของมอเตอร์ ข้ึนอยูก่ ับความดนั ของลมอัดและขนาดของลมสูบ ท่ีมำ : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบษุ กร มาลา (2556 : 67)
90 นวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนื้อหำ หน่วยท่ี 3 หน้ำท่ี 15/16 ตำรำงที่ 3.10 (ต่อ) มอเตอร์ลมแบบลูกสูบ ลักษณะกำรใช้งำน ใชก้ บั งานท่ตี ้องการแรงบดิ สงู เช่น ใช้ทากว้าน ยกของข้นึ –ลงในโรงงาน รูปรำ่ งอุปกรณ์ 2. มอเตอรล์ มแบบใบพดั เลอ่ื น (Sliding Vane Motor) ตำรำงที่ 3.11 มอเตอรล์ มแบบใบพดั เลื่อน ลกั ษณะโครงสรำ้ ง มอเตอร์ลมชนิดนี้จะประกอบด้วย แผ่น ใบพัดเลื่อนโดยรอบ แผ่นใบพัดนี้จะเป็นตัวรับ แรงดนั เพ่อื ใหเ้ กดิ แรงขบั ใหม้ อเตอรห์ มนุ ได้ 3 สัญลกั ษณ์ กำรทำงำน 3 3 เมื่อป้อนลมเข้ารู 1 แรงดันลมจะดันใบพัด ให้เคลื่อนที่ในแนวหมุน เป็นผลทาให้เพลาที่ติด อยู่เคลื่อนที่ในแนวหมุนได้ และจะหมุนในทิศทาง ตามเข็มนาฬิกา รู 3 ของมอเตอร์จะเป็นรูระบาย 1 21 และในทานองเดียวกัน หากต้องการให้มอเตอร์ 2 ลมหมุนในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ก็จะต้องป้อน ลมเขา้ ทางด้าน รู 2 สว่ น รู 3 เป็นรูระบาย
91 ที่มำ : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบษุ กร มาลา (2556 : 68) นิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์ (30100-0104) ใบเนื้อหำ หนว่ ยที่ 3 หนำ้ ที่ 16/16 สรปุ อุปกรณ์ทางานในระบบนิวแมติกสส์ ่วนมากประกอบด้วย กระบอกสูบและมอเตอร์ลม ซึ่งต้องมี การซีลป้องกันการรั่วของลมโดยใช้ลักษณะการซีลท่ีแตกต่างกันไป ตัวกระบอกสูบลมมักจะทาด้วยทอ่ ชนิดไม่มีตะเข็บ เช่น เหล็ก อะลูมิเนียม ทองเหลือง และสแตนเลส เป็นต้น ขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่ใช้ ภายในท่อจะต้องเจียรนัยให้เรียบเพื่อลดการสึกหรอของซีลที่จะเกิดขึ้น อุปกรณ์จับยึดมีการพัฒนา เปลยี่ นแปลงไปตามลกั ษณะงานที่ตอ้ งการอย่างหลากหลาย ซงึ่ ผู้เรียนอาจไม่เคยพบในขั้นเรยี นสว่ นมาก จะอยตู่ ามโรงงานอุตสาหกรรม เอกสำรอำ้ งอิง ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบษุ กร มาลา, นิวแมติกส์และไฮดรอลกิ ส์, นนทบรุ ี : ศูนยห์ นงั สอื เมอื งไทย จากดั , 2556.
92 แบบฝกึ หัดที่ 3.1 หน่วยท่ี 3 หนา้ ที่ 1/1 วิชำ นวิ แมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ เวลาเรียนรวม 72 คาบ สอนคร้ังท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ชื่อหน่วย อปุ กรณท์ างานในระบบนวิ แมติกส์ 3/18 ปฏิบตั ิ 2 คาบ ชอ่ื เร่อื ง ลักษณะอปุ กรณท์ างานเคลือ่ นทเ่ี ป็นเสน้ ตรง คำส่งั นาตวั เลขจากรปู เตมิ หนา้ ขอ้ ให้ถูกต้อง 1. ลกู สบู 2. เส้ือสูบ 3. ก้านสูบ 4. รูลมเข้า–ออก 5. พื้นทดี่ ้านท้ายลูกสบู 6. พน้ื ทด่ี า้ นหนา้ ลกู สูบ 7. พ้นื ทกี่ ้านสบู
93 แบบประเมินผลงำนที่ 3.1 หน่วยที่ 3 หน้าที่ 1/1 วิชำ นวิ แมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครั้งท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ช่ือหน่วย อุปกรณ์ทางานในระบบนิวแมติกส์ 3/18 ปฏบิ ตั ิ 2 คาบ ชอ่ื เร่ือง ลกั ษณะอปุ กรณท์ างานเคลอื่ นท่เี ปน็ เสน้ ตรง คำชแี้ จง ให้วงกลมล้อมรอบคะแนนท่ีได้ รายการ คะแนน หมายเหตุ ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ปรบั ปรุง กลาง ขน้ั ก่อนการปฏิบัตงิ าน 1. ความพร้อมของอุปกรณก์ ารเรยี น.............. 5 4 3 2 1 ขั้นการปฏิบตั งิ าน 2. อธิบายลกั ษณะ อุปกรณท์ เ่ี คล่อื นทเ่ี ปน็ 10 8 6 4 2 เส้นตรง……………… 3. อธิบายลักษณะ อปุ กรณท์ ่เี คลือ่ นท่ีเป็นเสน้ 10 8 6 4 2 รอบวง……………… 4. นาเสนอรายละเอยี ดทีค่ วรปรับปรุง...... 10 8 6 4 2 5. นาเสนอเหตุผลท่ีควรปรับปรุง............... 10 8 6 4 2 ขน้ั สรปุ ผล 6. เขียนสรปุ ผลหลังการปฏิบตั ิงาน................ 5 4 3 2 1 ขั้นหลังการปฏบิ ตั ิงาน 7. ทำความสะอาดบริเวณห้องเรียน............... 5 4 3 2 1 8. ส่งงานตามกำหนดเวลา............................. 5 4 3 2 1 คะแนนทไ่ี ด้ รวมคะแนน ผลกำรประเมิน (คะแนนเตม็ 60 คะแนน) ดีมาก (คะแนนอยใู่ นชว่ ง 54–60 คะแนน) ดี (คะแนนอย่ใู นช่วง 46–53 คะแนน) พอใช้ (คะแนนอยู่ในชว่ ง 38–45 คะแนน) ปรบั ปรงุ (คะแนนอยูใ่ นชว่ ง 30–37 คะแนน) ไม่ผ่าน (คะแนนตา่ กว่า 30 คะแนน) ลงชอื่ (สเุ มธ เชิงดา) ผูป้ ระเมนิ .........../.............../...............
94 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม และคำ่ นยิ ม หนว่ ยท่ี 3 หน้าท่ี 1/1 วิชำ นิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครง้ั ท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ช่อื หน่วย อุปกรณท์ างานในระบบนิวแมติกส์ 3/18 ปฏิบตั ิ 2 คาบ คำชแ้ี จง 1. ใหผ้ เู้ รียนประเมินตนเองและใหส้ มาชกิ ในกลมุ่ หนึง่ คนประเมินซ่งึ กันและกันในหัวขอ้ ที่ผสู้ อนกำหนดและแจง้ ไว้ 2. การประเมนิ แต่ละขอ้ มีคะแนนขอ้ ละ 5 คะแนน (5 หมายถงึ ดมี าก, 4 หมายถงึ ด,ี 3 หมายถึง ปานกลาง, 2 หมายถงึ พอใช้, 1 หมายถึง ตอ้ งปรับปรุง) 3. ผ้สู อนทำการประเมินและหาคะแนนเฉลยี่ ของผเู้ รยี นแตล่ ะคนต่อไป คุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคติ ผูป้ ระเมนิ และค่านิยมที่พงึ ประสงค์ ท่ี สังเกตจากพฤตกิ รรม ตนเอง สมา ิชก ผู้สอน 1 ความมวี ินยั ตรงตอ่ เวลาทง้ั การเขา้ เรียนและการสง่ งาน ทำงานตาม ข้นั ตอน คำนงึ ถงึ ความปลอดภยั ฯลฯ 2 ความมีมนษุ ยสัมพันธ์ ชว่ ยเหลือเพอ่ื นสมาชิกให้ความรว่ มมือทำงานกลุ่ม พดู จา สุภาพ ฯลฯ 3 ความรับผิดชอบ กลา้ รับผิดและรบั ชอบในสิง่ ท่ีตนทำ รกั ษาความสะอาด ฯลฯ 4 ความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง 5 ความซอ่ื สัตยส์ จุ ริต กลา้ แสดงออกในการปฏิบตั งิ าน กล้าแสดงความคิดเหน็ ฯลฯ 6 ความประหยดั ไมค่ ัดลอกผลงานคนอน่ื ตรวจผลงานของตนเองและของผอู้ ืน่ ดว้ ยความซ่ือสตั ย์ ฯลฯ 7 ความสนใจใฝ่รู้ ใชว้ สั ดุอุปกรณ์ เคร่อื งมือและใช้พลงั งานไฟฟา้ ในการเรยี น อยา่ งประหยดั ฯลฯ 8 ความรกั สามัคคี กระตือรอื ร้น พงึ่ ตนเองเปน็ หลัก ศึกษาหาความรเู้ พมิ่ เติม ฯลฯ 9 ความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ รับฟงั ความเห็นผู้อืน่ ร่วมใจกันทำงาน รจู้ ักแบ่งบนั มีน้ำใจ ฯลฯ 10 ความพึงพอใจในผลงานท่ที ำ ปรบั วธิ กี ารเรยี นของตนเองใหด้ ขี ึ้น คิดแกป้ ัญหาแปลก ใหม่ ฯลฯ พอใจในผลงานของตนเองท่ีต้งั ใจทำงานอย่างดที ่ีสดุ ฯลฯ รวม เฉล่ียรวม ผลกำรประเมิน (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) ได.้ ................คะแนน ผา่ น (คะแนนอยใู่ นชว่ ง 12–20 คะแนน) ไม่ผา่ น (คะแนนตา่ กว่า 12 คะแนน) ..................................ลงช่อื ผ้ปู ระเมิน
95 แบบฝกึ หดั ท่ี 3.2 หนว่ ยท่ี 3 หน้าท่ี 1/1 วชิ ำ นิวแมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ เวลาเรียนรวม 72 คาบ สอนครงั้ ท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ชอื่ หน่วย อุปกรณท์ างานในระบบนวิ แมติกส์ 3/18 ปฏิบัติ 2 คาบ ช่อื เร่อื ง ลกั ษณะอุปกรณท์ างานเคล่อื นที่เปน็ เสน้ รอบวง คำสง่ั จงนาตวั อักษรหนา้ สัญลักษณข์ องอปุ กรณ์ทางานเติมลงหน้าข้อใหถ้ ูกต้อง 1. ทิศทางการเคลือ่ นท่ี ด้วยลม ก. 2. ทิศทางการเคลอ่ื นที่ ข. ค. 3. ทิศทางการเคลอ่ื นที่ ง. จ. 4. ทศิ ทางการเคลอื่ นท่ี 5. มอเตอร์ลมหมุนไดส้ องทิศทาง 6. มอเตอร์ลมหมนุ ไดท้ ศิ ทางเดียว 7. อปุ กรณ์แบบหมุนแกว่ง 8. กระบอกสบู แบบสองทาง 9. ระบอกสูบแบบทางเดียว 10. เคลอ่ื นท่ี ดว้ ยลม ดว้ ยสปริง
96 แบบประเมนิ ผลงำนที่ 3.2 หน่วยที่ 3 หน้าท่ี 1/1 วชิ ำ นวิ แมติกส์และไฮดรอลิกส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครงั้ ที่ ทฤษฎี 2 คาบ ชื่อหน่วย อุปกรณท์ างานในระบบนวิ แมติกส์ 3/18 ปฏบิ ตั ิ 2 คาบ ชื่อเร่ือง อธบิ ายชนดิ ของกระบอกสูบ คำชี้แจง ใหว้ งกลมล้อมรอบคะแนนทีไ่ ด้ คะแนน รายการ ดีมาก ดี ปาน พอใช้ ปรับปรงุ หมายเหตุ กลาง ข้นั กอ่ นการปฏบิ ัติงาน 1. ความพรอ้ มของอุปกรณก์ ารเรยี น......... 5 4 3 2 1 ขน้ั การปฏิบัติงาน 2. อธบิ ายชนดิ ของกระบอกสูบทางานทาง 10 8 6 4 2 เดยี ว 10 8 6 4 2 3. อธบิ ายชนดิ ของกระบอกสูบทางานสอง 10 8 6 4 2 ทาง 10 8 6 4 2 4. นำเสนอรายละเอยี ดท่คี วรปรบั ปรงุ ...... 5. นำเสนอเหตุผลทค่ี วรปรบั ปรุง............... ขนั้ สรปุ ผล 6. เขยี นสรุปผลหลังการปฏิบัตงิ าน............. 5 4 3 2 1 ขนั้ หลงั การปฏิบตั ิงาน 7. ทำความสะอาดบริเวณห้องเรียน........... 5 4 3 2 1 8. ส่งงานตามกำหนดเวลา........................ 5 4 3 2 1 คะแนนทไ่ี ด้ รวมคะแนน ผลกำรประเมิน (คะแนนเตม็ 60 คะแนน) ดมี าก (คะแนนอยใู่ นชว่ ง 54–60 คะแนน) ดี (คะแนนอย่ใู นช่วง 46–53 คะแนน) พอใช้ (คะแนนอยใู่ นชว่ ง 38–45 คะแนน) ปรบั ปรงุ (คะแนนอยใู่ นช่วง 30–37 คะแนน) ไมผ่ า่ น (คะแนนตา่ กว่า 30 คะแนน) ลงชื่อ (นายสุเมธ เชงิ ดา) ผูป้ ระเมนิ .........../.............../...............
97 แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่ำนิยม หน่วยท่ี 3 หน้าที่ 1/1 วชิ ำ นิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนคร้งั ท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ชอ่ื หน่วย อุปกรณ์ทางานในระบบนิวแมติกส์ 3/18 ปฏบิ ตั ิ 2 คาบ คำช้ีแจง 1. ให้ผเู้ รียนประเมนิ ตนเองและใหส้ มาชกิ ในกลมุ่ หนึ่งคนประเมนิ ซึ่งกันและกันในหวั ข้อท่ีผสู้ อนกำหนด และแจ้งไว้ 2. การประเมนิ แต่ละขอ้ มคี ะแนนข้อละ 5 คะแนน (5 หมายถงึ ดมี าก, 4 หมายถงึ ด,ี 3 หมายถงึ ปานกลาง, 2 หมายถึง พอใช้, 1 หมายถงึ ต้องปรับปรงุ ) 3. ผ้สู อนทำการประเมนิ และหาคะแนนเฉลีย่ ของผู้เรียนแต่ละคนตอ่ ไป คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เจตคติ ผปู้ ระเมิน และคา่ นยิ มทพ่ี ึงประสงค์ ที่ สงั เกตจากพฤติกรรม ตนเอง สมาชิก ผู้สอน 1 ความมีวินัย ตรงตอ่ เวลาทง้ั การเข้าเรียนและการสง่ งาน ทำงานตาม ข้นั ตอน คำนงึ ถงึ ความปลอดภัย ฯลฯ 2 ความมีมนษุ ยสัมพันธ์ ช่วยเหลอื เพอ่ื นสมาชิกใหค้ วามรว่ มมือทำงานกลุ่ม พดู จา สภุ าพ ฯลฯ 3 ความรับผดิ ชอบ กลา้ รับผดิ และรับชอบในสิง่ ที่ตนทำ รกั ษาความสะอาด ฯลฯ 4 ความเช่ือมน่ั ในตนเอง 5 ความซ่ือสัตย์สจุ ริต กล้าแสดงออกในการปฏิบตั ิงาน กลา้ แสดงความคิดเหน็ ฯลฯ 6 ความประหยัด ไม่คัดลอกผลงานคนอื่น ตรวจผลงานของตนเองและของผ้อู ื่น ด้วยความซอ่ื สัตย์ ฯลฯ 7 ความสนใจใฝ่รู้ ใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์ เคร่อื งมือและใช้พลงั งานไฟฟ้าในการเรียน อย่างประหยดั ฯลฯ 8 ความรกั สามัคคี กระตอื รือรน้ พึ่งตนเองเป็นหลกั ศกึ ษาหาความรเู้ พมิ่ เตมิ ฯลฯ 9 ความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ รบั ฟังความเห็นผอู้ นื่ รว่ มใจกนั ทำงาน รู้จกั แบง่ บัน มีน้ำใจ ฯลฯ 10 ความพึงพอใจในผลงานทีท่ ำ ปรับวธิ ีการเรยี นของตนเองใหด้ ขี ึ้น คิดแก้ปัญหาแปลก ใหม่ ฯลฯ พอใจในผลงานของตนเองท่ีตงั้ ใจทำงานอยา่ งดที ี่สดุ ฯลฯ รวม เฉล่ยี รวม ผลกำรประเมนิ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) ได้.................คะแนน ผ่าน (คะแนนอยูใ่ นช่วง 12–20 คะแนน) ไมผ่ ่าน (คะแนนต่ากวา่ 12 คะแนน) ..................................ลงช่อื ผ้ปู ระเมิน
98 แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยท่ี 3 หน้าท่ี 1/2 วิชำ นวิ แมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนคร้งั ที่ ทฤษฎี 2 คาบ ชือ่ หน่วย อุปกรณท์ างานในระบบนิวแมติกส์ 3/18 ปฏิบตั ิ 2 คาบ คำช้ีแจง : 1. แบบทดสอบชุดนม้ี ที ง้ั หมด 10 ขอ้ เวลา 10 นาที 2. ให้ทำเคร่อื งหมาย () ลงในข้อท่ีถูกต้องท่ีสุด เกณฑ์การประเมิน : ขอ้ ละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน 1. ควรเลือกใช้อุปกรณ์ใดเมื่อต้องการเฉพาะแรงผลักช้นิ งาน ก. กระบอกสบู ทางานทางเดยี ว ข. กระบอกสบู ทางานสองทาง ค. กระบอกสบู ช่วงชกั หลายตาแหน่ง ง. กระบอกสูบก้านสูบสองข้าง จ. มอเตอรล์ มแบบหมนุ สองทิศทาง 2. ควรเลือกใช้อุปกรณ์ใดเม่อื ต้องการแรงท้ังไปและกลับ ก. กระบอกสบู ทางานทางเดียว ข. กระบอกสบู ทางานสองทาง ค. กระบอกสูบช่วงชักหลายตาแหนง่ ง. กระบอกสบู ก้านสูบสองขา้ ง จ. มอเตอร์ลมแบบหมนุ สลับ 3. อุปกรณ์ทางานข้อใด เหมาะสาหรับทาเป็นประแจถอดนทั ลอ้ รถยนต์ ก. กระบอกสูบทางานทางเดยี ว ข. กระบอกสูบทางานสองทาง ค. มอเตอรล์ มแบบหมุนสลับ ง. มอเตอร์ลมแบบหมนุ สองทศิ ทาง จ. กระบอกสูบก้านสูบสองข้าง 4. อปุ กรณใ์ ดเหมาะสาหรบั งานเปิด-ปิดวาล์ว ข. กระบอกสบู ทางานสองทาง ก. กระบอกสบู ทางานทางเดยี ว ง. กระบอกสูบช่วงชักหลายตาแหน่ง ค. กระบอกสบู หมุน จ. กระบอกสูบกา้ นสูบสองข้าง 5. จากรปู คอื สญั ลักษณข์ องอุปกรณใ์ ด ก. กระบอกสบู ทางาทางเดียว ข. กระบอกสบู ทางานสองทาง ค. กระบอกสบู ทางานองขา้ ง ง. มอเตอรล์ มแบบหมุนสลับ จ. กระบอกสูบทางานทางตรง
นิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ (30100-0104) 99 แบบทดสอบหลังเรียน หนำ้ ที่ 2/2 หนว่ ยท่ี 4 6. จากรูป คือสญั ลักษณข์ องอุปกรณ์ใด ก. กระบอกสูบทางานทางเดยี ว ข. กระบอกสูบทางาสองขา้ ง ค. มอเตอรล์ มแบบหมนุ สองทศิ ทาง ง. มอเตอรล์ มแบบหมนุ สลบั จ. กระบอกสูบทางานทางตรง 7. จากรปู คือสัญลักษณข์ องอุปกรณใ์ ด ก. กระบอกสูบทางานทางเดียว ข. กระบอกสบู ทางานสองข้าง ค. กระบอกสูบทางานสองทาง ง. มอเตอรล์ มแบบหมนุ สลบั จ. กระบอกสบู ทางานทางตรง 8. อปุ กรณ์ข้อใดควรใช้กบั ลักษณะงานทต่ี ้องการแรงบิดสูง ก. มอเตอร์ลมแบบลูกสบู ข. มอเตอร์ลมแบบใบพดั เล่อื น ค. กระบอกสูบแบบลูกสบู หมุน ง. กระบอกสูบแบบใบพัดเลือ่ น จ. มอเตอรล์ มแบบหมนุ สองทศิ ทาง 9. อุปกรณ์ข้อใดควรใช้กบั ลักษณะงานที่ตอ้ งกลับทางหมุน ก. มอเตอร์ลมแบบลูกสูบ ข. มอเตอร์ลมแบบใบพัดเลือ่ น ค. กระบอกสบู แบบลูกสบู หมนุ ง. กระบอกสบู แบบใบพดั เลือ่ น จ. มอเตอร์ลมแบบหมนุ สลับ 10. โครงสรา้ งของมอเตอรล์ มโดยท่วั ไปเป็นแบบใด ข. เฟืองฟันนอก ก. ลกู สบู ง. กังหัน ค. เฟืองฟนั ใน จ. ใบพดั
100 เฉลยแบบฝกึ หัด หน่วยที่ 3 หน้าท่ี 1/1 วิชำ นวิ แมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครง้ั ท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ชือ่ หน่วย อปุ กรณท์ างานในระบบนวิ แมติกส์ 3/18 ปฏิบัติ 2 คาบ แบบฝึกหัดที่ 3.1 คำสั่ง นาตัวเลขจากรปู เตมิ หน้าข้อให้ถกู ต้อง 6 1. ลกู สบู 4 2. เส้ือสูบ 5 3. ก้านสบู 2 4. รูลมเขา้ –ออก 1 5. พ้นื ท่ดี ้านทา้ ยลกู สบู 7 6. พน้ื ท่ีด้านหน้าลกู สูบ 3 7. พื้นท่ีกา้ นสบู แบบฝึกหัดท่ี 3.2 คำสั่ง จงนาตวั อักษรหน้าสัญลกั ษณ์ของอุปกรณ์ทางานเติมลงหน้าข้อให้ถูกต้อง ข 1. ทศิ ทางการเคล่ือนที่ ด้วยลม ก. ง 2. ทิศทางการเคลื่อนท่ี ค 3. ทิศทางการเคล่ือนท่ี ข. จ 4. ทิศทางการเคลื่อนท่ี ค 5. มอเตอรล์ มหมุนได้สองทศิ ทาง จ 6. มอเตอร์ลมหมุนได้ทิศทางเดยี ว ค. ง 7. อปุ กรณแ์ บบหมุนแกว่ง ข 8. กระบอกสูบแบบสองทาง ง. ก 9. ระบอกสูบแบบทางเดยี ว ก 10. เคล่อื นท่ี ดว้ ยลม ดว้ ยสปรงิ จ.
101 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 3 หน้าที่ 1/2 วิชำ นิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ เวลาเรียนรวม 72 คาบ สอนครัง้ ที่ ทฤษฎี 2 คาบ ชอ่ื หน่วย อุปกรณท์ างานในระบบนิวแมติกส์ 3/18 ปฏิบตั ิ 2 คาบ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 1. จากรูป คอื สัญลกั ษณข์ องอปุ กรณใ์ ด ข. กระบอกสบู ทางานสองทาง 2. จากรูป คือสญั ลักษณ์ของอุปกรณใ์ ด ง. มอเตอร์ลมแบบหมุนสลับ 3. จากรปู คือสญั ลักษณข์ องอุปกรณใ์ ด ค. มอเตอร์ลมแบบหมนุ สองทศิ ทาง 4. ควรเลือกใชอ้ ุปกรณใ์ ดเมือ่ ต้องการแรงท้ังไปและกลบั ข. กระบอกสูบทางานสองทาง 5. ควรเลอื กใช้อุปกรณ์ใดเมอื่ ต้องการเฉพาะแรงผลกั ชิ้นงาน ก. กระบอกสบู ทางานทางเดยี ว 6. อปุ กรณ์ใดเหมาะสาหรับงานเปดิ -ปิดวาล์ว ค. กระบอกสูบหมุน 7. อุปกรณ์ทางานข้อใด เหมาะสาหรบั ทาเป็นประแจถอดนทั ล้อรถยนต์ ง. มอเตอรล์ มแบบหมุนสองทศิ ทาง 8. โครงสร้างของมอเตอรล์ มโดยท่วั ไปเปน็ แบบใด ก. ลกู สบู 9. อุปกรณ์ข้อใดควรใช้กบั ลักษณะงานท่ตี ้องการแรงบิดสงู ก. มอเตอร์ลมแบบลกู สูบ 10.อุปกรณ์ข้อใดควรใช้กบั ลักษณะงานทีต่ ้องกลับทางหมนุ ข. มอเตอรล์ มแบบใบพดั เล่ือน
102 เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยท่ี 3 หน้าท่ี 2/2 วิชำ นิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครงั้ ท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ชื่อหน่วย อปุ กรณท์ างานในระบบนวิ แมติกส์ 3/18 ปฏิบตั ิ 2 คาบ เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน 1. ควรเลือกใชอ้ ุปกรณใ์ ดเม่ือต้องการเฉพาะแรงผลกั ชิน้ งาน ก. กระบอกสบู ทางานทางเดยี ว 2. ควรเลอื กใช้อุปกรณ์ใดเมื่อต้องการแรงทง้ั ไปและกลับ ข. กระบอกสบู ทางานสองทาง 3. อปุ กรณ์ทางานข้อใด เหมาะสาหรบั ทาเป็นประแจถอดนัทล้อรถยนต์ ง. มอเตอร์ลมแบบหมนุ สองทศิ ทาง 4. อุปกรณ์ใดเหมาะสาหรับงานเปิด-ปดิ วาล์ว ค. กระบอกสูบหมุน 5. จากรปู คอื สัญลักษณ์ของอุปกรณ์ใด ข. กระบอกสูบทางานสองทาง 6. จากรปู คอื สญั ลักษณ์ของอุปกรณ์ใด ค. มอเตอร์ลมแบบหมุนสองทิศทาง 7. จากรปู คือสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ใด ง. มอเตอรล์ มแบบหมุนสลับ 8. อุปกรณ์ข้อใดควรใช้กบั ลักษณะงานที่ต้องการแรงบดิ สงู ก. มอเตอร์ลมแบบลูกสูบ 9. อปุ กรณ์ข้อใดควรใช้กบั ลักษณะงานทต่ี อ้ งกลบั ทางหมุน ข. มอเตอรล์ มแบบใบพดั เล่ือน 10.โครงสรา้ งของมอเตอรล์ มโดยทว่ั ไปเป็นแบบใด ก. ลูกสบู
Search
Read the Text Version
- 1 - 31
Pages: