Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักธรรม pdf 1

หลักธรรม pdf 1

Published by prawatsat.ap, 2020-10-05 03:18:59

Description: หลักธรรม pdf 1

Search

Read the Text Version

หลกั ธรรม

พทุ ธคุณ 9 1.อรหํ หมายถงึ พระอรหนั ต์ คือ เป็นผบู้ รสิ ทุ ธิ์ ไกลจากกิเลส 2.สมฺมาสมฺพทุ ฺโธ หมายถึง เป็นผตู้ รสั รูช้ อบเอง 3.วิชฺชาจรณสมปฺ นฺโน เป็นผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยวชิ ชา คือความรู้ และจรณะ คอื ความประพฤติ 4.สคุ โต หมายถงึ เป็นผเู้ สดจ็ ไปดีแลว้

• 5.โลกวิทู เป็นผรู้ ูแ้ จง้ โลก • 6.อนตุ ฺตโร ปรุ สิ ทมฺมสารถิ เป็นสารถีฝึกบรุ ุษท่ี ฝึกได้ ไมม่ ีใครย่ิงกวา่ • 7.สตฺถา เทวมนสุ ฺสานํ เป็นศาสดาของเทวดา และมนษุ ยท์ งั้ หลาย • 8. พทุ ฺโธ เป็นผตู้ ่ืนและเบกิ บานแลว้ • 9.ภควา ทรงเป็นผมู้ ีโชค

•พทุ ธคณุ 9 นี้ เรยี กอีกอยา่ งวา่ นวารหาทคิ ุณ (คณุ ของพระพทุ ธเจา้ 9 ประการ มี อรหํ เป็นตน้ )

พทุ ธคุณ 2 • 1. อตั ตหิตสมบตั ิ ความถึงพรอ้ มแห่ง ประโยชนต์ น • 2. ปรหติ สมบตั ิ การปฏิบตั เิ พ่ือประโยชน์ แก่ผอู้ ่นื

พทุ ธคุณ 3 •1. ปัญญาคณุ พระคณุ คอื พระปัญญา •2. วิสทุ ธิคณุ พระคณุ คอื ความบรสิ ทุ ธิ์ •3. กรุณาคณุ พระคณุ คอื พระมหากรุณา

อริยสจั คือ ความจริงอนั ประเสริฐ 4 ประการ • 1. ทกุ ข์ คอื ความทกุ ข์ สภาพท่ีทนไดย้ าก โดยยอ่ วา่ อปุ าทานขนั ธ์ 5 เป็นทกุ ข์ • 2. สมทุ ยั คือ เหตเุ กิดแหง่ ทกุ ข์ สาเหตใุ หท้ กุ ขเ์ กิดคือ ตณั หา 3 ไดแ้ ก่ กามตณั หา (ความใครใ่ นกาม) ภวตณั หา (ความอยากมีอยากเป็น) วภิ วตณั หา (ความไมอ่ ยากมีอยากเป็น)

3. นิโรธ คอื ภาวะทต่ี ณั หาดบั สนิ้ ไป ภาวะท่ีเขา้ ถงึ เม่ือ กาํ จดั อวชิ ชา ไมต่ ิดขอ้ ง หลดุ พน้ สงบ ปลอดโปรง่ เป็นอสิ ระ และวิภาวตณั หามรรค คอื ทางที่นาํ ไปสู่ ความดบั ทกุ ข์ 4. มรรค คือ ทางทนี่ าํ ไปสคู่ วามดบั ทกุ ข์ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ ห้ ถึงความดบั ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ มรรคมอี งค์ 8

ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) ขนั ธ์ 5 ประกอบดว้ ย 2 สว่ น

1. ส่วนที่เป็นวตั ถุท้งั หลาย รูปขนั ธ์ ประกอบดว้ ย ธาตุ 4 = ดนิ นาํ้ ลม ไฟ

2. ส่วนที่เป็นความรู้สึกและความคิดท้งั หลาย 2.1 เวทนาขนั ธ์ คือ ความรูส้ กึ 2.2 สญั ญาขนั ธ์ คอื ความจาํ ไดห้ มายรู้ 2.3 สงั ขารขนั ธ์ คือ สว่ นท่ีปรุงแตง่ จิต 2.4 วญิ ญาณขนั ธ์ หรอื จิต คือผทู้ ่ีรบั รู้ ส่ิงทงั้ ปวง

1. อริยสจั 4 เป็นหลกั ธรรมที่สอนเก่ียวขอ้ งกบั เเร่ืองใด ก. ปอ้ งกนั คนทงั้ หลายไม่ใหเ้ กิดความทกุ ข์ ข. ชว่ ยสตั วท์ งั้ หลายใหต้ อ่ สกู้ บั ความทกุ ข์ ค. ชว่ ยสตั วท์ งั้ หลายใหอ้ ดทนตอ่ ความทกุ ข์ ง. ช่วยคนทงั้ หลายใหห้ ลดุ พน้ จากความทกุ ข์

2.การแกป้ ัญหาตามหลกั ธรรมอริยสจั 4 มี ลกั ษณะอยา่ งไร ก. ปอ้ งกนั ปัญหาโดยตรง ข. กาํ จดั ตน้ เหตขุ องปัญหาโดยตรง ค. พยายามหลบหลกี ปัญหาโดยตรง ง. ใหเ้ ผชิญกบั ปัญหาโดยตรง

3. องคป์ ระกอบเของ ขนั ธ์ 5 มีอะไรบเา้ ง ก. รูป ทกุ ข์ สญั ญา อนิจจงั สงั ขาร ข. วญิ ญาณ เวทนา รูป สญั ญา สงั ขาร ค. เวทนา อนิจจงั สญั ญา อเุ บกขา สงั ขาร ง. สขุ เวทนา อนิจจงั สงั ขาร วญิ ญาณ รูป

4. การรับเรู้ผา่ นประสาทสมั ผสั ต่างๆ เราเรียกวา่ ก. สญั ญา ข. เวทนา ค. สงั ขาร ง. วิญญาณ

5. ส่วนประกอบเใดที่จดั อยใู่ นธาตุดินท้งั หมด ก. เย่ือในกระดกู หวั ใจ นาํ้ มกู นา้ํ ลาย ข. เสน้ ผม ขน เลบ็ เรอ ค. ผวิ หนงั กลา้ มเนือ้ เสน้ เอน็ กระดกู ง. ลมหายใจเขา้ ออก ปอด มา้ ม หวั ใจ

เฉลย • 1. ง • 2. ข • 3. ข • 4. ง • 5. ค

สมุทยั (ธรรมที่ควรละ) กรรม ,อบายมขุ 6

กรรม • กรรม หมายความวา่ การกระทาํ ท่ี ประกอบดว้ ยเจตนา จงใจ • อกศุ ลกรรม หมายถงึ กรรมช่วั คอื โลภ โกรธ หลง • กศุ ลกรรม หมายถึง กรรมดี คือ ไม่โลภ ไม่ โกรธ ไมห่ ลง

อบเายมุข 6 •อบายมขุ 6 หมายถงึ หนทางแหง่ ความเส่อื ม หรอื ทางแหง่ ความพนิ าศ 6 ประการ

อบเายมุข 6 • 1) ตดิ สรุ าและของมนึ เมา • 2) ชอบเท่ียวกลางคนื • 3) ชอบเท่ียวดกู ารละเลน่ • 4) ตดิ การพนนั • 5) คบคนช่วั • 6) เกียจครา้ นการงาน

1. นายณรงคค์ น้ พบเวา่ สาเหตุท่ีตนเสียใจกเ็ พราะตอ้ งพลดั พรากจากคนท่ีรักไปแสดงวา่ นายณรงคค์ น้ พบเความจริงขอ้ ใดในอริยสจั 4 •ก: มรรค •ข : ทกุ ข์ •ค : นิโรธ •ง : สมทุ ยั

2. คาวา่ “กรรม” หมายถึงอะไร ก. ความดี ข. การกระทาํ ค. การกาํ หนด ง. ผลตอบสนอง

3. กรรมที่ใหผ้ ลสมบเูรณ์ตอ้ งครบเองคป์ ระกอบเใด ก. เจตนา พฤติกรรม ข. เง่ือนไข ปัจจยั ค. กาย วาจา ใจ ง. กิเลส กรรม วิบาก

4. ขอ้ ใดเป็นอกศุ ลกรรม ก. กระทาํ ความดี ข. กระทาํ ความช่วั ค. กระทาํ ท่ีถกู ตอ้ ง ง. ไม่เจตนาในการทาํ

• 1. ง • 2. ข • 3. ก • 4. ข

นิโรธ (ธรรมที่ควรบเรรลุ) สขุ 2 , คิหสิ ขุ 4

สุข คือ •ความสขุ อนั เป็นส่ิง ท่ีทกุ คนปรารถนามี 2 คอื

•คือ ความส1ขุ .กทาายงกิ กสาุขย อนั เป็น ความสขุ ท่เี กิดจาก ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ไดส้ มั ผสั กบั ส่งิ อนั พงึ พอใจ เชน่ ไดเ้ ห็นส่งิ ของหรอื รูป ท่ีสวยๆ ไดฟ้ ังเพลงท่ชี อบ เป็นตน้

•คือ ควา2มเจสตขุ สทิกาสงุขใจ เชน่ การไดร้ บั ความอบอนุ่ จาก พอ่ แม่ ญาตพิ ่ีนอ้ ง มีผใู้ ห้ ความรกั นบั ถือ ยกยอ่ ง

คิหิสุข •หมายถงึ ความสขุ ของ ชาวบา้ น อนั เป็นความสขุ ท่ีบคุ คลท่วั ไปพงึ มี

คิหิสุข มี 4 1) อตั ถิสขุ หมายถงึ ความสขุ ท่ี เกิดจากการมีทรพั ย์ 2) โภคสขุ หมายถงึ ความสขุ ท่ี เกิดจากการใชจ้ ่ายทรพั ย์

•3) อนณสขุ หมายถงึ ความสขุ ท่ี เกิดจากการไมม่ ีหนีส้ นิ 4) อนวชั ชสขุ หมายถึง ความสขุ ท่เี กิดจากการประพฤติ ในสง่ิ ท่ไี มม่ ีโทษ

1.สุขที่เกิดจากความประพฤติท่ีไม่มีโทษสาคญั ที่สุด เพราะเหตุใด ก. เพราะบคุ คลประพฤตทิ ่ีไมม่ ีโทษยอ่ มก่อใหเ้ กิดความสขุ อีก 3 ประการตามมา ข. เพราะบคุ คลประพฤติท่ีไม่มีโทษแลว้ ยอ่ มเป็นบคุ คลท่ีมีทรพั ย์ ค. เพราะบคุ คลประพฤติท่ีไม่มีโทษยอ่ มไม่จาํ เป็นตอ้ งมีทรพั ย์ ใช้ จา่ ยทรพั ย์ และไมเ่ ป็นหนี้ ง. เพราะบคุ คลประพฤตทิ ่ีไม่มีโทษยอ่ มเป็นบคุ คลท่ีไม่มีหนี้

2. ขอ้ ใดก่อใหเ้ กิดความสุขมากที่สุด ก. ทาํ บญุ ตกั บาตร ข. บรจิ าคทรพั ย์ สง่ิ ของตา่ ง ๆ ค. ทาํ บญุ อทุ ิศสว่ นกศุ ลใหผ้ มู้ ีอปุ การะคณุ ง. ทาํ จติ ใหม้ ่นั เป็นอสิ ระจากสง่ิ ทงั้ ปวง

3. อานนทไ์ ม่ตอ้ งการเป็นหน้ีสินผอู้ ื่น เขาจะตอ้ งปฏิบเตั ิตน ตามขอ้ ใด ก. อายโกศล ข. คิหสิ ขุ ค. ปธาน 4 ง. กรรม

4. การกระทาขอ้ ใดจดั วา่ เป็นเจตสิกสุข ก. ไดร้ บั คาํ ยกย่องสรรเสรญิ ข. ไดก้ ินอาหารอรอ่ ย ค. ไดฟ้ ังเพลงเพราะ ง. ไดก้ ลน่ิ นา้ํ หอม

5.การกระทาขอ้ ใดจดั วา่ เป็นความสุขทางกาย และความสุขทางใจ ก.เก๋ไดร้ บั คาํ ชมจากคณุ ครู ข. กอ้ งเป็นหวั หนา้ งานทล่ี กู นอ้ งรกั ค. กาญจนด์ ีใจมากท่ีรูว้ า่ ปีใหมน่ ีส้ มาชกิ ในครอบครวั จะอย่พู รอ้ มหนา้ กนั ง. แกว้ อย่ใู นครอบครวั ทีม่ ฐี านะดแี ละสมาชกิ ทกุ คน

มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) ไตรสิกขา, กรรมฐาน2, โกศล3, ปธาน4, มงคล38

ไตรสิกขา •แปลวา่ สกิ ขา 3 หมายถงึ ขอ้ สาํ หรบั ศกึ ษา, การศกึ ษาขอ้ ปฏิบตั ิท่ีพงึ ศกึ ษา, การฝึกฝน อบรมตนในเร่อื งท่ีพงึ ศกึ ษา 3 อยา่ งคือ

1อธสิ ลี สิกขา คอื ศกึ ษาเร่อื งศีล อบรม ปฏิบตั ใิ หถ้ กู ตอ้ งดงี าม 2อธิจติ ตสกิ ขา คอื ศกึ ษาเรอ่ื งจิต อบรมจิตใหส้ งบม่นั คงเป็นสมาธิ 3อธปิ ัญญาสิกขา คือศกึ ษาเร่อื ง ปัญญาอบรมตนใหเ้ กิดปัญญาแจ่มแจง้

กรรมฐาน 2 หมายถงึ ท่ีตงั้ แหง่ การทาํ งานของ จิต สง่ิ ท่ีใชเ้ ป็นอารมณใ์ นการ เจรญิ ภาวนา อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการ ฝึกอบรมจิต หรอื อบุ ายหรอื กลวธิ ี เหน่ียวนาํ ใหเ้ กิดสมาธิ

กรรมฐาน 2 1 สมถกรรมฐาน อบุ ายสงบใจ กลา่ วคือ อาศยั วธิ ีการท่องถอ้ ยคาํ บางอย่างซา้ํ ๆ กนั 2วิปัสสนากรรมฐาน อบุ ายเร่อื งปัญญา อาศยั ความรูส้ กึ ตวั ท่ีมีอยู่ รูถ้ งึ การสมั ผสั ทางทวารทงั้ ๖

ปธาน คือความเพยี ร ๔ อยา่ ง ๑. สงั วรปธาน เพียรระวงั ไมใ่ ห้ บาปเกิดขนึ้ ในสนั ดาน. ๒. ปหานปธาน เพียรละบาปท่ี เกิดขนึ้ แลว้ .

• ๓. ภาวนาปธาน เพียรใหก้ ศุ ลเกิดขนึ้ ใน สนั ดาน. • ๔. อนรุ กั ขนาปธาน เพยี รรกั ษากศุ ลท่ี เกิดแลว้ ไมใ่ หเ้ ส่อื ม. ความเพยี ร ๔ อย่างนี้ เป็นความเพียรชอบ ควรประกอบใหม้ ีในตน ฯ

โกศล •หมายถึง ความฉลาด, ความ เช่ียวชาญ, ทกั ษะ, ความชา นาญ ประกอบดว้ ย

โกศล 1. อายโกศล หมายถงึ ความฉลาดในความเจรญิ และเหตขุ องความเจรญิ 2. อปายโกศล หมายถงึ ความฉลาดในความ เส่อื ม หรอื รอบรูท้ างเสอ่ื มและเหตขุ องความเส่อื ม 3. อปุ ายโกศล หมายถงึ ความฉลาดในอบุ าย หรอื รอบรูว้ ธิ ีแกไ้ ขเหตกุ ารณแ์ ละวิธีท่ีจะทาํ ใหส้ าเรจ็

1.ความฉลาดในความเสื่อม” ในโกศล 3 หมายถึงขอ้ ใด ก. เป็นความฉลาดในการท่ีจะทาํ ตนใหเ้ ส่อื ม ข. เป็นความฉลาดในการท่ีจะไมด่ าํ เนินชีวติ ของตนไป ในทางท่ีเส่อื ม ค. เป็นความฉลาดในการใชก้ ลอบุ ายใหต้ นเองอยรู่ อด ง. เป็นความฉลาดใหต้ นเองเจรญิ แตค่ นทาํ คนอ่ืนใหเ้ ส่ือม

2.การปฏิบเตั ิเช่นไรยอ่ มไดร้ ับเผลของการปฏิบเตั ิเช่นน้นั ” หมายถึงขอ้ ใด ก.ปรยิ ตั ิ ข. ปฏิบตั ิ ค.ปฏิเวธ ง. ปฏิสมั พนั ธ์

3.การกระทาของใครจดั เป็น “ศีลสิกขา” ก.เดอื นรูต้ วั วา่ พอ่ แมม่ ีฐานะยากจนจงึ ใชเ้ งนิ อยา่ ง ประหยดั ข.หวานตอ้ งการพฒั นาหม่บู า้ นของเขาใหเ้ จรญิ ค.นอ้ งคิดวา่ เม่ือเป็นนกั เรยี นตอ้ งตงั้ ใจเรยี น ง.ตมุ่ เป็นคนท่ีพดู จาสภุ าพออ่ นโยน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook